Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 6

โรงเรียนวังหลวงพิทยาสรรพ์ อำเภอเฝ้ าไร่ จังหวัดหนองคาย

ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๑ ประจำปี การศึกษา ๒๕๖๔ ระดับ


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ครูผู้สอน นางสาวพิม
ประกาย จงใจ แบบทดสอบปรนัย ๔๐ ข้อ อัตนัย ๑๐ ข้อ รวม ๓๐
คะแนน เวลา ๑ ชั่วโมง ๓๐ นาที
คำชี้แจง : จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องแล้วกากบาท X ลง
ในกระดาษคำตอบ
๑.ข้อใดมีคำสมาสแบบมีสนธิทั้ง ๒ คำ ๗.ถ้านักเรียนไม่สามารถจับใจความสำคัญ
ก.ภัณฑารักษ์ เฉพาะกิจ จากการฟั งได้จะเป็ นอย่างไร
ข.ทิพยเนตร พัสตราภรณ์ ก. เสียเวลา ข. จดบันทึกไม่ได้
ค.อุณหภูมิ ภูมิอากาศ ง.ราชูปถัมภ์ ค. ไม่มีประเด็นที่จะสื่อสารกับผู้อื่น ง. ไม่ได้รับ
กรรมาชีพ ประโยชน์จากสารที่ฟั ง

๒. ข้อใดมีคำสมาสที่สร้างจากคำบาลี ๘. เรื่องใดเป็ นสารประเภทจรรโลงใจ


ล้วน ก. เที่ยวทั่วไทยไม่ไปไม่รู้ ข. พ่อรวย
ก.ฌาปนกิจ ข.จิตรกรรม สอนลูก
ค.ไตรลักษณ์ ง.บรรจุภัณฑ์ ค. กระจกหกด้าน ง. ความสุขของ
กะทิ
๓. ข้อใดไม่มีคำสมาส
ก. ระบบนิเวศวิทยาทางทะเล ๙. ข้อใดเป็ นการดูเพื่อความรู้
ข. ธุรกิจขายตรงในปั จจุบัน ก. ดูมวย ข. ดูการแสดงละคร
ค. คุณค่าทางโภชนาการของน้ำปลา ค. ดูการแสดงคอนเสิร์ต ง. ดู
ง. ชีวิตของชาวประมงไทย นิทรรศการ

๔. ข้อใดเป็ นประโยคสามัญ ๑๐. “การเรียนภาษาไทยให้เก่งนั้นไม่ใช่เรื่อง


ก. ลมพัดแรงจนยืนไม่ได้ ยากเลย” ข้อความนี้เป็ นสารประเภทใด
ข. ฝนตกหนักอย่างไม่ได้คาดคิดมา ก. โน้มน้าวใจ ข. ข้อคิดเห็น
ก่อน ค. ข้อเท็จจริง ง. ค่านิยม
ค. ใครๆ ก็บอกว่าฉันสวยกว่าเพื่อน
๑๑. ข้อใดไม่ใช่ข้อคิดเห็นเชิงแสดงอารมณ์
ง. ประชาธิปไตยเป็ นระบบการ
ก. คำปลอบใจ ข. บทเพลง
ปกครองของไทย
ค. กวีนิพนธ์ ง. ข่าว
๕.ข้อใดมีประโยครวมที่มีใจความ
๑๒. “นักเรียนคนนี้เป็ นเด็กดี เรียนเก่ง และมี
คล้อยตามกัน
กิริยามารยาทงดงาม” เป็ นข้อคิดเห็นประเภท
ก. เขามาหาฉันแต่ไม่พบฉัน
ใด
ข.การบ้านทำให้เขาได้ทบทวนและมี
ก. ข้อคิดเห็นเชิงประเมินค่า ข. ข้อคิดเห็น
สมาธิ
เชิงแนะนำ
ค. คุณต้องการวิชาหรือมีทรัพย์
ค. ข้อคิดเห็นเชิงตั้งข้อสังเกต ง. ข้อคิดเห็นเชิง
ง. ฉันชอบดูเขายิ้ม
ตัดสินใจ
๖. ข้อใดมีประโยครวมที่แตกต่างจาก
๑๓. ข้อใดคือความหมายของการเขียน
ข้ออื่น
บรรยาย พรรณนา
ก. แดงกับดำเป็ นนักเรียนโรงเรียนวัง
ก. ศิลปะการใช้ปากกาของผู้เขียน
หลวงพิทยาสรรพ์
ข. ศิลปะการใช้กระดาษของผู้เขียน
ข. สัตว์และพืชเป็ นสิ่งมีชีวิต
ค. ศิลปะการใช้โวหารของการเขียน
ค. เพชรเม็ดนี้มีน้ำงามและบริสุทธิ์มาก
ง. ศิลปะการเลือกเรื่องที่จะเขียน
ง. ฉันรู้สึกไม่สบายจึงหยุดเรียนไปหา
หมอ
๒๑. ข้อใดไม่ใช่นิสัยรักการอ่านที่ดี
ก. เลือกอ่านเฉพาะหนังสือที่ให้ความบันเทิง
ข. อ่านหนังสือเมื่อมีเวลาว่าง
๑๔. ข้อใดเป็ นลักษณะของการเขียน
ค. อ่านหนังสือเพื่อฆ่าเวลา
พรรณนา
ง. บันทึกการอ่านทุกครั้ง
ก.เป็ นการเขียนอธิบายหรือเล่าเรื่องที่
ได้พบให้ผู้อ่านเข้าใจ ๒๒. ข้อใดแสดงมารยาทที่ไม่ดีในการอ่าน
ข. เป็ นการเขียนเล่าเรื่องที่มี หนังสือมากที่สุด
ประสบการณ์ให้อ่านเข้าใจ ก. แดงภาพหน้าหนังสือเพื่อเตือนความจำ
ค. เป็ นการเขียนสอดแทรกอารมณ์ ข. ดำต่อเติมภาพบุคคลสำคัญให้สวยงามขึ้น
ความรู้สึก เพื่อให้ผู้อ่านซึ้งใจ ค. ดอนฉีกภาพดาราจากนิตยสารในห้องสมุด
ง. เป็ นการเขียนตามลำดับที่เหตุการณ์ ง. ดาวใช้หน้ากระดาษหนังสือเช็ดน้ำมูกแล้ว
ทิ้งไว้ในเล่ม
๑๕. ข้อใดไม่ใช่การเขียนพรรณนา
ก. เรื่องสั้น ข. นวนิยาย ๒๓. ข้อใดแสดงว่าเป็ นพฤติกรรมการรักการ
ค. นิทาน ง. อ่านน้อยที่สุด
อัตชีวประวัติ ก. คืนหนังสือห้องสมุดตรงเวลา
ข. ซื้อหนังสือทุกเล่มที่อยากจะซื้อ
๑๖. ข้อใดไม่ใช่หลักการย่อความ
ค. สั่งซื้อหนังสือจากต่างประเทศ
ก. อ่านเรื่องที่ย่อคร่าวๆ
ง. ไปงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติทุกครั้ง
ข. นำใจความสำคัญมาเรียบเรียงใหม่
ค. บันทึกใจความสำคัญอย่างย่อๆ ๒๔. ผังความคิดมีความสัมพันธ์กับการอ่าน
ง. ใช้ภาษาของตัวเอง อย่างไร
ก. ช่วยให้ผู้อ่านคิดได้คล่องและหลากหลาย
๑๗. กลอนแปด ๑ บทมีกี่บาทและมีกี่
ข. ช่วยจัดระบบความคิดเชิงรูปธรรมของผู้
วรรค
อ่าน
ก. ๒ บาท ๒ วรรค ข. ๒
ค. ช่วยให้สรุปเรื่องราวทำให้จำได้แม่นยำ
บาท ๔ วรรค
ง. ถูกทุกข้อ
ค. ๔ บาท ๒ วรรค ง. ๔
บาท ๔ วรรค ๒๕. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของหลักศิลาจารึก
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
๑๘. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
ก. เป็ นแท่งศิลารูปสี่เหลี่ยม ข. จารึกด้านละ
ก. กลอนสักวา ๑ บทมี ๔ บาท
๓๕ บรรทัด
ข. กลอนดอกสร้อยคำที่สองของวรรค
ค. มีถ้อยคำจารึก ๔ ด้าน ง. ใช้ตัว
สดับ คือ เอย
อักษรสมัยสุโขทัย
ค. กลอนสักวาและกลอนดอกสร้อยมี
จำนวนบาทเท่ากัน ๒๖.เหตุการณ์สำคัญในรัชสมัยพ่อขุน
ง. กลอนสักวา/กลอนดอกสร้อยมี รามคำแหงอยู่ด้านใดของศิลา
สัมผัสบังคับเหมือนกัน ก. ด้านที่ ๑ ข. ด้านที่ ๒
ค. ด้านที่ ๓ ง. ด้านที่ ๔
๑๙. ข้อใดมีสัมผัสพยัญชนะมากที่สุด
๒๗. ข้อใดไม่ใช่ลักษณะในศิลาจารึก
ก. เขาย่อมเปรียบเทียบความว่ายาม
ก. ไม่มีการเว้นวรรคตอน ข. ไม่มีรูป
รัก
สระบนล่าง
ข. แต่น้ำผักต้มขมชมว่าหวาน
ค. ไม่มีตัวทัณฑฆาต ง. ไม่มีรูป
ค. ครั้นจืดจางห่างเหินไม่เนินนาน
วรรณยุกต์
ง. แต่น้ำตาลก็ว่าเปรี้ยวไม่เหลียวแล
๒๘. ข้อใดเป็ นที่มาของชื่อ “พระราม
๒๐. ข้อใดไม่มีสัมผัสสระ
คำแหง”
ก. ถึงบางพูดพูดดีเป็ นศรีศักดิ์
ก. พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือ เตียมแต่ยังเล็ก
ข. มีคนรักรสถ้อยอร่อยจิต
ข. พี่กูตายจึงได้เมืองแก่กูทั้งกลม
ค. แม้นพูดชั่วตัวตายทำลายมิตร
ค. กูพร่ำบำเรอแก่พี่กูดั่งบำเรอแก่พ่อกู
ง. จะชอบผิดในมนุษย์เพราะพูดจา
ง. เพื่อกูพุ่งช้างขุนสามชน
๓๖. แนวคิดสำคัญของบทเสภาสามัคคีเสวก
คือข้อใด
๒๙. ข้อใดเป็ นน้ำปากกาของผู้แต่ง
ก. ความเสียสละ ข. ความ
เรื่อง “พันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต”
เมตตา
ก. วรวรรณ ข. อักษรนิติ
ค. ความมีน้ำใจ ง. ความ
ค. ทรงพระนารา ง. ประเสริฐ
สามัคคี
อักษร
๓๗. ข้อใดเป็ นสาเหตุที่พระอิศวรประทานพร
๓๐. “สรรเพชรที่แปดเจ้า อยุธยา” คำ
ให้นนทก
ประพันธ์บทนี้เกี่ยวข้องกับบุคคลใด
ก. จนผมโกร๋นโล้นเกลี้ยงถึงเพียงหู
ก. พระเจ้าเสือ ข. ขุน
ข. อ้ายนี่มีชอบมาช้านาน
หลวงหาวัด
ค. จงได้สำเร็จมโนรถ
ค. พระเจ้าปราสาททอง ง.
ง. ถึงนนทกน้ำใจกล้าหาญ
พระเจ้าอู่ทอง
๓๘. คำกลอนต่อไปนี้หมายถึงใคร “ตัวเจ้าผู้มี
๓๑. “พันกราบทูลทัดด้วย ท่านทิ้ง
ฤทธี เป็ นที่พึ่งแก่หมู่เทวัญ”
ประเพณี” คำที่พิมพ์ตัวหนาหมายถึง
บุคคลใด ก. พระอิศวร ข. พระนารายณ์
ก. พระราชา : สิงห์ ค. พระลักษมี ง. พระคเณศ
ข. เพชฌฆาต : พระราชา
๓๙. ถ้ารำท่าใดที่ทำให้นนทกพ่ายแพ้
ค. พันท้ายนรสิงห์ : พระราชา
ก. สอดสร้อยมาลาเฉิดฉิน ข. เมขลา
ง. พันท้ายนรสิงห์ : เพชฌฆาต
โยนแก้วแววไว
๓๒.เหตุการณ์ในบทร้อยกรองพระสุริ ค. ท่านพิศมัยเรียงหมอน ง. ถึงท่า
โยทัยขาดคอช้างเกิดขึ้นในรัชกาลใด นาคาม้วนหางวง
ก. สมเด็จพระมหินทราธิราช
๔๐. เหตุใดนนทกจึงพ่ายแพ้
ข. สมเด็จพระไชยราชาธิราช
ก. เหตุใดมิทำซึ่งหน้า ข. มารยาเป็ น
ค. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
หญิงไม่บัดสี
ง. สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช
ค. ตัวข้ามีมือแต่สองมือ ง. ฉิบหาย
๓๓. ใครเป็ นผู้แต่งเรื่องบทเสภา ด้วยหลงเสน่หา
สามัคคีเสวก
ก. สุนทรภู่ ข. เจ้าพระยาพระ
คลัง (หน)
ค. สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ง. รัชกาลที่ ๖

๓๔. บทเสภาสามัคคีเสวกแต่งขึ้นด้วย
คำประพันธ์ชนิดใด
ก. กลอนเสภา ข. กลอน
ดอกสร้อย
ค. กลอนสักวา ง. กลอน
ละคร

๓๕. ข้อใดไม่มีในบทเสภาสามัคคีเสวก
ก. สามัคคีเสวก
ข. วิศวกรรมา
ค. นารายณ์บรรทมสินธุ์
ง. กิจการแห่งพระนนที

๑ ง ๑๑ ง ๒๑ ก ๓๑ ค
๒ ก ๑๒ ก ๒๒ ง ๓๒ ค
๓ ง ๑๓ ค ๒๓ ง ๓๓ ง
๔ ง ๑๔ ค ๒๔ ง ๓๔ ก
๕ ข ๑๕ ง ๒๕ ข ๓๕ ค
๖ ง ๑๖ ก ๒๖ ข ๓๖ ง
๗ ง ๑๗ ข ๒๗ ง ๓๗ ข
๘ ง ๑๘ ข ๒๘ ง ๓๘ ข
๙ ง ๑๙ ค ๒๙ ง ๓๙ ง
๑๐ ข ๒๐ ง ๓๐ ก ๔๐ ง

You might also like