Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 47

บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานจังหวัดเลย

ความนำ
การศึกษาในรายวิชา “ไทเลยศึกษา” นั้น เป็ นการเรียนรู้เรื่อง
ราวของจังหวัดเลยและเรื่องราวของไทเลยซึ่งมีความหลากหลายทั้งใน
ประเด็นเนื้อหาเรื่องราวและความหลากหลายในจำนวนของข้อมูลในด้าน
ต่างๆที่ผู้ศึกษาจะได้เรียนรู้เนื้อหาเหล่านั้นเป็ นลำดับๆในบทต่อๆไป ดังนั้น
เพื่อเป็ นการเตรียมพื้นความรู้เกี่ยวกับ “ไทเลยศึกษา” ผู้ศึกษาจึงจำเป็ น
ต้องทำความเข้าใจข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดเลยเป็ นเบื้องต้นก่อน ซึ่งในบท
นี้ประกอบด้วยเรื่องราวของจังหวัดเลยที่น่าสนใจอันได้แก่ ตราประจำ
จังหวัด ธงประจำจังหวัด ต้นไม้ประจำจังหวัด ดอกไม้ประจำจังหวัด
คำขวัญจังหวัด วิสัยทัศน์จังหวัด การปกครอง ประชากร สถานที่สำคัญ
การเดินทาง และเรื่องราวปกิณกะของจังหวัดเลย

1.ตราประจำจังหวัดเลย

ภาพที่ 1 ตราประจำจังหวัดเลย
ที่มา : เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข 21/2534
เป็ นภาพพระธาตุศรีสองรัก ลักษณะอุเทสิกเจดีย์สร้างเป็ นอนุสรณ์
การปั กปั นเขตแดนในรัชสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ แห่งกรุง
ศรีอยุธยากับพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งกรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์)
ก่อสร้างเมื่อ พ.ศ.2103 เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2106 ตั้งอยู่วัดพระธาตุศรีสองรัก
ซึ่ง เป็ นวัดที่ไม่มีพระสงฆ์พำนัก ริมแม่น้ำหมัน บ้านหัวนายูงตำบลด่านซ้าย
องค์พระธาตุก่ออิฐก่อปูน มีฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ขนาดกว้างด้านละ 10.47
เมตรสูง 19.19 เมตร บนยอดพระธาตุมีแก้วครอบเป็ นโคม มีกระดิ่งลูก
เล็ก ๆแขวนอยู่เหนือโคม กรมศิลปากรประกาศให้เป็ นโบราณสถานแห่ง
ชาติเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2478 (ที่มา : เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข
21/2534)

2.ธงประจำจังหวัดเลย

ภาพที่ 2 ธงประจำจังหวัดเลย ลักษณะสี่เหลี่ยมผืนผ้าผืนธงสีฟ้ า มีตรา


พระธาตุศรีสองรักอยู่ในวงกลมบนพื้นผ้าทั้งสองด้าน ก้อนเมฆสีขาว เบื้อง
หลังมีภูเขา ป่ าไม้และทุ่งนา แสดงถึง ความอุดมสมบูรณ์
ที่มา : เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข 21/2534

3.ต้นไม้ประจำจังหวัด

ภาพที่ 3 สนสามใบ ต้นไม้ประจำจังหวัดเลย


ที่มา : เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข 21/2534
ชื่อไทย สนสามใบ ชื่อวิทยาศาสตร์ Pinus kesiya Royle ex Gordon ชื่อพื้นเมือง
เกี๊ยะเปลือกบาง (เชียงใหม่), จ๋วง (ภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), เชี้ยงบั้ง (ก
สนสามใบ (ภาคกลาง) แปก (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน-เพชรบูรณ์-เลย) เป็ นไม้ยืนต้
เปลาตรง เรือนยอดเป็ นพุ่มกลม เปลือกสีน้ำตาลอมชมพูอ่อนล่อน
เป็ นสะเก็ดมียางสีเหลืองซึมออกมาตามรอยแตก ใบเป็ นใบเดี่ยว ติดกันเป็ นกลุ่มละ
สลับถี่ตามปลายกิ่งออกดอกเป็ นช่อ แยกเพศ ช่อดอกเพศผู้สีเหลือง ติดกันเป็ นกลุ่มใก

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม
ราชินีนาถ ทรงปลูกตามคำกราบบังคมทูลของนายเทียม คมกฤช อธิบดี
กรมป่ าไม้ เพื่อเป็ นสิริมงคลและเป็ นอนุสรณ์ในการเสด็จพระราชดำเนิน
ขึ้นยอดภูกระดึง เมื่อเวลาเช้าของวันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2498
(จากหนังสือรอย เสด็จมหาวิทยาลัยขอนแก่น 2540) และสมเด็จพระนาง
เจ้าพระบรมราชินีนาถได้พระราชทานกล้าไม้มงคลให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด
เลย ในงานวันรณรงค์ โครงการปลูกป่ าเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสที่ครองราชย์ปี ที่ 50 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน
2537 ณ ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ให้เป็ นต้นไม้ประจำจังหวัดเลย

ภาพที่ 4 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าพระบรม
ราชินีนาถ เสด็จภูกระดึง
ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=เสด็จภูกระดึง
4.ดอกไม้ประจำจังหวัดเลย

ภาพที่ 5 ดอกอินถวา
ที่มา : เอกสารกองโบราณคดีหมายเลข 21/2534
ดอกไม้ประจำจังหวัดเลย ชื่อไทย พุดซ้อน ชื่อวิทยาศาสตร์ Gardenia angusta
(L.) Merr.

ชื่อพื้นเมือง พุดจีน พุดใหญ่ อินถะหวา เค็ดถวา แคถวา ซัวอึ้งกี่ จุย


เจียฮวย เป็ นไม้พุ่มสูงประมาณ 1-2 เมตร แตกกิ่งแขนงมาก ลำต้นเรียวเป็ น
รูปกรวย ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม ค่อนข้างหนาทึบ เปลือกสีน้ำตาลดำ ใบ
เดี่ยวเรียงตรงข้าม รูปหอก ปลายใบและโคนใบแหลม ใบมีสีเขียวมน ดอก
เป็ นดอกเดี่ยวสีขาวออกตามซอกใบและปลายกิ่ง มีกลีบเลี้ยงหนาเป็ นสัน มี
กลีบดอกจำ นวนมากเรียงซ้อนกัน เมื่ อดอกบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 7-8 ซม. ดอกสีขาว มีกลิ่นหอม ได้รับคัดเลือกจากการประชุม
คณะอนุกรรมการวัฒนธรรมจังหวัดเลยให้เป็ นดอกไม้ประจำจังหวัดเลย

5.คำขวัญจังหวัดเลย

"เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม"
มีที่มาจากลักษณะทางภูมิประเทศและภูมิอากาศของจังหวัดเลย
โดยจังหวัดเลยมีภูมิประเทศที่เกิดจากการเคลื่อนตัวทรุดลงของเปลือกโลก
เป็ นเวลาหลายร้อยล้านปี มาแล้ว เกิดเป็ นภูเขาลดหลั่นกันมากมายเป็ น
ภูเขาที่มีพื้นที่ราบหลายแห่ง (Table land) เกิดพันธ์ไม้นานาพันธุ์ และจาก
การที่มีภูมิประเทศลาดเอียงไปทางเหนือจึงทำให้อากาศแผ่ปกคลุมหนาว
เย็นเพราะไม่มีแนวเขาสูงกั้นทั้งนี้จังหวัดเลยเป็ นจังหวัดที่เรียกได้ว่าหนาว
ที่สุดของประเทศ เพราะเคยมีอุณหภูมิต่ำสุดประมาณ -1.3 องศาเซลเซียส
เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517

6.วิสัยทัศน์จังหวัดเลย

“ เมืองน่าอยู่ เมืองแห่งการท่องเที่ยว และลงทุนภายใต้การพัฒนาที่


ยั่งยืน”

7.วันสถาปนาจังหวัด

วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2450 เป็ นวันสถาปนาจังหวัดเลย โดยเป็ น


วันเปลี่ยนชื่ออำเภอ กุดป่ อง
เป็ น อำเภอเมืองเลย

8.สิ่งสำคัญคู่บ้านคู่เมือง

8.1 ใบเสมาหินทราย
ใบเสมาหินวัดพัทธสีมาราม ตั้งอยู่ที่บ้านหนองบัว หมู่ที่ 14
ตำบลวังสะพุง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย ลักษณะเป็ นเนินดินรูปหลังเต่า
ด้านทิศใต้มีร่องรอยคูน้ำ คันดิน พบใบเสมาทั้งหมด 45 หลัก มีสภาพ
สมบูรณ์ 31 หลัก ตรงกลางใบเสมามีรูปสถูปจำลองและหม้อน้ำทรงกลม
อันเป็ นสัญลักษณ์แห่งความอุดมสมบูรณ์ กำหนดอายุอยู่ในสมัยทวารวดี
ตอนปลาย ราวพุทธศตวรรษที่ 13 – 16

ภาพที่ 6 ใบเสมาหินทรายวัดพัทธสีมาราม บ้านหนองบัว หมู่ที่ 14 ตำบล


วังสะพุง อำเภอวังสะพุง จังหวัดเลย...

ที่ ม า :
http://img.tarad.com/shop/c/cleansafety/img-lib/spd_2013032
7143130_b.jpg

8.2 พระธาตุศรีสองรัก
พระธาตุศรีสองรัก ตั้งอยู่ริมฝั่ งแม่น้ำหมัน ห่างจากอำเภอด่านซ้าย
ประมาณ 1 กิโลเมตร และห่างจาก อ.เมือง จังหวัดเลย 83 กิโลเมตร ไป
ตามทางหลวงหมายเลข 203 พระธาตุศรีสองรักสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าไชย
เชษฐาธิราช เมื่อปี พ.ศ. 2103 เสร็จในปี พ.ศ. 2106 เพื่อเป็ นสักขีพยานใน
การช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างกรุงศรีอยุธยา (สมัยพระมหาจักรพรรดิ)
และกรุงศรีสัตนาคนหุต (ปั จจุบันคือ เวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิป
ไตยประชาชนลาว) กษัตริย์ทั้งสองพระองค์ทรงครองราชย์สมบัติ ตรงกับ
สมัยที่พม่าเรืองอำนาจ และมีการรุกรานดินแดนต่าง ๆ เพื่อขยาย
อำนาจ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิและพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช จึงตกลง
รวมกำลัง เพื่อต่อสู้กับพม่า ได้กระทำสัตยาธิษฐานว่าจะไม่ล่วงล้ำดินแดน
ของกันและกัน และเพื่อเป็ นที่ระลึกในการทำไมตรีต่อกัน จึงได้ร่วมกัน
สร้างพระธาตุศรีสองรักเพื่อเป็ นสักขีพยาน ณ กึ่งกลางระหว่างแม่น้ำน่าน
และแม่น้ำโขง ซึ่งเป็ นรอยต่อของทั้งสองราชอาณาจักร นอกจากนี้ภายใน
วัดยังมีพระพุทธรูปปางนาคปรก ศิลปะล้านช้าง หัวนาคปรกสร้างด้วยศิลา
องค์พระพุทธรูปสร้างด้วยสำริด มีหน้าตักกว้าง 21 นิ้ว สูง 30 นิ้ว ทุกวัน
ขึ้น 15 เดือน 6 ชาวอำเภอด่านซ้าย หรือ"ลูกผึ้งลูกเทียน" จะร่วมกันจัดงาน
สมโภชพระธาตุขึ้น โดยจะนำต้นผึ้ง มาถวายพระธาตุถือเป็ นประเพณีอัน
ศักดิ์สิทธิ์ที่เกิดขึ้นประจำทุกปี

ภาพที่ 7 พระธาตุศรีสองรัก ริมแม่น้ำหมัน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย


ที่ ม า :
https://img05.rl0.ru/675d4946fa308f534591e5d954245e36/c800
x533/www.touronthai.com
/gallery/photo/54000005/phratatsrisongrak14.jpg

8.3 พระธาตุดินแทน
พระธาตุดินแทน ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็ นดิน พระธาตุที่นี่จึงมี
ลักษณะเป็ นกองดินขนาดใหญ่ ไม่มีลวดลายสลักเสลาอะไรที่จะบอกว่าเป็ น
พระธาตุเลยใครไม่รู้มาเห็นเข้าอาจจะนึกว่าเป็ นภูเขาดินธรรมดาๆลูกหนึ่ง
พระธาตุแห่งนี้ มีอายุราว 200 ปี เป็ นพระธาตุองค์เดียวในประเทศไทยที่
เกิดจากการนำดินมากองสูงจนเกือบเป็ นเนินเขาขนาดย่อม ตามตำนาน
บอกว่า พระธาตุองค์นี้ เกิดจากการที่มีพระธุดงค์รูปหนึ่งมาหยุดพักที่
หมู่บ้านแสงภา และสอนชาวบ้านว่าถ้าไม่อยากให้เกิดเภทภัยใดๆ จะต้อง
ถือปฏิบัติตน 3 ข้อ คือ ห้ามผิดศีล, ห้ามฆ่าสัตว์ และ ห้ามเล่นไสยศาสตร์
หลังจากนั้นก็ประกาศให้ชาวบ้านมาช่วยกันสร้างพระธาตุให้แล้วเสร็จ
ภ า ย ใ น 3 ปี

ภาพที่ 8 พระธาตุดินแทน และรอยพระพุทธบาท บ้านแสงภา อำเภอ


นาแห้ว จังหวัดเลย
ที่ ม า : http://images.rambler.ru/search?query=%E0%B8%9E
%E0%B8%A3
8.4 พระธาตุสัจจะ
“พระธาตุสัจจะ วัดลาดปู่ทรงธรรม” ที่สร้างขึ้นเพื่อแก้
อาถรรพณ์พระธาตุพนมที่เคยหักโค่นลงมาในอดีต ให้ได้สักการะ ศูนย์รวม
จิตใจของชาวบ้านอำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย ก่อสร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2482 โดย
มีอาคารเสนาสนะ ที่ประกอบด้วย อุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิสงฆ์ ศาลา
อเนกประสงค์ และมีมณฑปครอบรอยพระพุทธบาทจำลอง ซึ่งในอดีตวัด
แห่งนี้ เคยเป็ นที่พำนักสงฆ์และที่ธุดงค์ของพระเกจิอาจารย์หลายรูปเป็ น
ประจำ เนื่องจากมีความเงียบสงบมากนั่นเอง ต่อมาได้มีการสร้างองค์พระ
ธาตุสัจจะครอบรอยพระพุธบาทขึ้น เพื่อเป็ นการต่อชะตาให้กับองค์พระ
ธาตุพนม จังหวัดนครพนม ซึ่งได้พังทลายลงเนื่องจากความทรุดโทรมตาม
กาลเวลา เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ.2518 นอกจากนี้ภายในยังใช้เป็ นที่
บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระอรหันต์ธาตุ และพระปถวีธาตุพนม (ดินจาก
พระธาตุพนม) โดยพระธาตุสัจจะองค์นี้ ได้ทำการก่อสร้างขึ้นเมื่อวันที่ 13
พฤษภาคม พ.ศ.2519 และแล้วเสร็จเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ.2522
โดยมีลักษณะขององค์พระธาตุ คล้ายกับพระธาตุพนม ในจังหวัดนครพนม

ภาพที่ 9 พระธาตุสัจจะ พระพุทธรูป และรอยพระพุทธบาท ภายในองค์


พระธาตุ อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

8.2 พระพุทธรัตนบุรีศรีทรายขาว

ภาพที่ 10 พระพุทธรูป “พระบางเมืองทรายขาว” ปางประทานอภัย หรือ


ปางห้ามสมุทร
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query
พระพุทธรัตนบุรีศรีทรายขาว (พระบางเมืองทรายขาว) เป็ น
พระพุทธรูปนวโลหะศิลปะล้านช้าง ปางประทานอภัยหรือ ปางห้ามสมุทร
สร้างเมื่อ พ.ศ.2255 ความสูง 98 เซนติเมตร ฐานกว้าง 20 เซนติเมตร
กรมศิลปากรขึ้นทะเบียนเป็ นโบราณวัตถุแล้ว ปั จจุบันเก็บรักษาไว้ที่วัดศรี
สุทธาวาส พระอารามหลวง อำเภอเมือง จังหวัดเลย จารึกฐานพระพุทธรูป
องค์นี้มีความสำคัญกับประวัติศาสตร์เมืองเลยหรือไทเลยเป็ นอย่างยิ่ง
เพราะทำให้ทราบว่าคำว่าเมืองเลยนั้นมีมาก่อนพ.ศ.2255 (ยังไม่ปรากฏ
หลักฐานว่าตั้งอยู่บริเวณใด) ก่อนที่จะปรากฏหลักฐานว่าเมืองเลยเป็ นเมือง
หน้าด่านขอบขัณฑสีมาตามจดหมายเหตุรัชกาลที่ 3 และก่อนที่พระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดให้พระยาท้ายน้ำออกสำรวจบัญชีไพร่พล
และเขตแขวงของประเทศสยามได้พบหมู่บ้านแฮ่มีสภาพอุดมสมบูรณ์และ
มีพลเมืองหนาแน่นจึงโปรดเกล้าฯให้จัดตั้งเป็ นเมืองหลักชื่อ “เมืองเลย”

8.2 พระพุทธศิลามิ่งมงคลเมือง

พระพุทธศิลามิ่งมงคลเมือง(หลวงพ่อหิน) เป็ นพระพุทธรูปปาง


มารวิชัย แกะสลักจากหิน มีขนาดหน้าตักกว้าง 37 เซนติเมตร สูง 54
เซนติเมตร เป็ นพระพุทธรูปศิลปะทวาราวดีตอนปลายราวพุทธศตวรรษ
ที่16 ค้นพบในสวนเอกชน บริเวณบ้านโป่ ง ตำบลกกดู่ อำเภอเมือง พระธร
รมวราลังการ(หลวงปู่ศรีจันทร์ วัณณาโภ) ขณะดำรงสมณศักดิ์ที่พระครูอดิ
สัยคุณาธาร ได้อัญเชิญมาประดิษฐานไว้ในมณฑป วัดศรีสุทธาวาส พระ
อารามหลวง อำเภอเมือง จังหวัดเลย หลวงพ่อหิน วัดเลยหลง ถือกันว่า
เป็ นพระพุทธรูปคู่บุญบารมีหลวงปู่ศรีจันทร์องค์หนึ่ง
ภาพที่ 11 พระพุทธรูปประทับนั่ง “หลวงพ่อหิน” ปางมารวิชัยในมณฑป
วัดศรีสุทธาวาส
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

ปั จจุบันประดิษฐานอยู่ภายในมณฑป วัดศรีสุทธาวาส พ.ศ. 2498 หลวงปู่


ศรีจันทร์ได้ทราบข่าวจากช่างที่มาก่อสร้างอุโบสถวัดศรีสุทธาวาส ว่ามีผู้
พบพระพุทธรูปอยู่ในป่ าดังกล่าว หลวงปู่ศรีจันทร์พร้อมด้วยกรรมการวัดจึง
ได้ไปอัญเชิญมาประดิษฐานที่วัดศรีสุทธาวาส (วิชัย จินดาเหม ข่าวสดราย
วัน วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2552 ปี ที่ 19 ฉบับที่ 6890 )

8.3 หลวงพ่อองค์แสน

หลวงพ่อองค์แสน (พระเจ้าฝนแสนห่า) เป็ นพระพุทธรูปปางมาร


วิชัยสร้างด้วยนวโลหะชนิดสำริด ศิลปะล้านช้าง สร้างราวพุทธศตวรรษที่
22-23 หน้าตักกว้าง 34.5 เซนติเมตร สูง 61 เซนติเมตร กรมศิลปากรขึ้น
ทะเบียนเป็ นโบราณวัตถุแล้ว หลวงพ่อองค์แสนเป็ นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์
ปั จจุบันประดิษฐานไว้ที่วัดโพธิ์ชัย บ้านนาพึง ตำบลนาพึง อำเภอนาแห้ว
วันสงกรานต์ของทุกปี จะนำออกมาให้ประชาชนได้สรงน้ำทุกปี
ภาพที่ 12 พระพุทธรูปประทับนั่ง “หลวงพ่อองค์แสน”(พระเจ้าฝนแสน
ห่า) ปางมารวิชัยในอุโบสถวัดโพธิ์ชัย บ้านนาพึง ตำบลนาพึง อำเภอ
นาแห้ว จังหวัดเลย
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query=(พระเจ้าฝนแสนห่า)

8.4 ศาลเจ้าพ่อกุดป่ องและศาลหลักเมือง


ศาลเจ้าพ่อกุดป่ องและศาลหลักเมืองและเป็ นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ที่
เคารพสักการบูชาของชาวจังหวัดเลยทั้งสองศาลตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน
คือบริเวณริมสวนสาธารณะกุดป่ องด้านตะวันตกเฉียงเหนือ เดิมมีเฉพาะ
ศาลเจ้าพ่อกุดป่ องซึ่งเป็ นศาลเก่าแก่และมีประชาชนเคารพนับถือมากแห่ง
หนึ่ง เชื่อกันว่าเป็ นที่สิงสถิตของดวงวิญญาณศักดิ์สิทธิ์ ศาลแห่งนี้ตั้งอยู่ริม
หนองน้ำที่มีช่องหรือปล่องโผล่ขึ้นมา จึงเรียกว่า “ศาลเจ้าพ่อกุดป่ อง”ศาล
เจ้าพ่อกุดป่ อง เดิมเป็ นเรือนไม้เก่าๆ ต่อมาจึงได้สร้างศาลหลังใหม่ขึ้นมาคู่
กับศาลหลักเมืองสร้างที่สร้างเมื่อ พ.ศ.2524 สมัยนายทองดำ บานชื่น เป็ น
ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย ได้ดำเนินการก่อสร้างตามแบบกรมศิลปากรและได้
แล้วเสร็จสมบูรณ์เมื่อ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2525 เสาหลักเมืองทำด้วยไม้
ราชพฤกษ์ ตัวเสาหลักเมืองมีขนาดสูงจากฐาน 139 เซนติเมตร เสา
หลักเมืองแกะสลักเป็ นรูป หัวเม็ดทรงมัณฑน์ ลงรักปิ ดทองทั้งองค์ได้นำเข้า
พิธีพุทธาภิเษกโดยพระคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ ระหว่างวันเสาร์ที่ 28 ถึงวัน
อาทิตย์ที่ 29 มีนาคม 2525 โดยมีพระเถร t นั่งปรกจำนวน 52 รูป ณ วัด
ศรีสุทธวาส อำเภอเมืองเลย จังหวัดเลย และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระสุหร่าย และทรงเจิม เสาหลักเมืองจังหวัดเลย
เพื่อความเป็ นสิริมงคล เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 24 มิถุนายน 2525 เวลา 15.45
น. ณ พระตำหนักจิตรดารโหฐาน

ภาพที่ 13 ศาลหลักเมือง ศาลเจ้าพ่อกุดป่ อง ริมฝั่ งกุดป่ องด้านทิศเหนือ


ตำบลกุดป่ อง อำเภอเมือง จังหวัดเลย
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

9.พระอารามหลวงในจังหวัดเลย

ภาพที่ 14 อุโบสถวัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวงชั้นตรีชนิดสามัญ


ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query
วัดศรีสุทธาวาส เป็ นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ พระอาราม
หลวง หรือ วัดหลวง คือ วัดที่พระมหากษัตริย์หรือพระบรมวงศานุวงศ์ทรง
สร้างหรือทรงบูรณปฏิสังขรณ์ หรือมีผู้สร้างน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวาย
เป็ นวัดหลวง และวัดที่ราษฎรสร้าง หรือบูรณปฏิสังขรณ์ แล้วทรงพระ
กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เข้าจำนวนในบัญชีเป็ นพระอารามหลวง แต่เดิมนั้นยัง
ไม่มีการจัดแบ่งพระอารามหลวงอย่างเป็ นทางการ เพียงแต่มีการจัดแบ่ง
พระอารามหลวงออกเป็ นหลายชั้นตามความรู้สึกหรืออาศัยการคาดเดา
ตามสถานการณ์ เช่น ดูจากการพระราชทานเทียนพรรษาขี้ผึ้งหรือไม้เล่ม
เดียวหรือมากกว่านั้น หรือดูจากการบรรดาศักดิ์ที่พระราชทานแก่เจ้า
พนักงานผู้คุมเลกข้าพระ เป็ นต้น หลังจากนั้น กระทรวงธรรมการร่วมกับ
กระทรวงพระคลังมหาสมบัติได้จัดระเบียบพระอารามหลวงเพื่อประมาณ
ค่าบำรุงวัดหลักจากเลิกเลขวัด แต่ไม่ได้นำมาใช้เป็ นเกณฑ์ในการจัด
ระเบียบพระอารามหลวง ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2458 พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้มีการจัดระเบียบ
พระอารามหลวงขึ้นอย่างเป็ นระบบตั้งแต่นั้นมาโดยในครั้งนั้น วัดที่จัดว่า
เป็ นพระอารามหลวงนั้น คือ วัดอันสมเด็จพระเจ้าแผ่นดิน สมเด็จพระ
ราชินี สมเด็จพระยุพราช ทรงสร้าง ทรงปฏิสังขรณ์เป็ นส่วนพระองค์หรือ
ทรงในนามท่านผู้อื่น และอารามอันพระบรมวงศ์และข้าทูลละอองธุลี
พระบาทผู้ใหญ่สร้างปฏิสังขรณ์ทรงรับไว้ในความบำรุงของแผ่นดิน ภาย
หลังจึงหมายรวมถึงวัดราษฎร์ที่ที่ประชาชนสร้างหรือปฏิสังขรณ์ แล้วทรง
พิจารณาเห็นสมควรยกย่องเป็ นพิเศษก็ทรงรับไว้เป็ นพระอารามหลวงการ
แบ่งพระอารามหลวงการจัดลำดับชั้นของพระอารามหลวง เริ่มมีขึ้นใน
รัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อ พ.ศ. 2458 ซึ่งทรง
พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดระเบียบแบ่งชั้นพระอารามหลวงออกเป็ นสาม
ชั้น แต่ละชั้นยังแยกระดับออกไปอีกหลายระดับ โดยมีสร้อยต่อท้ายชื่อวัด
ตามฐานะดังนี้
9.1 พระอารามหลวงชั้นเอก ได้แก่ วัดที่มีเจดียสถานบรรจุพระบรมอัฐิ
หรือเป็ นวัดที่มีเกียรติสูง มี 3 ชนิด คือ

 ชนิดราชวรมหาวิหาร
 ชนิดราชวรวิหาร
 ชนิดวรมหาวิหาร

9.2 พระอารามหลวงชั้นโท ได้แก่ วัดที่มีเจดียสถานสำคัญ มี 4 ชนิด


คือ

 ชนิดราชวรมหาวิหาร
 ชนิดราชวรวิหาร
 ชนิดวรมหาวิหาร
 ชนิดวรวิหาร

9.3 พระอารามหลวงชั้นตรี ได้แก่ วัดประจำหัวเมือง หรือวัดที่มี


ความสำคัญชั้นรอง มี 3 ชนิด คือ

 ชนิดราชวรวิหาร
 ชนิดวรวิหาร
 ชนิดสามัญ (ไม่มีสร้อยนามต่อท้าย โดยส่วนใหญ่จะต่อท้ายว่า
พระอารามหลวง)

10.พระบรมรูปและอนุสรณ์สถานในจังหวัดเลย

10.1 พระบรมรูปทรงม้า

เป็ นพระบรมรูปทรงม้า ที่นายเฉลียว จรัสศรี ผู้ว่าราชกาล


จังหวัดเลยในขณะนั้นได้ทำหนังสือกราบบังคมทูลขอพระบรมราชานุญาต
สร้างพระบรมรูปทรงม้าจำลองขนาดเท่าครึ่งพระองค์จริงที่
กรุงเทพมหานคร เมื่อสร้างเสร็จได้กำหนดฤกษ์อัญเชิญ เมื่อวันจันทร์ ขึ้น
2 ค่ำ เดือน 12 ตรงกับวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.2522 อัญเชิญเสด็จเวลา
07.00 น. และขึ้นแท่นที่ประทับหน้าศาลากลางในเวลา 09.09 น.พระบรม
รูปทรงม้าจำลองพระองค์นี้เป็ นที่เคารพสักการะของบรรดาข้าราชบริพาร
ทุกระดับต่างได้ถวายความจงรักภักดีด้วยการถวายเครื่องราชสักการะเป็ น
เนืองนิจ หากจังหวัดประสงค์จะจัดกิจกรรมต่อเบื้องพระพักตร์เป็ นพิเศษ
ทุกครั้งจะต้องมีการบอกกล่าวบวงสรวงโดย พราหมณ์เมืองเพื่อยังความ
สวัสดีให้บังเกิดแก่ชาวจังหวัดเลย

ภาพที่ 15 พระบรมรูปทรงม้า พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว


รัชกาลที่ 5 หน้าศาลากลางจังหวัดเลย
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

10.2 พระบรมรูปจำลองพระบิดาลูกเสือไทย
ในสมัยที่ ร.ต.ท. เรือง สถานานนท์ ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการ
จังหวัดได้ดำเนินการก่อตั้ง “ค่ายลูกเสือศรีสองรัก”ในท้องที่บ้านตูบโกบ
อำเภอเมือง จังหวัดเลย เมื่อปี พ.ศ.2507 จนถึงสมัยนายสะอาด เหมศรี
ชาติ ดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัด จึงได้ดำริสร้างพระบรมรูปพระบาท
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 องค์พระบิดาลูกเสือไทย โดย
ใช้ปูนปั้น ขนาดเท่าพระองค์จริงในชุดฉลองพระองค์ลูกเสือไทย พระหัตถ์
ขวาทรงคฑา ประทับยืนบนแท่นไตรประดู่ ในบริเวณค่ายลูกเสือศรีสองรัก
พร้อมกับสร้างพระธาตุศรีสองรักจำลองประดิษฐานอยู่บนเนินดินตรงทาง
เข้าค่ายเป็ นสัญลักษณ์ เป็ นสิ่งจูงใจให้ผู้เข้าฝึ กอบรมได้เคารพสักการะตาม
ธรรมเนียมชาวพุทธก่อนที่จะเข้าไปถวายความเคารพพระบรมรูปจำลอง
พระบิดาลูกเสือไทย

ภาพที่ 16 พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่


6 องค์พระบิดาลูกเสือไทย โดยใช้ปูนปั้น ขนาดเท่าพระองค์จริงในชุดฉลอง
พระองค์ลูกเสือไทย เป็ นพระบรมรูปปูนปั้ น ขนาดเท่าพระองค์จริงในชุด
ฉลองพระองค์ลูกเสือไทย พระหัตถ์ขวาทรงคฑา ประทับยืนบนแท่นไตร
ประดู่ ในบริเวณค่ายลูกเสือศรีสองรัก
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

10.3 อนุสรณ์สถานผู้เสียสละ
อนุสรณ์สถานผู้เสียสละสร้างขึ้นเพื่อเป็ นอนุสรณ์ของการเสียสละ
เลือดเนื้อ เพื่อปกป้ องแผ่นดินของวีรชนผู้กล้า และเพื่ออนุรักษ์สถานที่อัน
เป็ นที่ตั้งหน่วยงานที่รวมพลังชีวิตจิตใจในการประกอบภารกิจเพื่อชาติไว้
เป็ นเครื่องเตือนใจให้อนุชนรุ่นหลังได้ระลึกถึง และบังเกิดความสำนึกใน
ความรักชาติสมัครสมานสามัคคีช่วยกันจรรโลงชาติให้เจริญก้าวหน้ามั่นคง
สืบไป โดยดำริของ พล.อ.อาทิตย์ กำลังเอก ขณะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการ
ทหารสูงสุด และผู้บัญชาการทหารบก มีพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่ อวันที่ 30
เมษายน พ.ศ.2529 ประกอบพิธีเปิ ดเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2529 โดย
พล.อ.อาทิตย์ กำลังเอก เป็ นประธานในพิธี

ภาพที่ 17 อนุสรณ์สถานผู้เสียสละมีรูปแบบประกอบด้วยเสาหลัก 5 ต้น


รวมเป็ นเอกภาพเดียวกัน
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

อนุสรณ์สถานผู้เสียสละมีรูปแบบประกอบด้วยเสาหลัก 5 ต้น
รวมเป็ นเอกภาพเดียวกัน หล่อด้วยทองสำริดรมดำ สูง 20 เมตร ซึ่งเสา
แต่ละต้นหมายถึง พลเรือน ตำรวจ ทหาร อาสาสมัคร และประชาชน กลีบ
บัวปลายเสาหลัก หมายถึงพระพุทธศาสนาคือความงามประจำใจ ฉัตร 9
ชั้น หมายถึงพระบรมเดชานุภาพของพระมหากษัตริย์ อันเป็ นสิ่งยึดมั่น
ของประเทศชาติ อนุสรณ์สถานผู้เสียสละตั้งอยู่ในท้องที่หมู่บ้านนาอาน
ตำบลนาอาน อำเภอเมืองด้านซ้ายทางหลวงสาย 201 ระหว่างสนามบินท่า
อากาศยานเลยกับสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย และมีการประกอบพิธี
สดุดีวีรชนในวันที่ 26 สิงหาคม เป็ นประจำทุกปี
11. การปกครอง

จังหวัดเลย แบ่งการปกครองส่วนภูมิภาคเป็ น 14 อำ เภอ 89


ตำบล 924 หมู่บ้าน
โดยมีรายชื่ออำเภอ 14 อำเภอมีดังนี้ 1.อำเภอเมืองเลย 2.อำเภอนาด้วง
3.อำเภอเชียงคาน 4.อำเภอปากชม 5.อำเภอด่านซ้าย 6.อำเภอนาแห้ว 7.
อำเภอภูเรือ 8.อำเภอท่าลี่ 9.อำเภอวังสะพุง 10.อำเภอภูกระดึง
11.อำเภอภูหลวง 12.อำเภอผาขาว 13.อำเภอเอราวัณ 14.อำเภอหนอง
หิน
ในส่วนของการปกครองส่วนท้องถิ่น มี 1 องค์การบริหารส่วน
จังหวัด 2 เทศบาลเมือง 29 เทศบาลตำบล และ 71 องค์การบริการส่วน
ตำบล ดังจำแนกเป็ นรายจังหวัด/อำเภอดังนี้

ภาพที่ 18 แผนที่จังหวัดเลย แสดงเขตอำเภอต่าง ๆ ในจังหวัด


ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query
1. จังหวัดเลย ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง คือ 1. องค์การ
บริหารส่วนจังหวัดเลย

2. อำเภอเมือง ประกอบด้วย

เทศบาลเมือง 1 แห่ง คือ 1. เทศบาลเมืองเลย


เทศบาลตำบล 5 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำบลนาอ้อ 2. เทศบาล
ตำบลน้ำสวย 3. เทศบาล
ตำบลนาดินดำ 4. เทศบาลตำบลนาโป่ ง 5. เทศบาลตำบลนาอาน
องค์การบริหารส่วนตำบล 9 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
เมือง 2. องค์การบริหารส่วนตำบลชัยพฤกษ์ 3. องค์การบริหารส่วนตำบล
น้ำสวย 4. องค์การบริหารส่วนตำบลศรีสองรัก 5. องค์การบริหารส่วน
ตำบลกกดู่ 6. องค์การบริหารส่วนตำบลนาแขม 7. องค์การบริหารส่วน
ตำบลน้ำหมาน 8. องค์การบริหารส่วนตำบลเสี้ยว 9. องค์การบริหารส่วน
ตำบลกกทอง

3. อำเภอนาด้วง ประกอบด้วย เทศบาลตำบล 2 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาล


ตำบลนาด้วง 2. เทศบาลตำบลนาดอกคำ
องค์การบริหารส่วนตำบล 3 แห่ง ได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
นาด้วง 2. องค์การบริหารส่วนตำบลท่าสะอาด 3. องค์การบริหารส่วน
ตำบลท่าสวรรค์

4. อำ เภอเชียงคาน ประกอบด้วย เทศบาลตำ บล 3 แห่ง ได้แก่ 1.


เทศบาลตำบลเชียงคาน 2. เทศบาลตำบลเขาแก้ว 3. เทศบาลตำบลธาตุ
องค์การบริหารส่วนตำบล 6 แห่ง ได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
เชียงคาน 2. องค์การบริหารส่วนตำบลนาซ่าว 3. องค์การบริหารส่วน
ตำบลบุฮม 4. องค์การบริหารส่วนตำบลปากตม 5. องค์การบริหารส่วน
ตำบลจอมศรี 6. องค์การบริหารส่วนตำบลหาดทรายขาว

5. อำเภอปากชม ประกอบด้วย
เทศบาลตำบล 2 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลปากชม 2. เทศบาลตำบล
เชียงกลม
องค์การบริหารส่วนตำบล 6 แห่ง ได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วน
ตำบลปากชม 2. องค์การบริหารส่วนตำบลเชียงกลม 3. องค์การบริหาร
ส่วนตำบลหาดคัมภีร์ 4. องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยพิชัย 5. องค์การ
บริหารส่วนตำบลห้วยบ่อซืน 6. องค์การบริหารส่วนตำบลชมเจริญ

6. อำเภอด่านซ้าย ประกอบด้วย
เทศบาลตำบล 2 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำบลดานซ้าย 2. เทศบาล
ตำบลศรีสองรัก
องค์การบริหารส่วนตำบล 9 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วน
ตำบลโป่ ง 2. องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี 3. องค์การบริหารส่วนตำบล
กกสะทอน 4. องค์การบริหารส่วนตำบลโพนสูง 5. องค์การบริหารส่วน
ตำบลโคกงาม 6. องค์การบริหารส่วนตำบลวังยาว 7. องค์การบริหารส่วน
ตำบลอิปุ่ม 8. องค์การบริหารส่วนตำบลนาหอ 9. องค์การบริหารส่วน
ตำบลปากหมัน

7. อำเภอนาแห้ว ประกอบด้วย
เทศบาลตำบล 1 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำบลนาแห้ว
องค์การบริหารส่วนตำบล 4 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
นาพึง 2. องค์การบริหารส่วนตำบลนามาลา 3. องค์การบริหารส่วนตำบล
เหล่ากอหก 4. องค์การบริหารส่วนตำบลแสงภา
8. อำเภอภูเรือ ประกอบด้วย

เทศบาลตำบล 1 แห่ง ได้แก่ 1.เทศบาลตำบลภูเรือ


องค์การบริหารส่วนตำบล 5 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
ร่องจิก 2. องค์การบริหารส่วนตำบลสานตม 3. องค์การบริหารส่วน
ตำบลท่าศาลา 4. องค์การบริหารส่วนตำบลปลาบ่า 5. องค์การบริหาร
ส่วนตำบลหนองบัว

9. อำเภอท่าลี่ ประกอบด้วย
เทศบาลตำบล 1 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำบลท่าลี่
องค์การบริหารส่วนตำบล 5 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
ท่าลี่ 2. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองผือ 3. องค์การบริหารส่วนตำบล
อาฮี 4. องค์การบริหารส่วนตำบลน้ำแคม 5. องค์การบริหารส่วนตำบล
โคกใหญ่

10.อำเภอวังสะพุง ประกอบด้วย
เทศบาลเมือง 1 แห่ง คือ 1. เทศบาลเมืองวังสะพุง
เทศบาลตำ บล 2 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำ บลศรีสงคราม 2.
เทศบาลตำบลปากปวน
องค์การบริหารส่วนตำ บล 8 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำ บล
วังสะพุง 2.องค์การบริหารส่วนตำบลเขาหลวง 3. องค์การบริหารส่วน
ตำบลโคกขมิ้น 4.องค์การบริหารส่วนตำบลทรายขาว 5.องค์การบริหาร
ส่วนตำ บลผาน้อย 6.องค์การบริหารส่วนตำ บลหนองหญ้าปล้อง 7.
องค์การบริหารส่วนตำบลหนองงิ้ว 8. องค์การบริหารส่วนตำบลผาบิ้ง
11.อำเภอภูกระดึง ประกอบด้วย
เทศบาลตำบล 1 แห่ง ได้แก่ 1.เทศบาลตำบลภูกระดึง
องค์การบริหารส่วนตำบล 4 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
ภูกระดึง 2.องค์การบริหารส่วนตำบลศรีฐาน 3.องค์การบริหารส่วนตำบล
ผานกเค้า 4.องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยส้ม

12.อำเภอภูหลวง ประกอบด้วย
องค์การบริหารส่วนตำบล 5 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
ภูหอ 2. องค์การบริหารส่วนตำบลหนองคัน 3. องค์การบริหารส่วนตำบล
ห้วยสีเสียด 4. องค์การบริหารส่วนตำบลเลยวังไสย์ 5. องค์การบริหาร
ส่วนตำบลแก่งศรีภูมิ

13.อำเภอผาขาว ประกอบด้วย
เทศบาลตำ บล 2 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำ บลท่าช้างคล้อง 2.
เทศบาลตำบลโนนปอแดง
องค์การบริหารส่วนตำบล 3 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
ผาขาว 2. องค์การบริหารส่วนตำบลโนนป่ าซาง 3. องค์การบริหารส่วน
ตำบลน้ำบ้านเพิ่ม

14.อำเภอเอราวัณ ประกอบด้วย
เทศบาลตำบล 2 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำบลผาอินทร์แปลง 2.
เทศบาลตำบลเอราวัณ
องค์การบริหารส่วนตำบล 2 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบลผา
สามยอด 2. องค์การบริหารส่วนตำบลทรัพย์ไพรวัลย์
15.อำเภอหนองหิน ประกอบด้วย
เทศบาลตำบล 1 แห่ง ได้แก่ 1. เทศบาลตำบลหนองหิน
องค์การบริหารส่วนตำบล 3 แห่งได้แก่ 1. องค์การบริหารส่วนตำบล
หนองหิน 2.องค์การบริหารส่วนตำบลตาดข่า 3. องค์การบริหารส่วน
ตำบลปวนพุ

ที่ ม า :สำ นั ก ง า น ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ป ก ค ร อ ง ท้ อ ง ถิ่ น จั ง ห วั ด เ ล ย


http://loeilocal.go.th/public/informationinprovince/data/index/
menu/193

12. ประชากร
จังหวัดเลยมีประชากรทั้งหมด 638,978 คน เป็ นชาย 321,564
คน เป็ นหญิง 317,414 คน อำเภอที่มีประชากรมากที่สุด ได้แก่ อำเภอ
วังสะพุง 99,704 คน รองลงมาได้แก่อำเภอเมือง 59,235 คน อำเภอที่มี
ประชากรน้อยที่สุดคือ อำ เภอนาแห้ว 9,535 คน จำนวนครัวเรือน
212,008 หลังคาเรือน (รายละเอียดในตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 จำนวนประชากรและจำนวนครัวเรือนเป็ นรายอำเภอ

จังหวัด/ ประชากร ชาย(คน) หญิง(คน) จำนวน


อำเภอ รวม(คน) ครัวเรือน
จังหวัดเลย 638,978 321,564 317,414 212,008

อำ เ ภ อ 59,235 30,392 28,843 21,848

เมืองเลย
อำ เ ภ อ 9,627 4,879 4,748 3,209

นาด้วง
อำ เ ภ อ 37,843 18,901 18,942 12,704

เชียงคาน
อำ เ ภ อ 32,996 16,771 16,225 10,359
ปากชม
อำ เ ภ อ 47,912 24,345 23,567 14,809

ด่านซ้าย
อำ เ ภ อ 9,535 4,813 4,722 2,879
นาแห้ว
อำ เ ภ อ 19,284 9,845 9,439 6,580
ภูเรือ
อำเภอท่าลี่ 26,347 13,239 13,108 9,239

อำ เ ภ อ 99,704 49,772 49,932 31,429


วังสะพุง
อำ เ ภ อ 26,835 13,516 13,108 9,239
ภูกระดึง
อำ เ ภ อ ภู 24,697 12,538 12,159 7,134
หลวง
อำ เ ภ อ ผ า 31,017 15,602 15,415 8,052

ขาว
อำ เ ภ อ 34,753 17,430 17,323 10,994
เอราวัณ
อำ เ ภ อ 20,189 10,208 9,981 5,653
หนองหิน

ที่มา : สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง ข้อมูล ณ :


พฤษภาคม 2559
http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_m.php สืบค้น 16 มิถุนายน 2559
13.ทำเนียบเจ้าเมือง/ข้าหลวง/ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย
ลำดับ ปี ที่ดำรงตำแหน่ง
ที่
๑ หลวงศรีสงคราม (ท้าวคำแสน) พ.ศ. ๒๓๙๖
๒ หลวงศรีสงคราม (เหง้า) -
๓ หลวงราชภักดี (สนธ์) พ.ศ. ๒๔๑๖
๔ หลวงวิเศษจางวาง -
พ.ศ. ๒๔๔๖ –
๕ พระศรีสงคราม (มณี เหมาภา)
๒๔๕๐
พ.ศ. ๒๔๕๐ –
๖ พระรามฤทธี (สอน วิวัฒนปทุม)
๒๔๕๒
พ.ศ. ๒๔๕๒ –
๗ พระรณกิจปรีชา (รื่น สุคนธ์หงษ์)
๒๔๕๕
พ.ศ. ๒๔๕๕ –
๘ พระภักดีสงคราม (ดิษฐ โกมลบุตร)
๒๔๕๖
พระยาประเสริฐสุนทราศัย (กระจ่าง พ.ศ. ๒๔๕๖ –

สิงหเสนีย์) ๒๔๖๓
พระยาบรมราชบรรหาร (เย็น ภระมร พ.ศ. ๒๔๖๔ –
๑๐
ทัต) ๒๔๖๖
พระยาศรีนครชัย (ประสงษ์ อมาต พ.ศ. ๒๔๖๖ –
๑๑
ยกุล) ๒๔๗๕
พ.ศ. ๒๔๗๖ –
๑๒ หลวงวิวิธสุรการ (ถวิล เจียรมานพ)
๒๔๘๒
พ.ศ. ๒๔๘๒ –
๑๓ หลวงอนุการนพกิจ (ปรารภ สุรัสวดี)
๒๔๘๓
หลวงนิคมคณารักษ์ (เทียน กำเนิด พ.ศ. ๒๔๘๓ –
๑๔
เพชร) ๒๔๘๗
๑๕ นายทำนุก รัตนดิลก ณ ภูเก็ต พ.ศ. ๒๔๘๗ –
๒๔๙๐
พ.ศ. ๒๔๙๐ –
๑๖ นายเหลือบ ปราบสัตรู
๒๔๙๑
พ.ศ. ๒๔๙๑ –
๑๗ นายชุณห์ นกแก้ว
๒๔๙๔
พ.ศ. ๒๔๙๔ –
๑๘ ขุนศรีวิเศษ (ยงยุทธ ศรีวิเศษ)
๒๔๙๕
พ.ศ. ๒๔๙๕ –
๑๙ นายปรุง พหูชนม์
๒๔๙๗
พ.ศ. ๒๔๙๗ –
๒๐ พ.ต.ท. ต่อศักดิ์ ยมนาค
๒๔๙๙
พ.ศ. ๒๔๙๙ –
๒๑ นายพยุง ตันติลีปิ กร
๒๕๐๐
พ.ศ. ๒๕๐๐ –
๒๒ นายสมบัติ สมบัติทวี
๒๕๐๑
พ.ศ. ๒๕๐๑ –
๒๓ นายกิติ ยธการี
๒๕๐๕
พ.ศ. ๒๕๐๕ –
๒๔ ร.ต.ท. เรือง สถานานนท์
๒๕๐๘
พ.ศ. ๒๕๐๘ –
๒๕ นายกำเกิง สุรการ
๒๕๑๒
พ.ศ. ๒๕๑๒ –
๒๖ นายสะอาด เหมศรีชาติ
๒๕๑๔
พ.ศ. ๒๕๑๔ –
๒๗ นายวิจิน สัจจะเวทะ
๒๕๑๖
๒๘ นายสวัสดิ์ เฉลิมพงศ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ –
๒๕๑๙
พ.ศ. ๒๕๑๙ –
๒๙ นายเฉลียว จรัสศรี
๒๕๒๐
พ.ศ. ๒๕๒๐ –
๓๐ นายชาญ พันธุมรัตน์
๒๕๒๑
พ.ศ. ๒๕๒๑ –
๓๑ นายอรุณ ปุสเทพ
๒๕๒๒
พ.ศ. ๒๕๒๒ –
๓๒ นายพิชิต ลักษณสมพงศ์
๒๕๒๓
พ.ศ.๒๕๒๓ –
๓๓ นายทองดำ บานชื่น
๒๕๒๗
พ.ศ. ๒๕๒๗ –
๓๔ นายสันติ มณีกาญจน์
๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๒๙ –
๓๕ นายชีวิน สุทธิสุวรรณ
๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๒ –
๓๖ ร.อ. ศรีรัตน์ หริรักษ์
๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๕๓๔ –
๓๗ พ.ท. สิโรตม์ สุวรรณนาคินทร์
๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๖ –
๓๘ ร.ต. สมนึก ชูวิเชียร
๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๗ –
๓๙ นายผไท วิจารณ์ปรีชา
๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๘ –
๔๐ นายวิพัฒน์ วิมลเศรษฐ
๒๕๔๐
๔๑ นายพีระ มานะทัศน์ พ.ศ. ๒๕๔๐ –
๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๒ –
๔๒ นายไพรัตน์ พจน์ชนะชัย
๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๖ –
๔๓ นายสำเริง เชื้อชวลิต
๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๐ –
๔๔ นายมานิตย์ มกรพงศ์
๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๒ –
๔๕ นายพรศักดิ์ เจียรณัย
๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๔ –
๔๖ นายสมพงศ์ อรุณโรจน์ปั ญญา
๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๔ –
๔๗ นายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์
๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๕๙–
๔๘ นายคุมพล บรรเทาทุกข์
ปั จจุบัน

ที่ ม า : http://www.loei.go.th/TH/index.php?
option=com_content&view=article&id=6&Itemid
=331 สืบค้น 19 มิถุนายน 2559

14.การเดินทาง
14.1 รถยนต์ จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 ถนน
พหลโยธิน ผ่านตัวเมืองสระบุรี จากนั้นเข้าทางหลวงหมายเลข 21 ผ่าน
จังหวัดเพชรบูรณ์ ต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 203 ผ่านอำเภอหล่มสัก
หล่มเก่า เข้าเขตจังหวัดเลยที่อำเภอด่านซ้าย อำเภอภูเรือ ถึงตัวเมืองเลยใช้
เวลาเดินทางประมาณ 7-8 ชั่วโมง หรือ จากจังหวัดสระบุรี ใช้ทางหลวง
หมายเลข 2 ผ่านจังหวัดนครราชสีมา ถึงจังหวัดขอนแก่น รวมระยะทาง
536 กิโลเมตร แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข 12 ผ่านอำเภอชุมแพ
แล้วใช้ทางหลวงหมายเลข 201 เข้าเขตจังหวัดเลยที่อำเภอ ภูกระดึง
อำเภอวังสะพุง ถึงตัวเมืองเลย รวมระยะทาง 540 กิโลเมตร

ภาพที่ 19 บริษัทรถโดยสารประจำทางปรับอากาศชั้น 1 กรุงเทพฯ – เลย


ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

14.2 รถโดยสารประจำทาง บริษัท ขนส่ง จำกัด มีรถโดยสาร


ประจำทางวิ่งระหว่างกรุงเทพฯ-เลย ทุกวัน ทั้งรถธรรมดาและรถปรับ
อากาศ ใช้เวลาประมาณ 10 ชั่วโมง รายละเอียดสอบถามที่สถานีขนส่ง
หมอชิต ถนนกำแพงเพชร 2 โทร. 0 2936 2841-8, 0 2936 2852-66
หรือ www.transport.co.th นอกจากนั้นยังมีบริษัทเดินรถเอกชนที่วิ่ง
บริการ ได้แก่ บริษัท แอร์เมืองเลย จำกัด กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 0142
สาขาเลย โทร. 0 4283 2042 ห้างหุ้นส่วนจำกัด ชุมแพ ทัวร์ กรุงเทพฯ
โทร. 0 2936 3842 สาขาเลย โทร. 0 4283 2285 บริษัท เพชรประเสริฐ
จำกัด กรุงเทพฯ โทร. 0 2936 3230 สาขาอำเภอภูเรือ โทร. 0 4289
9386 สาขาอำเภอด่านซ้าย โทร. 0 4289 1908
ภาพที่ 20 รถโดยสารประจำทางระหว่างประเทศ เลย – หลวงพระบาง
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

14.3 เครื่องบิน สายการบินนกแอร์ กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)-เลย, เลย-


กรุงเทพฯ(ดอนเมือง) ให้บริการ 2 เที่ยวบินต่อวันสายการบินไทยแอร์
เอเชีย กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)-เลย-กรุงเทพฯ(ดอนเมือง) ให้บริการ 1 เที่ยว
บินต่อวัน

ภาพที่ 21 สายการบินนกแอร์ สายการบินไทยแอร์เอเชีย


กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)-เลย, เลย-กรุงเทพฯ(ดอนเมือง)
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query,
http://images.rambler.ru/search?query

ข้อมูลเที่ยวบินของท่าอากาศยานเลย
สายการ เที่ยวบิน ต้นทาง จุด ออกจาก เดินทาง ความถี่
บิน หมาย ถึง ของ
ปลาย
เที่ยวบิน
ทาง
ท่า ท่า
อากาศย อากาศย
นกแอร์ DD9704 าน าน 06.00 07.00 ทุกวัน
ดอนเมือ เลย(LOE
ง(DMK) )
ท่า ท่า
อากาศย อากาศย
นกแอร์ DD9705 าน าน 07.30 08.30 ทุกวัน
เลย(LOE ดอนเมือ
) ง(DMK)
ท่า ท่า
อากาศย อากาศย
ไทยแอร์
FD3542 าน าน 10.30 11.30 ทุกวัน
เอเชีย
ดอนเมือ เลย(LOE
ง(DMK) )
ท่า ท่า
อากาศย อากาศย
ไทยแอร์
FD3543 าน าน 11.55 12.50 ทุกวัน
เอเชีย
เลย(LOE ดอนเมือ
) ง(DMK)
นกแอร์ DD9708 ท่า ท่า 14.10 15.20 ทุกวัน
อากาศย อากาศย
าน าน
ดอนเมือ เลย(LOE
ง(DMK) )
ท่า ท่า
อากาศย อากาศย
นกแอร์ DD9709 าน าน 15.50 16.55 ทุกวัน
เลย(LOE ดอนเมือ
) ง(DMK)

หมายเหตุ : ตารางเที่ยวบินปั จจุบัน จนถึง 26 ตุลาคม 2559


ที่มา : ท่าอากาศยานเลย https://th.wikipedia.org/wiki/ท่า
อากาศยานเลย

15.สโมสรฟุตบอลประจำจังหวัด

ภาพที่ 22 ทีมฟุตบอลจังหวัดเลย เลยซิตี้


ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

16.ปกิณกะจังหวัดเลย
16.1 ชื่ออังกฤษ : Loei
16.2 อักษรย่อ : ลย.
16.3 รหัสไปรษณีย์
42000 …… อำเภอเมืองเลย ใช้ที่ทำการไปรษณีย์จังหวัดเลย
42100 …… อำเภอเมืองเลย เฉพาะตำบลนาอ้อและตำบลศรี
สองรัก ใช้รหัสไปรษณีย์ 42100
ของที่ทำการไปรษณีย์นาอ้อ
42110 …… อำเภอเชียงคาน
42120 …… อำเภอด่านซ้าย
42130 …… อำเภอวังสะพุง
42140 …… อำเภอท่าลี่
42150 …… อำเภอปากชม
42160 …… อำเภอภูเรือ
42170 …… อำเภอนาแห้ว
42180 …… อำเภอภูกระดึง
42190 …… อำเภอหนองหิน
42210 …… อำเภอนาด้วง
42220 …… อำเภอเอราวัณ
42230 …… อำเภอภูหลวง
42240 …… อำเภอผาขาว

16.4 หมายเลขโทรศัพท์ที่สำคัญที่ควรทราบ
ชื่อหน่วยงาน เบอร์โทรศัพท์
โทร. 0 4281-
ผู้ว่าราชการจังหวัดเลย
1683
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารท่อง โทร. 0 4242
เที่ยว ททท. 1326
สำนักงานจังหวัด โทร. 0 4281-
2142
โทร. 0 4281-
สำนักงานพัฒนาชุมชน
1773
ศูนย์ประสานงานการ โทร. 0 4281
ท่องเที่ยว 2812
สำนักงาน โทร. 0 4281-
ประชาสัมพันธ์จังหวัด 1258
โทร. 0 4286-
สถานีขนส่ง บ.ข.ส.
1868
สำนักงานอุตสาหกรรม โทร. 0 4281-
จังหวัด 195
เบอร์โทรศัพท์ที่สำคัญในจังหวัดเลย
สอบถามข้อมูลท่องเที่ยว 1672
ตำรวจท่องเที่ยว 1155
ตำรวจทางหลวง 1193
บริการแพทย์ฉุกเฉิน 1669
ตารางเวลาเดินรถ บขส. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 0-2936-0657
ที่ทำการสถานีขนส่ง (บขส.) เลย 042-811706
สอบถามบริษัทรถร้านเจ้กิม ต.ผานกเค้า อ.ภูกระดึง 042-074265
ภาพที่ 23 ตารางเวลาการเดินรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ
ที่มา : http://1.bp.blogspot.com/-U3BLzDwQ_Lw/Ur-oLCz-
m_I/AAAAAAAAKrk/R7VDHKiJwFg/
s1600/1530469_10151980721392740_1546084195_n.jpg

ภาพที่ 24 รถโดยสารประจำทางปรับอากาศระหว่างประเทศ เลย – หลวง


พระบาง
ที่มา : http://images.rambler.ru/search?query

เส้นทางเดินรถเลย-หลวงพระบาง
อัตราค่าโดยสาร
เลย-แขวงหลวงพระบาง 700 บาท หรือ 175,000 กีบ
เลย-แขวงไชยะบุลี 500 บาท หรือ 125,000 กีบ
ออกเดินรถทุกวัน จาก บขส.เลย 08.00 น. จากแขวงหลวงพระบาง 07.00
น. ใช้เวลาเดินทางประมาณ 9 ช.ม. รวมระยะทาง 394 ก.ม. จอดพักรับ
ประทานอาหารที่ บ้านน้ำปุย แขวงไชยะบุรี (เลย-บ้านน้ำปุย ประมาณ
265 กม.)
ติดต่อสอบถามได้ที่ Call Center บขส 1490 / บขส.เลย 042-811706 /
คุณเจี๊ยบ 085-6007477
ประชาสัมพันธุ์จังหวัดเลย 042 811258
เทศบาลเมืองเลย 042 811324
ตำรวจภูธรจังหวัดเลย 042 811254
สถานีตำรวจภูธรเมืองเลย 042 811254
โรงพยาบาลเลย 042 862123
โรงพยาบาลเมืองเลยราม 042 833400 -19
สถานีขนส่งจังหวัดเลย 042 833586
ที่ทำการไปรษณีย์เลย 042 812022

ที่ว่าการอำเภอเมืองเลย 042 811213


ที่ว่าการอำเภอวังสะพุง 042 841370
ที่ว่าการอำเภอภูกระดึง 042 871093
ที่ว่าการอำเภอภูหลวง 042 879100
ที่ว่าการอำเภอผาขาว 042 818141
ที่ว่าการอำเภอนาด้วง 042 887015
ที่ว่าการอำเภอท่าลี่ 042 889206
ที่ว่าการอำเภอเชียงคาน 042 821597
ที่ว่าการอำเภอปากชม 042 881569
ที่ว่าการอำเภอนาแห้ว 042 897041
ที่ว่าการอำเภอด่านซ้าย 042 891266
ที่ว่าการอำเภอภูเรือ 042 899123
ที่ว่าการอำเภอเอราวัณ 042 853027
ที่ว่าการอำเภอหนองหิน 042 852031

สถานีตำรวจภูธรเมืองเลย 042 811254


สถานีตำรวจภูธรด่านซ้าย 042 891310
สถานีตำรวจภูธรนาด้วง 042 887073
สถานีตำรวจภูธรเชียงคาน 042 821181
สถานีตำรวจภูธรวังสะพุง 042 841245
สถานีตำรวจภูธรภูเรือ 042 899090
สถานีตำรวจภูธรท่าลี่ 042 889038
สถานีตำรวจภูธรนาแห้ว 042 897074
สถานีตำรวจภูธรภูหลวง 042 879074
สถานีตำรวจภูธรภูกระดึง 042 871024
สถานีตำรวจภูธรปากชม 042 881035
สถานีตำรวจภูธรผาขาว 042 818246
สถานีตำรวจภูธรหนองหิน 042 852091
สถานีตำรวจภูธรเอราวัณ 042 853388
สถานีตำรวจภูธรหนองหญ้าปล้อง 042 077700
สถานีตำรวจภูธรโคกงาม 042 078067
สถานีตำรวจภูธรโพนทอง 042 863611
สถานีตำรวจภูธรนาดินดำ 042 072449
สถานีตำรวจภูธรเชียงกลม 042 075037
ด่านตรวจคนเข้าเมืองจังหวัดเลย 042 821911
กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 246 เชียงคาน 042 821176
กองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 247 ด่านซ้าย 042 891237
สถานีตำรวจน้ำ 4 กองบังคับการ 11 เชียงคาน 042 821010
สถานีตำรวจท่องเที่ยว 6 กองบังคับการ 3 อำเภอเมืองเลย 042 861164
จังหวัดทหารบกเลย 042 071031
กรมทหารพรานที่ 21 ค่ายศรีสองรัก 042 071028
สถานีเรือเชียงคาน หน่วยเรือรักษาความสงบเรียบร้อยตามลำน้ำโขง
เชียงคาน 042 821101
ด่านศุลกากรท่าลี่ 042 889187
ด่านศุลกากรเชียงคาน 042 821100
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานเลย 042 812812
สำนักงานจังหวัดเลย 042 833209
สำนักงานป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเลย 042
811871
สำนักงานการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคจังหวัดเลย 042 811934
การประปาส่วนภูมิภาค สาขาเลย 042 811611
แขวงการทางเลยที่ 1 เมืองเลย 042 813464
แขวงการทางเลยที่ 2 ด่านซ้าย 042 891228
สำนักงานขนส่งจังหวัดเลย 042 811737
ท่าอากาศยานเลย 042 811099
สถานีอุตุนิยมวิทยาเลย 042 811562

สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเลย 042
811394
สถานีควบคุมไฟป่ าจังหวัดเลย 042 899465
อุทยานแห่งชาติภูกระดึง 042 871333
อุทยานแห่งชาติภูเรือ 042 801716 /0812633097
อุทยานแห่งชาติภูสวนทราย 042 807616
ศูนย์สำรวจอุทกวิทยาที่ 8 เชียงคาน 042 821328
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ าภูหลวง 042 801955
สวนรุกชาติ 100 ปี กรมป่ าไม้ ปากปวน 042 850742
สถานีเพาะชำกล้าไม้เลย 081 7084814
โครงการฟื้ นฟูอาหารช้างป่ าภูหลวงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 081
87164
สวนป่ าดงน้อย 084 6481434

กศน.เลย 042 812657


ศูนย์การศึกษาพิเศษ จังหวัดเลย 042 813240
โรงเรียนเมืองเลย 042 811585
โรงเรียนอนุบาลเลย 042 811738
โรงเรียนเลยพิทยาคม 042 811290
โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา 042 812428
โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์เลย 042 841573
โรงเรียนจุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย 042 877025
มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 042 835223-8
มหาวิทยาลัยมหามงกุฏราชวิทยาลัย 042 813028
วิทยาลัยเทคนิคเลย 042 811591
วิทยาลัยอาชีวะศึกษาเลย 042 830831
วิทยาลัยการอาชีพด่านซ้าย 042 078123
วิทยาลัยการอาชีพวังสะพุง 042 850579
วิทยาลัยเทคโนโลยีเลยบริหารธุรกิจ 042 812364
โรงเรียนมหาไถ่ศึกษาเลย 042 811754
องค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย 042 833815
เทศบาลเมืองเลย 042 830889
เทศบาลเมืองวังสะพุง 042 841392
เทศบาลตำบลนาอ้อ 042 834930
เทศบาลตำบลน้ำสวย 042 072126
เทศบาลตำบลนาอาน 042 833514
เทศบาลตำบลนาดินดำ 042 072448
เทศบาลตำบลนาโป่ ง 042 804324
เทศบาลตำบลท่าลี่ 042 889219
เทศบาลตำบลเชียงคาน 042 822288
เทศบาลตำบลธาตุ 042 854034 สำนักงาน การไฟฟ้ าส่วนภูมิภาค
จังหวัดเลย 0-4281-1356
แบบฝึ กหัดท้ายบท บทที่ 1
คำชี้แจง ให้ทำเครื่องหมายถูก (/) หรือผิด (X) หน้าข้อความ
............1. การศึกษาในรายวิชา “ไทเลยศึกษา” นั้น เป็ นการเรียนรู้เรื่อง
ราวของจังหวัดเลยและเรื่ องราวของไทเลยซึ่งมีความหลากหลายทั้งใน
ประเด็นเนื้อหาเรื่องราวและความหลากหลายในจำนวนของข้อมูลในด้าน
ต่างๆที่ผู้ศึกษาจะได้เรียนรู้เนื้อหาเหล่านั้น
............2. ตราประจำจังหวัดเลย เป็ นภาพพระธาตุศรีสองรัก ลักษณะอุเท
สิกเจดีย์สร้างเป็ นอนุสรณ์การปั กปั นเขตแดนในรัชสมัยของสมเด็จพระ
มหาจักรพรรดิ แห่งกรุง ศรีอยุธยากับพระเจ้าไชยเชษฐาแห่งกรุงศรีสัตนาค
นหุต (เวียงจันทน์)
............3. ธงประจำจังหวัดเลย ลักษณะสี่เหลี่ยมผืนผ้าผืนธงชมพู มีตรา
พระธาตุศรีสองรักอยู่ในวงกลมบนพื้นผ้าทั้งสองด้าน ก้อนเมฆสีขาวเปรียบ
เหมือนความสดใสของท้องฟ้ า เบื้องหลังมีภูเขา ป่ าไม้และทุ่งนา แสดงถึง
ความอุดมสมบูรณ์
............4. สนฉัตร เป็ นต้นไม้ประจำจังหวัดเลย
............5.ดอกไม้ ประจำจังหวัดเลย คือ ดอกพุทธรักษา
............6. "เมืองแห่งทะเลภูเขา สุดหนาวในสยาม" คือวิสัยทัศน์ ของ
จังหวัดเลย
............7. วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2450 เป็ นวันสถาปนาจังหวัดเลย โดย
เป็ นวันเปลี่ยนชื่ออำเภอ เชียงคาน
เป็ น อำเภอเมืองเลย
............8.แหล่งท่องเที่ยวจังหวัดเลยอันดับหนึ่งคือ เที่ยวภูกระดึง
............9. สีประจำจังหวัดเลยคือสีชมพู
............10.การเดินทาง ไปกทม. มีสองเส้นทางได้แก่ ไปทางชุมแพ และไป
ทางภูเรือ
เติมข้อความ
1. ท่ า น ท ร า บ อ ะ ไ ร ม า บ้ า ง เ กี่ ย ว กั บ เ มื อ ง เ ล ย ก่ อ น ก า ร เ รี ย น วิ ช า
นี้………………………………………………….......
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………....
2.ผู้ ว่ า ร า ช ก า ร จั ง ห วั ด เ ล ย เ ป็ น ค น
จังหวัด……………………………………………………………………………………………
3.สายการบินในจังหวัดเลย.…คือ สายการ
บิน…………………………………………………………………………………..
4.ป ร ะ ช า ก ร ใ น จั ง ห วั ด เ ล ย … มี
ประมาณ…………………………………………………………………………………………

5.จั ง ห วั ด เ ล ย มี่ ...อำ เ ภ อ
ได้แก่……………………………………………………………………………
6.บ ริ ษั ท เ ดิ น ร ถ ป ร ะ จำ ท า ง ที่ ท่ า น รู้ จั ก ใ น จั ง ห วั ด
เลย..…………………………………………………………………………
7.อ นุ ส ร ณ์ ผู้ เ สี ย ส ล ะ ห ม า ย
ถึ ง .................................................................................................................
.....
8.การเดินทางไปกรุงเทพฯโดยรถยนต์มีกี่เส้น
ทาง......................................................................................
10.ค่ายลูกเสือศรีสอง
รัก.................................................................................................................
........
ฝึ กร้องเพลงมาร์ชเมืองเลย
คำร้อง 'พรพิรุณ'
ทำนอง เอื้อ สุนทรสนาน

โอ้เมืองงามรุ่งเรืองวิไลทุกยามนามเขาเรียกว่าเลย ถิ่นชวนเชย หากใคร


แม้นลองได้เคยมาถึงเลยชมชื่น
ลำเนาป่ าเขาดาษดื่น ทัศน์ทิวระรื่น ทั้งคืนและวัน ร่วมงานบุญเดียวกัน
บายศรีสู่ขวัญ ทำบุญบั้งไฟ
พระเวสน์ร่วมบุญเดียวกัน มั่นรักผูกพันเป็ นสายเลือด
เดียว
พระธาตุศรีสองรักนั่นเหมือนแทนคำมั่นรักกันกลมเกลียว ไม่แตกแยกกัน
ไปจะรักกันไว้หัวใจแน่นเหนียว
น้องพี่ชาวเลยใจเดียว กระชับมั่นเกลียวรักสามัคคี
แหล่งเมืองเลยอุดมสมคำที่เอ่ยเลยวิไลบุรี เปี่ ยมไมตรีหากใครไหนมา
เลยนี่ในฤดีเปรมปลื้ม
โอ้เลยงามล้ำด่ำดื่ม เหลือที่จะลืมปลื้มทรวงห่วงถึง ติดดวงใจตราตรึงงาม
ภูกระดึงสวยงามสุดซึ้ง
แม้นได้มาพา รำพึงทิวทัศน์ติดตรึง ซึ้งใจไม่วาย ยอดภูลมพัดชื่นฉ่ำ หอม
มาลีร่ำ พลิ้วมาไม่คลาย
สิ้นกังวลอาวรณ์ เคยทุกข์เร่าร้อนก็พลันสบาย ล้างสิ้นสิ่งตรม ใจกาย
สุขสันต์ดั่งหมายเมื่อได้มาเลย
เพลงศาลหลักเมืองเลย คำร้อง รศ.สังคม พรหมศิริ
ลำไทเลย
เทื่อนี้ ซุมไทเลยเฮานี้ถือฮีตดีของเก่า.. ปู่ย่ายายมาเว้าเล่าสืบทอดต่อ
กันมา ว่าเดือนเจ็ดนั้นละเป็ นบุญซำฮะ.. เกิดตั้งแต่ครั้งสมัยพุทธกาล ...มี
ตำนานเล่าขานมาว่ากรุงโทสารี เกิดแห้งแล้งอหิวาโรคห่าระบาด สุด
อนาถขาดแคลนหิวโหยพุทธองค์ทรงโปรด.. ให้พระอานนท์เฮ็ดน้ำมนต์
ไปซำฮะซะล้าง แต่หันมาชาวประชาอยู่เย็นเป็ นสุข บ่มีทุกข์ปราศจากโรค
ภัย แผ่นดินเลยแดนศักดิ์สิทธิ์ถิ่นนี้ประชาชีนอบน้อม กราบถวายดอกไม้
พร้อมธูปเทียนชัย นุ่งผ้าไหมเสื้อฝ้ ายขาวผ้าเบี่ยงฟ้ าห่มโต พากันมาฟ้ อน
ถวายพระยาแถนเทวา ขอให้มาปกป้ องภัยฮ้ายอย่ามาม่อ ให้ปวงข้าไทเลยนี้
อยู่ดีมีสุขล้น ฮั่นแน่ว
ร้องสรภัญญะ
มาลาดวงดอกไม้ น้อมนบไหว้ขอขมา
แด่องค์กษัตริย์ตรา พระมหากษัตริย์ไทย
หลักเมืองเป็ นหลักชัย ยึดจิตใจหมู่ไทเลย
พวกเฮาอย่านิ่งเลย ฮีตที่เคยเคยได้ทำ
ศาลเจ้าพ่อกุดป่ อง ตามฮีตครองผองน้อมนำ
กราบไหว้นบเช้าค่ำ บุญจงค้ำล้ำเลิศคุณ
ไทเลยสูผู้สูคน จงหลีกพ้นภัยพิบัติ
การงานบ่ข้องขัด สารพัดบุญส่งยู้
หมู่เฮาชาวไทเลยนี้ สุขขีสุขขีกันทั่วหน้า
โรคภัยอย่าบีฑา สุขทิวาราตรีกาลเทอญ
ร้องขับทุ้มหลวงพระบาง
เดือนเจ็ดฮอดแล้วไทเลยมาฮ่วมบุญ (มาฮ่วมบุญ) บุญเกื้อหนุนนำพาไทเลย
ทั่วหน้า บวงสรวงหลักเมือง (บุญนำพา)
เฮาไทเลยยึดชาติศาสกษัตริย์(ศาสกษัตริย์)เฮามาร่วมรวมใจสรรเสริญอวย
ชัยถวายพระพร(ทรงพระเจริญ)
เจ้าเมืองเลย ผู้ว่าเมืองเลย เอ่ยคำสัญญา(คำสัญญา) เป็ นสัจจะวาจา นำพา
ไทเลยนำฮีตนำครอง(ฮีตสิบสอง)
จึงได้จัดบุญขึ้นแม่นบุญอันนี้ชื่อบุญชำฮะ เฮาอย่าปะละเลยเคยทำกันมา
เคยทำกันมาชั่วฟ้ าไทเลย เอ่ยเป็ นคำเล่าเฮาทำบุญฮ่วมกัน(บุญฮ่วมกัน)
ศาลหลักเมืองเลย ศาลหลักเมืองเลย(เอื้อน)ไผเคยนมัสการแสนสดชื่น
หัวใจชื่นบานได้สืบได้สานงานปนิธานของพ่อ เจ้าดอกเอ๋ย (เอื้อน)เจ้าดอก
อินถวา อินถวาสีขาวบานฉ่ำ ทั้งคืนทั้งค่ำดอกไม้ประจำของไทเลย
เอย(เอื้อน)
เคยมาบ่เคยมาบ่สักการะสักการะศาลเจ้าหลักเมือง สมเป็ นคำลื่อเลื่องชีวิต
รุ่งเรืองเรืองรุ่งจริงเอย
เพลงเจดีย์ศรีสองรัก คำร้องโดย สุวรรณ คูณพงษ์
เจดีย์ศรีสองรักเอยชื่อนี้เป็ นชื่อศรีสิริยิ่ง เป็นมิ่งมงคลของชนชาวเลยเอย…..
บรรพชนคนเก่าๆ ได้สร้างไว้ ให้เป็ นไทยใจเดียวน้องพี่
เค้าเรื่อง สืบเนื่องยังมี กรุงศรีสัตนา อยุธยาเมืองใหญ่
สัจจาบันต่อกัน จะไม่รุกรานกันต่อไป เพื่อพี่น้องชาวไทยให้มีใจรักกัน (ซ้ำ)…
พวกเรา ชาวเลยเอย ชาวเลยแต่ก่อนกี้ นี่
ก็ล้วนญาติ ล้วนเชื้อชาติ ชาวไทยหนอชาวเลยเอย…
จงสมัครสมาน สามัคคีให้ดีไว้ หากชาติอื่นเข้ามาครอง
เราจะต้องเสื่อมลง จะสูญเสียชาติพงศ์ วงศ์
ศรีสองรักเอย (ซ้ำ)………
เพลงพระธาตุศรีสองรัก คำร้องโดย สังคม พรหมศิริ
- เพลงขับทุ้มหลวงพระบาง –
ร้องทำนองเพลงขับทุ้มหลวงพระบาง
สายเลือดเดียวกันไทยนั้นกับลาว พวกปู่ ย่าตาเฒ่าเพิ่นเคยได้เว้าเล่าเป็ นตำนาน
ให้ลูกหลานบ้านเฮาได้เล่าได้เรียน ดุจดังเทียนสว่างใสส่องนำทางไปให้ได้ศึกษา
เจ้าเมืองไทยเจ้าเมืองลาวเพิ่นให้สัญญา เป็นสัจจะวาจาสิฮักกันให้มั่นให้ยืน
จึงได้สร้างพระธาตุขึ้นพระธาตุองค์นี้ชื่อศรีสองรัก เป็นประจักษ์นานมาชั่วฟ้ าสยาม
เพิ่นได้ช่อยลงนามเจ้าเมือง สอง ฝั่งไว้เป็นพยาน พระธาตุศรีสองรักเอย พระธาตุศรีสองรักเอย
ไผเคยนมัสการจะสดชื่นหัวใจเบ่งบาน เป็นสุขสำราญหัวใจจริงเอย
คู่ฟ้ าเมืองเลยเป็นหลักฐานตำนาน สอง ฝั่ง
- เพลงขับทุ้มหลวงพระบาง -

You might also like