Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 30

2.

4 นโยบายการคลัง

FISCAL POLICY
นโยบายการคลัง

นโยบายการคลังของแต่ละประเทศ จะมีการกำหนดมาตรการเกี่ยวกับการหาราย
ได้เข้ารัฐด้านการจัดเก็บภาษีอากร

มีการกำหนดมาตรการด้านรายจ่ายของรัฐ รวมทั้งการก่อหนี้สาธารณะ

นโยบายการคลังจะต้องตอบสนองต่อเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่รัฐบาลได้กำหนดขึ้น
1. รูปแบบนโยบายการคลัง

(1) นโยบายการคลังแบบหดตัว Contractionary Fiscal Policy

นโยบายการคลังที่ลดงบประมาณรายจ่ายและเพิ่มภาษี
หรือการตั้งงบประมาณเกินดุล

เพื่อให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลง อันจะนำไปสู่
การลดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ
รัฐใช้งบประมาณแบบหดตัว (เพิ่มภาษี ลดรายจ่าย) เพื่อลดปริมาณเงิน
ในระบบเศรษฐกิจ ลดอำนาจซื้อ ผู้ผลิตจึงต้องลดผลผลิต ลดการลงทุน และ
การจ้างงานมีผลกระทบต่อรายได้ประชาชาติลดลง เรียกว่าเศรษฐกิจหดตัว
ดังนั้น รัฐบาลต้องใช้นโยบายการคลังแบบหดตัวเพื่อลดปริมาณเงินใน
ระบบเศรษฐกิจ เพื่อแก้ปัญหาเงินเฟ้อ
(2) นโยบายการคลังแบบขยายตัว Expansionary Fiscal Policy

นโยบายการคลังโดยเพิ่มงบประมาณรายจ่ายและลดภาษี หรือการ
ตั้งนโยบายขาดดุล

จะทำให้ระบบเศรษฐกิจขยายตัว การจ้างงานและรายได้ประชาชาติ
จะเพิ่มสูงขึ้น

รัฐบาลจะใช้นโยบายในช่วงที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ รายจ่าย
มวลรวมของระบบเศรษฐกิจมีไม่เพียงพอ
2. นโยบายการคลังกับการพัฒนาเศรษฐกิจ

รัฐบาลสามารถใช้นโยบายการคลังเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อทำให้
โครงสร้างการอุปโภคบริโภคของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป

เช่น การเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจของไทยจากสาขาเกษตรกรรมมาเป็นสาขา
อุตสาหกรรมและด้านบริการมากขึ้น

รัฐบาลดำเนินนโยบายการคลังเพื่อสนับสนุนให้มีการจัดสรรทรัพยากรการผลิต
สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ โดยใช้มาตรการ ดังนี้
(1) เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลในโครงสร้าง
ที่มีผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจให้สูงขึ้น
โดยต้องจัดลำดับของโครงการที่มีผล
ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจให้มากที่สุด

(2) ยกเว้นหรือลดหย่อนภาษีอากร เพื่อลด


ต้นทุนการผลิตและจูงใจให้มีการพัฒนา
เฉพาะด้านตามทิศทางของการ
เปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของระบบ
เศรษฐกิจ
การดำเนินนโยบายการคลังไปสู่การ
ปฏิบัติอาจมีข้อจำกัด เนื่องจากการ
กำหนดมาตรการต่างๆ

เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านภาษี หรือ


การใช้จ่ายของภาครัฐ จึงต้องมีการ
ออกกฎหมายหรือพระราชบัญญัติรองรับ

ทำให้มีการเหลื่อมช่วงเวลา (Time lag)


เพราะต้องใช้เวลานานในการพิจารณา
ดังนั้น ทำให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหา
หรือพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทย
อย่างทันท่วงที
นโยบายเศรษฐกิจ

ข้อเปรียบเทียบ นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง

การดูแลปริมาณเงิน และปริมาณ
แผนการเงินเกี่ยวกับรายรับและราย
สินเชื่อโดยธนาคารกลาง เพื่อให้
ความหมาย จ่ายของรัฐบาลในรอบเวลา 1 ปี เพื่อ
บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ เช่น
ให้บรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
รักษาเสถียรภาพราคา

หน่วยงานที่ดูแล ธนาคารแห่งประเทศไทย รัฐบาล (สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง)

- นโยบายอัตราดอกเบี้ย - งบประมาณแผ่นดิน (รายรับ-รายจ่าย)


เครื่องมือ - นโยบายเงินสำรองตามกฎหมาย - นโยบายหนี้สาธารณะ
- การซื้อขายพันธบัตร - นโยบายภาษี

ภาวะเฟ้อ ใช้นโยบายการเงินแบบเข้มงวด ใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว

ภาวะเงินฝืด ใช้นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว


3. นโยบายการเงินและการคลัง
ในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ
นโยบายการเงิน

แบ่งออกได้เป็น 2 รูปแบบ

นโยบายการเงินแบบเข้มงวด Restrictive Monetary Policy

นโยบายการเงินแบบขยายตัวหรือแบบผ่อนคลาย Expansionary
Monetary Policy
1. นโยบายการเงินแบบเข้มงวด
RESTRICTIVE MONETARY POLICY

ระบบเศรษฐกิจมีปริมาณเงินและสินเชื่อมากเกินไป สภาพคล่องใน
ตลาดเงินมีมาก ทำให้ประชาชนใช้จ่ายมากเกินไป ไม่เหมาะสม
กับปริมาณผลิตผลที่แท้จริง อันก่อให้เกิดปัญหาเศรษฐกิจตามมา

ธนาคารกลางจึงต้องจำกัดหรือลดอุปทานของเงิน เพื่อให้สภาพ
คล่องในตลาดลดลง ทำให้เงินหายากหรือตึงตัวขึ้น โดยใช้เป็น
เครื่องมือในการควบคุมปริมาณเงิน
มาตรการหลักสำคัญ 3 ประการ ดังนี้

(1) เปิดให้มีการขายหลักทรัพย์ คือ ตั๋วเงินคลังหรือพันธบัตร เพื่อลดเงินสำรองของ


ธนาคารพาณิชย์

(2) เพิ่มอัตราเงินสำรองตามกฎหมาย เพื่อลดเงินเกินสำรองและลดค่าตัวทวีเงินฝาก

(3) เพิ่มอัตรารับช่วงชื้อลด เพื่อลดแรงจูงใจของธนาคารพาณิชย์ในการขอกู้เงินจาก


ธนาคารกลาง

มาตรการเสริม

เช่น ขึ้นอัตราดอกเบี้ยธนาคารกลาง หรือจำกัดอัตราการขยายสินเชื่อของธนาคาร


พาณิชย์ เป็นผลให้มีการจำกัดหรือลดการขยายสินเชื่อควบคู่กับการลดปริมาณเงิน
2. นโยบายการเงินแบบขยายตัว
EXPANSIONARY MONETARY POLICY

ปริมาณเงินและสินเชื่อในระบบเศรษฐกิจมีน้อยเกินไป
ตลาดเงินขาดสภาพคล่อง อัตราดอกเบี้ยสูงเกินไป
ประชาชนใช้จ่ายอย่างฝืดเคือง

ธนาคารกลางจึงต้องดำเนินมาตรการเพื่อเพิ่มปริมาณเงิน
ในระบบเศรษฐกิจ หรือเพื่อเพิ่มสภาพคล่องในตลาดเงิน
ทำให้มีเงินหมุนเวียนสะพัดมากขึ้น
มาตรการหลักสำคัญ 3 ประการ ดังนี้

(1) ซื้อหลักทรัพย์โดยเปิดเผย เพื่อทำให้เงินสำรองของธนาคารพาณิชย์เพิ่มขึ้น

(2) ลดอัตราเงินสำรองตามกฎหมาย เพื่อทำให้ธนาคารพาณิชย์มีเงินเกินสำรอง


มากขึ้นและทำให้ตัวทวีเงินฝากมีค่าสูงขึ้น

(3) ลดอัตรารับช่วงชื้อลด เพื่อเพิ่มแรงจูงใจของธนาคารพาณิชย์มาขอกู้เงินจาก


ธนาคารกลางไปปล่อยสินเชื่อแก่ประชาชนมากขึ้น

มาตรการเสริม

เช่น ลดอัตราดอกเบี้ยธนาคารกลาง กระตุ้นให้ธนาคารพาณิชย์ขยาย


สินเชื่อให้มากขึ้น ซึ่งจะเป็นการขยายสินเชื่อควบคู่กับการเพิ่มปริมาณเงิน
ภาวะต่างๆ ที่มีผลให้ระบบเศรษฐกิจเกิดความผันผวน

ได้แก่ ภาวะเงินเฟ้อ และภาวะเงินฝืด เพราะมาตรการต่างๆ ทั้งทางการ


เงินและการคลัง ถูกกำหนดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความผันผวนทาง
เศรษฐกิจนั่นเอง
3.1 ภาวะเงินเฟ้อ

3.2 ภาวะเงินฝืด
สรุปภาวะเงินเฟ้อ - เงินฝืด

เรื่อง เงินเฟ้อ เงินฝืด


• ปริมาณเงินหมุนเวียนมากเกินไป • ปริมาณเงินหมุนเวียนน้อยเกินไป
ความหมายและ
• ราคาสินค้าและบริการสูงขึ้น • ราคาสินค้าและบริการลดต่ำลง
สถานการณ์
เรื่อยๆ เรื่อยๆ

1. ระดับอ่อน=ระดับราคาสินค้าและ 1. ระดับอ่อน=ระดับราคาสินค้าและ
บริการสูงขึ้นไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี บริการลดลงไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี
2. ระดับปานกลาง=ระดับราคาสินค้า 2. ระดับปานกลาง=ระดับราคาสินค้า
รูปแบบหรือ และบริการสูงขึ้นมากกว่าร้อยละ 5 และบริการลดลงเกินกว่าร้อยละ 5
ระดับของภาวะ ต่อปี แต่ไม่เกินร้อยละ 20 ต่อปี ต่อปี แต่ยังต่ำกว่าร้อยละ 20 ต่อปี
3. ระดับรุนแรง=ระดับราคาสินค้า 3. ระดับรุนแรง=ระดับราคาสินค้าและ
และบริการปรับเพิ่มขึ้นมาก สูงขึ้น บริการลดลงอย่างต่อเนื่อง เกิน
กว่าร้อยละ 20 ต่อปี กว่าร้อยละ 20 ต่อปี
เรื่อง เงินเฟ้อ เงินฝืด
• ความต้องการสินค้าของผู้บริโภค • ความต้องการสินค้าของผู้บริโภค
มีมากกว่าจำนวนสินค้า (D>S) มีน้อยกว่าจำนวนสินค้า (S>D)
ทำให้สินค้าขาดตลาดและราคา ทำให้สินค้าล้นตลาดและราคา
สาเหตุ
สินค้าสูงขึ้น สินค้าลดลง
• ต้นทุนการผลิตสินค้าและบริการ • มีการออมสูง (คนมีเงินแต่เก็บไว้
สูงขึ้น เองไม่นำไปใช้จ่าย)
• ราคาสินค้าสูงขึ้น ทำให้ผู้มีรายได้
ประจำเดือดร้อน • การค้าซบเซา, ปริมาณการผลิต
ผลกระทบ • คนไม่ต้องการออมเงิน เพราะคิด ลดลง, การจ้างงานลดลง, คนว่าง
ว่าค่าของเงินจะลดลงจึงซื้อของกัน งานมากขึ้น
มากขึ้น

กลุ่มบุคคล
พ่อค้า, ผู้ถือหุ้น, นายธนาคาร, ลูกหนี้ ผู้มีรายได้ประจำ, เจ้าหนี้
ผู้ได้เปรียบ

กลุ่มบุคคล
ผู้มีรายได้ประจำ, เจ้าหนี้ พ่อค้า, ผู้ถือหุ้น, นายธนาคาร, ลูกหนี้
ผู้เสียเปรียบ
เรื่อง เงินเฟ้อ เงินฝืด
1) ใช้นโยบายการเงินแบบหดตัว
1) ใช้นโยบายการเงินแบบขยายตัว
-เพิ่มอัตราดอกเบี้ยเงินกู้และฝาก
-ลดอัตราดอกเบี้ยเงินกู้และฝาก
-เพิ่มอัตราเงินสดสำรองตาม
-ลดอัตราเงินสดสำรองตาม
กฎหมาย
กฎหมาย
-เพิ่มการขายพันธบัตรรัฐบาล
-ลดการขายพันธบัตรรัฐบาล
-ลดการปล่อยสินเชื่อ
-เพิ่มการปล่อยสินเชื่อ
การแก้ปัญหา
2) ใช้นโยบายการคลังแบบหดตัว
2) ใช้นโยบายการคลังแบบขยายตัว
-เพิ่มภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม
-ลดภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม
-ลดการหมุนเวียนของปริมาณ
-จัดงบประมาณแผ่นดินแบบ
เงิน ควบคุมหนี้สาธารณะ
ขาดดุล (รัฐบาลเพิ่มค่าใช้จ่ายให้
-จัดงบประมาณแผ่นดินแบบ
สูงขึ้น)
เกินดุล (รัฐบาลลดรายจ่ายให้
-ส่งเสริมการลงทุนจากต่างชาติ
น้อยลง)
3.3 ปัญหาการว่างงาน
3.4 ปัญหาการกระจายรายได้ไม่เท่าเทียมกัน
1. มาตรการด้านรายจ่าย

2. มาตรการด้านรายได้
“The End”

–Yuwadee Thianchai

You might also like