Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

รายวิชา ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : เวลาและการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง : ความ
สำคัญของเวลาและช่วงเวลา เวลา 1
ชั่วโมง
ผู้สอน นายจิระศักดิ์ บุญสอน

1.สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
เวลาและช่วงเวลามีความสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์ ซึ่ง
นอกจากจะทำให้เข้าใจเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่ศึกษาแล้ว ยังแสดงให้
เห็นถึงความสัมพันธ์และความสำคัญของอดีตที่มีต่อปั จจุบัน และอนาคต
อีกด้วย
2.ตัวชี้วัด
ส 4.1 ม.1/1 วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษา
ประวัติศาสตร์
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) บอกความสำคัญของเวลาและช่วงเวลาในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ได้
2) อธิบายความสัมพันธ์และความสำคัญของอดีตที่มีต่อปั จจุบัน
และอนาคตได้
4.สาระการเรียนรู้
1) ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลาสำหรับการศึกษา
ประวัติศาสตร์
2) ความสัมพันธ์และความสำคัญของอดีตที่มีต่อปั จจุบันและอนาคต
5.สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
4.1 ความสามารถในการสื่อสาร
4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทักษะการสังเกต
2) ทักษะการสำรวจค้นหา
4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝ่ เรียนรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
7.กิจกรรมการเรียนรู้ วิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ (Inquiry
Method : 5E)
ขั้นที่ 1 กระตุ้นความสนใจ
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความ
สามารถ คือ เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลางค่อนข้างอ่อน และอ่อน
2. ครูแจกภาพเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ให้นักเรียน กลุ่มละ 1
ภาพ แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันพิจารณาภาพที่กลุ่มของตนได้รับ
และตอบคำถามต่อไปนี้
- ภาพที่กลุ่มของนักเรียนได้รับ คือภาพเหตุการณ์ใด
- ภาพที่กลุ่มของนักเรียนได้รับ เกิดขึ้นในช่วงเวลาใด
- เหตุการณ์ในภาพมีความสำคัญต่อประวัติศาสตร์ไทยอย่างไรบ้าง
3. ครูสุ่มเรียกนักเรียนตอบคำถามเป็ นรายกลุ่ม โดยครูเป็ นผู้ตรวจ
สอบความถูกต้องและอธิบายเพิ่มเติม
ขั้นที่ 2 สำรวจค้นหา
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มจับคู่กันเป็ น 2 คู่ ให้แต่ละคู่ร่วมกันศึกษาความ
รู้เรื่อง ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลาจากหนังสือเรียน หนังสือค้นคว้า
เพิ่มเติม และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ แล้วบันทึกความรู้ที่ได้จากการศึกษา
ลงในแบบบันทึกการอ่าน
2. นักเรียนแต่ละคู่ร่วมกันสรุปสาระสำคัญของเรื่องที่ศึกษา ผลัดกัน
ซักถามข้อสงสัยและอธิบายจนมีความเข้าใจชัดเจน
ขั้นที่ 3 อธิบายความรู้
1. นักเรียนแต่ละคู่ผลัดกันอธิบายความรู้ที่ได้จากการศึกษาให้เพื่อน
อีกคู่หนึ่งฟั ง ผลัดกันซักถามข้อสงสัยและผลัดกันอธิบายจนทุกคนมีความ
เข้าใจชัดเจนตรงกัน
2. ครูอธิบายความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของเวลาและช่วงเวลาให้
นักเรียนฟั งเพิ่มเติม เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ขั้นที่ 4 ขยายความเข้าใจ
นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคัญของเวลาและช่วง
เวลา เสร็จแล้วนำส่งครู
ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล
1. ครูตรวจสอบผลนักเรียนจากการทำใบงานที่ 1.1
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง ความสำคัญของเวลาและ
ช่วงเวลา
8.การวัดและประเมินผล
ª ·›¸„
µ¦ Á‡Š
¦ °ºÉ ¤ º° Á„–” r
˜ ¦ ª ‹Â  š— ­ °  „n°œÁ¦ ¥̧ œ® œnª¥ „µ¦ Á¦ ¥̧ œ¦ ¼
oš Ȩ́1   š— ­ °  „n°œÁ¦ ¥̧ œ® œnª¥ „µ¦ Á¦ ¥̧ œ¦ ¼ oš Ȩ́1 (ž ¦ ³ Á¤·œ˜ µ¤­ £ µ¡ ‹¦ ·Š)
˜ ¦ ª ‹Ä Šµœš Ȩ́1.1 ĝ Šµœš Ȩ́1.1 ¦ °o¥¨ ³ 60ŸnµœÁ„–” r
˜ ¦ ª ‹Â   œš„„
´ ¹ µ¦ ° nµœ    œš„„
´ ¹ µ¦ ° nµœ ¦ ³—  ´ ‡– » £ µ¡ 2ŸnµœÁ„–” r
ž ¦ ³ Á¤·œ„µ¦ œÎµÁ­ œ° Ÿ¨ Šµœ   ž ¦ ³ Á¤·œ„µ¦ œÎµÁ­ œ° Ÿ¨ Šµœ ¦ ³—  ´ ‡– » £ µ¡ 2ŸnµœÁ„–” r
­ ´Á
Š„˜ ¡ § ˜„· ¦ ¦ ¤ „µ¦ š µÎ Šµœ¦ µ¥  »‡‡¨   ­ ´Á
Š„˜ ¡ § ˜„· ¦ ¦ ¤ „µ¦ š µÎ Šµœ¦ µ¥  »‡‡¨ ¦ ³—  ´ ‡– » £ µ¡ 2ŸnµœÁ„–” r
­ ´Á
Š„˜ ¡ § ˜„· ¦ ¦ ¤ „µ¦ š µÎ Šµœ„¨ »n¤   ­ ´Á
Š„˜ ¡ § ˜„· ¦ ¦ ¤ „µ¦ š µÎ Šµœ„¨ »n¤ ¦ ³—  ´ ‡–» £ µ¡ 2ŸnµœÁ„–” r
­ ´Á
Š„˜‡ª µ¤¤ª̧ ·œ¥́Ä nÁ¦ ¥̧ œ¦ ¼o¨ ³ ¤»nŠ¤ ´Éœœ„
Ä µ¦   ž ¦ ³ Á¤·œ‡–» ¨ ´„¬ – ³ ° ´œ¡ ¹Šž ¦ ³ ­ Š‡r ¦ ³—  ´ ‡–
» £ µ¡ 2ŸnµœÁ„–” r
š µÎ Šµœ

9.สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1) หนังสือเรียน ประวัติศาสตร์ ม.1
2) หนังสือค้นคว้าเพิ่มเติม
- วินัย พงศ์ศรีเพียร. 2544. วันวาร กาลเวลา แลนานาศักราช.
กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ.
3) บัตรภาพ
4) ใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลา
บันทึกหลังแผนการสอน

ด้านความรู้

ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

ด้านอื่นๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปั ญหาของนักเรียนเป็ นราย


บุคคล (ถ้ามี))

ปั ญหา/อุปสรรค

แนวทางการแก้ไข
ลงชื่อ
ผู้สอน
(นายจิระ
ศักดิ์ บุญสอน)

ตำแหน่ง ครู
ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ
……………………………………………………………………..…………………….
……………………………………………………………..…………………………….…..
…………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………………
……….………………………

(ลงชื่อ)……………….……….................................
( นาย
ศรายุทธ โสมอ่อน )
หัวหน้า
กลุ่มบริหารงานวิชาการ

ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
……………………………………………………………………..…………………….
……………………………………………………………..…………………………….…..
…………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………………
……….………………………

(ลงชื่อ)……………….……….................................
(
นางสาวพัชรพร คชพรหม )
รองผู้อำนวยการ
โรงเรียนเกษมสีมาวิทยาคาร

ความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะของผู้บริหาร
……………………………………………………………………..…………………….
……………………………………………………………..…………………………….…..
…………………………..
………………………………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………………………………
……….………………………

(ลงชื่อ)……………….……….................................
(นาง
กมลพรรณ วีระชาติ)
ผู้อำนวยการ
โรงเรียนเกษมสีมาวิทยาคาร
ใบงานเรื่อง ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลา
คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านข้อความเกี่ยวกับเหตุการณ์ทาง
ประวัติศาสตร์ต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์ตามประเด็นที่

กำหนด

สภาพการณ์ของกรุงศรีอยุธยาภายหลังจากสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เสด็จ
สวรรคต เมื่อ พ.ศ. 2148 เป็ นต้นมา กำลังไพร่พลของอยุธยาขาดประสบการณ์ในการ
ทำสงครามขนาดใหญ่ มีแต่ทำสงครามขนาดย่อมซึ่งใช้เวลาไม่นานประกอบกับพม่า
ได้ยกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยาทั้งทางเหนือและใต้ และกวาดต้อนผู้คนและเสบียง
อาหารมาตลอดทาง จนกระทั่ง
ปิ ดล้อมกรุงศรีอยุธยาและยิงปื นใหญ่เข้าไปในพระนครอย่างต่อเนื่อง ทำให้กรุง
ศรีอยุธยาประสบกับภาวะขาดแคลนอาหาร ขาดกระสุนดินดำปื นใหญ่ ขาดกำลังใจ
และเหนื่อยล้า จนกระทั่งในที่สุดกรุงศรีอยุธยาก็ถูกทัพพม่าเข้ายึดไว้ได้ใน พ.ศ. 2310

1. ข้อความข้างต้นกล่าวถึงเหตุการณ์ใดในประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์นี้เกิดขึ้น
ได้อย่างไร
เหตุการณ์เสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 2 เมื่อพ.ศ. 2310 ส่วนสาเหตุของ
การเสียกรุงนั้น มาจากความไร้ใประสิทธิภาพในการทำสงครามของฝ่ ายไทย ซึ่งว่าง
เว้นจากการทำศึกสงครามมานาน เกือบ 200 ปี จึงเกิดความประมาทในการป้ องกัน
อาณาจักร ขาดการฝึ กฝนกำลังทัพและการป้ องกันที่ดี เมื่อต้อง
ทำศึกใหญ่กับพม่า บวกกับความขัดแย้ง แตกแยกกันเอง
ภายหลังของคนไทย จึงมีผลทำให้กรุงศรีอยุธยาแตกพ่ายในที่สุด ………………

2. เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลต่อสังคมไทยอย่างไรบ้าง
เหตุการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้ไทยต้องเสียเอกราชให้กับพม่า ปราสาท
พระราชวัง วัด บ้านเรือน ถูกข้าศึกทำลายจน ไม่สามารถบูรณะให้ดีดังเดิม
ได้ ส่วนผู้ที่รอดชีวิตต้องอพยพหลบหนีกระจัดกระจายกันไป ใบางส่วนถูกจับตัวไป
เป็ นเชลย ถือเป็ นความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงของคนไทย
……………………………………………………………

3. เหตุการณ์ดังกล่าวให้ข้อคิดสำคัญต่อคนไทยอย่างไรบ้าง
เหตุการณ์ดังกล่าวให้ข้อคิดสำคัญต่อคนไทย คือ ให้ดำรงตนอยู่บน
ความไม่ประมาท หมั่นฝึ กปรือฝี มืออยู่เสมอ มีการวางแผนการรบที่ดีและที่
สำคัญที่สุด คือ ความสามัคคีของคนในชาติ ซึ่งจะทำให้รักษาเอกราชของชาติบ้าน
เมือง ไว้ได้ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงเป็ นเสมือนบทเรียนสำคัญให้คนไทยรุ่นหลัง
เรียนรู้ไว้ เพื่อไม่ให้เกิดใเหตุการณ์ในทำนอง เดียวกันนี้ขึ้นอีก

You might also like