Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

การทดลองที่3 เรื่อง การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส

SERIES AND PARALLEL DIODE CONFIGURATIONS AND RECTIFIER CIRCUITS

ผู้ทำาการทดลอง
น.ส. ท นท
ชื่อ – สกุล …………………...………………..………..…………………
หอม
รหัส …………...………………………..
62035456

กลุ่มเรียน …………………… เลขที่ ………………………...


001

วันที่ทำาการทดลอง …………………………………………..

อาจารย์ผู้รับรองการทดลอง ………….………………….

ผู้ตรวจรายงานการทดลอง

วันที่ส่งรายงานการทดลอง …………………………………………..
คะแนนรายงานการทดลอง…………………………………………..
อาจารย์ผู้ตรวจรายงานการทดลอง ………..………….………….

EEG315 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ ปีการศึกษา 1/2563


มั
จั
รี
ร์
การทดลองที่ 3

การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส
SERIES AND PARALLEL DIODE CONFIGURATIONS AND RECTIFIER CIRCUITS

3.1 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน (Series and Parallel Diode ConXgurations)

3.1.1 จุดประสงค์การทดลอง
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อวงจรไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนานได้
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกถึงผลลัพธ์ของการต่อวงจรไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนานได้

3.1.2 เครื่องมือและเครื่องมือวัด
- ดิจิทัลมัลติมิเตอร์ จำานวน 1 เครื่อง
- แหล่งจ่ายไฟกระแสตรง จำานวน 1 เครื่อง

3.1.3 อุปกรณ์การทดลอง
- ตัวต้านทาน 1 kW จำานวน 1 ตัว
- ตัวต้านทาน 2.2 kW จำานวน 1 ตัว
- ไดโอดชนิดซิลิกอน จำานวน 1 ตัว
- ไดโอดชนิดเจอร์เมเนียม จำานวน 1 ตัว

3.1.4 ทฤษฎีเบื้องต้น
การวิเคราะห์วงจรไดโอดอาศัยแหล่งจ่ายไฟกระแสตรงในการทดสอบ สิ่งที่ต้องนำามาใช้ในการวิเคราะห์คือ แรงดันเริ่มต้น
ทำางานของไดโอดแต่ละชนิด ซึ่งค่าโดยประมาณของแรงดันเริ่มต้นของไดโอดชนิดซิลิกอนมีค่าเท่ากับ 0.7 V นัน่ หมายความว่าหาก
ต้องการให้ไดโอดเริ่มนำากระแส แรงดันที่ตกคร่อมซิลิกอนไดโอดต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0.7 V ดังแสดงในรูปที่ 3.1 ในทำานอง
เดียวกันหากต้องการให้ไดโอดชนิดเจอร์เมเนียมเริ่มนำากระแส แรงดันที่ตกคร่อมไดโอดต้องมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับ 0.3 V

ID

+ VD ³ 0.7V - 0.7V
0.7V VD

รูปที่ 3.1 การไบอัสตรงของซิลิกอนไดโอด

3.1.5 ขั้นตอนการทดลอง
3.1.5.1 การทดสอบแรงดันเริ่มต้นทำางาน (Threshold Voltage, VT)
- ทำาการวัดแรงดันเริ่มต้นทำางานของซิลิกอนไดโอด (Si) และเจอร์เมเนียมไดโอด (Ge) โดยใช้ดิจิทัลมัลติมิเตอร์ เลือกย่่านการ
วัดไปที่ ทดสอบไดโอด (Diode Testing Scale) และทำาการบันทึกผล

0.535
ค่าจากการวัด VT (Si) = …........................... V ค่าจากการวัด VT (Ge) = …...........................
0-202
V

การทดลองที่ 3 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส 3-1


3.1.5.2 การต่อวงจรอนุกรม (Series ConXgulation)
(1) วัดค่าความต้านทาน และบันทึกผลเพื่อใช้ค ำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรอนุกรมร่วมกับซิลิกอนไดโอดดังรูปที่ 3.2 พร้อม
จ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 5 V
+ VD - 2. 2k
ค่าจากการวัด R = …........................... W

Si ID
+
E 5V Vo
R
2.2kW -

รูปที่ 3.2 วงจรอนุกรมไดโอด


(2) คำานวณหาค่า Vo และ ID โดยใช้ค่าความต้านทานที่วัดได้ และค่าแรงดันไบอัสไดโอด VD ให้ใช้ค่าแรงดันเริ่มต้นทำางาน
VT จากการทดลองก่อนหน้านี้ในหัวข้อ 3.1.5.1
ID IR =

ค่าจากการทดลองก่อนหน้า VD = ………....... V ค่าจากการคำานวณ Vo = …............


0.57 4.43
V ค่าจากการคำานวณ ID = …...................
2.014
A
แสดงการคำานวณค่า Vo และ ID E- VD ขอ 0
ป0 =
ขอ 4.43
= = =
2014
-

R 2.2
5V -

0.57 ข -

Vo ะ
0

Vo ะ

4.43

(3) วัดค่าแรงดัน VD และ Vo โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และนำาค่าที่ได้จากการวัด คำานวณหาค่ากระแส ID ที่เกิดขึ้น จากนั้น


เปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการคำานวณในการทดลองก่อนหน้านี้ในส่วนที่ (2)

4.393
ค่าจากการวัด VD = …..……….......................
0.607
V ค่าจากการวัด Vo = ….......………................... V
ค่าจากการคำานวณ ID = …...........................
9.997
A ค่ากระแสมีความแตกต่าง …...........................
0.017
A
แสดงการคำานวณค่า ID
4.393 V
Ip = =
1.9 97
2. 2K

(4) วัดค่าความต้านทาน R1 และ R2 และบันทึกผลเพื่อใช้คำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรอนุกรมร่วมกับซิลิกอนไดโอด ดังรูปที่


3.3 พร้อมจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 5 V
R1 + VD - 2. 2k
ค่าจากการวัด R1 = …........................... W
1k
ค่าจากการวัด R2 = …........................... W
2.2kW Si ID
+
5V R2 1kW Vo
-

รูปที่ 3.3 วงจรอนุกรมไดโอดมีตัวต้านทานสองตัว

(5) คำานวณหาค่า Vo และ ID โดยใช้ค่าความต้านทานที่วัดได้ และค่าแรงดันไบอัสไดโอด VD ให้ใช้ค่าแรงดันเริ่มต้นทำางาน VT จากการ


ทดลองก่อนหน้านี้ในหัวข้อ 3.1.5.1
ค่าจากการทดลองก่อนหน้า VD = ……….......
0.535 V ค่าจากการคำานวณ Vo = …............
1.395
V ค่าจากการคำานวณ ID = …...................
1.395
A

3-2 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)


แสดงการคำานวณค่า Vo และ ID

Vpn =
Vo =
ID Rz ะ
(9.395mA ) ( 1k) =
9.395 V

E- Vo 4.4 65
] D= =
=
9.395 mA
Rา + R2 2.2k + gg

(6) วัดค่าแรงดัน VD และ Vo โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และนำาค่าที่ได้จากการวัด คำานวณหาค่ากระแส ID ที่เกิดขึ้น จากนั้น


เปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการคำานวณในการทดลองก่อนหน้านี้ในส่วนที่ (5)
3. 69 1.39
ค่าจากการวัด VD = …..………....................... V ค่าจากการวัด Vo = ….......………................... V
0.434
ค่าจากการคำานวณ ID = …........................... A 0.961
ค่ากระแสมีความแตกต่าง …........................... A
แสดงการคำานวณค่า Vo และ ID

ID ะ
E-VD
=
1.39 =
0.434

Rqt 132 2.2kt 9k

(7) ทำาการกลับขั้วไดโอดในวงจรที่แสดงอยู่ในรูปที่ 3.3 และคำานวณหาค่า VD ,Vo และ ID


5
ค่าจากการคำานวณ VD = ….................. V ค่าจากการคำานวณ Vo = …...................
0
V ค่าจากการคำานวณ ID = …...................
0
A
แสดงการคำานวณค่า Vo และ ID

ขอ =
ov

]๐
=
0 A

(8) วัดค่าแรงดัน VD และ Vo โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และนำาค่าที่ได้จากการวัด คำานวณหาค่ากระแส ID ที่เกิดขึ้น จากนั้น


เปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการคำานวณในการทดลองก่อนหน้านี้ในส่วนที่ (7)
5 0
ค่าจากการวัด VD = …..………....................... V ค่าจากการวัด Vo = ….......………................... V
0 0
ค่าจากการคำานวณ ID = …........................... A ค่ากระแสมีความแตกต่าง …........................... A
แสดงการคำานวณค่า Vo และ ID

ID ะ
0

การทดลองที่ 3 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส 3-3


(9) วัดค่าความต้านทาน R และบันทึกผลเพื่อใช้คำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรอนุกรมร่วมกับซิลิกอนไดโอด และเจอร์เมเนียม
ไดโอด ดังรูปที่ 3.4 พร้อมจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 5 V
1 1 11
+ V1 - ค่าจากการวัด R = …...........................
2. 2
W

Si Ge ID
+
5V อ 535 อ 202
. .

R
Vo
2.2kW -

รูปที่ 3.4 วงจรอนุกรมซิลิกอนไดโอด และเจอร์เมเนียมไดโอด ที่ต่อร่วมกับตัวต้านทาน

(10) คำานวณหาค่า V1 ,Vo และ ID โดยใช้ค่าความต้านทานที่วัดได้ และค่าแรงดันไบอัสไดโอด VD ให้ใช้ค่าแรงดันเริ่มต้น


ทำางาน VT จากการทดลองก่อนหน้านี้ในหัวข้อ 3.1.5.1
4.263
ค่าจากการทดลองก่อนหน้า VD = …...........................
0.535
V ค่าจากการคำานวณ V1 = …........................... V
ค่าจากการคำานวณ Vo = ….......................…...…………
4. 263
V ค่าจากการคำานวณ ID = …...........................
1.9 38
A
แสดงการคำานวณค่า V1 ,Vo และ ID
VR =
VO =
]D R
ID = E -

VD ( si ) -

VD ( Gey

( R)

( 9.9 38 A) 2 ( 2. 2h

5- 0.535-0.202
=
4.2 63 V

2. 2k

=
1.938

(11) วัดค่าแรงดัน V1 และ Vo โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และนำาค่าที่ได้จากการวัด คำานวณหาค่ากระแส ID ที่เกิดขึ้น จากนั้น


เปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการคำานวณในการทดลองก่อนหน้านี้ในส่วนที่ (10)
ค่าจากการวัด V1 = …..………........................
0.887
V 4.913
ค่าจากการวัด Vo = …...………....................... V
ค่าจากการคำานวณ ID = …...........................
1.869
A ค่ากระแสมีความแตกต่าง …...........................
0.07 A
แสดงการคำานวณค่า V1 , Vo และ ID

ID = 4.113

2. 2k

1.8 69
=

3-4 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)


3.1.5.3 การต่อวงจรขนาน (Parallel ConXguration)
(1) วัดค่าความต้านทาน และบันทึกผลเพื่อใช้ค ำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรขนานร่วมกับซิลิกอนไดโอดและเจอร์เมเนียมได
โอดดังรูปที่ 3.5 พร้อมจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 5 V
2. 2k
+ VR - ค่าจากการวัด R = …........................... W

2.2kW
+
5V Si Ge Vo
-

รูปที่ 3.5 วงจรขนานซิลิกอนไดโอดและเจอร์เมเนียมไดโอด

(2) คำานวณหาค่า Vo และ VR โดยใช้ค่าความต้านทานที่วัดได้ และค่าแรงดันไบอัสไดโอด VD ให้ใช้ค่าแรงดันเริ่มต้นทำางาน


VT จากการทดลองก่อนหน้านี้ในหัวข้อ 3.1.5.1
ค่าจากการคำานวณ Vo = …...........................
0.202
V ค่าจากการคำานวณ VR = …...........................
4.798 V
แสดงการคำานวณค่า Vo และ VR
ขอ ะ
0.202

VR =
E- VDCGe)

= 5 -0.202

798

4.

(3) วัดค่าแรงดัน Vo และ VR โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และนำาค่าที่ได้จากการวัดเปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการคำานวณในการ


ทดลองก่อนหน้านี้ในส่วนที่ (2)
0.326
ค่าจากการวัด Vo = …........................... V ค่าแรงดัน Vo มีความแตกต่าง …...........................
0.124 V
4. 674
ค่าจากการวัด VR = …........................... V ค่าแรงดัน VR มีความแตกต่าง …...........................
0.924 V

(4) วัดค่าความต้านทาน R1 และ R2 และบันทึกผลเพื่อใช้คำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรขนานร่วมกับซิลิกอนไดโอด ดังรูปที่


3.6 พร้อมจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 5 V
+ VR1 -
R1 ค่าจากการวัด R1 = …...........................
2.2
W
ค่าจากการวัด R2 = …........................... W
1

2.2kW +
5V Si R2 V
1kW o
-

รูปที่ 3.6 วงจรขนานไดโอดมีตัวต้านทานสองตัว

(5) คำานวณหาค่า Vo ,VR1 และ ID โดยใช้ค่าความต้านทานที่วัดได้ และค่าแรงดันไบอัสไดโอด VD ให้ใช้ค่าแรงดันเริ่มต้น


ทำางาน VT จากการทดลองก่อนหน้านี้ในหัวข้อ 3.1.5.1
0.535
ค่าจากการคำานวณ Vo = ...................... V ค่าจากการคำานวณ VR1 = …..................
4.465 V ค่าจากการคำานวณ ID = …..................
2.029 A

การทดลองที่ 3 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส 3-5


แสดงการคำานวณค่า Vo ,VR1 และ ID

V 0.535 V E- VD csig
]D = VR = 4.4 65 V
Vk
=
0 ะ

R 2.2k
5- 0.535

=
2.029
mA

4.4 65 V

(6) วัดค่าแรงดัน Vo และ VR1 โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และนำาค่าที่ได้จากการวัด คำานวณหาค่ากระแส ID ที่เกิดขึ้น จากนั้น


เปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการคำานวณในการทดลองก่อนหน้านี้ในส่วนที่ (5)
ค่าจากการวัด Vo = …..............………............
0.326
V ค่าจากการวัด VR1 = ….......………..................
4.674 V
ค่าจากการคำานวณ ID = …...........................
2.925
A ค่ากระแสมีความแตกต่าง …...........................
0.096
A
แสดงการคำานวณค่า ID

] D= VR = 4.674 V
= 2.1 25

B 2.2k

(7) วัดค่าความต้านทาน R และบันทึกผลเพื่อใช้คำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรขนานซิลิกอนไดโอดและเจอร์เมเนียมไดโอด


ดังรูปที่ 3.7 พร้อมจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง 5 V
2.2k
+ VR - ค่าจากการวัด R = …........................... W

2.2kW +
5V Si Ge Vo
-

รูปที่ 3.7 วงจรขนานซิลิกอนไดโอดและเจอร์เมเนียมไดโอด


(8) คำานวณหาค่า Vo ,VR โดยใช้ค่าความต้านทานที่วัดได้ และค่าแรงดันไบอัสไดโอด VD ให้ใช้ค่าแรงดันเริ่มต้นทำางาน VT
จากการทดลองก่อนหน้านี้ในหัวข้อ 3.1.5.1
ค่าจากการคำานวณ Vo = …...........................
① 535
V ค่าจากการคำานวณ VR = …...........................
4.4 65 V
แสดงการคำานวณค่า Vo และ VR
Vo =
0.535 VR =
E- VD si
( )


5- 0.535


4.4 65 V

(9) วัดค่าแรงดัน Vo และ VR โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และนำาค่าที่ได้จากการวัดเปรียบเทียบกับค่าที่ได้จากการคำานวณในการ


ทดลองก่อนหน้านี้ในส่วนที่ (8)
ค่าจากการวัด Vo = …...........................
0.57
V ค่าแรงดัน Vo มีความแตกต่าง …...........................
0.035 V
0.035
ค่าจากการวัด VR = …...........................
4.43
V ค่าแรงดัน VR มีความแตกต่าง …........................... V
3-6 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)
3.1.6 คำาถามท้ายการทดลอง
หากในไดโอดชนิดซิลิกอน ต่ออนุกรมเพิ่มอีกหนึ่งตัว ในวงจรรูป 3.2 จะให้ผลลัพธ์เป็นเช่นใด?
*1 า •

fy ¢
Vo =
5-0.535-0.535

2.2 kd ะ
3.93 V

3.1.7 สรุปผลการทดลอง

การ อไ สอดในวงจร เ กทรอ ก หลาย แบบ อ กรม และอาน


ไ และ เอง

สตรง และไบ สก ง อ แรง น


งการไบ บ าน อ กรม น VD จะ มบวก น ก แบบ ผล

6 ฮะ ต ( ของ

3.1.8 วิจารณ์ผลการทดลอง

การทดลอง ผล คลาดเค อนเ ก อยเ ดจาก อา กางงานบอนโอด และ ปกร

การทดลองที่ 3 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส 3-7


อิ
ต่
ที่
มี
ถึ
รู้
ด้
มี
ที่ฟุ
ดั
ต่
มี
ทุ
ซึ่
กั
นำ
กั
อุ
กิ
ล็
นุ
นุ
ลั
ด้
ล็
ยุ
อั
อั
น้
ณ์
ลื่
นิ
ส์
3.2 วงจรเรียงกระแส (RectiXer Circuits)
3.2.1 จุดประสงค์การทดลอง
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถต่อวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งรูปคลื่นและแบบเต็มรูปคลื่นได้
- เพื่อให้นักศึกษาสามารถบอกถึงผลลัพธ์ของวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งรูปคลื่นและแบบเต็มรูปคลื่นได้

3.2.2 เครื่องมือและเครื่องมือวัด
- ดิจิตอลมัลติมิเตอร์ จำานวน 1 เครื่อง
- แหล่งจ่ายไฟกระแสตรง จำานวน 1 เครื่อง
- ออสซิโลสโคป จำานวน 1 เครื่อง
- ฟังก์ชั่นเจนเนอเรเตอร์ จำานวน 1 เครื่อง

3.2.3 อุปกรณ์การทดลอง
- ตัวต้านทาน 2.2 kW จำานวน 1 ตัว
- ตัวต้านทาน 3.3 kW จำานวน 1 ตัว
- ไดโอดชนิดซิลิกอน จำานวน 4 ตัว
- ตัวเก็บประจุ 15 µF จำานวน 1 ตัว

3.2.4 ทฤษฎีเบื้องต้น
การเรียงกระแส (Recti‚cation) คือกระบวนการแปลงสัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ให้เป็นสัญญาณไฟฟ้ากระแสตรง
(DC) โดยวงจรเรียงกระแส (Recti‚er) นิยมสร้างด้วยไดโอดเนื่องจากคุณสมบัติของไดโอดที่ยอมให้กระแสไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว
วงจรเรียงกระแสแบ่งได้เป็นสองลักษณะคือ วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น (Half-Wave Recti‚er) และวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่น (Full-
Wave Recti‚er)

วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่นสามารถต่อวงจรได้ด้วยการนำาไดโอดอนุกรมกับแหล่งจ่ายแรงดัน ดังแสดงในรูปที่ 3.8 โดยสัญญาณ


เอาท์พุทที่ได้จากวงจรเรียงกระแสนี้แสดงดังรูปที่ 3.9 โดยเมื่อป้อนสัญญาณด้านอินพุทเป็นสัญญาณรูปคลื่นไซน์ ค่าเฉลี่ยแรงดันเอาท์
พุท (Vavg หรือ VDC) จะมีค่าเท่ากับ 0.318 เท่าของแรงดันสูงสุดของรูปคลื่น (Vp) ดังแสดงในสมการ 3.1

VDC = 0.318 Vp (3.1)


+ VD -

Si
+
R
Vo
-

รูปที่ 3.8 วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น


Vm

! VDC=0.318Vm

รูปที่ 3.9 สัญญาณเอาท์พุทที่ได้จากวงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น


วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์ (Bridge Recti‚er) สามารถต่อวงจรได้ด้วยการนำาไดโอดจำานวน 4 ตัวต่อวงจรดังแสดง
ในรูปที่ 3.10 โดยสัญญาณเอาท์พุทที่ได้จากวงจรเรียงกระแสนี้แสดงดังรูปที่ 3.11 โดยเมื่อป้อนสัญญาณด้านอินพุทเป็นสัญญาณรูป
คลื่นไซน์ ค่าเฉลี่ยแรงดันเอาท์พุทจะมีค่าเท่ากับ 0.636 เท่าของแรงดันสูงสุดของรูปคลื่น ดังแสดงในสมการ 3.2
3-8 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)
VDC = 0.636 Vp (3.2)

D2 D1

Si Si
220 Vrms 18 Vrms
Si Si +
D4 R Vo
D3
-

รูปที่ 3.10 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์


Vm
VDC=0.636Vm

รูปที่ 3.11 สัญญาณเอาท์พุทที่ได้จากวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์

วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบฟูลเวฟ (Full-Wave Recti‚er) สามารถต่อวงจรได้ด้วยการนำาไดโอดจำานวน 2 ตัวต่อวงจร


ร่วมกับหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดมีแทปกลาง (Center-tapped Transformer) ดังแสดงในรูปที่ 3.12 โดยเมื่อป้อนสัญญาณด้านอินพุท
เป็นสัญญาณรูปคลื่นไซน์ ค่าเฉลี่ยแรงดันเอาท์พุทจะมีค่าเท่ากับ 0.636 เท่าของแรงดันสูงสุดของรูปคลื่น
+
18 Vrms +
- CT R Vo
220 Vrms -
+
18 Vrms
-

รูปที่ 3.12 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบฟูลเวฟ


3.2.5 ขั้นตอนการทดลอง
3.2.5.1 การทดสอบแรงดันเริ่มต้นทำางาน (Threshold Voltage, VT)
ทำาการวัดแรงดันเริ่มต้นทำางานของซิลิกอนไดโอด (Si) ทั้ง 4 ตัว โดยใช้ดิจิทัลมัลติมิเตอร์ เลือกย่านการวัดไปที่ ทดสอบไดโอด
(Diode Testing Scale) และทำาการบันทึกผล
ค่าจากการวัด VT 1(Si) = …...........................
0.535 V ค่าจากการวัด VT 2(Si) = …...........................
0.535
V
ค่าจากการวัด VT 3(Si) = …...........................
0.535
V ค่าจากการวัด VT 4(Si) = …...........................
0.535
V

3.2.5.2 วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น
(1) วัดค่าความต้านทาน และบันทึกผลเพื่อใช้คำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรเรียงกระแสดังรูปที่ 3.13 โดยใช้ซิลิกอนไดโอดตัว
ที่ 1 พร้อมจ่ายสัญญาณรูปคลื่นไซน์จากฟังก์ชันเจนเนอเรเตอร์ ที่มีค่าความถี่ f = 1000 Hz แรงดันสูงสุด Vp = 4 V
+ VD - ค่าจากการวัด R = …...........................
2.2
W

Si +
R Vo
2.2kW -

รูปที่ 3.13 วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น


| |

T ะ

f ออ การทดลองที่ 3 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส 3-9


=

1ms
(2) ใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณแรงดันเอาท์พ ุท โดยเลือ กการคัป ปลิ้ง ชนิด DC (DC Coupling) และทำา การบันทึกรูป
สัญญาณที่วัดได้ พร้อมทั้งบันทึกค่า Volt/Div. และ Time/Div. ลงในรูปที่ 3.14

VOLT / DIV
CH1 = ….............................
CH2 = ….............................
SEC / DIV = ….................

รูปที่ 3.14 สัญญาณที่วัดได้จากวงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น


(3) วัดค่าแรงดันเอาท์พุทสูงสุด Vp โดยใช้ออสซิโลสโคป และทำาการคำานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าเฉลี่ยหรือแรงดันไฟฟ้ากระแส
ตรงที่ได้ โดยใช้สมการ 3.1
4
ค่าจากการวัด Vp = …........................... V ค่าจากการคำานวณ VDC = …...........................
1.272
V
แสดงการคำานวณค่า VDC ะ
0.398×4
=
g. 272

(4) วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่เอาท์พุท โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และทำาการคำานวณหาเปอร์เซ็นความแตกต่างระหว่างค่า


จากการวัดและค่าที่ได้จากการคำานวณในส่วนที่ (3)
ค่าจากการวัด VDC = ….............
1.054
V ค่าจากการคำานวณเปอร์เซ็นความแตกต่าง = V DC , cal −V DC , mea ×100 = …..............
| V DC , cal |
0.88 %

3.2.5.3 วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น - ต่อกลับด้าน


(1) ใช้ตัวต้านทานและซิลิกอนไดโอดตัวที่ 1 จากหัวข้อ 3.2.5.2 จากนั้นนำาไปต่อวงจรเรียงกระแสดังรูปที่ 3.15 พร้อมจ่าย
สัญญาณรูปคลื่นไซน์จากฟังก์ชันเจนเนอเรเตอร์ ที่มีค่าความถี่ f = 1000 Hz แรงดันสูงสุด Vp = 4 V
R

2.2kW +
Si Vo
-

รูปที่ 3.15 วงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น – ต่อกลับด้าน

3-10 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)


(2) ใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณแรงดันเอาท์พ ุท โดยเลือ กการคัป ปลิ้ง ชนิด DC (DC Coupling) และทำา การบันทึกรูป
สัญญาณที่วัดได้ พร้อมทั้งบันทึกค่า Volt/Div. และ Time/Div. ลงในรูปที่ 3.16

VOLT / DIV
CH1 = ….............................
CH2 = ….............................
SEC / DIV = ….................

รูปที่ 3.16 สัญญาณที่วัดได้จากวงจรเรียงกระแสครึ่งคลื่น - ต่อกลับด้าน


(3) วัดค่าแรงดันเอาท์พุทสูงสุด Vp โดยใช้ออสซิโลสโคป และทำาการคำานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าเฉลี่ยหรือแรงดันไฟฟ้ากระแส
ตรงที่ได้ โดยใช้สมการ 3.1
ค่าจากการวัด Vp = …........................... V ค่าจากการคำานวณ VDC = …........................... V
แสดงการคำานวณค่า VDC

(4) วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่เอาท์พุท โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และทำาการคำานวณหาเปอร์เซ็นความแตกต่างระหว่างค่าจากการ


วัดและค่าที่ได้จากการคำานวณในส่วนที่ (3)
ค่าจากการวัด VDC = …............. V ค่าจากการคำานวณเปอร์เซ็นความแตกต่าง = V DC , cal −V DC , mea ×100 = ….............. %
| V DC , cal |
3.2.5.4 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์
(1) วัดค่าความต้านทาน และบันทึกผลเพื่อใช้คำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์ดังรูปที่ 3.17 โดย
ใช้ซิลิกอนไดโอดจำานวน 4 ตัว พร้อมจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับจากหม้อแปลงไฟฟ้าที่มีแรงดันเอาท์พุท 18 V และทำาการวัดค่าแรงดันด้าน
ทุตยิ ภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้าด้วยมิเตอร์วัดแรงดันในย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ และนำาค่าแรงดันไฟฟ้าที่วัดได้นี้ไปคำานวณหา
ค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด Vp ( Vp = 1.414 Vrms)

*ข้อพึงระวัง – ให้ตรวจสอบการต่อไดโอดในวงจรให้ถูกต้องก่อนจ่ายกระแสไฟฟ้าเพื่อป้องกันเหตุลัดวงจร

D2 D1

Si Si
220 Vrms 18 Vrms
Si Si
+
D4 R Vo
D3
3.3kW -

รูปที่ 3.17 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์


การทดลองที่ 3 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส 3-11
ค่าจากการวัด R = ….........................
3. 3
W ค่าจากการวัด Vrms = …......................... V ค่าจากการคำานวณ Vp = …..................
25
V

(2) ใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณแรงดันเอาท์พ ุท โดยเลือ กการคัป ปลิ้ง ชนิด DC (DC Coupling) และทำา การบันทึกรูป
สัญญาณที่วัดได้ พร้อมทั้งบันทึกค่า Volt/Div. และ Time/Div. ลงในรูปที่ 3.18

VOLT / DIV
CH1 = ….............................
CH2 = ….............................
SEC / DIV = ….................

รูปที่ 3.18 สัญญาณที่วัดได้จากวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์

(3) วัดค่าแรงดันเอาท์พุทสูงสุด Vp โดยใช้ออสซิโลสโคป และทำาการคำานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าเฉลี่ยหรือแรงดันไฟฟ้ากระแส


ตรงที่ได้ โดยใช้สมการ 3.2

ค่าจากการวัด Vp = …...........................
25.19
V ค่าจากการคำานวณ VDC = …...........................
16.02 V
แสดงการคำานวณค่า VDC VDC =
0.636×25.19


16.02

(4) วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่เอาท์พุท โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และทำาการคำานวณหาเปอร์เซ็นความแตกต่างระหว่างค่า


จากการวัดและค่าที่ได้จากการคำานวณในส่วนที่ (3) 0.636 16.02

ค่าจากการวัด VDC = …............. V ค่าจากการคำานวณเปอร์เซ็นความแตกต่าง = V DC , cal −V DC , mea ×100 = …..............


16.02

| 0.96
V DC , cal % |
(5) ต่อตัวเก็บประจุตามรูป 3.19 ใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณแรงดันเอาท์พุท โดยเลือกการคัปปลิ้งชนิด DC (DC Coupling)
และทำาการบันทึกรูปสัญญาณที่วัดได้ พร้อมทั้งบันทึกค่า Volt/Div. และ Time/Div. ลงในรูปที่ 3.20

D2 D1

Si Si
220 Vrms 18 Vrms
Si Si +
R C Vo
D4 D3
3.3kW 15µF -

รูปที่ 3.19 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์


3-12 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)
15M
C= …………………..……. F ค่าจากการวัด R = …...........................
3.3
W

ค่าจากการวัด Vrms = …...........................


17.13
V ค่าจากการคำานวณ Vp = …...........................
24.228 V

VOLT / DIV
CH1 = ….............................
CH2 = ….............................
SEC / DIV = ….................

รูปที่ 3.20 สัญญาณที่วัดได้จากวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์

(6) วัด ค่า แรงดัน เอาท์พ ุท สูง สุด Vrms โดยใช้อ อสซิโ ลสโคป และทำา การคำา นวณหาค่า แรงดัน ไฟฟ้า เฉลี่ย หรือ แรงดัน
Δ V ( ripple)
ไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้ โดยใช้สมการ VDC = 1.414Vrms - 2VT(Si) - 2
ค่าจากการวัด Vrms = …...........................
17.13
V ค่าจากการคำานวณ VDC = …...........................
10.895 V
แสดงการคำานวณค่า VDC = 97.13 (0-636)


10.895

(7) วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่เอาท์พุท โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และทำาการคำานวณหาเปอร์เซ็นความแตกต่างระหว่างค่า


จากการวัดและค่าที่ได้จากการคำานวณในส่วนที่ (6)
ค่าจากการวัด VDC = ….............
9. 27
V ค่าจากการคำานวณเปอร์เซ็นความแตกต่าง = V DC , cal −V DC , mea ×100 = …..............
| V DC , cal |
17.52
%

(8) เปลี่ยนตัวเก็บประจุ ต่อวงจรตามรูป 3.19 ใช้ออสซิโลสโคปวัดสัญญาณแรงดันเอาท์พุท โดยเลือกการคัปปลิ้งชนิด DC


(DC Coupling) และทำาการบันทึกรูปสัญญาณที่วัดได้ พร้อมทั้งบันทึกค่า Volt/Div. และ Time/Div. ลงในรูปที่ 3.21

22 0Mt
C= …………………..……. F ค่าจากการวัด R = …...........................
3.3
W
16.96
ค่าจากการวัด Vrms = …........................... V ค่าจากการคำานวณ Vp = …...........................
23.99
V

การทดลองที่ 3 การต่อไดโอดแบบอนุกรมและแบบขนาน และวงจรเรียงกระแส 3-13


VOLT / DIV
CH1 = ….............................
CH2 = ….............................
SEC / DIV = ….................

รูปที่ 3.21 สัญญาณที่วัดได้จากวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบบริดจ์


(9) วัด ค่า แรงดัน เอาท์พ ุท สูง สุด Vrms โดยใช้อ อสซิโ ลสโคป และทำา การคำา นวณหาค่า แรงดัน ไฟฟ้า เฉลี่ย หรือ แรงดัน
ไฟฟ้ากระแสตรงที่ได้
16.96
ค่าจากการวัด Vrms = …........................... V ค่าจากการคำานวณ VDC = …...........................
13.68 V
แสดงการคำานวณค่า VDC ะ
16.96-5 ( 0.656)


13.68

(10) วัดค่าแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงที่เอาท์พุท โดยใช้มิเตอร์วัดแรงดัน และทำาการคำานวณหาเปอร์เซ็นความแตกต่างระหว่าง


ค่าจากการวัดและค่าที่ได้จากการคำานวณในส่วนที่ (9)
ค่าจากการวัด VDC = ….............
11.05
V ค่าจากการคำานวณเปอร์เซ็นความแตกต่าง = V DC , cal −V DC , mea ×100 = …..............
| V DC , cal
23.8
| %

3.2.5.5 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบแท็ปกึ่งกลาง
(1) วัดค่าความต้านทาน และบันทึกผลเพื่อใช้คำานวณ จากนั้นนำาไปต่อวงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบแท็ปกึ่งกลางดังรูปที่ 3.22 โดยใช้
ซิลิกอนไดโอดจำานวน 2 ตัว พร้อมจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับจากหม้อแปลงไฟฟ้าที่มีแรงดันเอาท์พุท 18V – CT - 18V และทำาการวัด
ค่าแรงดันด้านทุติยภูมิของหม้อแปลงไฟฟ้าทั้งสองแท็ปด้วยมิเตอร์วัดแรงดันในย่านการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ และนำาค่าแรงดัน
ไฟฟ้าที่วัดได้นี้ไปคำานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้าสูงสุด Vp ( Vp = 1.414 Vrms)

+
18 Vrms +
- CT R Vo
220 Vrms 3.3kW -
+
18 Vrms
-

รูปที่ 3.22 วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบแท็ปกึ่งกลาง


3-14 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)
3.2.6 คำาถามท้ายการทดลอง
วงจรเรียงกระแสเต็มคลื่นแบบฟูลเวฟ สามารถสร้างขึ้นได้โดยไม่ต้องใช้หม้อแปลงไฟฟ้าชนิดมีแทปกลางได้หรือไม่? เพราะ
เหตุใด?

3.2.7 สรุปผลการทดลอง

ไ การทดลองวงจร เ องกระแส Rectifier Circuit แปลง ญญาณไฟ ากระแสส บ ( A c)


ใ เ นไฟ ากระแสตรง ( Dc) โดยกา ไปสอด 2 กษณะ อวงจรกระแส ค น ( Halfuwawpectiter )
และ วงจร เ ยงกระแส เ ม ค น ( Faltwave Rectifer)

3.2.8 วิจารณ์ผลการทดลอง

คลาดเค อนเ เพราะโปรแกรม (


การทดลองอาจ ความ ก อย
Easy EDA) ไการ ารน

3-16 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Laboratory)


ทำ
สั
คื
ลั
มี
มี
ค้
ล็
รี
ป็
ติ
รื่
ลื่
ลื่
ห้
ด้
ฟ้
ฟ้
น้
ลื่
ลั

You might also like