13-week3- 2.1 พื้นฐานเทอร์โมไดนามิกส์-1

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

แนวการสอน รหัสวิชา 04-311-403

สัปดาห์ที่ 3 หน่วยที่ 2 บทเรียนที่ 2.1


เธอร์โมไดนามิกส์ของเครื่องยนต์ความร้อน เวลา 180 นาที

หน่วยเรียนที่ 2 เธอร์โมไดนามิกส์ของเครื่องยนต์ความร้อน
ชื่อบทเรียน 2.1 พืน้ ฐานเธอร์โมไดนามิกส์สาหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน
2.1.1 กฏเธอร์โมไดนามิกส์ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องยนต์
2.1.2 แกสอุดมคติ
2.1.3 กระบวนการและวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์
2.1.4 ประสิทธิภาพเชิงความร้อนทางทฤษฎีของเครื่องยนต์
2.1.5 เอนโทรปี

จุดประสงค์
ชื่อบทเรียน 2.1 เข้าใจพื้นฐานเธอร์โมไดนามิกส์สาหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน
2.1.1 บอกกฏเธอร์โมไดนามิกส์ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องยนต์
2.1.2 เข้าใจแกสอุดมคติ
2.1.3 เข้าใจกระบวนการและวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์
2.1.4 คานวณประสิทธิภาพเชิงความร้อนทางทฤษฎีของเครื่องยนต์
2.1.5 เข้าใจเอนโทรปี

เนื้อหา

บทเรียนที่ 2.1 พื้นฐานเธอร์โมไดนามิกส์สาหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน

เพื่อให้การเรียนเกี่ยวกับทฤษฎีและหลัการทางานจริงของเครื่องยนต์สันดาปภายในเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ ในบทเรียนนี้จะเป็นการทบทวนและอธิบายความรู้พื้นฐานเธอร์โมไดนามิกส์ที่
เกี่ยวข้องกับเครื่องยนต์สันดาปภายในให้มีความชัดเจนและเข้าใจมากขึ้น

2.1.1 กฏเธอร์โมไดนามิกส์ทเี่ กี่ยวข้องกับเครื่องยนต์


โดยทั่ ว ไปคนส่ ว นใหญ่ จ ะเข้ า ใจว่ า กฎของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ นั้ น มี อ ยู่ 3 ข้ อ ซึ่ ง จริ ง ๆ
แล้ ว ยั ง มี ก ฎข้ อ ที่ ศู น ย์ ข องเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ด้ ว ย (ที่ เ ป็ น กฎข้ อ ที่ ศู น ย์ ก็ เ พราะว่ า แนวคิ ด นี้ มี
รากฐานมาจากกฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง นั่ น เอง)
2.1.1.1 กฎข้ อ ที่ ศู น ย์ ข องเธอร์โ มไดนามิ ก ส์ (Zeroth law of thermo-dynamics)
กล่าวถึงสภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ โดยสามารถสรุปได้ว่ า "ถ้าระบบ A และ B อยู่ในภาวะ
สมดุลทางอุณหพลศาสตร์ และระบบ B และ C อยู่ในสภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์แล้ว ระบบ A
และ C จะอยู่ในภาวะสมดุลทางอุณหพลศาสตร์ด้วยเช่นกัน" กล่าวโดยสรุปก็คือภาวะสมดุลทางอุณ
หพลศาสตร์ มี คุ ณ สมบั ติ ถ่ า ยทอด ได้ นั่ น เอง อนึ่ ง ที่ ม าของชื่ อ กฎข้ อ ศู น ย์ นี้ มี ที่ ม าจากการที่
นักวิทยาศาสตร์คิดว่ากฎข้อนี้เป็นรากฐานที่สาคัญต่อกฎข้อที่หนึ่ง จึงต้องการจะให้ตัวเลขชื่อกฎอยู่ต่า
72
กว่ากฎข้อที่หนึ่ง แต่เนื่องจากกฎข้อนี้เพิ่งจะถูกตระหนักถึงความสาคัญเมื่อหลังจากกฎข้อที่หนึ่งและ
สองมีชื่อเสียงมานานมากแล้ว นักวิทยาศาสตร์จึงตัดสินใจไม่เปลี่ยนลาดับตัวเลข และตั้งให้กฎข้อนี้
เป็นกฎข้อที่ศูนย์ กฎข้อนี้เป็นกฎที่ได้จากการทดลองและเป็นหลักการในการวัดอุณหภูมิของวัตถุต่างๆ
ด้วยเครื่องมือวัดอุณหภูมิหรือเธอร์โมมิเตอร์ โดยการแทนวัตถุชิ้นที่สามเป็นเธอร์โมมิเตอร์ โดยเมื่อ
เธอร์โมมิเตอร์วัดระดับอุณหภูมิของวัตถุสองชิ้นนั้นแล้วพบว่าว่ามีค่าเท่ากัน จากหลักการในข้อที่ศูนย์
ของเธอร์โมไดนามิกส์สามารถระบุได้ว่าวัตถุสองชิ้นอยู่ในสมดุลความร้อนต่อกันได้ แม้ว่าวัตุสองชิ้นนั้น
จะไมได้สัมผัสกันโดยตรง
2.1.1.2 กฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง ของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ (First Law of Thermodynamics)
หรื อ เรี ย กว่ า กฎอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน มี ห ลั ก การว่ า “พลั ง งานสามารถเปลี่ ย นรู ป หรื อ ถู ก ถ่ า ย
โอนจากที่ ห นึ่ ง ไปยั ง อี ก ที่ ห นึ่ ง ได้ แต่ ไ ม่ ส ามารถสร้ า งขึ้ น ใหม่ หรื อ ทาลายให้ สู ญ สลายไปได้ ”
ดั ง นั ้ น เมื ่ อ พิ จ ารณาการถ่ า ยโอนพลั ง งานระหว่ า งระบบกั บ สิ ่ ง แวดล้ อมแล้ ว จะพบว่ า
พลั ง งานรวมของระบบกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มจะมี ค่ า คงที่ ตั ว อย่ า งเช่ น ในกระบวนการที่ ร ะบบ
ได้ รั บ พลั ง งานจากสิ่ ง แวดล้ อ มนั้ น ปริ ม าณพลั ง งานที่ ร ะบบได้ รั บ จะเท่ า กั บ ปริ ม าณพลั ง งาน
ที่ สิ่ ง แวดล้ อ มสู ญ เสี ย โดยสามารถเขี ย นเป็ น สมกา รแสดงการถ่ า ยโอนพลั ง งานของระบบ
ใดๆ ได้ ดั ง นี้

พลั ง งานที่ เ ข้ า สู่ ร ะบบ – พลั ง งานที่ อ อกจากระบบ = พลั ง งานรวมในระบบที่ เ ปลี่ ย นแปลง

𝑄12 − 𝑊12 = ∆𝐸 (2.1)

𝑄12 − 𝑊12 = ∆𝑈 + ∆𝐾𝐸 + ∆𝑃𝐸 (2.2)

การพิ จ ารณาพลั ง งานตามกฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง ของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ สาหรั บ ระบบปิ ด หรื อ
ระบบมวลควบคุ ม (Closed system or control mass) หรื อ ระบบที่ ม วลคงที่ มี เ พี ย ง
พลั ง งานเท่ า นั้ น ที่ ถ่ า ยโอนผ่ า นขอบเขตของระบบ ดั ง รู ป ที่ 2.1 นั้ น จาเป็ น ต้ อ งทราบนิ ย าม
ของคุ ณ สมบั ติ ท างเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ที่ เ รี ย กว่ า พลั ง งานภายใน (Internal energy, U) ซึ่ ง
จะสรุ ป ไดว่ า สารตั ว กลางหรื อ สารทางานที่ มี อุ ณ หภู มิ ค่ า หนึ่ ง นั้ น หมายความว่ า ได้ ว่ า สาร
นั้ น มี พ ลั ง งานความร้ อ นอยู่ ภ ายในตั ว ซึ่ ง มี ก ารกาหนดค่ า คุ ณ สมบั ติ ห นึ่ ง ขึ้ น มาเพื่ อ แสดง
ปริ ม าณความร้ อ นที ่ ม ี อ ยู ่ ใ น สารเหล่ า นั ้ น คุ ณ สมบั ต ิ ที ่ ใ ช้ ใ นกรณี นี ้ เ รี ย ก ว่ า “พลั ง งาน
ภายใน”
เมื่ อ พิ จ ารณาให้ เ ป็ น ระบบปิ ด ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงพลั ง งานจลน์ (∆𝐾𝐸 = 0)
ไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงพลั ง งานศั ก ย์ (∆𝑃𝐸 = 0) และภายในระบบมี ส ารทางานมวล m
kg เมื่ อ ใส่ ป ริ ม าณความร้ อ น Q 12 จากภายนอกเข้ า ไป พลั ง งานภายในของสารนั้ น ๆ จะ
เปลี่ ย นจาก U 1 ไปเป็ น U 2 และได้ ง าน W 12 ออกมา ดั ง รู ป ที่ 2.2 จากกฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง ของ
เธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ส ามารถเขี ย นสมการได้ ดั ง ต่ อ ไปนี้

𝑄12 = 𝑈2 − 𝑈1 + 𝑊12 (2.3)

73
พลังงาน Heat (Q) Work (W)
Control mass

รู ป ที่ 2.1 ลั ก ษณะการถ่ า ยโอนพลั ง งานของระบบปิ ด

Q12 W12
m
1 2
รู ป ที่ 2.2 การเปลี่ ย นแปลงสภาวะของสารทางานเมื่ อ ได้ รั บ ความร้ อ นในระบบปิ ด

ในการวิ เ คราะห์ จ าเป็ น ต้ อ งพิ จ ารณาทิ ศ ทางของการถ่ า ยเท Q 12 และ W 12 ซึ ่ ง


กระทา โดยการใส่ เ ครื่ อ งหมาย (บวกหรื อ ลบ) ให้ กั บ ค่ า ความร้ อ น ( Q) และงาน (W) ที่
เกี่ ย วข้ อ งสามารถสรุ ป เครื่ อ งหมายได้ ดั ง นี้

ความร้ อ นเข้ า ไปในระบบ (Q in ) เครื่องหมายบวก (+)


ความร้ อ นออกจากระบบ (Q out ) เครื่องหมายลบ (-)
มีงานเกิดขึ้นในระบบ (Wout) เครื่ อ งหมายบวก (+)
ใส่งานเข้าไปในระบบ (Win) เครื่ อ งหมายลบ (-)

เมื่ อ คิ ด ต่ อ มวลสาร 1 kg จะได้ ป ริ ม าณความร้ อ น และงาน โดยใช้ เ ป็ น อั ก ษรตั ว เล็ ก คื อ

∆𝑞 = ∆𝑢 + ∆𝑤 (2.4)

หรื อ
𝑞12 − 𝑤12 = ∆𝑢 (2.5)

74
การพิ จ ารณาพลั ง งานตามกฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง ของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ สาหรั บ ระบบเปิ ด
หรื อ ปริ ม าตรควบคุ ม (Open system or control volume) หรื อ ระบบที ่ ป ริ ม าตร
คงที่ แ ละมี ก ารถ่ า ยโอนทั้ ง มวลและพลั ง งานผ่ า นขอบเขตของระบบ ดั ง รู ป ที่ 2.3 สามารถ
แบ่ ง กระบวนการเคลื่ อ นที่ ข องมวลได้ เ ป็ น 2 ลั ก ษณะ คื อ กระบวนการที่ มี ก ารไหลแบบคง
ตั ว (Steady-flow process) และกระบวนการที ่ ม ี ก ารไหลแบบไม่ ค งตั ว ( Unsteady-
flow process)
กระบวนการที่ มี ก ารไหลแบบคงตั ว (Steady-flow process) เมื่ อ นากฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง
ของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ม าใช้ คานวณในระบบเปิ ด ในระบบเปิ ด นั้ น มวลสารในระบบมี ก าร
เปลี่ ย นแปลง แต่ ถ้ า ปริ ม าณมวลสารที่ เ ข้ า สู่ ร ะบบไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปกั บ เวลา เราจะ
เรี ย กว่ า เป็ น “การไหลแบบคงตั ว ” ระบบที่ เ ป็ น การไหลแบบคงตั ว นั้ น งานและพลั ง งาน
ความร้ อ นในระบบเปิ ด ที่ พิ จ ารณา จะคิ ด เป็ น ต่ อ หน่ ว ยของเวลา รวมไปถึ ง พลั ง งานและงาน
ที่ เ ข้ า และที่ อ อกด้ ว ย

Mass in W
Control volume
Q Mass out

รู ป ที่ 2.3 การไหลแบบคงตั ว ในระบบเปิ ด

จากความสั ม พั น ธ์ ท่ี ก ล่ า วมาทั้ ง หมดสามารถสร้ า งเป็ น สมการความสั ม พั น ธ์ ไ ด้ ดั ง นี้

𝑐12 𝑐12
𝑚̇ (𝑢1 +
2
) + 𝑄̇ = 𝑚̇ (𝑢2 + 2
) + 𝑊̇ + 𝑃2 𝑉̇2 − 𝑃1 𝑉1̇ (2.6)

โดยที่ 𝑐 = เป็นความเร็วที่ไหลเข้าหรือไหลออก (m/s)


𝑚̇ = อัตราการไหลเชิงมวลของสาร [kg/s]
𝑉̇ = อัตราการไหลเชิงปริมาตรของสารที่ไหลเข้าหรือไหลออก (m3/s)
𝑃 = ความดันที่ไหลเข้าหรือไหลออก (Pa)

ถ้ า จั ด เทอมของค่ า คุ ณ สมบั ติ สาหรั บ ทางเข้ า ไว้ ท างซ้ า ยมื อ และจั ด เทอมของค่ า คุ ณ สมบั ติ
สาหรั บ ทางออกไว้ ที่ ท างขวามื อ จะสามารถสร้ า งสมการได้ ดั ง ต่ อ ไปนี้

𝑐12 𝑐 2
𝑚̇ (𝑢1 +𝑃1 𝑣1 + ) + 𝑄̇ = 𝑚̇ (𝑢2 + 𝑃2 𝑣2 + 1 ) + 𝑊̇ (2.7)
2 2

75
จากสมการการเปลี่ ย นแปลงพลั ง งานในระบบเปิ ด จะสั ง เกตว่ า u + Pv เป็ น ค่ า
คุ ณ ส ม บั ต ิ ที ่ เ กิ ด ใ น ร ะ บ บ ข อ ง ก า ร ไ ห ล ซึ ่ ง จ ะ เ รี ย ก ค่ า คุ ณ ส ม บั ต ิ นั ้ น ว่ า “เ อ น ทั ล ปี
(Enthalpy)” ค่ า เอนทั ล ปี ต่ อ มวล 1 [kg] จะเรี ย กว่ า ค่ า “เอนทั ล ปี จาเพาะ” ใช้ สั ญ ลั ก ษณ์
เป็ น h ดั ง สมการ

ℎ = 𝑢 + 𝑃𝑣 (2.8)

และเมื่ อ ใช้ ค่ า เอนทั ล ปี แ ทนเข้ า ไปในสมการในระบบเปิ ด จะได้ ส มการใหม่ เ ป็ น

𝑐12 𝑐 2
𝑚̇ (ℎ1 +
2
) + 𝑄̇ = 𝑚̇ (ℎ2 + 1 ) + 𝑊̇ 2
(2.9)

สมการที่ ก ล่ า วมานี้ นี้ เ ป็ น การแสดงการใช้ ก ฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง ของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ ท่ี ค รอบคลุ ม ไป
ถึ ง ระบบเปิ ด และเรี ย กสมการนี้ ว่ า “สมการพลั ง งาน (Energy equation)”

2.1.1.3 กฎข้อที่สองของเธอร์โมไดนามิกส์ (Second Law of Thermodynamics)


เกิดจากนิยาม สองนิยามคือ
1) นิ ย ามของ Kelvin-Planck ได้ ก ล่ า วไว้ ว่ า “ไม่ มี ก ลจั ก รความร้ อ น (Heat
engine) ใดๆ สามารถทางานเป็ น วั ฏ จั ก รและสามารถสร้ า งงานออกมาได้ เ มื่ อ ได้ รั บ
ความร้ อ นจากแหล่ ง ความร้ อ นเพี ย งเเหล่ ง เดี ย ว ” ฉะนั้ น งานที่ เ กิ ด ขึ้ น (Work output)
นั้ น จะต้ อ งสู ญ เสี ย ความร้ อ นส่ ว นหนึ่ ง ให้ แ ก่ ที่ ที่ มี อุ ณ หภู มิ ต่ากว่ า เสมอ อธิ บ ายได้ ดั ง รู ป ที่
2.4 ดั ง นั้ น เราจาเป็ น ที่ จ ะต้ อ งทราบปริ ม าณความร้ อ นที่ แ หล่ ง (ให้ ) ความร้ อ นอุ ณ หภู มิ สู ง
(Thermal energy source) กั บ แหล่ ง (รั บ ) ความร้ อ นอุ ณ หภู มิ ต่ า (Thermal energy
sink)

แหล่งความร้อนอุณหภูมิสูง
TH

QH

HE Wnet, out = QH- QL

QL

แหล่งความร้อนอุณหภูมิต่า
TL

รูปที่ 2.4 ระบบที่เป็นไปตามนิยามของ Kelvin-Planck

76
2) นิ ย ามของ Clausius ได้ ก ล่ า วไว้ ว่ า “ไม่ มี อุ ป กรณ์ ใ ดๆ ที่ ส ามารถดาเนิ น การ
เป็ น วั ฏ จั ก รและสามารถถ่ า ยเทความร้ อ นได้ จ ากแหล่ ง ที่ มี อุ ณ หภู มิ ต่ากว่ า ไปสู่ แ หล่ ง ที่ มี
อุ ณ หภู มิ สู ง กว่ า โดยปราศจากการให้ ง านแก่ ร ะบบ (Work in = 0)” นั้ น หมายความว่ า
ถ้ า ระบบใดๆ ก็ ต ามต้ อ งการดึ ง ความร้ อ นจากอุ ณ หภู มิ ต่าไปสู่ อุ ณ หภู มิ สู ง ต้ อ งมี ก ารให้ ง าน
แก่ ร ะบบนั ้ น เสมอ อธิ บ ายได้ ด ั ง รู ป ที ่ 2.5 ซึ ่ ง นิ ย ามนี ้ เ ป็ น ที ่ ม าของระบบท าความเย็ น
(Refrigeration system) และฮี ท ปั้ ม (Heat pump) ในปั จ จุ บั น

แหล่งความร้อนอุณหภูมิสูง
TH

QH

Wnet, in = QH- QL RE or HP

QL
แหล่งความร้อนอุณหภูมิต่า
TL

รู ป ที่ 2.5 ระบบที่ เ ป็ น ไปตามนิ ย ามของ Clausius

จ า ก นิ ย า ม ข อ ง ก ฎ ข้ อ ที ่ ส อ ง ข อ ง เ ธ อ ร์ โ ม ไ ด น า มิ ก ส์ ส า ม า ร ถ ส รุ ป ไ ด้ ว ่ า ว่ า
ก ร ะ บ ว น ก า ร จ ะ เ กิ ด ขึ ้ น ใ น ทิ ศ ท าง ที ่ แ น่ น อ น แ ล ะ พ ลั ง ง า นนั ้ น เ ป็ น ค่ า ที ่ ม ี ทั ้ ง ปริ ม าณ
(Quantity) และคุ ณ ภาพ (Quality) กระบวนการทางความร้ อ นใดๆ จะไม่ ส ามารถเกิ ด ขึ้ น
ได้ ถ้ า กระบวนการนั้ น ไม่ เ ป็ น ไปตามทั้ ง กฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง และสองของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์

2.1.1.4 กฎข้ อ ที่ ส ามของเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ (Third Law of Thermodynamics)


กล่าวถึงเอนโทรปีและความเป็นไปได้ของสภาวะศูนย์องศาสัมบูรณ์ ความว่า เมื่อระบบเข้าสู่ภาวะศูนย์
องศาสัมบูรณ์ กระบวนการทั้งหมดจะหยุดนิ่ง และค่าเอนโทรปีของระบบจะมีค่าต่าที่สุด ซึ่งอาจสรุป
ได้ง่ายๆ ว่า “ถ้า T=0 K, แล้ว S=0” เมื่อ T คือ อุณหภูมิของระบบปิด และ S คือค่าเอนโทรปีของ
ระบบ กฎข้ อ ที่ ส ามนี้ พั ฒ นาขึ้ น โดย วอลเตอร์ แนรนสต์ (Walther Nernst) นั ก ฟิ สิ ก ส์ ช าว
เยอรมัน ในช่วงปี ค.ศ. 1906-1912 บางครั้งจึงเรียกกฎข้อนี้ว่า ทฤษฎีของเนิร์นสต์ เขากล่าวว่าค่าเอน
โทรปีของระบบที่ศูนย์องศาสัมบูรณ์จะเป็นค่าคงที่ เนื่องจากระบบที่ศูนย์องศาสัมบูรณ์เป็นระบบที่
ground state ค่าเอนโทรปีของระบบจึงมาจาก ground state เท่านั้น นัยหนึ่งคือ "ไม่มีกระบวนการ
ใดที่สามารถลดพลังงานของระบบลงจนถึงศูนย์องศาสัมบูรณ์ได้" และยังมีกฎข้อที่สามของอุณหพล
ศาสตร์อีกแบบหนึ่งที่บัญญัติโดย กิลเบิร์ต เอ็น. ลิวอิส และ เมอร์ล รันดัล ในปี ค.ศ. 1923 ซึ่งอธิบาย
ว่า เมื่อ T = 0 K ไม่เพียง ΔS จะมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ แต่ค่า S เองก็มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ด้วย
77
สรุป กฎเธอร์โมไดนามิกส์ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องยนต์มากที่สุด คือกฎข้อที่ 1 และ กฎข้อที่ 2
โดยกฎข้อที่ 1 อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบเมื่อเกิดกระบวนการต่างๆ และการ
สมดุลพลังงาน ส่วนกฎข้ อที่ 2 นั้นจะอธิบายเกี่ยวกับตัวแปรที่เป็นตัวกาหนดทิศทางของการเกิด
กระบวนการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางกายภาพหรือทางเคมี ซึ่งตัวแปรที่สาคัญเกี่ยวกับการกาหนด
ทิศทางของการเกิดกระบวนการต่างๆ คือเอนโทรปี (entropy, S) ซึ่งแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับนิยามของ
Kelvin-Planck จึงนามาซึ่งวิธีการคานวณที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการทางานได้
จริงหรือไม่ของระบบที่ทางานเป็นวัฏจักร รวมถึงประสิทธิภาพเชิงความร้อนของวัฎจักรด้วย

2.1.2 แกสอุดมคติ
ได้มีการนิยามกฎของแกสไว้ เมื่อประมาณปี ค.ศ. 1627 – 1691 โดยนักวิทยาศาสตร์ ชื่อ โร
เบอร์ต บอยล์ ได้ทาการค้นคว้าทดลองเกี่ยวกับอากาศและสรุปเป็นกฎไว้ว่า “ขณะทีแ่ กสจานวนหนึ่งมี
การเปลี่ยนแปลงสภาพ ถ้าอุณหภูมิของแกสคงที่ปริมาตรของแกสจะแปรผกผันกับความดันสมบูรณ์”
นั่นคือ เมื่อ T คงที่ จะได้ว่า

V
P1 = 2 หรือ P1 V1 = P2 V2 หรือ PV = คงที่ (2.10)
V1

หนึ่ ง ร้ อ ยปี ภ ายหลั ง ที่ บ อยล์ ค้ น พบกฎเกณฑ์ ข องแกสอุ ด มคติ ดั ง กล่ า วแล้ ว ข้ า งต้ น ต่ อ มา
นั ก วิ ท ยาศาสตร์ ชื่ อ Jacques A. Charles (ค.ศ. 1756 – 1823) และ Joseph L. Gay–Lussace
(ค.ศ. 1778–1850) ทั้งสองได้ทดลองโดยไม่ทราบงานของอีกฝ่ายหนึ่ง และได้ค้นพบกฎเกณฑ์ของแกส
ที่เหมือนกัน แต่ปรกติเรียกว่ากฎของชาลส์ ซึ่งสรุปได้ว่า
1) ขณะที่แกสจานวนหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ ถ้าความดันของแกสจานวนนั้น
คงที่ ปริมาตรของแกสจะแปรผันตรงกับอุณหภูมิสมบูรณ์ นั่นคือ เมื่อ P คงที่ จะได้ว่า

V1 T1 T T T
 หรื อ 1  2 หรื อ  คงที่ (2.11)
V2 T2 V1 V2 P

2) ขณะที่แกสจานวนหนึ่งมีการเปลี่ยนแปลงสภาพ ขณะที่ปริมาตรคงที่ความดันจะ
แปรผันตรงกับอุณหภูมิสมบูรณ์ นั่นคือ เมื่อ V คงที่ จะได้ว่า

P1 T1 T1 T2 T
 หรื อ  หรื อ  คงที่ (2.12)
P2 T2 P1 P2 V

อาโวกาโด ชาวอิตาลี (1776 – 1856) ได้กาหนดกฎของแกสอุดมคติที่เรียกว่า กฎของ


อาโวกาโด (Avogadro’s law) ไว้ว่า “แกสอุดมคติทกุ ชนิดที่อุณหภูมิและความดันเดียวกัน เมื่อมี
ปริมาตรเท่ากันจะมีจานวนโมเลกุลเท่ากัน” แสดงดังรูปที่ 2.6

78
13.7 psia 13.7 psia 13.7 psia
32 F 32 F 32 F

Hydrogen Oxygen Carbon dioxide

รูปที่ 2.6 สมมุติฐานสาหรับกฎของอาโวกาโด

ตัวอย่างเช่น แกสไฮโดรเจน ออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ ที่อุณหภูมิ 32 F และ


ความดัน 13.7 lb/ in2 (สมบูรณ์) มีสมบัติตา่ งๆ ดังตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 สมบัติต่างๆ ของแกสตัวอย่าง


ไฮโดรเจน ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์
ปริมาตร 1 ft 3 1 ft3 1 ft3
จานวนโมเลกุล 7.62  1023 7.62  1023 7.62  1023
มวลโมเลกุล 2.016 32.00 43.00
มวลทั้งหมด 0.00559 lb/ft 0.0889 lb/ft3
3 0.122 lb/ft3

จากค่าของแกสที่แสดงไว้ข้างบนจะเป็นข้อยืนยันกฎของอาโวกาโดที่ว่า เมื่อแกสอุดม
คติมีปริมาตรเท่ากัน จะมีจานวนโมเลกุลเท่ากัน แต่มวลของอะตอมของแกสต่างๆ ไม่เท่ากัน จึงทาให้
มวลของโมเลกุลแตกต่างกันไป

สมการสภาพของแกสอุดมคติ ในกรณีที่เราไม่มีข้อมูลสาหรับสมบัติทางเธอร์โมไดนามิคส์
ของสารบริสุทธิ์ซึ่งแสดงในรูปของตารางดังเช่นในหัวข้อที่ผ่านมา เรามีความจาเป็นที่จะต้องมีสมการที่
ใช้สาหรับหาค่าของสมบัติซึ่ งมี ความเที่ย งตรงมากพอที่จ ะนาไปใช้ ง านได้ สมการที่ว่านี้จะแสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติทางเธอร์โมไดนามิคส์ อันได้แก่ ความดัน ปริมาตรจาเพาะ และอุณหภูมิที่
สภาพใดๆ ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกสมการดังกล่างนี้ว่า สมการสภาพ (equation of state) โดยสมการ
ดังกล่าวจะมีอยู่หลายรูปแบบ

รูปแบบที่ง่ายที่สุดของสมการสภาพสาหรับสารบริสุทธิ์ในสถานะไอ คือ สมการสภาพ


ของแกสอุดมคติ (ideal gas equation of state) ซึ่งสามารถใช้ในการคาดคะเนพฤติกรรม (ความดัน
ปริมาตรจาเพาะ และอุณหภูมิ) ของแกสในบางสภาพได้อย่างแม่นยา
79
จากกฎของ บอยล์ และ ชาร์ล พบว่า พฤติกรรมของแกสที่มีความดันต่าและอุณหภูมิ
สูงจะเป็นไปตามสมการ

Pv  R u T (2.13)

เมื่อ R คือ ค่าคงที่สากลของแกส (universal gas constant) ซึ่ง R = 8.3145


kJ/kmol.K

หากทาการหารตลอดสมการ (2.12) ด้วยมวลโมเลกุล (molecular mass, M) ของ


แกส ซึ่งนิยามว่าเป็นมวล (m) ของสารที่มีปริมาณ 1 โมล (n) และมีหน่วยเป็น kg/kmol กล่าวคือ

m
จะได้ว่า M (2.14)
n

PV = mRT หรือ P = RT (2.15)

โดยที่ P คือ ความดันสัมบูรณ์ (absolute pressure)


V คือ ปริมาตรของแกส (volume occupied by the gas)
T คือ อุณหภูมิสมั บูรณ์ (absolute temperature)
 คือ ความหนาแน่น (density)
R คือ ค่าคงที่ของแกส (gas constant) ซึ่งจะมีค่าต่างกันสาหรับแกสแต่ละ
ชนิด โดยสามารถดูได้จากตาราง ข.1 ในภาคผนวก หรือหาได้จาก

R
R u (2.16)
M

สมการ(2.4) และสมการ(2.6) สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของปริมาตร (volume, V) ได้


กล่าวคือ

PV  nR u T หรื อ PV  mRT (2.17)

จะเห็นว่าสมการ (2.6) และสมการ (2.8) ที่ได้มานี้ก็คือสมการสภาพของแกสอุดมคติ


นั้ น เองซึ้ ง แกสอุ ด มคติ จ ะเป็ น สารที่ เ กิ ด จากการจิ น ตนาการขึ้ น มา โดยมี พ ฤติ ก รรมเป็ น ไปตาม
ความสัมพันธ์ Pv = RT ผลจากการทดลองที่กล่าวตอนต้นได้แสดงให้เห็นว่า ความสัมพันธ์ของความ
ดัน ปริมาตรจาเพาะ และอุณหภูมิ สาหรับแกสจริง (real gas) ที่มีความดันต่าและมีอุณหภูมิสูงจะมี

80
ลักษณะใกล้เคียงกับ Pv = RT หากพิจารณาจากสมการ (2.6) จะพบว่าแกสในสภาพที่ความดันต่า
และอุณหภูมิสูงจะมีความหนาแน่นต่าเช่นกัน
ในทางปฏิบัติ เราอาจพิจารณาให้แกสต่างๆ เช่น อากาศ อาร์กอน ฮีเลียม ไนโตรเจน หรือ
แม้กระทั่งคาร์บอนไดออกไซด์ มีพฤติกรรมเป็น แกสอุดมคติได้ โดยมีความผิดพลาดเกิดขึ้น เพีย ง
เล็กน้อยเท่านั้น (น้อยกว่า 1 %) แต่ในกรณีแกสที่มีความหนาแน่นสูง เช่น สารทาความเย็นชนิดต่างๆ
หรือไอน้าจะไม่สามารถพิจารณาให้เป็น แกสอุดมคติได้ ลักษณะเช่นนี้จะต้องหาค่าสมบัติต่างๆ จาก
ตารางดังที่ได้กล่าวตอนต้น
สาหรับการพิจารณาระบบเมื่อมวลของแกสอุดมคติมีค่าคงที่ (เช่น ในระบบเปิด)
ระหว่างสองสภาพ ซึ่งค่าคงที่ของแกส (R) มีค่าคงที่ จะสามารถเขียนความสัมพันธ์ระหว่างความดัน
อุณหภูมิ และปริมาตรได้ดังนี้

P1 V1 P2 V2
 (2.18)
T1 T2

ในความเป็นจริงพบว่า สมการสภาพของแกสอุดมคติไม่สามารถคาดคะเนพฤติกรรมของแกส
จริงได้ทุกสภาพหรือทุกเงื่อนไข อย่างไรก็ตาม สมการ (2.17) อาจให้ผลของการคาดคะเนที่ถูกต้องได้
เมื่อความดันของแกสลดลงจนมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ แต่ถ้าความดันมีค่าสูงขึ้นจะส่งผลให้ความหนาแน่นมี
ค่าสูงขึ้นเช่นเดียวกัน ทาให้พฤติกรรมของแกสเกิดการเบี่ยงเบนและไม่เป็นไปตามสมการสภาพของ
แกสอุดมคติ

ตัวอย่างที่ 2.1 ถังเกร็งมีปริมาตร 0.7 m3 บรรจุแกสอุดมคติชนิดหนึ่งจานวน 15 kg โดยแกสดังกล่าว


มีมวลโมเลกุล 22 kg/kmol หากภายในถังมีอุณหภูมิ 25C จงหาความดันของแกสภายในถัง

วิธีทา โจทย์กาหนด : V = 0.7 m3 , m = 15 kg, T = 25C + 273.15 = 298.15 K และ M = 22


kg/kmol โดยค่าคงที่ของแกสดังกล่าวนี้สามารถหาได้จาก

mRT (15 kg )(0.38 kJ / kg.K )( 298.15 K )


P  3  2415.015 kPa
V 0.7 m

โดยการแทนค่าลงในสมการสภาพของแกสอุดมคติตามสมการ (2.8) จะได้ความดัน (P) ของแกสในถัง


คือ

R 8.3145 kJ / kmol.K
R u   0.378 kJ / kg.K ตอบ
M 22 kg / kmol

81
2.1.3 กระบวนการและวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์
เพื่อให้สามารถเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทางานทางทฤษฎีของเครื่องยนต์ความร้อนและสามารถ
คานวณเกี่ยวกับคุณสมบัติทางเธอร์โมไดนามิกส์ได้ ก่อนอื่นต้องทาความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ
และวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์ ซึ่งเป็นสิ่งที่สาคัญมากในการศึกษาและวิเคราะห์เชิงทฤษฎีเกี่ ยวกับ
เครื่องยนต์สันดาปภายใน
เมื่ อ สมบั ติ ห นึ่ ง อย่ า งหรื อ มากกว่ า ของระบบเปลี่ ย นแปลงจะส่ ง ผลให้ ร ะบบเกิ ด การ
เปลี่ยนแปลงสภาวะ โดยเส้นทาง (path) ที่ระบบเกิดการเปลี่ยนแปลงจากสภาวะหนึ่งสู่อีกสภาวะ
หนึ่งเรียกว่า กระบวนการ (process) และจะเรียกกระบวนที่สภาวะเริ่มต้นและสภาวะสุดท้ายอยู่
ที่สภาวะเดียวกันว่า วัฏจักร (cycle)

2.1.3.1 กระบวนการทางเธอร์โมไดนามิกส์
กระบวนการ (process) คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพของระบบจากสภาพหนึ่งไปเป็น
อีกสภาพหนึ่ง เช่น น้าที่เป็นของเหลวได้รับความร้อนจนระเหยเป็นไอ การขยายตัวของกังหันภายใน
กังหันไอน้า หรือแกสถูกอัดตัวในเครื่องอัด เป็นต้น โดยถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสมบัติของระบบอย่าง
น้อย 1 อย่างขึ้นไป จะถือว่ามีการเปลี่ยนแปลงสภาพหรือมีกระบวนการเกิดขึ้นทั้งสิ้น สาหรับเส้นทาง
แสดงสภาพอย่างต่อเนื่องในระหว่างที่เกิดกระบวนการเรียกว่า เส้นทางของกระบวนการ (process
path) ดังแสดงในรูปที่ 2.7

สมบัติ y
P1, T1, V1 เส้นทางของกระบวนการ
1

2
P2, T2, V2

สมบัติ x
รูปที่ 2.7 ลักษณะของกระบวนการ

ในกระบวนการหากมีการดาเนินกระบวนการอย่างรวดเร็ว จะทาให้สภาพในแต่ละส่วน
ภายในระบบไม่เหมือนกัน ดังนั้นเราจึงไม่สามารถวัดสมบัติที่แน่นอนในสภาพต่างๆ ในขณะที่ระบบ
ดาเนินกระบวนการได้ จึงทาให้ไม่สามารถระบุเส้นทางของกระบวนการ (process path) ได้ กาหนด
ได้เพียงสภาพเริ่มต้น (initial state) และสภาพสุดท้าย (final state) เท่านั้น กระบวนการที่เกิดขึ้นใน
ลักษณะนี้จะเรียกว่าเป็นกระบวนการไม่สมดุลควอไซ (non-quasi-equilibrium process) ในทาง
ตรงกันข้ามสาหรับระบบที่มีการดาเนินกระบวนการอย่างช้าๆ เช่น การอัดแกสในกระบอกสูบอย่าง
ช้าๆ ซึ่งจะส่งให้สมบัติภายในระบบเหมือนกันทั่วทั้งระบบ ดังนั้นเราจึงสามารถวัดสมบัติที่สภาพต่างๆ
ในขณะที่ ร ะบบด าเนิ น กระบวนการได้ ซึ่ ง จะท าให้ ส ามารถระบุ เ ส้ น ทางของกระบวนการได้
82
กระบวนการในลักษณะนี้เรียกว่า กระบวนการสมดุลควอไซ (quasi-equilibrium process) โดย
สภาพที่ระบบดาเนินผ่านในกระบวนการสมดุลควอไซนั้นถือว่าเป็นสภาพสมดุล ซึ่งกระบวนการ
สมดุลควอไซเป็นเพียงกระบวนการในทางอุดมคติ (ideal process) ที่ถูกกาหนดขึ้นในทางทฤษฎี
เท่านั้น
การที่จะการศึกษาและวิเคราะห์เชิงทฤษฎีเกี่ยวกับเครื่องยนต์สันดาปภายในที่มีการทางาน
เป็นวัฏจักร ซึ่งการจะทางานเป็นวัฏจักรอุดมคติได้ นั้นต้องประกอบด้วยกระบวนการย้อนกลับได้
(reversible process) เท่ า นั้ น ดั ง นั้ น จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งทราบนิ ย ามของกระบวนการทางอุ ด มคติ ที่
เรียกว่า ‘กระบวนการย้อนกลับได้ ’ เสียก่อน กระบวนการย้อนกลับได้ คือกระบวนการที่สามารถ
ย้อนกลับสู่สภาวะเริ่มต้นได้อย่างสมบูรณ์โดยไม่หลงเหลือร่องรอยของการเปลี่ยนแปลงใดๆ ให้เห็นทั้ง
ภายในระบบและสิ่งแวดล้อม กระบวนการใดๆ ก็ตามที่ไม่เป็นไปตามที่กล่าวไว้นี้จะเรียกว่าเป็น
กระบวนการย้อนกลับไม่ได้ ( irreversible process )
ในธรรมชาติไม่มีกระบวนการใดที่เกิดขึ้นในลักษณะย้อนกลับได้ เพียงแต่อาจจะพิจารณาให้
มีความใกล้เคียงได้เท่านั้น นั่นคือ ทุกๆ กระบวนการที่เกิดขึ้นในธรรมชาติจะเป็นแบบย้อยกลับไม่ได้
ทั้งสิ้นแต่ในการศึกษาการท างานของอุปกรณ์ต่ างๆ มั กพิจารณาให้ทางานของอุปกรณ์ต่างๆ มัก
พิ จ ารณาให้ ท างานด้ ว ยกระบวนการย้ อ นกลั บได้ เนื่ อ งจากจะท าให้ง่ า ยในการวิ เ คราะห์ปัญ หา
นอกจากนี้กระบวนการกลับได้ยังใช้เป็นขีดจากัดทางทฤษฎี (theoretical limits) ในการเปรียบเทียบ
การทางานของกระบวนการจริง (actual process) กล่าวคือสาหรับอุปกรณ์ที่ผลิตงาน เช่น กังกัน
แกสหรื อ กั ง หั น ไอน้ า กระบวนการย้ อ นกลั บ ได้ จ ะท าให้ อุ ป กรณ์ ดั ง กล่ า วผลิ ต งานได้ สู ง สุ ด
(maximum work) และส าหรั บ อุ ป กรณ์ ที่ ต้ อ งป้ อ นงานให้ เช่ น ปั๊ ม หรื อ พั ด ลมกระบวนการ
ย้อนกลับได้จะทาให้งานที่ต้องป้อนให้อุปกรณ์ดังกล่าวมีค่าต่าที่สุด (minimum work)
เพื่อความเข้าใจ พิจารณาแกสในกระบอกสูบดังรูปที่ 2.19 เมื่อค่อยๆ วางก้อนน้าหนัก
ขนาดเล็กที่ละก้อนหลายๆ ก้อนบนลูก สูบจะทาให้ลูกสูบเลื่อนลง แกสภายในกระบอกสูบถูกอัดทีละ
น้อย ซึ่งงานในการยกก้อนน้าหนักจะเท่ากับงานเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงขอบเขตของระบบ เมื่อ
หยิบก้อนน้าหนักออกทีละก้อนๆ ลูกสูญจะเลื่อนสูงขึ้น จะเห็นว่า กระบวนการอัดและขยายตัวของ
แกสในลักษณะดังกล่าวเป็นไปอย่างสมดุลควอไซ ซึ่งสอดคล้องกับกระบวนการทางอุดมคติที่กล่าวไว้
ตอนต้น จึงสรุปได้ว่าเป็นกระบวนการย้อนกลับได้

สภาวะเริ่ มต้น เปลี่ยนแปลงสภาวะอย่างช้าๆ สภาวะเริ่ มต้น

รูปที่ 2.8 ตัวอย่างของกระบวนการย้อนกลับได้

83
ในทานองเดียวกัน พิจารณาแกสในกระบอกสูบที่อยู่ภายใต้ความดันในสภาวะเริ่มต้นดังรูปที่
2.9 เมื่อออกแรงกดลูกสูบให้เคลื่อนที่ลงอย่างรวดเร็วจนสามารถสอดหมุดเพื่อยึดลูกสูบให้อยู่ตาแหน่ง
เดิมได้ ด้วยเหตุที่ลูกสูบเคลื่อนที่ลงอย่างรวดเร็วเกินกว่าที่โมเลกุลของแกสบริเวณผิวหน้าลูกสูบจะ
สามารถหนีออกได้ทัน ความหนาแน่นของแกสในตอนต้น เพื่อที่จะรักษาระดับของพลังงานภายใน
กระบอกสูบให้เหมือนกับสภาวะเริ่มต้น จาเป็นต้องมีการถ่ายโอนความร้อน (Q) ออกจากระบบ
ให้กับสิ่งแวดล้อมซึ่งก็เป็นไปตามกฎข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์ เมื่ อนาสลักออกจากลูกสูบจะทา
ให้ลูกสูบเคลื่อนที่ขึ้นอย่างรวดเร็วลูกสูบจะไม่สามารถเลื่อนขึ้นไปชนกับหลักยันได้ นอกจากระบบจะ
ไม่สามารถกลับสู่สภาวะเริ่มต้นได้ กระบวนการดังกล่าวกลับทาให้สิ่งแวดล้อมเกิดการเปลี่ยนแปลง
ด้วยปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนออกมาจากกระบอกสูบ ดังนั้ นกระบวนการดังกล่าวนี้จึงถือเป็นการ
ย้อนกลับไม่ได้

Q
กระบวนการอัด กระบวนการขยายตัว

รูปที่ 2.9 ตัวอย่างของกระบวนการย้อนกลับไม่ได้

กระบวนการย้ อ นกลั บ ไม่ ไ ด้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในตั ว อย่ า งที่ อ ธิ บ ายข้ า งต้ น มี ส าเหตุ ม าจากการ
เปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบที่เป็นไปแบบไม่สมดุลควอไซ (non–quasi–equilibrium) เพราะว่า
เมื่อเกิดการอัดตัวอย่างรวดเร็ว ความดันภายในระบบเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเช่นกัน ซึ่ง
แตกต่างจากกระบวนการย้อนกลับได้ในรูปที่ 2.8 ที่ความดันภายในระบบเปลี่ยนแปลงช้า ๆ ใน
ลักษณะสมดุลควอไซ
กรณีที่การถ่ายโอนความร้อนเกิดขึ้นด้วยความแตกต่างของอุณหภูมิในปริมาณจากัด (finite
temperature difference, T) ดังรูปที่ 2.10(ก) ลักษณะนี้ถือเป็นกระบวนการย้อนกลั บไม่ได้
เช่นกัน ส่วนรูปที่ 2.10(ข) เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิเป็นไปอย่างช้า ๆ ในปริมาณ dT
ซึ่งจะมีค่าน้อยเข้าใกล้ศูนย์ ลักษณะเช่นนี้เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติ เพราะต้องใช้ระยะ
เวลานานหรือต้องใช้พื้นที่ในการถ่ายโอนความร้อนที่เกิดขึ้นระหว่างการเปลี่ยนแปลงสถานะ (การ
ระเหยและการควบแน่น ) ของสารบริสุทธิ์ที่ความดันคงที่ เราอาจพิจารณาให้กระบวนการดังกล่าว
เป็นไปแบบย้อนกลับได้ ทั้งนี้เนื่องจากอุณหภูมิของสารบริสุทธิ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลงนั่งเอง
ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนอีกอย่างหนึ่งก็คือกรณีของแหล่งความร้อน (thermal reservoir) ที่
ได้กล่าวได้ตอนต้นซึ่งการเปลี่ยนแปลงสภาวะภายในแหล่งความร้อนจะเป็นย้อนกลับได้เนื่องจากไม่
เกิดการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังมีอีกหลายสาเหตุที่ทาให้กระบวนการที่เกิดขึ้นจริงในธรรมชาติ
เป็ น แบบย้ อ นกลั บ ได้ เช่ น ความเสี ย ดทาน (friction) การขยายตั ว อย่ า งเป็ น อิ ส ระ (free
expansion) ของของไหล การผสม (mixing) ของของไหลที่มีองค์ประกอบทางเคมีและสภาวะ
84
ต่างกัน คลื่ นช็อก (shock wave) ปฏิกิริยาเคมี (chemical reaction) ความต้านทานไฟฟ้ า
(electric resistance) การไหลของของไหลหนื ด (viscous flow) การเสี ย รู ป แบบไม่ ยื ด หยุ่ น
(inelastic deformation) เป็ น ต้ น โดยสิ่ ง ต่ า งๆ ที่ กล่ า วมานี้ เ รี ย กว่ า สภาพย้ อ นกลั บ ไม่ ไ ด้
(irreversibility)

ระบบอุณหภูมิคงที่ ระบบอุณหภูมิคงที่

Q Q

สิ่ งแวดล้อม
สิ่ งแวดล้อม

(ก) กระบวนการย้อนกลับไม่ได้ (ข) กระบวนการย้อนกลับได้

รูปที่ 2.10 กระบวนการการถ่ายโอนความร้อนระหว่างระบบและสิ่งแวดล้อม

ในกรณีที่ภายในระบบไม่เกิดย้อนกลับไม่ได้ระหว่างกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาวะ เราจะ
เรียกว่าการที่เกิดขึ้นนี้ว่า กระบวนการย้อนกลับได้ภายใน (internally reversible process)
ซึ่งได้แก่ กระบวนการที่เกิดขึ้นในลั กษณะสมดุลควอไซภายในระดังที่ได้กล่าวในหัวข้อที่ผ่ านมา
นอกจากนั้นแล้ว การที่กระบวนการจะเป็นแบบย้อนกลับได้ภายใน งานทีถ่ายโอนผ่านขอบเขตของ
ระบบจะต้องมีลักษณะสมดุ ลควอไซด้วยเช่นกัน สาหรับงานที่เกิดจากการหมุนใบพัด หรืองาน
เนื่ อ งจากกระแสไฟฟ้า รวมถึง งานในรูป แบบอื่ น ที่ไ ม่เป็ น แบบสมดุ ลควอไซ จะไม่ สามารถทาให้
กระบวนการดาเนินไปอย่างสมดุลควอไซได้ เพราะโดยธรรมชาติแล้วกระบวนการถ่ายโอนงานใน
ลักษณะดังกล่าวนี้ล้วนเป็นแบบย้อนกลับไม่ได้ทั้งสิ้น
ในกรณีของ กระบวนการย้อนกลับได้ภายนอก (externally reversible process)
จะไม่เกิดสภาพย้อนกลั บไม่ ได้ ภ ายนอกกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาวะ แต่อาจยอมใไมี ส ภาพ
ย้อนกลับไม่ได้เกิดขึ้นภายในระบบ เช่น การถ่ายโอนความร้อนระหว่างระบบกับสิ่งแวดล้อมที่มี
อุณหภูมิแตกต่างกันน้อยๆ ในปริมาณ dT โดยภายในระบบมีการเปลี่ยนแปลงสภาวะในลักษณะไม่
สมดุลควอไซ
ในกรณีที่ทั้งระบบสิ่งแวดล้อมไม่เกิดสภาพย้อนกลับไม่ได้ในระหว่างกระบวนการเปลี่ยนแปลง
สภาวะ เราจะเรี ย กกระบวนการที่ เ กิ ด ขึ้ น นี้ ว่ า กระบวนการย้ อ นกลั บ ได้ โ ดยรวม (totally
reversible process) ตัวอย่างของกระบวนการดังกล่าวนี้ได้แก่ กระบวนการถ่ายโอนความร้อน
ระหว่างระบบและสิ่งแวดล้อมในรูปที่ 2.10(ข)

85
ในทางเธอร์โมไดนามิคส์ กระบวนการย้อนกลับได้โดยรวมและกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน
จะมีบทบาทสาคัญมาก โดยแนวคิดของกระบวนการย้อนกลับได้นี้จะนาไปศึกษาการทางานของ
อุปกรณ์ทางวิศวกรรมต่างๆ โดยเฉพาะเครื่องยนต์ความร้อน
กระบวนการทางทฤษฎีถูกตั้งชื่อกระบวนการตามสมบัติทคี่ งที่ เช่น
ก) กระบวนการความดันคงที่ เรียกว่า กระบวนการไอโซแบริก (isobaric process)
ข) กระบวนการปริมาตรคงที่ เรียกว่า กระบวนการไอโซเมตริก (isometric process)
ค) กระบวนการอุณหภูมิคงที่ เรียกว่า กระบวนการไอโซเธอร์มอล (isobaric process)
ง) กระบวนการเอนทัลปีคงที่ เรียกว่า กระบวนการไอเซนทัลปิกหรือธรอททลิ่ง
(isenthalpic or throttling process)
จ) กระบวนการเอนโทรปีคงที่ เรียกว่า กระบวนการไอเซนโทรปิก (isentropic process)
ฉ) กระบวนการที่ไม่มีการถ่ายโอนความร้อน เรียกว่า กระบวนการอะเดียแบติก (adiabatic
process) เป็นต้น

กระบวนการทางทฤษฎีดังกล่าวข้างต้นมักนิยมนามาวาดบนแผนภาพเดียวกัน เพื่อเปรียบ
เทียบลักษณะของแต่ละกระบวนการโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง ความดันและปริมาตรอยู่ในรูปของ
PVn = C โดยเรียกกระบวนการนี้ว่า กระบวนการพอลิโทรปิก ซึ่งค่าของ n จะแสดงลักษณะของ
กระบวนการต่าง ๆ โดยหาก n มีค่าเท่ากับอัตราส่วนความร้อนจาเพาะ k (n = k) เราจะได้ PVk
= C นั่นคือ กระบวนการดังกล่าวจะกลายเป็นกระบวนการไอเซนโทรปิก สาหรับแกสอุดมคติที่
เปลี่ยนแปลงสภาวะด้วยกระบวนการพอลิโทรปิกที่ค่า n ต่าง ๆ สามารถแสดงบนแผนภาพอุณหภูมิ–
เอนโทรปีได้ดังรูปที่ 2.16 โดยรายละเอียดของแต่ละกระบวนการจะได้กล่าวโดยลาดับต่อไป

T
n=
n=k (V = คงที่) n=0
(S = คงที่) (P = คงที่)

n=1
(T = คงที่)

รูปที่ 2.11 กระบวนการโพลีโทรปิก

86
ก) กระบวนการโพลีโทรปิก (polytrophic process, 𝑃𝑉 𝑛 =คงที)่
𝑃1 𝑉1 𝑃2 𝑉2
 =
𝑇1 𝑇2

𝑃𝑉 = 𝑚𝑅𝑇

𝑃1 𝑉1𝑛 = 𝑃2 𝑉2𝑛
𝑛−1
𝑛−1
𝑇2 𝑉1 𝑃2 𝑛
( )=( ) =( )
𝑇1 𝑉2 𝑃1
(𝑃2 𝑉2 −𝑃1 𝑉1 )
 𝑊𝑛 = (1−𝑛)

(𝑃2 𝑉2 −𝑃1 𝑉1 )
 𝑊𝑠 = (1−𝑛)

 𝑄 = 𝑚𝐶𝑛 ∆𝑇

𝑘−𝑛
𝐶𝑛 = 𝐶𝑣 ( )
1−𝑛

 ∆𝑈 = 𝑚𝐶𝑣 ∆𝑇

 ∆𝐻 = 𝑚𝐶𝑝 ∆𝑇

𝑇2
 ∆𝑆 = 𝑚𝐶𝑛 𝑙𝑛
𝑇1

ข) กระบวนการปริมาตรคงทีห่ รือกระบวนการไอโซเมตริก (isometric process,


𝑃𝑉 ∞ =คงที)่
𝑃1 𝑃2
 =
𝑇1 𝑇2

𝑃𝑉 = 𝑚𝑅𝑇

87
 𝑊𝑛 = 0

 𝑊𝑠 = − ∫ 𝑉𝑑𝑃 − ∆𝐾𝐸 − ∆𝑃𝐸

 𝑄 = ∆𝑈

 ∆𝑈 = 𝑚𝐶𝑣 ∆𝑇

 ∆𝐻 = 𝑚𝐶𝑝 ∆𝑇

𝑇 𝑃2
 ∆𝑆 = 𝑚𝐶𝑣 𝑙𝑛 2, ∆𝑆 = 𝑚𝐶𝑣 𝑙𝑛
𝑇1 𝑃1

ค) กระบวนการความดันคงที่หรือกระบวนการไอโซแบริก (isobaric
process, 𝑃𝑉 0 =คงที)่
𝑉1 𝑉2
 =
𝑇1 𝑇2

𝑃𝑉 = 𝑚𝑅𝑇

 𝑊𝑛 = ∫ 𝑃𝑑𝑉 = 𝑃(𝑉2 − 𝑉1 )

 𝑊𝑠 = −∆𝐾𝐸 − ∆𝑃𝐸

 𝑄 = ∆𝐻

 ∆𝑈 = 𝑚𝐶𝑣 ∆𝑇

 ∆𝐻 = 𝑚𝐶𝑝 ∆𝑇

𝑇 𝑉2
 ∆𝑆 = 𝑚𝐶𝑝 𝑙𝑛 2, ∆𝑆 = 𝑚𝐶𝑣 𝑙𝑛
𝑇1 𝑉1

ง) กระบวนการอุณหภูมิคงทีห่ รือกระบวนการไอโซเธอร์มัล (isothermal


process, 𝑃𝑉 1 =คงที)่

 𝑃1 𝑉1 = 𝑃2 𝑉2
88
𝑃𝑉 = 𝑚𝑅𝑇
𝑑𝑉 𝑉2 𝑃1
 𝑊𝑛 = ∫ 𝑃𝑑𝑉 = 𝑃𝑉 ∫ = 𝑃1 𝑉1 𝑙𝑛 = 𝑃1 𝑉1 𝑙𝑛
𝑉 𝑉1 𝑃2

 𝑊𝑠 = 𝑄 − ∆𝐾𝐸 − ∆𝑃𝐸

 𝑄 = 𝑊𝑛

 ∆𝑈 = 0

 ∆𝐻 = 0
𝑑𝑄 𝑄 𝑊𝑛
 ∆𝑆 = ∫ = =
𝑇 𝑇 𝑇

จ) กระบวนการเอนโทรปีคงที่ห รื อ กระบวนการไอเซนโทรปิ ก (isentropic


process, 𝑃𝑉 𝑘 =คงที่ )
𝑃1 𝑉1 𝑃2 𝑉2
 =
𝑇1 𝑇2

𝑃𝑉 = 𝑚𝑅𝑇

𝑃1 𝑉1𝑘 = 𝑃2 𝑉2𝑘
𝑘−1
𝑘−1
𝑇2 𝑉1 𝑃2 𝑘
( )=( ) =( )
𝑇1 𝑉2 𝑃1
(𝑃2 𝑉2 −𝑃1 𝑉1 ) 𝑚𝑅(𝑇2 −𝑇1 )
 𝑊𝑛 = (1−𝑛)
=
1−𝑘

𝑘(𝑃2 𝑉2 −𝑃1 𝑉1 )
 𝑊𝑠 = (1−𝑘)
= −∆𝐾𝐸 − ∆𝑃𝐸

 𝑄=0

89
 ∆𝑈 = −𝑊𝑛

 ∆𝐻 = −𝑊𝑠

 ∆𝑆 = 0

ฉ) กระบวนการอะเดียแบติก (Adiabatic process) คื อ กระบวนการที่ ไ ม่ มี ท้ั ง การ


สู ญ เสี ย ความร้ อ นไม่ มี ก ารรั บ ความร้ อ นของสารทางานผ่ า นขอบเขตของ
ระบบ ซึ่ ง จะมี ค วามแตกต่ า งจากกระบวนการเอนโทรปี ค งที่ กล่ า วโดยสรุ ป
ได้ ดั ง นี้
- กระบวนการอะเดี ย แบติ ก ไม่มีก ารถ่ า ยโอนความร้ อ นผ่ านขอบเขตของระบบ
ในขณะที่ก ระบวนการไอเซนโทรปิ ก เป็ น กระบวนการอะเดี ย แบติ ก และ
เป็ น กระบวนการแบบย้ อ นกลั บ ได้ (reversible process) กล่ า วคื อ ไม่ มี
การเปลี่ ย นแปลเอนโทรปี
- กระบวนการอะเดี ย แบติ ก อาจเป็ น กระบวนการแบบย้ อ นกลั บ ได้ ห รื อ
ย้ อ น ก ลั บ ไ ม่ ไ ด้ ก ็ ไ ด้ แ ต่ ก ร ะ บ ว น ก า ร ไ อ เ ซ น โ ท ร ปิ ก เ ป็ น ไ ด้ เ พี ย ง
กระบวนการย้ อ นกลั บ ได้ เ ท่ า นั้ น

2.1.3.2 วัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิกส์
วั ฏ จั ก รทางเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ (Thermodynamics cycles) หมายถึ ง การเกิ ด
กระบวนการจากสภาพเริ่มต้นโดยระบบดาเนินผ่านสภาพต่างๆ แล้วสามารถกลับสู่สภาพเริ่มต้นได้อีก
โดยเมื่อระบบกลับสู่สภาพเริ่มต้น สมบัติของระบบจะเหมือนกับสมบัติที่สภาพเริ่มต้นเดิมทุกประการ
หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ กระบวนการเกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากสภาพของสารทางานในระบบจาก
สภาพหนึ่งไปตามกระบวนการหลายๆ กระบวนการ (ตั้งแต่ 2 กระบวนการขึ้นไป) และกลับมามีสภาพ
เหมือนจุดเริ่มต้นทุกประการนั่นเอง โดยทั่วไปวัฏจักรเกิดจากการการเปลี่ยนเปลงสภาพไปในทิศทาง
ตามเข็มนาฬิกา ดังแสดงในรูปที่ 2.12 ตัวอย่างของวัฏจักรดังกล่าวเช่นวัฏจักรพื้นฐานของเครื่องยนต์
เป็นต้น
P 2
1

5 Wnet 3

V
รูปที่ 2.12 แผนภาพแสดงลักษณะของวัฏจักร
90
กรณีวัฏจักรเกิดจากการการเปลี่ยนเปลงสภาพไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา เราเรียกว่า วัฏ
จักรทวน (reversed cycle) ตัวอย่างของวัฏจักรดังกล่าว เช่น วัฏจักรคาร์โนแบบย้อนกลับหรือวัฏ
จักรทวนคาร์โน (reversed Carnot cycle) ดังรูปที่ 2.13 ซึ่งเป็นวัฏจักรพื้นฐานที่ใช้กับเครื่องทาความ
เย็นและปั้มความร้อน (heat pump) เป็นต้น

P
1
Qout
4
Win
2
Qin 3
V

รูปที่ 2.13 แผนภาพแสดงลักษณะของวัฏจักรวัฏจักรคาร์โนแบบย้อนกลับ

ตั ว อย่ า งที่ 2.2 แกสฮีเลี ยมซึ่ งบรรจุภายในระบบปิดที่สามารถเปลี่ยนแปลงปริมาตรได้ เกิดการ


เปลี่ยนแปลงสภาวะจนครบวัฏจักรดังรูปที่ 2.14 เริ่มต้นมีความดัน 300 kPa แกสฮีเลียมจะขยายตัว
ด้ ว ยกระบวนการความดั น คงที่ จ ากอุ ณ หภู มิ 20C เป็ น 145C จากนั้ น ถู ก ลดอุ ณ หภู มิ ด้ ว ย
กระบวนการปริมาตรคงที่จนมีอุณหภูมิเท่ากับ 20C และถูกอัดตัวด้วยกระบวนการอุณหภูมิคงที่จนมี
ความดัน 300 kPa เท่ากับตอนเริ่มต้น ถ้าทุกกระบวนการที่เกิดขึ้นเป็นแบบสมดุลควอ-ไซ จงหา
ก) พลังงาน (งานหรือความร้อน) ที่ถ่ายโอนในแต่ละกระบวนการ
ข) ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของวัฏจักร

P
1 2
300 kPa

T=คงที่
3

v
รูปที่ 2.14 รูปสาหรับตัวอย่างที่ 2.2

วิธีทา โจทย์กาหนด : P1 = P2 = 300 kPa, T1 = T3 = 20C + 273.15 = 293.15 K


และ T2 = 145C + 273.15 = 418.15 K

91
พิจารณาให้ฮีเลียมเป็นแกสอุดมคติ จากตาราง ข.1 จะได้ Cvo = 3.116 kJ/kg.K และ
R = 2.0771 kJ/kg.K
2
ก) ในที่ นี้ ส ามารถหางานที่ ถ่ า ยโอนได้ จ าก w 12   Pdv ส่ ว นความร้ อ นในแต่ ล ะ
1
กระบวนการสามารถหาได้โดยอาศัยกฎข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์สาหรับระบบเปิด โดยไม่คิดผล
การเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์และพลังงานศักย์ซึ่ง q - w  u
กระบวนการ 1 – 2 : P1 = P2 จะได้
2
w 12 =  Pdv = P1(v2 – v1)
1
= P2 v2 - P1v1 = R(T2 – T1)
= (2.0771 kJ/kg.K) (418.15 -293.15) K
= 259.637 kJ/kg
จากกฎข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์ จะได้
q 12 = (u2- u1) + w 12 = Cv (T2 – T1) + w 12
= (3.116 kJ/kg.K)(418.15 – 293.15)K + 259.637
kJ/kg
= 649.137 kJ/kg
กระบวนการ 2 – 3 : V2 = V3 จะได้
w 32 = 0
จากกฎข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์ จะได้
q 32 = (u3 –u2) = Cv (T3– T2)
= (3.116 kJ/kg.K)(293.15 – 418.15) K
= - 389.50 kJ/kg
กระบวนการ 3 – 1 : T3 = T1 โดยที่ P = RT/v จะได้
1 1 dv v1 P3
w 13 =  Pdv = RT  = RT1 ln = RT1 ln
3 3 v v3 P1
ค่าของ P3 สามารถหาได้จากการพิจารณากระบวนการ 2 – 3 ที่เป็นกระบวนการ
P P P3 T
ปริมาตรคงที่ซึ่ง 3  2 แต่ P2 = P1 ดังนั้น = 3 โดยจากสมการ
T3 T2 P1 T2
ข้างต้นจะได้

92
T3
w 13 = RT1 ln
T2
293.15 K
= (2.0771 kJ/kg.K)(293.15 K) ln
418.15 K
= - 216.255 kJ/kg
จากกฎข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์ จะได้
q 13 = (u1 - u3) + w 13 = Cv (T1 - T3) + w 13
= 0 + (- 216.255 kJ/kg)
= -216.255 kJ/kg ตอบ

ข) ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของวัฏจักร หาได้จาก

w net , out w 12  w 32  w 13
th = =
q in q 12

(259.637 0 216.255)kJ/kg
= = 0.0668
649.137 kJ/kg

= 6.68 % ตอบ

ตัวอย่างที่ 2.3 ความร้อนถูกถ่ายโอนจากเตาเผาไปยังเครื่องยนต์ความร้อนด้วยอัตรา 120 MW


ถ้ า อั ต ราการปล่ อ ยทิ้ ง พลั ง งานสู ญ เปล่ า ไปยั ง แม่ น้ าที่ อ ยู่ บ ริ เ วณที่ ใ กล้ ๆ เท่ า กั บ 70 MW จง
คานวณหากาลังสุทธิที่ได้ออกมา และประสิทธิภาพของเตาเผา

วิธีทา เตาเผาถือได้ว่าเป็นแหล่งสะสมพลังงานที่มีอุณหภูมิสูงของเครื่องยนต์ความร้อนนี้และแหล่งน้า
ถือว่าเป็นแหล่งสะสมพลังงานที่มีอุณหภูมิตา่ ดังนั้น
QH = 120 MW และ QL = 70 MW
สมมติว่า ความร้อนที่อาจสูญเสียจากของไหลทางานขณะที่ไหลผ่านท่อและอุปกรณ์นอ้ ยมาก
กาลังสุทธิที่ได้ออกมาจากเครือ่ งยนต์ความร้อนนี้คานวณได้ ดังนี้
Wnet, out = QH - QL = (120 – 70) MW = 50 MW
ส่วนประสิทธิภาพเชิงความร้อนสามารถคานวณได้

93
Wnet, out 50 MW
th = = = 0.416 (หรือ 41.6 %)
QH 120 MW

นั่นคือ เครื่องยนต์นี้สามารถเปลี่ยนความร้อนที่ได้รับไปเป็นงานได้ 41.6 % ตอบ

ตัวอย่างที่ 2.4 เครื่องยนต์ของรถยนต์ ซึ่งให้กาลังออกมาจานวน 70 hp มีประสิทธิภาพเชิงความ


ร้อน 30% จงคานวณหาอัตราการใช้เชื้อเพลิงของรถยนต์นี้ถ้าเชื้อเพลิงให้ค่าความร้อนเท่ากับ 15,000
Btu/lbm (พลังงานจานวน 15,000 Btu จะถูกปล่อยมาเมื่อเชื้อเพลิง 1 lbm ถูกเผาไหม้)

วิธีทา ปริมาณความร้อนทั้งหมดที่ได้จากเชื้อเพลิงเพื่อให้กาลังออกมา 70 hp คานวณได้ดังนี้


Wnet, out 70 hp 2545Btu / h
QH = =  = 593833.34
th 0.03 1hp

เครื่องยนต์จะต้องเผาไหม้เชื้อเพลิงด้วยอัตราดังนี้เพื่อให้ได้อัตราพลังงานตามต้องการ

593833.34 Btu / h
m = = 39.58 lbm / h ตอบ
15,000 Btu / lbm

2.1.4 ประสิทธิภาพเชิงความร้อนทางทฤษฎีของเครื่องยนต์
ในวั ฏ จั ก รการท างานของเครื่ อ งยนต์ สั น ดาปภายในที่ เ ป็ น ไปตามกฎข้ อ ที่ ห นึ่ ง ของเธอร์ โ ม
ไดนามิกส์จะมีลักษณะการเปลี่ยนรูปพลังงานความร้อนให้กลายเป็นงานกล ดังรูปที่ 2.15 เครื่องยนต์
จะได้รับความร้อนปริมาณหนึ่งในจังหวะระเบิด โดยส่วนหนึ่งของความร้อนที่รับมาจะถูกเปลี่ยนเป็น
งานกลในจังหวะขยายตัวและอีกส่วนหนึ่งที่เหลือจะถูกถ่ายโอนทิ้งไปในจังหวะไล่ไอเสียออกและนาไอ
ดีเข้า ดังนั้นงานที่กระทากับหัวลูกสูบในวัฏจักรก็คือ ผลต่างของค่าความร้อนที่ป้อนเข้าสู่ระบบกับค่า
ความร้อนที่ถูกถ่ายโอนทิ้งออกจากระบบ ซึ่งจะเห็นได้ว่า เป็นไปตามกฎข้อที่ 2 ทางอุณหพลศาสตร์
นั่นคือ

งานที่ได้จากระบบ = ปริมาณความร้อนที่เข้าระบบ – ปริมาณความร้อนที่คายออกจากระบบ

หรือ Wnet  Qin  Qout (2.19)


และจาก
งานที่ได้จากระบบ
ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของวัฏจักรกาลัง =
ปริมาณความร้อนที่ป้อนให้กับระบบ

94
รูปที่ 2.15 การเปลี่ยนรูปพลังงานความร้อนให้กลายเป็นงานกลของเครื่องยนต์ความร้อน

Wnet Qin  Qout Q


หรือ  th    1  out (2.20)
Qin Qin Qin

โดย th คือประสิทธิภาพเชิงความร้อน (theoretical thermal efficiency)

ตัวอย่างที่ 2.5 วัฏจักรกาลังไอน้าอย่างง่ายดังรูปที่ 2.8 รับความร้อนจากแกสร้อนที่เกิดจากการเผา


ไหม้ในอัตรา 100000 kJ/min และถ่ายโอนความร้อนทิ้งให้กับสิ่งแวดล้อมในอัตรา 66000 kJ/min
ถ้ากาลังที่ต้องป้อนให้กับปั๊มมีค่า 1400 kJ/min จงหา
ก) กาลังที่กังหันไอน้าผลิตได้ (Wout) ในหน่วย kW และ
ข) ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของวัฏจักร

วิธีทา
ก) กาลังกังหันที่ไอน้าผลิตได้สามารถหาได้โดยการพิจารณาให้วัฏจักรกาลังไอน้าเป็นระบบ
ปิดซึ่งเป็นวัฏจักรด้วยสภาวะคงตัว (steady state) โดยจากกฎข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์ จะได้
 Q   W นั่นคือ

Q in - Q out  W out - W in

95
100000 kJ/min - 66000 kJ/min  W out - 1400 kJ/min

W out  35400 kJ/min

ดังนั้น กาลังที่กังหันไอน้าผลิตได้ คือ W out  35400 kJ/min หรือ 590 kW ตอบ

ข) ประสิทธิภาพเชิงความร้อนของวัฏจักรหาได้จาก

Q H  Q L 100000  66000
th    0.34 หรือ 34 % ตอบ
QH 100000

2.1.5 เอนโทรปี

เอนโทรปี (Entropy) เป็ น คุ ณ สมบั ติ อ ย่ า งหนึ่ ง ทางเธอร์ โ มไดนามิ ก ส์ เป็ น ตั ว บ่ ง ชี้


ความไม่ มี ร ะเบี ย บของโมเลกุ ล ซึ่ ง เห็ น ได้ จ ากของแข็ ง จะมี ค่ า เอนโทรปี น้ อ ยที่ สุ ด และแกส
จะมี ค่ า ค่ า เอนโทรปี ม ากที่ สุ ด
ทฤษฎีสาคัญที่สนับสนุนกฎข้อที่สองของเธอร์โมไดนามิคส์ทฤษฎีหนึ่ง คือ อสมการของคลอ
เซี ยส (Clausius inequality) ซึ่ งกล่ าวไว้ว่า “อินทิกรัลตลอดวัฏจักรของปริมาณ Q/T สาหรับ
ระบบปิดที่ทางานแบบย้อนกลับได้ภายในต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับศูนย์เสมอ” ดังนั้นวัฏจักรที่
สามารถเกิดขึ้นจริงในธรรมชาติต้องดาเนินการไปโดยสอดคล้องกับอสมการของคลอเซียส ดังจะกล่าว
รายละเอียดในลาดับต่อไป
อสมการของคลอเซียส อธิบายได้โดยพิจารณาระบบปิดที่ทางานเป็นวัฏจักรดังรูปที่ 2.1 ซึ่ง
สามารถเป็นไปได้ทั้งแบบย้อนกลับได้ภายในและย้อนกลับไม่ได้ภายใน ระบบปิดจะรับความร้อน
Q ที่ ต าแหน่ ง ซึ่ ง มี อุ ณ หภู มิ สั ม บู ร ณ์ T และผลิ ต งาน W ออกมา ในที่ นี้ ไ ด้ มี ก ารติ ด ตั้ ง
เครื่องจักรความร้อนแบบย้อนกลับได้โดยรวม (totally reversible heat engine) ระหว่างแหล่ง
ความร้อนอุณหภูมิ TR และระบบปิด ทั้งนี้ก็เพื่อกาจัดสภาพย้อนกลับไม่ได้ที่อาจเกิดขึ้นภายนอก
ระบบ เครื่องจักรความร้อนแบบย้อนกลับได้โดยรวมนี้จะรับความร้อน Q R จากแหล่งความร้อน
และถ่ายโอนความร้อน Q ให้กับระบบปิดดังที่กล่าวไว้ตอนต้น ซึ่งระบบปิดจะสามารถผลิตงาน
WE ออกมาได้เช่นกัน
เมื่ อ พิ จ ารณาระบบรวมที่ อ ยู่ ภ ายในเส้ น ประซึ่ ง ประกอบด้ ว ยเครื่ อ งจั ก รความร้ อ นแบบ
ย้อนกลับได้โดยรวมและระบบปิด จะพบว่าระบบรวมดังกล่าวมีการแลกเปลี่ยนความร้อนกับแหล่ง
ความร้อนอุณหภูมิ TR เพียงแหล่งเดียว และสามารถผลิตงานออกมาได้เท่ากับ WE + W ซึ่ง
ขัดแย้งกับกฎข้อที่สองของเธอร์โมไดนามิคส์ตามคากล่าวของเคลวิน – แพลงค์ หากไม่ต้องการให้
การทางานขัดแย้งกับคากล่าวของเคลวิน – แพลงค์ ต้องกาหนดให้

 WE   W  0 (2.21)

96
แหล่งความร้อน
TR

HE
ย้อนกลับได้ T
แบบโดยรวม ระบบปิ ด

รูปที่ 2.16 อุปกรณ์สาหรับการพิสูจน์อสมการของคลอเซียส

เมื่อพิจารณาเฉพาะเครื่องจักรความร้อนแบบย้อนกลับได้โดยรวมโดยอาศัยกฎข้อที่หนึ่งของ
เธอร์โมไดนามิคส์ จะได้ WE = QR - Q และจากสเกลอุณหภูมิเคลวินที่กล่าวในบทก่อน
หน้านี้ จะได้ว่า QR/ TR = Q/T นั่นคือ

TR
δWE = Q  Q (2.22)
T

เมื่อแทนสมการ (2.2) ลงในสมการ (2.1) จะได้

T
 Q   Q   W  0
R
(2.23)
T

ในทานองเดียวกัน เมื่อพิจารณาเฉพาะระบบปิดโดยอาศัยกฎข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์
จะพบว่า  Q   W ดังนั้น จึงสามารถเขียนสมการ (2.3) ได้เป็น

Q
 TR 0
T

แต่เนื่องจาก TR มีค่าคงที่บนสเกลอุณหภูมิ ดังนั้น

Q
 T
0 (2.24)

97
สมการ (2.4) ที่ ไ ด้ นี้ มี ชื่ อ เรี ย กว่ า อสมการของคลอเซี ย ส (Clausius inequality) การ
พิสูจน์นี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของอุปกรณ์ดังรูปที่ 2.1 ซึ่งยอมให้มีสภาพย้อนกลับไม่ได้เกิดขึ้นภายในระบบ
ปิดเท่านั้น
อสมการของคลอเซียสนี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้กับวัฏจักรทางเธอร์โมไดนามิคส์อื่นๆ ทั้ง
ย้อนกลับได้และย้อนกลับไม่ได้ รวมถึงวัฏจักรการทางานของเครื่องทาความเย็นหรือปั๊มความร้อน
ด้วย โดยเครื่องหมายเท่ากับ (=) จะใช้กับวัฏจักรย้อนกลับได้ภายใน ส่วนเครื่องหมายไม่เท่ากับ (<)
จะใช้กับวัฏจักรย้อนกลับไม่ได้ภายใน กล่าวคือ

Q
วัฏจักรย้อนกลับได้ภายใน :  0
T
Q
วัฏจักรย้อนกลับไม่ได้ภายใน :  0
T

ตัวอย่างที่ 2.6 พิจารณาวัฏจักรไอน้า (steam cycle) ที่ทางานภายใต้สภาวะดังรูปที่ 2.17 จง


ตรวจสอบว่าวัฏจักรไอน้าดังกล่าวนี้สามารถทางานได้หรือไม่ กาหนดให้ปั๊มน้าและกังหันไอน้าทางาน
ด้วยกระบวนการ อะเดียแบติก

qboiler

ของเหลวอิ่มตัว ไออิ่มตัว
1000 kPa 1000 kPa
4 1
หม้อไอน้ า
win กังหันไอน้ า wout
ปั๊มน้ า เครื่ อง
ควบแน่น x2 = 0.9
50 kPa 3 2

qcondenser
รูปที่ 2.17 จักรไอน้าสาหรับตัวอย่างที่ 2.6

วิธีทา การตรวจสอบความเป็นไปได้ในการทางานสามารถทาได้โดยการประยุกต์อสมการของคลอ
เซี ย สเข้ า กั บ วั ฏ จั ก รไอน้ า โดยผลที่ ไ ด้ ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ อสมการของคลอเซี ย ส กล่ า วคื อ
Q
 T
/T 0 ในที่นี้มีเพียงหม้อไอน้าและเครื่องควบแน่นเท่านั้นที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายโอนความ
ร้อน ดังนั้นจึงเขียนอสมการของคลอเซียสได้ดังนี้

98
Q  q   q
 T
   
 T  boiler  T  condencer
0 (2.25)

เมื่อ Tboiler = Tsat @ 1000 kPa = 179.91˚C = 453.06 K


Tcondenser = T sat @ 50 kPa = 81.33˚C = 354.48 K

ปริมาณความร้อนซึ่งถ่ายโอนที่หม้อไอน้าและเครื่องควบแน่นสามารถหาได้จากการประยุกต์
กฏการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานส าหรั บ ปริ ม าตรควบคุ ม ภายใต้ ก ระบวนการ SSSF โดยไม่ คิ ด ผลการ
เปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์และพลั งงานศักย์ รวมถึงไม่มีการถ่ายโอนงาน ซึ่งจะได้ว่า q = he - hi
ดังนั้น
q boiler = 4q1 = h1 - h4 (2.26)

q condenser = 2q3 = h3 - h2 (2.27)

ทนค่าสมการ (2.6) และสมการ (2.7) ลงในสมการ (2.5) จะได้ว่า

q h1  h 4 h 3  h 2
   (2.28)
T Tboiler Tcondenser

โดยที่ h1=hg@ 1000 kPa = 2778.08 kJ/ kg และ h4 = hf @ 1000 kPa = 762.79 kJ/ kg

และที่ 50 kPa จะได้ hf = 340.47 kJ/ kg และ h f g = 2305.4 kJ/ kg

ดังนั้น
h2 = h f + x2 h f g = (340.47 + (0.9) 2305.4) kJ/ kg = 2415.33 kJ/ kg
h3 = h f + x3 h f g = (340.47 + (0.1) 2305.4) kJ/ kg = 571.01 kJ/ kg
โดยแทนค่าลงในสมการ (2.24) จะได้

q ( 2778.08  762.79) kJ / kg (571.01  2415.33) kJ / kg


    0.890kJ / kg.K
T 453.06K 354.48K

จะเห็นว่า  q / T  0 แสดงว่าการทางานของวัฏจักรไอน้าสอดคล้องกับอสมการของคลอเซียส
ดังนั้น วัฏจักรไอน้าดังกล่าวนี้จึงสามารถทางานได้จริงภายใต้สภาวะที่กาหนดให้ ตอบ

99
ตัวอย่างที่ 2.7 เครื่องจักรความร้อนดังรูปที่ 2.18 ทางานแบบย้อนกลับได้ โดยมีการถ่ายโอนความ
ร้อนกับแหล่งความร้อนสามแหล่งซึ่งมีอุณหภูมิ T1 = 400 K , T2 = 1200 K และ T3 = 300 K
ตามลาดับ ถ้าเครื่องจักรความร้อนนี้รับความร้อนจานวน 1500 kJ จากแหล่งความร้อนที่มีอุณหภูมิ
1200 K และผลิตงานออกมาได้ 450 kJ จงหาปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนให้กับแหล่งความร้อนอีก
สองแหล่งที่เหลือ

T2 = 1200 K
Q 2 =1500 kJ

Q1 Q3
T1 = 400 K HE.Rev T3 = 300 K

W net,out = 450 kJ

รูปที่ 2.18 จักรไอน้าสาหรับตัวอย่างที่ 2.7

วิธีทา เนื่องจากต้องการทราบ Q1 และ Q 3 ดังนั้นจะต้องใช้อย่างน้อย 2 สมการเพื่อหาปริมาณ


ความร้อนดังกล่าว ในที่นี้จะใช้กฏข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์สาหรับอุปกรณ์ที่ทางานเป็นวัฏจักร
และอสมการของคลอเซียสสาหรับการทางานแบบย้อนกลับได้ เพื่อให้ได้มาซึ่งสมการดังกล่าว
กฏข้อที่หนึ่งของเธอร์โมไดนามิคส์ : ∑Q = ∑ W
จะได้ Q1 + Q 2 + Q 3 = W net,out
Q1 + 1500 + Q 3 = 450
Q1 = -1050 - Q3 (2.29)
Q
อสมการของคลอเซียส :  0
T
Q1 Q 2 Q 3
จะได้   0
T1 T2 T 3
Q1 1500 Q 3
  0 (2.30)
400 1200 300

100
แทนสมการ (2.9) ลงในสมการ (2.10) จะได้

( 1050  Q3 ) 1500 Q3
  0
400 1200 300

Q 3  1650 kJ
และ
Q1 = (- 1050 – 1650) kJ = - 2700 kJ

ดังนั้น เครื่องจักรความร้อนต้องรับความร้อน 1650 kJ จากแหล่งความร้อนอุณหภูมิ T3


และถ่ายโอนความร้อน 2700 kJ ทิ้งที่แหล่งความร้อนอุณหภูมิ T1 ตอบ

พิจารณาการเปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบระหว่างสภาวะ 1 และสภาวะ 2 จนครบวัฏ


จักรด้วยกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน A, B และ C ดังรูปที่ 2.19 ถ้าทาการประยุกต์อสมการ
ของคลอเซียสในสมการ (2.4) เข้ากับวัฏจักรดังกล่าว จะพบว่า

 Q 
  0 (2.31)
 T  int rev

ตัวห้อย “int rev” ใส่ไว้เพื่อบอกให้ทราบว่าทุกกระบวนการที่พิจารณาต้องเป็นกระบวนการ


ย้อนกลับได้ภายในเท่านั้น
สมบัติ y

C
1

A
2

สมบัติ x

รูปที่ 2.19 การเปลี่ยนแปลงสภาวะของระบบด้วยกระบวนการต่าง ๆ จนครบวัฏจักร

101
สาหรับวัฏจักรที่ประกอบด้วยกระบวนการ A และ B สามารถเขียนสมการ (2.30) ได้ว่า

Q 2 Q 1 Q
   1,A  2 ,B  0
T T T

ในทานองเดียวกัน สาหรับวัฏจักรที่ประกอบด้วยกระบวนการ A และ C จะได้

Q 2 Q 1 Q
   1,A  2 ,C  0
T T T

เมื่อเปรียบเทียบสมการทั้งสองข้างต้น จะพบว่า

1 Q 1 Q
2 ,B 
T 2 ,C T

เนื่องจากกระบวนการย้อนกลับได้ภายใน B และ C เป็นกระบวนการที่เชื่อมต่อระหว่าง


สภาวะ 1 และสภาวะ 2 ซึ่งอินทิกรัลของ δQ/T มีค่าเท่ากันดังสมการข้างต้นเราจึงสามารถสรุปได้
ว่า อินทิกรัลของ (δQ/T) int rev จะขึ้นอยู่กับสภาวะเริ่มต้นและสภาวะสุดท้ายของระบบเท่านั้น โดย
ไม่ขึ้นอยู่กับเส้นทางเดินของกระบวนการระหว่างสภาวะทั้งสอง ดังนั้นปริมาณ (δQ/T) int rev จึงถือ
เป็นสมบัติทางเธอร์โมไดนามิคส์ โดยจะเรียกสมบัติดังกล่าวนี้ว่า เอนโทรปี (entropy) ซึ่งเขียน
แทนด้วยสัญลักษณ์ S นั่นคือ

Q
dS    (2.32)
 T  int rev

เอนโทรปีในสมการ (2.32) เป็นสมบัติที่ขึ้นกับมวลของสาร มีหน่วยเป็น kJ/K สาหรับเอน


โทรปีจาเพาะ (specific entropy) จะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ s และมีหน่วยเป็น kJ/kg.K นั่นคือ
q
ds    (2.33)
 T  int rev

เอนโทรปีเป็นสมบัติที่ใช้สาหรับวัดความไม่เป็นระเบียบทางเธอร์โมไดนามิคส์ของระบบ
(ความไม่เป็นระเบียบของโมเลกุล ) หากระบบใดมีค่าเอนโทรปีมาก แสดงว่าระบบนั้นมีความไม่เป็น
ระเบียบมากในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาวะทุกรูปแบบที่เกิดได้จริงล้วนแต่ส่งผลให้ เอนโทรปีของ
ระบบเพิ่มขึ้นทั้งสิ้น (มีความไม่เป็นระเบียบของโมเลกุลเพิ่มขึ้น)

102
เมื่อทาการอินทิเกรตสมการ (2.32) ตลอดกระบวนการย้อนกลับได้ภายในระหว่างสภาวะ 1
และสภาวะ 2 จะได้การเปลี่ยนแปลงเอนโทรปี (entropy change) ของระบบซึ่งแทนด้วย ΔS
ดังนี้
Q
S  S 2  S1  12   (2.34)
 T  int rev

หากพิจารณาสมการ (2.34) ให้ดี จะพบว่าการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีก็คือการเปลี่ยนแปลง


พลังงานความร้อนเมื่อการถ่ายโอนความร้อนเป็นแบบย้อนกลับได้ระหว่างระบบและสิ่งแวดล้อมที่
อุณหภูมิคงที่เท่ากับ T ดังนั้นในกรณีที่ระบบมีการถ่ายโอนความร้ อนกับสิ่งแวดล้อมในปริมาณที่
เท่ากัน ระบบที่มีอุณหภูมิสูงกว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีน้อยกว่า นั่นหมายความว่า การถ่าย
โอนความร้อนให้วัตถุที่ร้อน (อุณหภูมิสูง) อยู่ก่อนย่อมทาให้เกิดความไม่เป็นระเบียบเพิ่มขึ้นไม่มาก
เมื่อเทียบกับการถ่ายโอนความร้อนให้วัตถุที่เย็นกว่า
การอินทิเกรตเทอม (δQ/T) int rev ในสมการ (2.7) ต้องทราบความสัมพันธ์ระหว่าง T
และ Q และด้วยเหตุที่เอนโทรปีเป็นสมบัติทางเธอร์โมไดนามิคส์ ดังนั้นค่าการเปลี่ยนแปลงสภาวะ
ด้วยกระบวนการย้อนกลับได้หรือกระบวนการย้อนกลับไม่ได้ก็ตาม สิ่งที่ควรจดจาไว้คือ สมการ
(2.7) ใช้ ส าหรั บ หาการเปลี่ ย นแปลงเอนโทรปีข องระบบที่ เ ปลี่ย นแปลงสภาวะด้ ว ยกระบวนการ
ย้อนกลับได้ภายในเท่านั้น และการเปลี่ยนแปลงเอนโทรปีที่หาได้จากสมการดังกล่าวนี้จะมีค่าเท่ากัน
สาหรับทุกๆ กระบวนการที่ดาเนินไประหว่างสองสภาวะข้างต้น

103
แบบฝึกหัดบทที่ 2.1

1) แกสในกระบอกสูบ เครื่องยนต์ 1 สูบ มีพลังงานภายใน 800 kJ/kg ปริมาตรจาเพาะ 0.006


m3/kg ถ้าแกสขยายตัวเป็นไปตามสมการ PV 1.5 = ค่าคงที่ จากความดัน 55 บาร์ เป็น 1.4 บาร์
ทาให้พลังงานภายในหลังการขยายตัวเป็น 230 kJ/kg จงคานวณหาปริมาณการเคลื่อนที่ของ
ความร้อนในการขยายตัวของแกส โดยใช้สมการ Q12 = U  W12
2) ให้คานวณหางานในการอัดของลูกสูบในกระบอกสูบเครื่องยนต์ดีเซล ถ้าไม่คิดความฝืดในการอัด
และเส้นทางของกระบวนการเป็นไปตามสมการ PV 1.4 = ค่าคงที่ และปริมาตรลดจาก 1 m3
เป็น 0.05 m3 ความดันของอากาศที่จุดเริ่มต้นการอัด 101.33 kPa
1. ถังเกร็งขนาด 1 m3 บรรจุอากาศที่ 1 MPa, 400 K ถังดังกล่าวนี้ต่ออยู่กับท่ออากาศที่มีความดันสูง
กว่า เมื่อเปิดวาล์วอากาศจากท่อจะไหลเข้าสู่ถังจนความดันเพิ่มขึ้น 5 MPa และอุณหภูมิ 450 K
จากนั้น จะทาการเปิดวาล์ว
ก) จงหามวลของอากาศในถังทั้งก่อนและหลังกระบวนการดังกล่าว [m1 = 8.711 kg, m2 =
38.715 kg]
ข) ถ้าถังได้รับการระบายความร้อนจนอุณหภูมิลดลงเหลือ 300 K จงหาความดันของอากาศที่
สภาพดังกล่าวนี้ [3.33 MPa]
2. ชุดกระบอกสูบและลูกสูบบรรจุน้าที่ 100 kPa, 90C โดยความดันที่เกิดจากแรงกดของลูกสูบจะ
แปรผันโดยตรงกับปริมาตรจาเพาะซึ่งเขียนได้เป็น P = Cv เมื่อ C คือ ค่าคงที่ ถ้ามีการให้ความ
ร้อนแก่น้าจนอุณหภูมิเพิ่มขึ้นเป็น 200 C จงหาความดันในสภาพสุดท้ายพร้อมกับคุณภาพไอ
(หากเป็นไอเปียก) [1553.8 kPa, X = 0.118]
3. ชุดกระบอกสูบและลูกสูบดังรูปที่ 2.20 บรรจุอากาศที่ 0.25 Mpa, 300C ในสภาพเริ่มต้น ลูกสูบ
ซึ่งมีมวล 50 kg และเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.1 m จะสัมผัสกับหลักยัน ถ้ามีการถ่ายเทความร้อนออก
จากกระบอกสูบให้กับสิ่งแวดล้อม จงหา
ก) อุณหภูมิของอากาศที่ทาให้ลูกสูบเริ่มเคลื่อนที่ลง [372.5 K ]
ข) ตาแหน่งของลูกสูบเมื่ออุณหภูมิของอากาศลดลงเท่ากับอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อม (T0) [53
mm จากหลักยัน]

อากาศ
Heat

รูปที่ 2.20 ชุดกระบอกสูบสาหรับแบบฝึกหัดข้อ 11.

4. ถังเกร็งขนาด 0.1 m3 บรรจุอากาศที่ 300 kPa, 25C ต่อเข้ากับลูกโป่งซึ่งมีความยืดหยุ่นได้ดังรูป


ที่ 2.21 ในสภาพเริ่มต้น ลูกโป่งมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 m และบรรจุอากาศที่ 100 kPa, 25C
เมื่อเปิดวาล์วจะทาให้อากาศไหลจากถังเข้าสู่ลูกโป่งจนกระทั่งความดันในถังและในลูกโป่งมีค่า

104
เท่ากัน ซึ่งที่สภาพนี้อากาศมีอุณหภูมิ 25C จงหาความดันและปริมาตรในสภาพสุดท้ายของ
อากาศในลูกโป่ง กาหนดให้ความดันของอากาศภายในลูกโป่ง แปรผันโดยตรงกับขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลางของลูกโป่ง [137 kPa, 0.168 m3]

อากาศ

รูปที่ 2.21 ถังเกร็งต่อเข้ากับลูกโป่งสาหรับแบบฝึกหัดข้อ 11.

5. .อากาศที่ 1 Mpa, 20C บรรจุอยู่ภายในถังที่ใช้สาหรับเติมบอลลูนทรงกลมจากสภาพว่างเปล่าจน


มีความดัน 200 kPa ซึ่งที่จุดนี้อุณหภูมิของอากาศมีค่า 20C และบอลลูนมีรัศมี 2 m ถ้าความดัน
ของอากาศในบอลลูนแปรผันโดยตรงกับรัศมี จงหามวลของอากาศในบอลลูน และปริมาตรต่าสุด
ของถังที่ต้องการเพื่อให้การเติมอากาศเข้าสู่บอลลูนเกิดขึ้นได้ [79.66 kg, 8.377 m3]

105

You might also like