Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 299

ชุดกิจกรรมการเรียนรู (สําหรับนักเรียน)

เพื่อการจัดการเรียนรูโดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕
(ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๒)

โครงการสวนพระองคสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คําชี้แจง
การใชชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน

ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน โดยใชการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ระดับประถมศึกษา


ภาคเรียนที่ ๒ ฉบับนี้ เปนการปรับปรุงครั้งที่ ๒ ซึ่งดําเนินการโดยมูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม
ในพระบรมราชูปถัมภ โดยความรวมมือจากคณะทํางาน ประกอบดวย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ คณาจารยจากมหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก และครูผูเชี่ยวชาญ ทั้ง ๘ กลุม
สาระการเรียนรู
จุดประสงคของชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน เพื่อใหนักเรียนปลายทางไดศึกษา/ทบทวน
เอกสารใบความรู ของแตละหนวยการเรียนรู และใชในการฝกทักษะ /ปฏิบัติงานจากใบงาน หรือแบบฝกหัด
ของทุกกลุมสาระการเรียนรู ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และประเมินตนเองตามตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูนั้น ๆ ทุกทายหนวยการเรียนรู ทั้งนี้เมื่อครูปลายทางไดตรวจผลการทําใบงานในรายชั่วโมง
สังเกตพฤติกรรมการเรียนรูอยางตอเนื่อง และประมวลผลการประเมินตนเองของนักเรียนทุกหนวยการเรียนรู
แลวจะไดนําผลไปสงเสริมและหรือจัดการสอนซอมเสริมใหนักเรียนเปนรายบุคคล เพื่อใหเกิดประสิทธิผล
นําไปสูการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กตอไป

มูลนิธิการศึกษาทางไกลผานดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ

สารบัญ
หนา
คําชี้แจงการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ก
สารบัญ ข

หนวยการเรียนรูที่ ๘ ชื่อหนวย เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๑


ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๒
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง การอานจับใจความและแสดงความคิดเห็นจากเรื่อง ภัยเงียบ ๖
ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การเขียนแผนภาพความคิดจากเรื่องที่อาน ๘
ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง เรียงรอยดวยแผนภาพความคิด ๑๒
ใบความรูที่ ๓ เรื่อง ชนิดของคํา จดจําขึ้นใจ ๑๓
ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง ชนิดของคํา จดจําขึ้นใจ ๑๖
ใบความรูที่ ๔ เรื่อง อักษรยอนารูควบคูเครื่องหมายวรรคตอน ๑๘
ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง อักษรยอนารูควบคูเครื่องหมายวรรคตอน ๒๘
ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น ๓๐
ใบงานที่ ๕ เรือ่ ง การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๓๑
ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทโนมนาวใจ ๓๓
ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง การอานงานเขียนประเภทโนมนาวใจ ๓๖
ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู ๓๗
ใบงานที่ ๗ เรือ่ ง การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู ๓๙
ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๔๐
ใบงานที่ ๘ เรือ่ ง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๔๒
ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การสรุปเรื่องและขอคิดจากการอานนิทานคติธรรม ๔๔
ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง การสรุปเรื่องและขอคิดจากการอานนิทานคติธรรม ๔๕
ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การระบุความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน ๔๖
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การระบุความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน ๔๗
แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๘ ๔๘

หนวยการเรียนรูที่ ๙ ชื่อหนวย ตนเปนที่พงึ่ แหงตน ๔๙


ใบความรูที่ ๑ เรื่อง ประโยคและสวนประกอบของประโยค ๕๐
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง การจําแนกสวนประกอบของประโยค ๕๒
ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่องที่อาน ๕๓
ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๕๕
ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองและการอธิบายความหมายของคําศัพท
ในบทเรียน ๕๘
ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง การอานบทรอยกรองและการอธิบายคําศัพท ๖๐

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรู ขอคิด และคุณคาจากเรื่องที่อาน ๖๑


ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง การสรุปความรู ขอคิด และคุณคาจากเรื่องที่อาน ๖๓
ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่องที่อาน ๖๔
ใบงานที่ ๕ เรือ่ ง การอธิบายคุณคาของเรื่องที่อาน ๖๕
ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การทองจําบทอาขยาน ๖๖
ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง การทองจําบทอาขยาน ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๖๗
ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง ๖๘
ใบงานที่ ๗ เรือ่ ง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง ครอบครัวพอเพียง ๖๙
ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ๗๑
ใบงานที่ ๘ เรือ่ ง การคัดลายมือจากขอความที่ปรากฏในสือ่ ตาง ๆ ๗๔
ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ๗๕
ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง การพูดแสดงความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู ๗๗
ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๗๘
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนแสดงความรูสกึ และความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๘๐
แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๙ ๘๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ ชื่อหนวย โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ ๘๓


ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ ๘๔
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง การอานออกเสียงโคลงโลกนิติ ๘๗
ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การอธิบายความหมายของคําศัพทจากโคลงโลกนิติ ๘๙
ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง การอธิบายความหมายของคําศัพทจากโคลงโลกนิติ ๙๓
ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากโคลงโลกนิติ ๙๕
ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง การถอดความจากโคลงโลกนิติ ๙๗
ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูและขอคิดจากโคลงโลกนิติ ๙๘
ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง การสรุปความรูและขอคิดจากโคลงโลกนิติ ๑๐๐
ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ ๑๐๒
ใบงานที่ ๕ เรือ่ ง การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ ๑๐๕
ใบความรูที่ ๖ เรื่อง สํานวนเปรียบเทียบที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ ๑๐๖
ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง สํานวนเปรียบเทียบที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ ๑๐๗
ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากโคลงโลกนิติ ๑๑๐
ใบงานที่ ๗ เรือ่ ง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากโคลงโลกนิติ ๑๑๑
ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู ๑๑๓
ใบงานที่ ๘ เรือ่ ง แบบรางการพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู ๑๑๔
ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู ๑๑๕
ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู ๑๑๖
ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง วรรณกรรมสะทอนชีวิตขอคิดสอนใจ ๑๑๗
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง วรรณกรรมสะทอนชีวิตขอคิดสอนใจ ๑๒๑

ใบความรูที่ ๑๑ เรื่อง การอานจับใจความสําคัญ ๑๒๒


ใบงานที่ ๑๑ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง วิถีชีวิตไทย ๑๒๖
ใบความรูที่ ๑๒ เรื่อง การเขียนคําอวยพร ๑๒๘
ใบงานที่ ๑๒ เรื่อง การเขียนคําอวยพร ๑๓๐
แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ ๑๓๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ ชื่อหนวย ผูรูดเี ปนผูเจริญ ๑๓๒


ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๓
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง การอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๕
ใบความรูที่ ๒ เรื่อง คนควาหาคําศัพทจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๖
ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง คนควาหาคําศัพทจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๗
ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากบทรอยกรอง ๑๓๙
ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง การถอดความจากบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๒
ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูและขอคิดจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๓
ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง การสรุปความรูและขอคิดจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๕
ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การแตงกาพยยานี ๑๑ ๑๔๖
ใบงานที่ ๕ เรือ่ ง กวีนอยรอยเรียงคํา ๑๔๘
ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทลําดับขั้นตอนปฏิบัติงานจากสื่อตาง ๆ ๑๔๙
ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง การอานงานเขียนประเภทลําดับขั้นตอนปฏิบัติงานจากสื่อตาง ๆ ๑๕๐
ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน ๑๕๑
ใบงานที่ ๗ เรือ่ ง การเขียนลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน ๑๕๒
ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การพูดนําเสนอลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน ๑๕๓
ใบงานที่ ๘ เรือ่ ง การพูดนําเสนอลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน ๑๕๔
ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การเขียนยอความ ๑๕๕
ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง การเขียนยอความจากนิทาน ๑๕๘
ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง ระดับของภาษา ๑๕๙
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง ระดับของภาษา ๑๖๐
ใบความรูที่ ๑๑ เรื่อง การเขียนคําขวัญ ๑๖๒
ใบงานที่ ๑๑ เรื่อง การเขียนคําขวัญ ๑๖๓
ใบความรูที่ ๑๒ เรื่อง การอานนิทานพื้นบาน ๑๖๔
ใบงานที่ ๑๒ เรื่อง นิทานพื้นบาน ชวนอานชวนคิด ๑๖๖
แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ ๑๖๗
บันทึกการเรียนรู (Learning Log) ๑๖๘

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ ชื่อหนวย ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๖๙


ใบความรูที่ ๑ เรื่อง เจาฟานักอาน ๑๗๐
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง เจาฟานักอาน ๑๗๓

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การพูดรายงานประเด็นสําคัญจากการฟงและการดู ๑๗๕


ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง แบบรางการพูดรายงานจากการฟงและการดู ๑๗๖
ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การสรุปความรูและขอคิดจากการอาน ๑๗๗
ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง การสรุปความรูและขอคิดจากการอาน ๑๗๙
ใบความรูที่ ๔ เรื่อง ชวนคิดชวนจํา คําราชาศัพท ๑๘๑
ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง ชวนคิดชวนจํา คําราชาศัพท ๑๘๗
ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอานหนังสือตามความสนใจ ๑๘๙
ใบงานที่ ๕ เรือ่ ง การอานหนังสือตามความสนใจ ๑๙๑
ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การสรุปเรื่องจากวรรณกรรมที่อาน ๑๙๒
ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง การสรุปเรื่องจากวรรณกรรมที่อาน ๑๙๗
ใบงานที่ ๗ เรือ่ ง วรรณกรรมดีมีคุณคา ๑๙๙
ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง ๒๐๐
ใบงานที่ ๘ เรือ่ ง แผนภาพโครงเรื่องประเทืองปญญา ๒๐๒
ใบความรูที่ ๘ เรื่อง บทอาขยานสืบสานเอกลักษณไทย ๒๐๔
ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง บทอาขยานสืบสานเอกลักษณไทย ๒๐๗
ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ ๒๐๘
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ ๒๑๑
แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ ๒๑๒

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ชื่อหนวย ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๑๓


ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความสําคัญ ๒๑๔
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง เรื่อง การอานจับใจความจากเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๑๕
ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การอานวิเคราะหและการเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๒๑๗
ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง การวิเคราะหและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๒๑๙
ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล ๒๒๑
ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล ๒๒๒
ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็น ๒๒๔
ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง การพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็น ๒๒๖
ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่องที่อาน ๒๒๗
ใบงานที่ ๕ เรือ่ ง การอานวรรณกรรมเกี่ยวกับความรักชาติ ๒๒๘
ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การเขียนเรียงความ ๒๓๐
ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง การเขียนเรียงความ ๒๓๒
ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนจดหมาย ๒๓๓
ใบงานที่ ๗ เรือ่ ง จดหมายบรรยายอักษร ๒๓๗
ใบความรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น ๒๓๘
ใบงานที่ ๘ เรือ่ ง ภาษาถิ่นในวรรณกรรมทองถิ่น ๒๔๐
ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การอานหนังสือตามความสนใจ ๒๔๒

ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง เขียนสรุปความรูขอคิดที่ไดจากการอาน ๒๔๓


ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การสรุปความรูและขอคิด ๒๔๔
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง นิทานคุณธรรมนําชีวิต ๒๔๗
แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ ๒๕๐

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ชื่อหนวย วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๕๑


ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานสรุปเรื่อง ๒๕๒
ใบงานที่ ๑ เรือ่ ง การอานสรุปเรื่อง ภาษาจรรโลงใจ ๒๕๔
ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การอานขอความที่เปนการบรรยายและพรรณนา ๒๕๕
บทอาน บรรยายโวหารและพรรณนาโวหาร แบบรอยแกวและรอยกรอง ๒๕๖
ใบความรูที่ ๓ เรื่อง คํายืมภาษาตางประเทศ ๒๕๗
ใบงานที่ ๒ เรือ่ ง คํายืมภาษาตางประเทศ ๒๖๔
ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การจับใจความและวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู ๒๖๕
ใบงานที่ ๓ เรือ่ ง การจับใจความและวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู ๒๖๘
ใบความรูที่ ๕ เรื่อง ภาษาถิ่นกับวรรณกรรมทองถิ่นไทย ๒๖๙
ใบงานที่ ๔ เรือ่ ง ภาษาถิ่นกับวรรณกรรมทองถิ่นไทย ๒๗๑
ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดูจากสื่อตาง ๆ ๒๗๒
ใบงานที่ ๕ เรือ่ ง การวิเคราะหประเด็นสําคัญจากเรื่องทีฟ่ งและดู ๒๗๔
ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการ ๒๗๕
ใบงานที่ ๖ เรือ่ ง เขียนเรื่องจินตนาการผสานภาษา ๒๗๖
ใบความรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาพูด ภาษาเขียน ๒๗๗
ใบงานที่ ๗ เรือ่ ง ภาษาพูดและภาษาเขียนในสื่อตาง ๆ ๒๗๘
ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การอานสรุปความ ๒๗๙
ใบงานที่ ๘ เรือ่ ง การอานสรุปความ ๒๘๒
ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่อง ๒๘๓
ใบงานที่ ๙ เรือ่ ง การอธิบายคุณคาของเรื่อง ๒๘๔
ใบความรูที่ ๑๑ เรื่อง การกรอกแบบรายการ ๒๘๘
ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง ใสใจกรอกแบบรายการ ๒๘๙
แบบประเมินตนเอง หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ ๒๙๐
บันทึกการเรียนรู (Learning Log) ๒๙๑
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๑

หนวยการเรียนรูที่ ๘
เรียงรอยความคิดพินิจภาษา
๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของการอานจับใจความ
การอานจับใจความ คือ การอานที่มุงจับประเด็นสําคัญหรือจับใจความสําคัญ
ของเรื่ อ งที่ อา นหรื อ ขอ คิด ของเรื่ อ ง โดยใจความสํ า คั ญ จะเป น ข อ ความที่ ค รอบคลุ ม
ขอความอื่น ๆ ไวทั้งหมด
การอานจับใจความมักเปนการอานในใจเพื่อจับใจความสําคัญ ผูอานจะตองมี
สมาธิ ใ นการอ าน จะต อ งค น หาข อ คิ ด เพื่ อ ให ได รับ ประโยชน แ ละมี ป ระสิ ทธิ ภ าพใน
การอานมากขึ้น
การอ า นจั บ ใจความจากสื่ อ ต า ง ๆ เช น ข า ว เหตุ ก ารณ ป ระจํ า วั น บทความ
วรรณคดี วรรณกรรม นิทานตาง ๆ บทโฆษณา เรื่องสั้น หรือขอความที่มีขนาดยาว
นอกจากจะตองเขาใจสาระสําคัญของเรื่องแลว ควรฝกความสามารถในการอานเพิ่มเติม
ดังนี้
๑. การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
๒. การแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล
๓. การระบุความรูและนําขอคิดจากเรื่องที่อานไปใชในการดําเนินชีวิต
หลักพื้นฐานการอานจับใจความสําคัญ

๑. ตั้งจุดมุงหมายในการอานใหชัดเจน
๒. ทําความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับชื่อเรื่อง เพราะจะทําใหเรารูวาเรื่องที่อาน
เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร เปนไปในแนวทางใด จะชวยใหเราคาดการณเรื่องได
๓. อานเรื่องราวอยางละเอียด และเก็บใจความสําคัญของแตละยอ หน า
๔. เมื่ออานจบควรตั้งคําถามวา “ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร”
๕. นําสิ่งที่สรุปไดจากการอานมาเรียบเรียงใจความสําคัญใหมดวยสํานวน
ภาษาของตนเองเพื่อใหเขาใจงาย
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๓

วิธีการจับใจความสําคัญ
วิธีการจับใจความมีหลายอยาง ขึ้นอยูกับความชอบวาอยางไร เชน
๑. การขีดเสนใต
๒. การใชสีตาง ๆ กัน เพื่อแสดงความสําคัญมากนอยของขอความ
๓. การบันทึกยอ เปนสวนหนึ่งของการอานจับใจความสําคัญที่ดี ผูท่ียอควร
ยอดวยสํานวนภาษาและสํานวนของตนเอง ไมควรยอดวยการตัดเอาขอความสําคัญ
มาเรี ย งต อ กั น เพราะอาจทํ า ให ผู อ า นพลาดสาระสํ า คั ญ บางตอนไปอั น เป น เหตุ ใ ห
การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได
การแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
การแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน เปนการแยกแยะสวนตาง ๆ ของเรื่องที่อาน
อยางมีระบบ ผูอานจะตองอานจับใจความเนื้อหาของเรื่องใหเขาใจอยางถองแท เพื่อจะ
ไดวิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระความรู ขอคิด และประโยชนจากเรื่อง
สามารถนําสิ่งที่ไดจากการอานไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิต
๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

เนื้อเรื่องยอ “ภัยเงียบ”
จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต
ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

แพน เปนคนที่มีฝมือในการใชเครื่องคอมพิวเตอรระดับแนวหนา เพราะมีพ่ีทศ


พี่ชายที่เรียนวิศวกรรมคอมพิวเตอรเปนผู สอนจนแพนมีความกาวหน าเกินหลั ก สู ต ร
ซ อ มเครื่ อ งได บ า ง แม ว า แพนจะมี ค วามเชี่ ย วชาญด า นคอมพิ ว เตอร แต แ พนก็ ใ ช
คอมพิวเตอรเมื่อจําเปนเทานั้น และจะไมอยูหนาจอเปนเวลานาน ๆ เพราะกลัวสายตาสั้น
ทําใหสมองไมปลอดโปรง แพนชวยแมสงอีเมลติดตอถึงปารัตนที่ไปทํางานตางประเทศ
และยังชวยเพื่อนในหองเรียนสืบคนขอมูล เชน เสิรชหาความหมายของคําวา “อารยชน”
คือ คนที่เจริญแลว กับคําวา “อนารยชน” คือ คนที่ยังไมเจริญ คนปาเถื่อน ทั้งชวยหา
คลิปอารตสวย ๆ มาทําปกรายงานและในวันนี้พี่ทศกลับบานดวยใบหนาเครงเครียด
เพราะปานเพื่อนของพี่ทศถูกฝรั่งที่รูจักกันผานทางแชตหลอกวาอยูตางประเทศ รูปหลอ
จะมากรุงเทพฯ จึงไดนัดเจอกัน โชคดีที่ปานชวนเพื่อนไปดวย เมื่อนัดพบกันกลายเปน
ฝรั่งแกอวนลงพุง ฝรั่งคนนั้นอยากกินอาหารไทยมากทั้งคูก็พาไป พอกินเสร็จฝรั่งทําทาที
ว ากระเป าสตางค หาย ให ป านจ ายไปก อ นแล ว จะคื น เงิ น ให ภ ายหลั ง พนั ก งานเสิ รฟ
ไดบอกกับปานวาฝรั่งคนนี้อยูพัทยา หลอกมาหลายคนแลว ขณะนี้ตํารวจกําลังจับตาดูอยู
โชคดีที่ปานพาเพื่อนมาดวยมิฉะนั้นอาจถูกหลอกไปทํามิดีมิรายได พี่ทศจึงเตือนแพน
ใหระวังวาไมใหแซตกับคนแปลกหนา ถามีอะไรไมชอบมาพากลใหบอกทันทีจะไดรีบ
ชวยเหลือไดทันเวลา แพนนั่งเงียบแลวจึงตัดสินใจเลาใหพี่ทศฟงวา แพนเขาหองสนทนา
ทางเว็บไซตสนทนากับพี่ตายลูกของปารัตน วันหนึ่งพี่เจี๊ยบก็เขามาขอเปนเพื่อน พี่เจี๊ยบ
ใจดีมาก รักเด็ก มีคําแนะนําสั่งสอนดี ๆ เสมอ แพนมีแตพี่ชายจึงไดยึดพี่เจี๊ยบเปนพี่สาว
จากนั้นสงรูปใหกันดู รูปของพี่เจี๊ยบเห็นหนาไมชัด พี่เจี๊ยบบอกวาเปนการถายรูปศิลป
จึงเห็นหนาตาไมชัดเจน สวนแพนเปนคนไมมีความลับ มีเรื่องอะไรพี่เจี๊ยบจะรูทั้งหมด
แพนเลาใหพี่เจี๊ยบฟงวามีเงินในกระปุกออมสินเกือบหกพันบาท จากนั้นคุยกันไดไมนาน
พี่เจี๊ยบหายไป ๒ อาทิตย แลวกลับมาสนทนาผานทางแชตอีกครั้ง พี่เจี๊ยบบอกวาแมปวย
ตองผาตัดอาทิตยหนา มีเงินไมพอคายาจึงตองไปทํางานพิเศษ แตไดเงินมาไมมากนัก
และไมรูจะทําอยางไรดี แพนจึงใหพี่เจี๊ยบยืมเงิน แตพี่เจี๊ยบก็ปฏิเสธเสียงแข็ง โดยอางวา
ไมเหมาะสม แพนกับพี่เจี๊ยบพูดคุยกันอยูนานจนพี่เจี๊ยบตกลง โดยจะขอจายดอกเบี้ย
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๕

และจะรีบหาเงินมาคืนแพนใหเร็วที่สุด แพนสงเงินใหพี่เจี๊ยบโดยการโอนเงินผานธนาคาร
ซึ่งก็ผานมาแลว ๓ เดือน ไมมีการตอบกลับมาจากพี่เจี๊ยบอีกเลย แพนคงถูกหลอกแน ๆ
สวนพี่ทศเปนพี่ชายที่แสนดี ไมดุแพน และบอกวาโชคดีแลวที่แพนไมเปนอะไร หากเสียตัว
หรือเสียชีวิตครอบครัวคงทําใจไมได เงินทองเปนของนอกกายถาไมตายก็หาใหมได
ภั ย เงี ย บมี อ ยู ทุ ก หนแห ง และมาโดยเราไม ทั น ระวั ง ตั ว ครั้ ง นี้ ใ ห ถื อ ว า เป น บทเรี ย น
ตัวแพนเองไมเสียดายเงินทอง แตเสียดายความรูสึกดี ๆ ที่มีใหพี่เจี๊ยบ แตถูกภัยเงียบ
ทํารายโดยไมทันตั้งตัว
๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความและแสดงความคิดเห็นจากเรื่อง ภัยเงียบ


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานจับใจความสําคัญเรื่อง ภัยเงียบ และตอบคําถาม พรอมเขียน


แสดงความคิดเห็นจากเรื่องอยางมีเหตุผล

๑. เพื่อน ๆ ในหองเรียนประถมศึกษาปที่ ๕ ไมวาใคร ๆ ตางยกนิ้วใหแพน เพราะอะไร


ตอบ…………….………….………………..……………………….………………………………………
…….….………………………………………………………………….……………………………….……

๒. แมวาแพนจะเชี่ยวชาญคอมพิวเตอร แตแพนไมชอบอยูหนาจอนาน ๆ เพราะอะไร


ตอบ........................................................................................................................
................................................................................................................................

๓. อะไรบ า งที่ นั ก เรี ย นคิ ด ว า เป น “ภั ย เงี ย บ” ที่ ม าจากคอมพิ ว เตอร ห รื อ ทาง
อินเทอรเน็ต
ตอบ........................................................................................................................
................................................................................................................................

๔. การแชตคุยกับคนที่เราไมรูจักผานทางอินเทอรเน็ต มีความเสี่ยงหรือไม เพราะอะไร


ตอบ........................................................................................................................
................................................................................................................................

๕. ถานักเรียนแชตคุยกับคนแปลกหนา แลวเขานัดพบ นักเรียนจะทําอยางไร


ตอบ........................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๗

๖. เรื่อง “ภัยเงียบ” ใหขอคิดอะไรแกนักเรียน


ตอบ........................................................................................................................
................................................................................................................................
................................................................................................................................

๗. นักเรียนจะนําขอคิดจากเรื่องนี้ไปใชในชีวิตประจําวันอยางไร
ตอบ……………………………………...............................................................................
...………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

๘. นักเรียนมีวิธีปองกันอยางไร ถามีคนแปลกหนาทักเฟซบุกมาพูดคุยดีกับนักเรียน
ตอบ……………………………………...............................................................................
...………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

๙. นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไรเกี่ยวกับเรื่อง “ภัยเงียบ”
ตอบ……………………………………...............................................................................
...………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

๑๐. ถ า มี ค นแปลกหน า นั ด เพื่ อ นของนั ก เรี ย นไปพบ นั ก เรี ย นจะมี วิ ธี เ ตื อ นเพื่ อ น


อยางไร
ตอบ......................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การเขียนแผนภาพความคิดจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง แผนภาพความคิดพินิจใจความ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของแผนภาพความคิด
แผนภาพความคิ ด เป นรู ป แบบที่ ใช ในการจั ดระบบของความคิ ด ข อ มู ล หรือ
ความรูตาง ๆ เพื่อใหเห็นและเขาใจภาพรวมทั้งหมดอยางชัดเจน สามารถนําไปเรียบเรียง
เปนงานเขียนที่สมบูรณ เนื้อหามีความสัมพันธตอเนื่องกัน
หลักการเขียนแผนภาพความคิดจากเรื่องที่อาน
๑. อานเนื้อเรื่องหรือเนื้อหาใหเขาใจชัดเจน
๒. จับใจความสําคัญหรือประเด็นสําคัญของเรื่อง
๓. เลือกแผนภาพที่เหมาะสมกับเรื่อง
๔. จัดประเภทหรือจัดหมวดหมูของขอมูล
๕. ลงมือเขียนแผนภาพความคิด
๖. ตรวจทานการเขียนใหถูกตอง
๗. ตกแตงระบายสี เพื่อสวยงาม
รูปแบบของแผนภาพความคิด
การเขียนแผนภาพความคิดมีหลายรูปแบบ ซึ่งรูปแบบที่นักเรียนควรรูจัก มีดังนี้
๑. แบบใยแมงมุม ใชในการจัดขอมูลที่มีความสัมพันธกันระหวางหัวขอใหญและ
หัวขอยอย เพื่อแสดงรายละเอียดตาง ๆ

หัวขอใหญ
หัวขอยอย หัวขอยอย
หัวขอยอย
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๙

๒. แบบเปรียบเทียบ ใชในการจัดขอมูลที่มีสวนเหมือนและตางกันเพื่อเปรียบเทียบ
ใหเห็นภาพชัดเจนมากขึ้น

ตางกัน เหมือนกัน ตางกัน

๓. แบบโครงสราง ใชในการจัดขอมูลที่มีสวนประกอบตาง ๆ จากหนวยใหญไปหา


หนวยยอย หรือตามลําดับความสําคัญ

หัวขอ

สวนประกอบ สวนประกอบ สวนประกอบ

๔. แบบขั้นบันได ใชในการจัดขอมูลที่ตองลําดับขั้นตอนตาง ๆ เชน การทํางาน


การคิดแบบลําดับขั้น วิวัฒนาการ พัฒนาการเจริญเติบโต ความกาวหนา ฯลฯ

ขั้นตอนที่ ๕
ขั้นตอนที่ ๔
ขั้นตอนที่ ๓
ขั้นตอนที่ ๒
ขั้นตอนที่ ๑
๑๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ประโยชนของการเขียนแผนภาพความคิด

๑. ชวยในการยอความจากเรื่องที่อาน

๒. ทําใหเขาใจเรื่องไดรวดเร็ว ชวยใหจับใจความของเรื่องที่ฟงและอานได

๓. ชวยจัดความรูอยางเปนระบบ ทําใหจดจํางายและแมนยํา

๔. ชวยใหสรุปเรื่องไดสมบูรณครบถวน

๕. ชวยพัฒนาทักษะการเขียนสรุปความรู

การนําไปใช
๑. ใชระดมพลังสมอง ๒. ใชนําเสนอขอมูล
๓. ใชจัดระบบความคิด ๔. ใชวเิ คราะหเนื้อหาหรืองานตาง ๆ
๕. ใชสรุปเรื่องหรือสรางองคความรู ๖. ใชสรุปใจความสําคัญ

แนวทางการเขียนแผนภาพความคิดจากนิทาน

สถานที่
ตัวละคร เหตุการณสําคัญ

หัวขอ/ชื่อเรื่อง

ขอคิด ผลของเรื่อง
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๑๑

นิทานอีสป เรื่อง สุนัขจิ้งจอกกับคนตัดไม

กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่งถูกหมาลาเนื้อของพวกนายพราน
ไลกัด มันวิ่งหนีจนหมดแรงมาเรื่อย ๆ และไดพบกับคนตัดไมคนหนึ่งซึ่งกําลังตัดตนไมอยู
มันจึงรีบวิ่งตรงเขาไปหาเพื่อขอความชวยเหลือ มันวิงวอนขอรองใหคนตัดไมชวยหา
ที่ ซ อ นสั ก แห ง คนตั ด ไม ใ จดี จึ ง พาสุ นั ข จิ้ ง จอกไปหลบซ อ นตั ว ในกระท อ ม เมื่ อ พวก
นายพรานมาถึ ง ถามว า “เห็ น สุ นั ข จิ้ ง จอกผ า นมาแถวนี้ ห รื อ ไม ” คนตั ด ไม ต อบว า
“ไมเห็น” แตชี้นิ้วไปที่กระทอม
พวกล า สั ต ว ไ ม รู ค วามหมายของคนตั ด ไม จึ ง พากั น กลั บ ทั น ใดนั้ น สุ นั ข จิ้ ง จอก
เห็นวาปลอดภัยแลว ก็ออกมาจากที่ซอนตัวในกระทอม แลวรีบวิ่งหนีไปไมไดกลาวลา
สักคําเดียว คนตัดไมรองตะโกนวา “เจากลับไปอยางนี้หรือ จะขอบใจขาสักคําก็ไมมี”
สุนัขจิ้งจอกไดหันกลับมาตอบวา “ทานผูกรุณาใหที่พึ่ง หากลิ้นของทานตรงอยางนิ้ว ขาก็
ตองพูดขอบคุณทานเปนแน”
นี่แหละคือปากวาตาขยิบ ยอมมีความไมซื่ออยูในดวงตานั้น
นิทานเรื่องนี้สอนใหรูวา หากจะชวยเหลือใคร ควรชวยเหลือดวยความจริงใจ
ไมควรพูดอยางทําอยาง ดังสํานวนที่วา “ปากวาตาขยิบ”
๑๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๒ เรื่อง เรียงรอยดวยแผนภาพความคิด


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง แผนภาพความคิดพินิจใจความ
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนแผนภาพความคิดจากนิทานอีสป เรื่อง สุนัขจิ้งจอกกับคนตัดไม


พรอมตกแตงระบายสีใหสวยงาม

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๑๓

ใบความรูที่ ๓ เรื่อง ชนิดของคํา จดจําขึ้นใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง ชนิดของคํา จดจําขึ้นใจ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

๑. คําบุพบท คือ คําที่นําหนาคํานามหรือคําสรรพนาม ทําหนาที่เชื่อมคําใหสัมพันธกัน


ชนิดของคําบุพบท
คําบุพบทสามารถแบงออกไดเปน ๖ ชนิด ดังนี้
๑. บอกตําแหนงและสถานที่ ไดแกคําวา ใต บน ริม ชิด ใกล นอก ใน
เชน
จิ้งจกซอนตัวอยูในตูเสื้อผา
รานซักรีดอยูใกลสถานีตํารวจ
๒. บอกเวลา ไดแกคําวา แต ตั้งแต ณ เมื่อ จน จนกระทั่ง เชน
พอทํางานจนดึก
คุณแมเดินทางไปทําธุระแตเชาตรู
๓. บทบอกความเปนเจาของ ไดแกคําวา แหง ของ เชน
สมชายเปนกรรมการบริหารอยูที่สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย
กระเปาเงินของคุณยายหายไปไหน
๔. บอกที่มาหรือสาเหตุ ไดแกคําวา แต จาก กวา เหตุ ตั้งแต เชน
คุณแมซื้อผักมาจากตลาด
ชาวนาเดินมาตั้งแตที่นาถึงบาน
๕. บอกฐานะเปนผูรับ ไดแกคําวา เพื่อ ตอ แก แด เฉพาะ สําหรับ เชน
นายแดงยื่นหนังสือตอผูวาราชการจังหวัด
รองเทาคูนี้ฉันซื้อใหสําหรับเธอคนเดียว
๖. บอกฐานะเครื่องใช หรือติดตอกัน ไดแกคําวา โดย ดวย ตาม กับ เชน
ขอใหเดินทางโดยสวัสดิภาพ
เขาทําตามคําสั่งผูบังคับบัญชาดวยความเต็มใจ
๑๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๒. คําเชื่อม คือ คําที่ใชเชื่อมคํา วลี ประโยค หรือขอความเขาดวยกัน


ชนิดของคําเชื่อม
คําเชื่อมสามารถแบงออกไดเปน ๔ ชนิด ดังนี้
๑. เชื่อมใจความคลอยตามกัน ไดแกคําวา กับ และ ก็ เมื่อ...ก็ พอ...ก็ เชน
พอแมกลับถึงบานก็ไปอาบน้ําทันที
นองกับพี่เดินทางไปโรงเรียนดวยกัน
พอและแมเดินทางไปเที่ยวเชียงราย
เมื่อเธอไมมาก็แลวแตเขา
ทั้งหมดตรงและเดินอยางเปนระเบียบ
๒. เชื่อมใจความขัดแยงกัน ไดแกคําวา แต แตทวา ถึง...ก็ แม...ก็ เชน
พี่ดูการตูนแตนองดูภาพยนตร
ณิชาจะกินผักแตแพรวจะกินผลไม
ถึงเขาจะยากจนแตเขาก็มีความสุข
เขาวิ่งเร็วมากแตทวาไมเหนื่อยเลย
แมงานจะยากก็ไมใชอุปสรรคสําหรับเขา
๓. เชื่อมใจความใหเลือกอยางใดอยางหนึ่ง ไดแกคําวา หรือ หรือไมก็ มิฉะนั้น
เชน
พี่จะกินผักหรือเธอจะไปกินผลไม
นองจะกินขาวหรือจะดูการตูน
เธอจะดูโทรทัศนหรือจะฟงฉันพูด
เราตองตั้งใจเรียนไมเชนนั้นจะไมเขาใจ
เราควรออกกําลังกายมิฉะนั้นจะไมแข็งแรง
๔. เชื่อมใจความเปนเหตุเปนผลกัน ไดแกคําวา ดังนั้น ดวย จึง เพราะฉะนั้น
เพราะ...จึง ดังนั้น...จึง เหตุเพราะ ฉะนั้น เชน
เพราะเขาขยันอานหนังสือเขาจึงสอบผาน
เขาเกียจครานจึงสอบตก
มานะเปนคนดีดังนั้นเพื่อนจึงรักเขา
แมเลี้ยงดูมาเพราะฉะนั้นเราควรบูชาแม
พอแมทํางานหนักเพราะตองเลี้ยงดูลูก
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๑๕

๓. คําอุทาน หมายถึง คําที่เปลงออกมาเพื่อแสดงอารมณและความรูสึกตาง ๆ ของผูพูด


อุทานบอกอาการ คือ คําที่บอกอารมณหรือความรูสึกตาง ๆ ของผูพูด คําอุทานชนิดนี้
มักอยูนําหนาประโยค และมีเครื่องหมายอัศเจรีย ( ! ) กํากับอยูทายคําอุทาน
๑. อาการรองเรียกหรือบอกใหรูตัว เชน นี่แนะ ! เฮย ! โวย !
๒. อาการโกรธเคืองไมพอใจ เชน ดูดู ! ชะ ! ชิ !
๓. อาการแปลกใจ สงสัย และตกใจ เชน เอะ ! วาย ! แมเจาโวย !
๔. อาการสงสารหรือปลอบโยน เชน อนิจจา ! พุธโธ ! โธเอย !
๕. อาการเขาใจหรือรับรู เชน อืม ! ออ ! ออ !
๖. อาการเจ็บปวด เชน โอย ! โอย !
๗. อาการจากสิ่งธรรมชาติ เชน ตูม ! โครม ! เปรี้ยง !
๘. อาการดีใจ เชน ไชโย !
๙. อาการถอดใจหรือเหนื่อยใจ เชน เฮอ !
๑๐. อาการโลงใจหรือสบายใจขึ้น เชน เฮอ !
อานและสังเกตประโยคตอไปนี้
ประโยค คําอุทาน ชนิดของคําอุทาน
๑. เอะ ! หนังสือฉันหายไปไหน เอะ ! แสดงความสงสัย
๒. ไชโย ! ทําการบานเสร็จแลว ไชโย ! แสดงความดีใจ
๓. โอย ! เจ็บจังเลย โอย ! แสดงความเจ็บปวด
๔. โธ ! นาสงสารจริง โธ ! แสดงความสงสาร
๕. โอโฮ ! วันนี้เธอมาโรงเรียนแตเชาเลยนะ โอโฮ ! แสดงความแปลกใจ
๑๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๓ เรื่อง ชนิดของคํา จดจําขึน้ ใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง ชนิดของคํา จดจําขึ้นใจ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานบทความเรื่อง จิตที่ควรพัฒนา แลววงกลมคําที่เปนคําบุพบท


ขีดเสนใตคําที่เปนคําเชื่อม และเลือกคําบุพบท และคําเชื่อม อยางละ ๒ คํา
มาแตงประโยคใหมใหถูกตอง

จิตที่ควรพัฒนา : จิตสาธารณะ
รอยตํารวจตรีวิชัย สุริยุทธ หรือที่คนทั่วไปรูจักกันในนาม “นายดาบ วิชัย
ผูสรางปา” ทานเปนผูริเริ่มโครงการปลูกตนไม ในที่สาธารณะเพื่อสวนรวมที่บาน
ของตนคือ อําเภอปรางคกู จังหวัดศรีสะเกษ ซึ่งเปนพื้นที่แหงแลง เพราะฝนตกนอย
และผูคนสวนใหญก็ยากจน
การปลูกตนไมของนายดาบวิชัยนี้ ทานจะนําเมล็ดพันธุไมใสถุงและแบกจอบ
หิ้วขึ้นรถจักรยานยนต โดยไปปลูกตามที่สาธารณะตาง ๆ จนตนไมเติบโต สามารถ
สรางอาชีพและเปนอาหารใหแกคนในชุมชนได
จิตสาธารณะของรอยตํารวจตรีวิชัย เกิดแรงบันดาลใจจากการที่ไดเขาอบรม
โครงการแผนดินธรรมแผนดินทอง และประทับใจแนวคิดที่มุงใหเกิดความสงบสุข
ของชาวบาน และเศรษฐกิจพอเพียง
(รอยตํารวจตรีวิชัย สุริยุทธ)

ขอที่ คําที่เลือก ชนิดของคํา ประโยค


ตัวอยาง เพราะ คําเชื่อม เด็ก ๆ ไมชอบกินมะระเพราะมีรสขม




หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๑๗

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานบทสนทนาตอไปนี้ แลววงกลมคําอุทาน จากนั้นนําคําอุทาน


ไปแตงประโยคใหมใหถูกตอง

แสงดาว : สวัสดีคะตนหอม สบายดีไหมคะ เราสบายดี


ตนหอม : สบายดีคะแสงดาว อาว ! เธอถือตะกราไปไหนเนี่ย
แสงดาว : ออ ! เราจะไปจายตลาดนะ ไปดวยกันไหมคะ
ตนหอม : วา ! แยจัง เราไมไดถือตะกรามา คงไมไดไปหรอกคะ
แสงดาว : อาวเหรอ ! ไมเปนไร ใชตะกราเดียวกันก็ได
ตนหอม : ขอบคุณนะคะ อยางงั้นเราไปกันเลยคะ เย !

ขอที่ คําที่เลือก บอกความรูสึก ประโยค


ตัวอยาง เย ! ดีใจ เย ! ฉันทําการบานเสร็จแลว



ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๑๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง อักษรยอนารูควบคูเครื่องหมายวรรคตอน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การอานอักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน
รายวิชา พื้นฐานภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

อักษรยอ คือ อักษรที่ใชแทนคําเต็ม ซึ่งมักจะเปนคําหรือศัพทเฉพาะที่ยาวเพื่อ


การสื่อสารที่รวดเร็วและกระชับ อาจใชทั้งในการพูดและการเขียน ทั้งนี้ ควรใชในกลุม
ผูรับสาร ที่เขาใจอักษรยอนั้น เมื่อใชอักษรยอแทนคําเต็มใหเขียนกํากับดวยเครื่องหมาย
มหัพภาค ( . ) การอานอักษรยอตองอานเต็มทุกคํา

ตัวอยาง อักษรยอ

หมวดคําทั่ว ๆ ไปที่ควรรูจัก เชน


อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
ถ. ถนน ต. ตําบล
บ. บาท, บาน อ. อําเภอ, อาจารย
ร. รัชกาล จ. จังหวัด
ด.ช. เด็กชาย ด.ญ. เด็กหญิง
น. นาย น.ส. นางสาว
น. นาฬิกา, คํานาม ชม. ชั่วโมง
สต. สตางค รร. โรงเรียน/โรงแรม (ดูที่บริบทของประโยค)
นสพ. หนังสือพิมพ ส.ค.ส. สงความสุข
กทม. กรุงเทพมหานคร พ.ร.บ. พระราชบัญญัติ
โทร. โทรศัพท พ.ร.ก. พระราชกําหนด
จม. จดหมาย กม. กฎหมาย
ภ.ง.ด. ภาษีเงินได รธน. รัฐธรรมนูญ
ปณ. ที่ทําการไปรษณีย ป.ล. ปจฉิมลิขิต
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๑๙

หมวดการศึกษา โรงเรียน และมหาวิทยาลัย เชน


อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
นร. นักเรียน นศ. นักศึกษา
อ. อาจารย ดร. ดอกเตอร
ศ. ศาสตราจารย ผอ. ผูอํานวยการ
รศ. รองศาสตราจารย รร. โรงเรียน
จนท. เจาหนาที่ ม. มหาวิทยาลัย
ป. ประถมศึกษา ม. มัธยมศึกษา
ค.บ. ครุศาสตรบัณฑิต ศษ.บ ศึกษาศาสตรบัณฑิต
ค.ม. ครุศาสตรมหาบัณฑิต ศศ.บ. ศิลปศาสตรบัณฑิต

หมวดกระทรวงตาง ๆ
หมายเหตุ อักษรยอของกระทรวงจะไมใสเครื่องหมายมหัพภาค ( . )
อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
นร สํานักนายกรัฐมนตรี อก กระทรวงอุตสาหกรรม
กห กระทรวงกลาโหม พณ กระทรวงพาณิชย
กค กระทรวงการคลัง พน กระทรวงพลังงาน
กต กระทรวงการตางประเทศ วธ กระทรวงวัฒนธรรม
กก กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา รง กระทรวงแรงงาน
กษ กระทรวงเกษตรและสหกรณ คค กระทรวงคมนาคม
มท กระทรวงมหาดไทย ศธ กระทรวงศึกษาธิการ
สธ กระทรวงสาธารณสุข ทส กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม
ดศ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ พม กระทรวงการพัฒนาสังคม
และสังคม และความมั่นคงของมนุษย
อว กระทรวงการอุดมศึกษา - -
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
๒๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

หมวดหนวยงานรัฐ องคกร และสถานที่ราชการ เชน


อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
อบต. องคการบริหารสวนตําบล รฟท. การรถไฟแหงประเทศไทย
อบจ. องคการบริหารสวนจังหวัด กฟผ. การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย
ทต. เทศบาลตําบล กฟภ. การไฟฟาสวนภูมิภาค
ทม. เทศบาลเมือง กปภ. การประปาสวนภูมิภาค
ทน. เทศบาลนคร ททท. การทองเที่ยวแหงประเทศไทย
รพ. โรงพยาบาล รร. โรงเรียน
สพฐ. สํานักงานคณะกรรมการ สช. สํานักงานคณะกรรมการสงเสริม
การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเอกชน
สอศ. สํานักงานคณะกรรมการ สทศ. สถาบันทดสอบทางการศึกษา
การอาชีวศึกษา แหงชาติ
สกอ. สํานักงานคณะกรรมการ ศบค. ศูนยบริหารสถานการณ
การอุดมศึกษา แพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙
ป.ป.ช. คณะกรรมการปองกันและ ป.ป.ส. สํานักงานคณะกรรมการปองกันและ
ปราบปรามการทุจริตแหงชาติ ปราบปรามยาเสพติด
สสวท. สถาบันสงเสริมการสอน รพ.สต โรงพยาบาลสงเสริม
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สุขภาพตําบล

หมวดเดือนทั้ง ๑๒ เดือน
อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
ม.ค. มกราคม ก.ค. กรกฎาคม
ก.พ. กุมภาพันธ ส.ค. สิงหาคม
มี.ค. มีนาคม ก.ย. กันยายน
เม.ย. เมษายน ต.ค. ตุลาคม
พ.ค. พฤษภาคม พ.ย. พฤศจิกายน
มิ.ย. มิถุนายน ธ.ค. ธันวาคม
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๒๑

หมวดตําแหนง คณะทํางานของหนวยงานรัฐ เชน


อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
ครม. คณะรัฐมนตรี รมว. รัฐมนตรีวาการ
ส.ส. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ส.ว. สมาชิกวุฒิสภา
ผวจ. ผูวาราชการจังหวัด ส.ท. สมาชิกสภาเทศบาล
ส.อบต. สมาชิกสภาองคการบริหาร ส.อบจ. สมาชิกสภาองคการบริหาร
สวนตําบล สวนจังหวัด
ขรก. ขาราชการ ตร. ตํารวจ
นพ. นายแพทย พญ. แพทยหญิง
ผบ.ทบ. ผูบัญชาการทหารบก ผบ.ตร. ผูบัญชาการตํารวจ
ผบ.ทร. ผูบัญชาการทหารเรือ ผบ.ทอ. ผูบัญชาการทหารอากาศ
ตชด. ตํารวจตระเวนชายแดน อส. อาสาสมัคร

หมวดยศตํารวจ - ทหารที่ควรรูจัก เชน


อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
ตัวอยาง ยศตํารวจ ตัวอยาง ยศทหาร
ส.ต.ต. สิบตํารวจตรี ส.ต. สิบตรี
ส.ต.ท. สิบตํารวจโท ส.ท. สิบโท
ส.ต.อ. สิบตํารวจเอก ส.อ. สิบเอก
ร.ต.ต. รอยตํารวจตรี ร.ต. รอยตรี
ร.ต.ท. รอยตํารวจโท ร.ท. รอยโท
ร.ต.อ. รอยตํารวจเอก ร.อ. รอยเอก
พ.ต.ต. พันตํารวจตรี พ.ต. พันตรี
พ.ต.ท. พันตํารวจโท พ.ท. พันโท
พ.ต.อ. พันตํารวจเอก พ.อ. พันเอก
พล.ต.ต. พลตํารวจตรี พล.ต. พลตรี
พล.ต.ท. พลตํารวจโท พล.ท. พลโท
พล.ต.อ. พลตํารวจเอก พล.อ. พลเอก
๒๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

หมวดวันทั้ง ๗ วัน /เวลา เชน


อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
อา อาทิตย จ. จันทร
อ. อังคาร พ. พุธ
พฤ. พฤหัสบดี ศ. ศุกร
ส. เสาร ว.ด.ป. วัน เดือน ป
พ.ศ. พุทธศักราช ค.ศ. คริตสศักราช
จ.ศ. จุลศักราช ร.ศ. รัตนโกสินทรศก
ฮ.ศ. ฮิจเราะหศักราช ม.ศ. มหาศักราช

หมวดหนวยวัดระยะ เชน
อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
มม. มิลลิเมตร ตร.มม. ตารางมิลลิเมตร
ซม. เซนติเมตร ตร.ซม. ตารางเซนติเมตร
ม. เมตร ตร.ม. ตารางเมตร
ว. วา ตร.ว. ตารางวา
กม. กิโลเมตร ตร.กม. ตารางกิโลเมตร
น. นิ้ว ฟ. ฟุต

หมวดหนวยชั่งน้ําหนัก ความจุ ปริมาตร เชน


อักษรยอ คําเต็ม อักษรยอ คําเต็ม
มก. มิลลิกรัม ก. กรัม
กก. กิโลกรัม มล. มิลลิลิตร
ซก. เซนติกรัม ซล. เซนติลิตร
ล. ลิตร กล. กิโลลิตร
ลบ. ลูกบาศก ลบ.มม. ลูกบาศกมิลลิเมตร
ลบ.ซม. ลูกบาศกเซนติเมตร ลบ.ม. ลูกบาศกเมตร
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๒๓

เครื่องหมายวรรคตอน เปนเครื่องหมายที่ใชประกอบการเขียน เมื่ออานขอความ


ที่ใชเครื่องหมายบางชนิด ตองทําเสียงใหสอดคลองกับขอความ บางชนิดใชแยกสวน
แยกตอน บางชนิดตองอานเครื่องหมายนั้น ๆ

ตัวอยางเครื่องหมายวรรคตอนที่ควรรูจัก

ที่ ชื่อ เครื่องหมาย หลักการใช/ตัวอยาง


๑. มหัพภาค . ๑. เขียนไวหลังตัวอักษร เพื่อแสดงวาเปนอักษรยอ
เชน
ม.ค. คําเต็มวา มกราคม
กทม. คําเต็มวา กรุงเทพมหานคร
อ. คําเต็มวา อาจารย, อังคาร
ส.ส. คําเต็มวา สมาชิกสภาผูแทนราษฎร
๒. เขียนไวขางหลังตัวอักษรหรือตัวเลขที่ เพื่อบอก
ลําดับขอ
เชน
๑. ๒. ๓. หรือ ก. ข. ค.
๓. ใชคั่นระหวางชั่วโมงกับนาทีเพื่อบอกเวลา
เชน
๑๐.๒๐ น. อานวา สิบนาฬิกายี่สิบนาที
๐๙.๒๓ น. อานวา เกานาฬิกายี่สิบสามนาที
๔. ใชเปนจุดทศนิยม แลวจุดทศนิยมใหอานตัวเลข
เรียงกันไป
เชน
๕.๑๒ อานวา หาจุดหนึ่งสอง
๘.๒๕ อานวา แปดจุดสองหา
๒๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ที่ ชื่อ เครื่องหมาย หลักการใช/ตัวอยาง


๒. เสมอภาค = ๑. ใชเขียนคั่นกลาง เพื่อแสดงความขางหนากับขาง
หลังวามีสวนเทากัน
เชน
๒ + ๒ = ๔ (อานวา สองบวกสองเทากับสี่)
๕ + ๕ = ๑๐ (อานวา หาบวกหาเทากับสิบ)
๖ + ๒ = ๘ (อานวา หกบวกสองเทากับแปด)
๓. จุลภาค , ๑. คั่นจํานวนเลขนับจากหลักหนวยไปทีละ ๓ หลัก
เชน
๑,๕๐๐ อานวา หนึ่งพันหารอย
๒,๔๖๐,๐๐๐ อานวา สองลานสี่แสนหกหมื่น
๒. ใชในหนังสือพจนานุกรมเพื่อคั่นความหมายของ
คําที่มีความหมายหลาย ๆ อยาง
เชน
บรรเทา ก. ทุเลาหรือทําใหทุเลา, ผอนคลายหรือ
ทําใหผอนคลายลง
๔. วงเล็บ ( ) ๑. ใชกันขอความที่ขยายหรืออธิบายไวเปนพิเศษ
นขลิขิต เพื่อชวยใหเขาใจขอความนั้นไดแจมแจงขึ้น
เชน
มนุษยไดสรางโลภะ (ความโลภ) โทสะ
(ความโกรธ) และโมหะ (ความหลงผิด) ใหเกิดขึ้น
ในใจของตนเอง
๒. ใชกันขอความที่บอก ที่มาของคําหรือขอความ
เชน
ชลี (กลอน) ก. อัญชลี, ไหว
๓. ใชกับหัวขอที่เปนตัวอักษรหรือตัวเลข ซึ่งอาจ
จะใชเพียงเครื่องหมายวงเล็บปดก็ได
เชน
(ก) หรือ ก) (๑) หรือ ๑)
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๒๕

ที่ ชื่อ เครื่องหมาย หลักการใช/ตัวอยาง


๕. ยัติภังค - ๑. ใชแยกพยางคเพื่อบอกคําอาน โดยเขียนไว
ระหวางพยางคแตละพยางค
เชน
เสมา อานวา เส - มา
เกษตร อานวา กะ – เสด
๒. ใชในความหมายวา “ถึง” เพื่อแสดงชวงเวลา
จํานวน สถานที่
เชน
- เวลา ๙.๐๐ - ๑๐.๓๐ น. อานวา เวลาเกานาฬิกา
ถึงสิบนาฬิกาสามสิบนาที
- มีผูชมประมาณ ๑๐ - ๒๐ คน อานวา มีผูชม
ประมาณสิบถึงยี่สิบคน
- ระยะทางนครนายก - จันทบุรี อานวา ระยะทาง
นครนายกถึงจันทบุรี

๓. ใชเขียนแสดงลําดับยอยของรายการที่ไมตองใส
ตัวอักษร มีรายการคราว ๆ ดังนี้
- พิธีเปดงาน
- รําอวยพร
- ดนตรีบรรเลง
- ปดงาน
๖. อัญประกาศ “ ” ๑. ใชเพื่อแสดงวาคําหรือขอความนั้น เปนคําพูดหรือ
ความนึกคิด เชน
- “ขอใหทุกคนตั้งใจจริง แลวจะประสบความสําเร็จ”

๒. ใชเพื่อเนนคําหรือขอความนั้นใหเดนชัดขึ้น เชน
- คําวา “ตะโก” พจนานุกรมฉบับบัณฑิตยสถาน
พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดใหความหมายไววา หมายถึง “ชื่อขนม
ชนิดหนึ่งทําดวยแปงขาวเจากวนเขากับน้ําตาล ใสแหว
๒๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ที่ ชื่อ เครื่องหมาย หลักการใช/ตัวอยาง


หรือขาวโพดเปนตนก็ได หยอดหนาดวยกะทิกวนกับ
แปง”
๗. ปรัศนี ? ใชเมื่อสิ้นสุดความหรือประโยคที่เปนคําถาม เชน
- ทําไมเธอถึงมาโรงเรียนสาย ?
- ใครมาแลวบาง ?
๘. อัศเจรีย ! ๑. ใชเขียนหลังคํา วลี หรือประโยคที่เปนคําอุทาน
เชน
- อื้อฮือ ! มากจังเลย
- โอย ! เจ็บ
๒. ใชเขียนหลังคําเลียนเสียงธรรมชาติ เพื่อใหผูอาน
ทําเสียงไดเหมาะสมกับเหตุการณในเรื่องนั้น ๆ เชน
- โครม !
- ปง !
๙. ไมยมก หรือ ๆ ใชเขียนหลังคํา วลี หรือประโยค เพื่อใหอานซ้ําคํา
ยมก วลี หรือประโยค อีกครั้งหนึ่ง เชน
- เด็กเล็ก ๆ อานวา เด็กเล็กเล็ก
- ในวันหนึ่ง ๆ อานวา ในวันหนึ่งวันหนึ่ง
- แตละวัน ๆ อานวา แตละวันแตละวัน
๑๐. ไปยาลนอย ฯ ใชละคําที่รูกันดีแลวโดยละสวนทายไวเหลือแต
สวนหนาของคําพอเปนที่เขาใจ เชน
- กรุงเทพฯ คําเต็มคือ กรุงเทพมหานคร
๑๑. ไปยาลใหญ ฯลฯ ใชสําหรับละขอความขางทายที่อยูในประเภท
เดียวกันซึ่งยังมีอีกมาก แตไมไดนํามาแสดงไว เชน
- สิ่งของที่ซื้อขายกันในตลาดมี เนื้อสัตว ผัก น้ําตาล
น้ําปลา ฯลฯ
๑๒. สัญประกาศ ________ ใชขีดไวใตคําหรือขอความที่สําคัญ เพื่อเนนใหผูอาน
สังเกตเปนพิเศษ เชน
- หลักการอานตัวเลขมีตีพิมพรวมอยูในหนังสืออาน
อยางไรเขียนอยางไร
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๒๗

ที่ ชื่อ เครื่องหมาย หลักการใช/ตัวอยาง


๑๓. บุพสัญญา ” ใชแทนคําหรือขอความที่อยูบรรทัดบนเพื่อไมตอง
เขียนซ้ําอีก เชน
กฎหมาย อานวา กด - หมาย
กระจก ” กระ – จก
๑๔. ทับ / ใชขีดหลังจํานวนเลข เพื่อแบงจํานวนยอยออกจาก
จํานวนใหม เชน
- บานเลขที่ ๕๖/๓๔๒ อานวา บาน - เลข - ที่ –
หา - สิบ - หก - ทับ - สาม - สี่ - สอง
๑๕. ทวิภาค : ๑. ใชบงบอกวากําลังจะมีรายละเอียดปลีกยอยที่แยก
ไวเปนขอ ๆ เชน
- แมสีมี ๓ สี : สีแดง, สีเหลือง, สีน้ําเงิน

๒. ใชเปนตัวแบงอัตราสวน อานวา ตอ เชน


- ผสมน้ํายานี้ลงในน้ําดวยอัตราสวน ๑ : ๔ (น้ํายา
หนึ่งสวนตอน้ําสี่สวน)

๓. ใชเปนตัวคั่นตัวเลขบอกเวลา สําหรับภาษาไทย
สามารถใชมหัพภาคแทนได เชน
- เวลา ๑๒ : ๐๐ น. (เวลาสิบสองนาฬิกา)
๒๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๔ เรื่อง อักษรยอนารูควบคูเครื่องหมายวรรคตอน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การอานอักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนจับคูอักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน แลวฝกอานออกเสียงให


ถูกตอง

ตอนที่ ๑ อักษรยอ
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๒๙

ตอนที่ ๒ เครื่องหมายวรรคตอน
ใสเครื่องหมายวรรคตอนเติมในชองวางใหถูกตอง

! (อัศเจรีย) / (ทับ) “ ” (อัญประกาศ) ? (ปรัศนี)


– (ยัติภังค) ( ) (นขลิขิต) ฯลฯ (ไปยาลใหญ)

ตัวอยาง วันนี้มีสมาชิกสภาผูแทนราษฎร นอมเกลาฯ ถวายแจกันดอกไมสด


๑. ระยะทางจากจังหวัดนครสวรรค...........จังหวัดกําแพงเพชรประมาณ ๑๒๐
กิโลเมตร
๒. ..........เจาไมไดยินหรืออยางไรขาสั่งใหเจาหยุดอาละวาดเดี๋ยวนี้.........
๓. ตายจริง............ กระรอกนอยกระโดดตัวหนารถเรา
๔. นอยหนาอยูบานเลขที่ ๔ ....... ๑๗๙ ซึ่งอยูหมูบานเดียวกับงามจิต
๕. ระบําสายฟา หมายถึงอะไร ................

ชื่อ...............................................นามสกุล...........................................ชั้น........เลขที่........
๓๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น


หนวยการเรียนรูที่ ๕ เรือ่ ง วิชาเหมือนสินคา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น

การวิเคราะหเนื้อหาสาระของการอานนั้น จะตองรูวาอะไรเปนใจความสําคัญของ
เรื่องอะไรเปนเนื้อหาหลัก เนื้อหารอง ตอนใดเปนใจความที่แสดงเหตุและผล ขอเท็จจริง
ความคิดเห็นในขณะเดียวกันก็ตองใชความคิด ความรู และประสบการณ เพื่อพิจารณา
วาเรื่องนั้น และเรื่องมีความสมเหตุสมผลและมีความถูกตองหรือไม มากนอยเพียงใด
โดยมีหลักในการพิจารณา ดังนี้

ลักษณะขอเท็จจริง ลักษณะขอคิดเห็น
๑. เปนขอความที่แสดงความรูสึก
๑. มีความเปนไปได
๒. เปนขอความที่แสดงความคาดคะเน
๒. มีความสมจริง
๓. เปนขอความที่แสดงการเปรียบเทียบ
๓. มีหลักฐานเชื่อถือได
๔. เปนขอความที่เปนขอเสนอแนะหรือเปน
๔. มีความสมเหตุสมผล
ความคิดเห็นของผูพูดเอง
ตัวอยางประโยคที่เปนขอเท็จจริงและขอคิดเห็น
ประโยคที่เปนขอเท็จจริง ประโยคที่เปนขอคิดเห็น
๑. จังหวัดนานอยูภาคเหนือของไทย ๑. จังหวัดนานมีภูมิประเทศที่สวยงามนาอยู
๒. โลมาเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ๒. โลมาเปนสัตวนารักที่ชอบหอมแกมคน
๓. ผักบุงจีนมีลําตนอวบกวาผักบุงไทย ๓. ถาเรากินผักบุงจะทําใหตาหวาน
๔. แมวมีฝเทาเบามาก ๔. คนที่เชื่อถือโชคลาง เชื่อวาแมวเปนสัตว
ลึกลับ
๕. น้ําทะเลมีรสเค็ม ๕. ทะเลมีความสวยงาม
๖. ประเทศไทยมีภาษาไทยเปนภาษา ๖. ประเทศไทยมีรูปรางเหมือนกระบวยตัก
ประจําชาติ น้ํา
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๓๑

ใบงานที่ ๕ เรื่อง การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๕ เรือ่ ง วิชาเหมือนสินคา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานและวิเคราะหขอเท็จจริงและความคิดเห็น จากเรื่องที่กําหนดให

เรื่อง แกปญหาการนอนไมหลับ แคปรับพฤติกรรม


การนอนหลับพักผอนใหเพียงพอเปนปจจัยสําคัญของชีวิต ซึ่งความตองการ
ของคนในแต ล ะช ว งวั ย ก็ ไ ม เ หมื อ นกั น ไม ว า วั ย ไหนหากนอนไม เ พี ย งพอก็ มี
ผลกระทบตอรางกายและจิตใจ ไดแก รางกายจะมีความออนเพลีย สมาธิส้ันลง
ความจําแยลง มีความบกพรองในการทํางานตาง ๆ หากใครกําลังประสบปญหา
การนอนไมหลับ รามาแชนแนลมีแนวทางใหคุณนําไปปฏิบัติตามกันไดเลย ตองหา
สาเหตุโรคตาง ๆ ที่ทําใหมีอาการนอนไมหลับได เราตองสํารวจตัวเองกอนวามี
โรคอะไรที่สงผลใหเรานอนไมหลับหรือไม ไมวาจะเปนดานรางกาย เชน โรคระบบ
ทางเดินอาหาร โรคระบบทางเดินหายใจและโรคหัวใจ เปนตน ดานจิตใจที่พบ
ไดบอยก็คือโรคซึมเศรา อารมณแปรปรวน โรควิตกกังวล โรคการปรับตัวผิดปกติ
เปนตน

ตอบคําถาม
๑. เขียนประโยคที่เปนขอเท็จจริงจากขาวมา ๒ ประโยค
ประโยคที่ ๑ คือ
...........................................................................................................................................
ประโยคที่ ๒ คือ
...........................................................................................................................................
๓๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๒. เขียนประโยคที่เปนความคิดเห็นจากขาวมา ๒ ประโยค
ประโยคที่ ๑ คือ
...........................................................................................................................................
ประโยคที่ ๒ คือ
...........................................................................................................................................
แตงประโยค
๑. แตงประโยคที่เปนขอเท็จจริงมา ๒ ประโยค
ประโยคที่ ๑ คือ
...........................................................................................................................................
ประโยคที่ ๒ คือ
...........................................................................................................................................
๒. แตงประโยคที่เปนความคิดเห็นมา ๒ ประโยค
ประโยคที่ ๑ คือ
...........................................................................................................................................
ประโยคที่ ๒ คือ
...........................................................................................................................................

ชื่อ...............................................นามสกุล...........................................ชั้น........เลขที่........
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๓๓

ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทโนมนาวใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทโนมนาวใจ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

เรื่องที่อานในชีวิตประจําวัน เชน ขาว เหตุการณ การอภิปราย บทความ โฆษณา


หากผูอานรูจักใชเหตุผลในการวิเคราะหประกอบกับมีวิจารณญาณในการอาน จะทําให
สามารถตัดสินใจไดวาเรื่องที่อานมีความนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด นําไปใชประโยชน
ไดหรือไม อยางไร
สารโน ม น า วใจ เป น สารที่ เ ราสามารถพบเห็ น ประจํ า จากสื่ อ มวลชน จาก
การบอกเลาจากปากหนึ่งไปสูปากหนึ่ง ซึ่งผูสงสารนั้นอาจจะมีจุดมุงหมายทั้งดีและไมดี
มีประโยชนหรือใหโทษก็ได
จุดมุงหมายของสารโนมนาวใจที่ใหประโยชน คือ จุดมุงหมายที่มีคติ ขอคิด
และประโยชนตอตนเองและสวนรวม ดังนี้
- โนมนาวใจใหรักชาติบานเมือง
- ใหใชจายอยางประหยัด
- ใหรักษาสิ่งแวดลอม
- ใหรักษาสาธารณสมบัติและประพฤติแตสิ่งที่ดีงาม
ในทางตรงกันขามผูสงสารอาจจะมีจุดมุงหมายใหเกิด ความเสียหาย มุงหมาย
ที่จะโฆษณาชวนเชื่อหรือปลุกปน ยุยงใหเกิดความแตกแยก ดังนั้น ตองมีวิจารณญาณ
และ คิดพิจารณาใหดีวาสารนั้นเปนไปในทางใด

การใชวิจารณญาณสารโนมนาวใจควรปฏิบัติ ดังนี้
๑. สารนั้นเรียกรองความสนใจมากนอยเพียงใด หรือสรางความนาเชื่อถืออยางไร
๒. สารที่นําเสนอนั้น สนองความตองการพื้นฐานของผูอานอยางไร
๓. สารได เ สนอแนวทางที่ ส นองความต อ งการของผู อ า นหรื อ มี สิ่ ง ใดแสดง
ความเห็นวา หากผูอานยอมรับขอเสนอนั้นแลวจะไดรับประโยชนอะไร
๔. สารที่นํามาเสนอนั้น เราใจใหเชื่อถือเกี่ยวกับสิ่งใด และตองการปฏิบัติแบบใด
๕. ภาษาที่ใชในการโนมนาวใจนั้นมีลักษณะทําใหผูอานเกิดอารมณอยางไร
๓๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

แนวทางการพิจารณาเนื้อหางานเขียนประเภทโนมนาวใจ ดังนี้
๑. อานเรื่องหรือเนื้อหาใหเขาใจกอนวาเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร
๒. สํารวจคํา ประโยค วามีการใชภาษาที่กลาวเกินจริงหรือไม อยางไร
๓. ตอบคําถามจากเรื่องที่อาน โดยตอบใหตรงประเด็นและใจความสมบูรณ
๔. วิเคราะหและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเนื้อหาวามีความนาเชื่อถือหรือไม
อยางไร
๕. ประเมินและตัดสินเกี่ยวกับโฆษณาหรือเนื้อหาของสื่อประเภทโนมนาวใจ
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๓๕

ตัวอยาง งานเขียนประเภทโนมนาวใจ

ดูลักซ อีซี่แคร พลัส สีน้ําทาภายในระดับซูเปอรพรีเมียม


พรอม KidProof + Technology™ ปองกันคราบฝงลึกและตอตานแบคทีเรีย
ผนังเลอะแคไหนก็เอาอยู ในชีวิตประจําวันอาจเกิดคราบสกปรกเปรอะ
เปอนผนังไดงาย ไมวาจะเปนคราบเครื่องดื่มหกเลอะเทอะ หรือคราบโคลน
สกปรกจาก ลูกฟุตบอลที่ลูก ๆ เลนในบาน แตไมวาจะคราบสกปรกเลอะแคไหน
คุณก็เอาอยู ดวยสีดูลักซ อีซี่แคร พลัส ที่จะชวยใหคุณเช็ดลางคราบสกปรกได
อยางงายดาย
แหลงที่มา https://www.dulux.co.th

แนวการตอบคําถาม ดังนี้
๑. งานเขียนโนมนาวใจนี้จัดเปนประเภทใด
ตอบ ประเภทโฆษณา
๒. งานเขียนนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร
ตอบ เปนเรื่องเกี่ยวกับสีทาบาน
๓. ภาษาที่ใชมีลักษณะเปนอยางไร
ตอบ ใชภาษาที่กลาวเกินจริง เชน “ผนังเลอะแคไหนก็เอาอยู” ซึ่งในความเปนจริงแลว
หากมีคราบสกปรกฝงแนน อาจทําความสะอาดไดไมหมด จึงถือวาเปนการกลาวเกินจริง
๔. นักเรียนอานงานเขียนนี้แลว ไดขอคิดเกี่ยวกับการซื้อสินคาอยางไร
ตอบ ไมควรซื้อสินคาที่กลาวเกินจริง หรือซื้อสินคาที่มีรูปลักษณภายนอกสวยงาม
แตควรเลือกซื้อสินคาที่มีคุณภาพและมีประโยชน
๓๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทโนมนาวใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทโนมนาวใจ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง อานงานเขียนประเภทโนมนาวใจที่กําหนดให จากนั้นตอบคําถาม วิเคราะห


และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน

ปากกาตราหมูนอยติดปก
“ใชงาย ใชดี เขียนสวยทุกตัวอักษร” ตองปากกกาตราหมูติดปก ทํามาจาก
วัสดุชั้นเยี่ยม น้ําหมึกสีสวย เสนคมชัดลึก ออกแบบโดยนักวิชาการดานเครื่องเขียน
ผลิตโดยโรงงานที่ผานการรับรองมาตรฐานและคุณภาพ จากสํานักงานมาตรฐาน
ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม (สมอ.) ปากการาคาดามละ ๒๐ บาท หากซื้อภายในสิ้นปนี้
จะมีของแถมเปนกระเปาลายหมูนอยติดปก จํานวน ๑ ใบ และซื้อ ๒ แถม ๑ ทันที
หากซื้อตั้งแต ๑๐ โหลขึ้นไป จะไดรับสวนลด ๓๐ %

๑. โฆษณานี้เปนขายสินคาเกี่ยวกับอะไร
ตอบ...........................................................................................................................
๒. ภาษาที่ใชกลาวเกินจริงหรือไม อยางไร
ตอบ...........................................................................................................................
๓. นักเรียนอานงานเขียนนี้แลว ไดขอคิดเกี่ยวกับการซื้อสินคาอยางไร
ตอบ...........................................................................................................................
..................................................................................................................................
๔. เนื้อหาของโฆษณามีความนาเชื่อถือหรือไม อยางไร
ตอบ...........................................................................................................................
๕. นักเรียนจะซื้อปากกาตราหมูนอยติดปกหรือไม เพราะอะไร
ตอบ...........................................................................................................................

ชื่อ..............................................นามสกุล...........................................ชั้น.........เลขที่........
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๓๗

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู
การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู เปนการจับใจความสําคัญหรือขอคิด
หรือความคิดหลักของเรื่องที่ฟงและดู โดยใจความสําคัญนั้น จะเปนสิ่งที่ครอบคลุม
เรื่องราวทั้งหมดที่ฟงและดู

ใจความสําคัญ หมายถึง ใจความที่สําคัญที่สุด หรือเรียกวา เปนหัวใจหลักของ


เรื่องนั้นทั้งหมด เชน
๑. การฟงและดูครูเลานิทาน : ในนิทาน ๑ เรื่องจะมีใจความสําคัญหรือความคิดหลัก
ของเรื่อง อาจเปนขอความหรือประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของเรื่องหรืออาจเปน
ขอคิดของเรื่อง
๒. การฟงและดูขาว/เหตุการณในชีวิตประจําวัน : ในแตละวันเราจะไดฟงและ
ดูขาวหรือเหตุการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันซึ่งทําใหเราไดรูและเปนประสบการณนั้น
ในเรื่องที่ไดฟงและดู มักจะมีความคิดหลัก หรือที่เรียกวา “ประเด็นหลัก” ซึ่งจะทําใหเรา
เขาใจภาพรวมไดโดยงาย

หลักการจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู
๑. ตั้งจุดมุงหมายในการฟงและดูใหชัดเจน
๒. ฟงและดูเรื่องราวอยางคราว ๆ พอเขาใจ และเก็บประเด็นที่สําคัญ ๆ ของเรื่อง
๓. เมื่อฟงและดูจบใหตั้งคําถามตนเองวาเรื่องที่อานมี “ใคร ทําอะไร ที่ไหน
เมื่อไร อยางไร”
๔. นําสิ่งที่สรุปไดมาเรียบเรียงใจความสําคัญใหมดวยสํานวนของตนเอง เพื่อให
เกิดความสละสลวย
๓๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

หลักการฟงที่ดี
๑. ฟงใหตรงจุดประสงค คือ กําหนดจุดประสงคในการฟง เชน ฟงเพื่อเอาความรู
ฟงเพื่อสรุปความรู
๒. ฟงดวยความพรอม คือ ตองมีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ และสติปญญา
๓. ฟงอยางมีสมาธิ คือ มีความตั้งใจ จดจออยูกับเรื่องที่ฟงหรือดู ไมฟุงซาน
๔. ฟงดวยความกระตือรือรน คือ มีความสนใจ เห็นประโยชนหรือคุณคาของเรื่อง
๕. ฟงโดยไมมีอคติ คือ ไมมีความลําเอียง ซึ่งเกิดจากความรัก ความโกรธ
๖. ฟงโดยใชวิจารณญาณ คือ นําสิ่งที่ฟงมาประเมินวามีประโยชนหรือนาเชื่อถือ
มากนอยเพียงใด

มารยาทในการฟงและดู
๑. ฟงและดูดวยความสงบ เพราะจะชวยใหมีสมาธิมากขึ้น
๒. ฟงและดูดวยความตั้งใจ และจดบันทึกประเด็นสําคัญ
๓. ปรบมือแสดงอาการ เมื่อประทับใจ
๔. มองหนาและสบตาของผูพูด
๕. เมื่อมีขอสงสัย ควรยกมือถามหลังผูพูดเปดโอกาสใหถาม
๖. ไมควรถามแทรกขณะที่ผูพูดกําลังพูดอยู
๗. ไมสงเสียงดังรบกานผูอื่นขณะฟง
๘. ไมควรแสดงทาทาง สีหนา เมื่อไมพอใจผูพูด
๙. ตั้งใจฟงและดูเรื่องราว ตั้งแตตนจนจบ ไมควรลุกเดินหนีออกจากที่ประชุม
๑๐. ไมควรแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เชน โหรอง หัวเราะเสียงดัง พูดตะโกน
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๓๙

ใบงานที่ ๗ เรื่อง การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การจับประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนฟงและดูนิทานที่ครูกําหนด จากนั้นตอบคําถามจากเรื่องใหถูกตอง

นิทานเรื่อง...................................................................................
คําถาม คําตอบ
๑. นิทานเรื่องนี้มีตัวละครกี่ตัว ..............................................................................
ใครบาง ..............................................................................
๒. เหตุการณในเรื่องเกิดขึ้น ..............................................................................
สถานที่ใดบาง ..............................................................................
๓. ผลของเรื่องเปนอยางไร ..............................................................................
..............................................................................
๔. ประเด็นสําคัญของนิทานเรื่องนี้ ..............................................................................
คืออะไร ..............................................................................
๕. นักเรียนจะปฏิบัติตนตาม ..............................................................................
ตัวละครตัวใด เพราะเหตุใด ..............................................................................
๖. นิทานเรื่องนี้ใหขอคิดอะไรบาง ..............................................................................
ที่เปนประโยชนแกนักเรียน ..............................................................................
๗. นักเรียนจะนําขอคิดที่ไดไป ..............................................................................
ปรับใชในชีวิตจริงไดอยางไร ..............................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล.........................................ชั้น...........เลขที่.........
๔๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นประเด็นนารู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
การเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน เปนการเขียนขยายความคิดเห็นของ
ผูอานที่มีตอเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อาน โดยอธิบายหรือแสดงความคิดเห็นประกอบเรื่องนั้น
ผูเขียนตองตรวจสอบขอเท็จจริงวาถูกตองหรือไม แลวเขียนใหกระจางชัด โดยมีหลักฐาน
ประกอบอางอิง
การเขี ย นแสดงความคิ ด เห็ น จะต อ งเขี ย นอธิ บ ายขยายความอย า งมี เ หตุ ผ ล
สอดคล อ งกั บ ข อ ความเดิ ม เสมอ ผู เ ขี ย นต อ งใช ค วามคิ ด อย า งเป น เหตุ เ ป น ผลด ว ย
ตองรูจักวิเคราะหขอความ และใชเหตุผลประกอบการวิเคราะห

ดังนั้น การเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ผูเขียนควรพิจารณาอยางรอบคอบ

หลักการเขียนความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
๑. อานทําความเขาใจเรื่องที่จะเขียนใหเขาใจแจมแจง
๒. เขียนขอมูลหรือขอเท็จจริ งกอน แลวจึงกลาวความรูสึกหรือ ความคิ ดเห็น
โดยใชเหตุผลหรือหลักฐานประกอบ
๓. ควรเขียนในเชิงสรางสรรค และมีขอเสนอแนะ
๔. มีมารยาทในการเขียน เขียนดวยภาษาที่สุภาพ ไมใชถอยคํารุนแรง
๕. ควรเขียนแบบรางกอนทุกครั้ง และตรวจสอบปรับปรุงแกไขสํานวนภาษา
รวมทั้งตรวจทานการเขียนสะกดคําใหถูกตอง
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๔๑

วิธีการวิเคราะห
๑. หาคําหลักของขอความใหได
๒. นําคําหลักมาอธิบายขยายความ โดยนําความรูและประสบการณมาอธิบายให
ชัดเจนขึ้นอยางมีเหตุผล
ขอความ “คนที่ทํามาหากินอยางสุจริต จะทําใหสังคมเปนสุข”
ตัวอยาง คําหลัก : ทํามาหากิน สุจริต สุข
การเขียนแสดงความคิดเห็น

คนที่ทํามาหากินสุจริตยอมทําใหสังคมเปนสุข คําวา “สุจริต” คือ การทําในสิ่ง


ที่ ถู ก ต อ ง ไม ผิ ดศี ล ธรรม เมื่ อ คนเราทํ ามาหากิ น สุ จริ ต ไม ค ดโกงผู อื่ น ก็ ย อ มทํ า ให
คนในสังคมไมเดือดรอน เพราะคนไมคดโกงกัน ไมเอารัดเอาเปรียบกัน แตถาคน
ทํามาหากินในทางทุจริต เชน ลักขโมย คดโกงผูอื่น ผูคนในสังคมก็เดือดรอน สังคมก็
ไมสงบสุข ดังนั้น คนที่ทํามาหากินสุจริตจึงทําใหสังคมสงบสุข
๔๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๘ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นประเด็นนารู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่กําหนดใหอยางมีเหตุผล

เรื่องของกลวยแตไมกลวย
กลวย เปนผลไมที่ชวยลดและบรรเทาอาการปวดหัว อันเกิดจากโรคไมเกรน
ไดอยางแนจริงเลยทีเดียว โดยเมื่อมีอาการปวดหัวไมเกรน แลวกินกลวยเขาไป
สารอาหารประเภทแมกนีเซียมที่สะสมอยูในกลวย จะชวยบรรเทาและระงับอาการ
ปวดหัวลงได นอกจากนี้ ถาเปนกลวยที่ผานการแปรรูปเปนอาหารบางชนิด เชน
ไอศกรีมกลวยหอม กลวยตาก ขนมกลวย ก็จะมีสวนชวยลดความเครียด อันเปน
ปจจัยหนึ่งในสาเหตุของ โรคไมเกรนไดอีกดวย ดังนั้นเราควรรับประทานกลวย
อยางนอยวันละ ๑ - ๒ ลูก หรือรับประทานควบคูกับอาหารชนิดอื่น ๆ ก็ได

ตอบคําถามและเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่อง
๑. บทความนี้กลาวถึงสรรพคุณของกลวยอยางไร
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๔๓

๒. เมื่อทราบสรรพคุณของกลวยแลว นักเรียนจะรับประทานกลวยหรือไม เพราะอะไร


....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๓. นักเรียนจะแนะนําใหคนในครอบครับของตนเองรับประทานกลวยหรือไม เพราะอะไร
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๔. นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความเรื่องของกลวยแตไมกลวยอยางไร
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
๕. นักเรียนคิดวา “กลวย” สามารถนําไปแปรรูปหรือประกอบอาหาร/ขนมอะไรไดบาง
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล.........................................ชั้น...........เลขที่.........
๔๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การสรุปเรื่องและขอคิดจากการอานนิทานคติธรรม


หนวยการเรียนรูท ี่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง นิทานคติธรรมคําสอน (๑)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

นิทานสอนใจ เปนนิทานที่นิยมเลาสูกันฟงอยางแพรหลายอีกประเภทหนึ่ง มีที่มา


จากหลักธรรมในพระพุทธศาสนาแตเปนชาดกซึ่งบางครั้งเรียกวา “นิทานคติธรรม”
หรือ “นิทานสุภาษิต” นิทานประเภทนี้ไดนําหลักธรรม ชาดก พุทธประวัติมาเพิ่มเติม
เสริมแตงใหสนุกสนานและเปนขอเตือนใจในการดําเนินชีวิตดวย

นิทานคติธรรม คือ นิทานที่มีแนวเรื่องที่ปรับปรุงมาจากหลักธรรมของพุทธศาสนา


แสดงถึงเรื่องคุณธรรม กตัญู ซื่อสัตย ของตัวเอกโดยชี้ใหเห็นถึงคุณของผูประกอบ
ความดีและชี้ใหเห็นโทษของผูประกอบความชั่ว สวนใหญมีขนาดเรื่องไมยาวมาก
คือ ๒-๓ ตอนจบ

อีกความหมายหนึ่ง อาจกลาวไดคือ นิทานคติธรรม “คติ” หมายถึง แนวทาง


แบบอยาง แนวคิดที่ปรากฏในนิทาน คือ คุณคาของจริยธรรม และผลแหงการประกอบ
กรรมดีกรรมชั่ว กรรมดีนําผลดีมาให สวนกรรมชั่วนําผลชั่วมาให กลาวคือนิทานคติธรรม
มักชี้ใหเห็นผลดีผลรายของกรรมในตอนทายเรื่องเสมอ
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๔๕

ใบงานที่ ๙ เรื่อง การสรุปเรื่องและขอคิดจากการอานนิทานคติธรรม


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง นิทานคติธรรมคําสอน (๑)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานนิทานคติธรรมตามที่ครูกําหนดให จากนั้นเขียนสรุปเรื่องและ


ขอคิดใหถูกตอง

ชื่อเรื่อง..................................................................................

การสรุปเรื่อง

..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

ขอคิดที่ไดจากเรื่อง การนําขอคิดไปปรับใชในชีวิตจริง

............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................
............................................................ ............................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล.........................................ชั้น...........เลขที่.........
๔๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การระบุความรูแ ละขอคิดจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง นิทานคติธรรมคําสอน (๒)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การระบุความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน
คื อ การหาข อ คิ ดหรื อ คติ ส อนใจจากเรื่ อ งที่ อ านว าเรื่ อ งนั้ น ๆ ให ข อ คิ ดที่ เ ปน
ประโยชนอะไรบางแกผูอานแลวจึงนําขอคิดนั้นมาประยุกต ใชในชีวิตประจําวัน เชน
นิทาน โดยอานจนจบเรื่องแลวจับใจความสําคัญหรือประเด็นสําคัญที่ผูเขียนตองการให
ขอคิดกับผูอาน
วิธีการอานสรุปความรู
๑. อานรอบแรกดูชื่อเรื่องกอน แลวอานโดยมีคําถามในใจวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน
เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร ขอความใดสําคัญใหขีดเสนใตไว
๒. อานอีกครั้งดูรายละเอียดของเนื้อหา
๓. สามารถอานเพิ่มไดจนกวาจะเขาใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น
๔. ใหสรุปใจความสําคัญเพียงใจความเดียวของแตละยอหนาไว
๔. นํ า ใจความสํ า คั ญ ที่ ร วบรวมไว ม าเขี ย นเรี ย บเรี ย งใหม อ ย า งละเอี ย ดและ
สละสลวยโดยใชสํานวนของตนเอง
๕. ทบทวนการสรุปความอีกครั้งเพื่อพิจารณาหาสวนที่ตองแกไขหรือตองการ
เพิ่มเติม
หลักการสรุปความรูจากเรื่องที่อาน
๑. อ านเนื้ อ เรื่ อ งที่ จะสรุ ปความโดยให ค วามสํ าคั ญกั บชื่ อ เรื่ อ ง ควรใช เ ทคนิค
การตั้งคําถาม เชน ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร อยางไร ผลเปนอยางไร หลังจากที่อาน
จบแลว
๒. หาใจความสําคัญของแตละยอหนา
๓. นําใจความสําคัญที่ไดมาเรียบเรียงใหตอเนื่องกัน โดยควรรักษาเนื้อความเดิม
ของแตละยอหนาไว แตใชคําเชื่อมเพื่อความสละสลวย และตอเนื่องสัมพันธกัน
๔. อานทบทวนและแกไขหากพบวาเนื้อความยังไมมีความตอเนื่องสัมพันธกัน
หากพบใจความซ้ําซอนควรตัดออก
๕. การสรุปความสามารถนําเสนอไดทั้งในรูปแบบของการเขียนและการพูด
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา ๔๗

ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การระบุความรูแ ละขอคิดจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรือ่ ง เรียงรอยความคิดพินจิ ภาษา
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง นิทานคติธรรมคําสอน (๒)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ให นั ก เรี ย นอ านนิ ทานคติ ธ รรมที่ กํ าหนดให จากนั้ น เขี ย นระบุ ค วามรู แ ละ
ขอคิดที่ไดจากนิทานที่อาน

สรุปความรูจากเรื่องไดวา
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

สรุปขอคิดจากเรื่องไดวา
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล.........................................ชั้น...........เลขที่.........
๔๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ชั้น ป.๕ ภาคเรียนที่ ๒

แบบประเมินตนเอง
ชื่อ : ___________________________ สกุล : ______________________ชั้น_____เลขที่ _____
หนวยการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง เรียงรอยความคิดพินิจภาษา

๑. ประเมินการเรียนรูของตนเอง
กาเครื่องหมาย  ในชองระดับความสามารถของแตละกิจกรรมที่นักเรียนคิดวาทําไดตามระดับการประเมินเหลานี้
ระดับความสามารถ : ดีมาก ดี คอนขางดี พอใช ปรับปรุง
ระดับความสามารถ
ที่ รายการ ดี ดี คอน พอ ปรับ
มาก ขางดี ใช ปรุง
๑ อานจับใจความและแสดงความคิดเห็น
๒ เขียนแผนภาพความคิด
๓ จับประเด็นสําคัญจากเรื่องทีฟ่ งและดู
๔ บอกชนิดของคํา
๕ สรุปความรูและขอคิดจากนิทานคติธรรมคําสอน

๒. สิ่งที่ฉนั ยังไมเขาใจ / ยังทําไดไมดี คือ…… (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………................................................................................................................
................................................................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................

๓. สิ่งที่ฉนั ตั้งใจจะทําใหดีขนึ้ ในการเรียนหนวยตอไป (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................
................................................................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๔๙

หนวยการเรียนรูที่ ๙
ตนเปนที่พึ่งแหงตน
๕๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑ เรื่อง ประโยคและสวนประกอบของประโยค


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง วิเคราะหคิดพินจิ ประโยค
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ประโยค

ประโยคสวนประกอบ จงรอบคอบและจดจํา
ประธานกริยากรรม บทขยายไดใจความ

๑. สวนประกอบของประโยค
ประโยค คื อ คํ า หรื อ กลุ ม คํ า ที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั น อย า งเป น ระเบี ย บ และมี
เนื้อความครบบริบูรณวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร
สวนประกอบของประโยค มีดังนี้
สวนประกอบของประโยค

ภาคประธาน ภาคแสดง
ประธาน บทขยาย กริยา บทขยาย กรรม บทขยาย

๒. ชนิดของประโยค
ประโยคแบงได ๒ ชนิด ตามสวนประกอบของประโยคไดแก
๒.๑ ประโยค ๒ สวน คือ ประโยคที่ประกอบดวย บทประธาน และ บทกริยา
๒.๒ ประโยค ๓ สวน ประโยคที่ประกอบดวย บทประธาน บทกริยา และบทกรรม

(หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕)


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๕๑

ตัวอยางการวิเคราะหสวนประกอบของประโยค
ภาคประธาน ภาคแสดง
ประโยค ชนิดของ
ประธาน ขยาย กริยา กรรม ขยายกรรม ขยายกริยา ประโยค
ประธาน
๑. นกบิน นก - บิน - - - ๒ สวน
๒. วัวกินหญา วัว - กิน หญา - - ๓ สวน
๓. ปลาวายน้ําในคลอง ปลา - วาย น้ํา ในคลอง - ๓ สวน
๔. มดตัวนอยกินน้ําหวาน มด ตัวนอย กิน น้ําหวาน - - ๓ สวน
๕. ตํารวจสืบคนขอมูล ตํารวจ - สืบคน ขอมูล - - ๓ สวน
๖. กอยอานหนังสือเกง กอย - อาน หนังสือ - เกง ๓ สวน
๗. นิดกินขนมทองหยอด นิด - กิน ขนม ทองหยอด - ๓ สวน
รสหวาน ๒ สวน
๘. ชมพูสวนนี้มีรสหวานมาก ชมพู สวนนี้ มี - -
มาก
๙. พอลางรถยนตจนสะอาด พอ - ลาง รถยนต - จนสะอาด ๓ สวน
๑๐. พอของฉันวิ่งในตอนเชา พอ ของฉัน วิ่ง - - ในตอนเชา ๒ สวน
๑๑. นักดนตรีเลนดนตรีไดไพเราะ นักดนตรี - เลน ดนตรี - ไดไพเราะ ๓ สวน
๑๒. คุณตาของผมนิยมรถเกา ๆ คุณตา ของผม นิยม รถ เกา ๆ - ๓ สวน
๑๓. สุนัขใหญกัดแมวตัวนั้นจนตาย สุนัข ใหญ กัด แมว ตัวนั้น จนตาย ๓ สวน
๑๔. สุนัขตัวนัน้ ไลกัดแมวจนตาย สุนัข ตัวนั้น ไล แมว - กัดจนตาย ๓ สวน
๑๕. แมคาตลาดนัดรีบขายผลไม ๓ สวน
แมคา ตลาดนัด รีบขาย ผลไม - ใหหมด
ใหหมด
๑๖. ปลาใหญกินปลาเล็กอยาง อยาง ๓ สวน
ปลา ใหญ กิน ปลา เล็ก
ดุเดือด ดุเดือด
๑๗. ตํารวจคนนั้นจับผูรายได ๓ สวน
ตํารวจ คนนั้น จับ ผูราย - ไดยากมาก
ยากมาก
๑๘. นักเรียนในหองนี้รับประทาน ๓ สวน
นักเรียน ในหองนี้ รับประทาน ขนม - -
ขนม
๑๙. นักเรียน ป.๕ เลนฟุตบอล ๓ สวน
นักเรียน ป.๕ เลน ฟุตบอล ในสนาม -
ในสนาม
๒๐. นักเรียนทุกคนทําการบาน ๓ สวน
นักเรียน ทุกคน ทํา การบาน ภาษาไทย อยางตั้งใจ
ภาษาไทยอยางตั้งใจ
๕๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑ เรื่อง การจําแนกสวนประกอบของประโยค


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง วิเคราะหคิดพินจิ ประโยค
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนสวนประกอบของประโยคในชองภาคประธานและภาคแสดง
ใหถูกตอง
ภาคประธาน ภาคแสดง
ชนิดของ
ประโยค ประธาน ขยาย กริยา กรรม ขยาย ขยาย
ประโยค
ประธาน กรรม กริยา
ตัวอยาง
ยาย ของแกว รอย พวงมาลัย - - ๓ สวน
ยายของแกวรอยพวงมาลัย
๑. แพรกินโรตีสายไหม
๒. ใบไผนอนหลับ
๓. ฝนตกหนักมาก
๔. แมวตัวอวนกินปลา
๕. เท็นออกกําลังกาย
๖. ปนปนวิ่งอยางรวดเร็ว
๗. คุณแมปกดอกกุหลาบสีแดง
ในแจกัน
๘. คุณพอของฉันดื่มกาแฟรอนทุกเชา
๙. น้ําฝนรับประทานอาหารอยาง
เอร็ดอรอย
๑๐. คนไทยในสมัยโบราณกินขาว
ดวยมือ

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๕๓

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง การอานวิเคราะหคิด พัฒนาชีวิตใหดีงาม
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอานจับใจความ
การอานจับใจความ เปนการอานเพื่อหาสวนสําคัญของเรื่อง ซึ่งเรียกวา ใจความ
ตรงกันขามกับ พลความ (อานวา พน-ละ-ความ) ซึ่งหมายถึง สวนที่ไมสําคัญ ใจความ
สําคัญจะปรากฏอยูตามหนา ตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง หรือ
สวนทายของยอหนาก็ได
การอานจับใจความสําคัญ ควรปฏิบัติ ดังนี้
๑. อานในใจทุกยอหนาอยางละเอียด
๒. ศึกษาความหมายของคํา กลุมคํา สํานวนที่ไมเขาใจ
๓. ตั้งคําถามวาใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร ทําไม ฯลฯ
๔. สั ง เกตประโยคที่ แ สดงให เ ห็ น ว าเป น ใจความสํ า คั ญ ซึ่ ง มั ก มี ป ระโยคอื่ น ๆ
อธิบายขยายความหรือใหรายละเอียด
๕. จัดทําแผนภาพความคิดของเรื่องที่อาน

ตําแหนงของใจความสําคัญ
๑. ใจความสําคัญอยูตนยอหนา
ตัวอยาง ขอความที่มีใจความสําคัญอยูตนยอหนา
น้ํามีประโยชนตอชีวิตมนุษย มนุษยใชน้ําในการอุปโภค บริโภค ใชใน
การเกษตร เป น แหล ง อาหารของสั ต ว น้ํ า และพื ช น้ํ า ใช เ พาะเลี้ ย งปลา ปู กุ ง หอย
การอุตสาหกรรม การคมนาคมขนสง การผลิตกระแสไฟฟา ฯลฯ
๕๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๒. ใจความสําคัญอยูกลางยอหนา
ตัวอยาง ขอความที่มีใจความสําคัญอยูกลางยอหนา
การใช นํ้ า แล ว ระบายน้ํ า ทิ้ ง จากชุ ม ชน จากโรงงานอุ ต สาหกรรม
หรือจากการเกษตรซึ่งมีปุยและยาฆาแมลง โดยปราศจากการขจัดสารพิษ ออกก อ น
การระบายน้ําทิ้งเหลานี้ใหไหลลงสูแหลงน้ําเปนสาเหตุที่ทําใหน้ําเนาเสีย เกิดจากสูญเสีย
ทางเศรษฐกิจ อันตรายตอสุขภาพ อนามัย ทั้งตอชีวิตคน สัตว และพืช
๓. ใจความสําคัญอยูทายยอหนา
ตัวอยาง ขอความที่มีใจความสําคัญอยูทายยอหนา
น้ําที่มีกลิ่นและสีเปลี่ยนไปเปนบอเกิดของเชื้อโรค ถาไหลแพรกระจาย
ลงสูแมน้ํา จะทําใหปริมาณของออกซิเจนในน้ําลดลง มีผลตอพืชและสัตวน้ําเพราะไมมี
ออกซิเจนในการหายใจพืชและสัตวน้ําก็จะตายเปนการทําลายความสวยงามของแหลงน้ํา
นั่นคือ เกิดมลภาวะเปนพิษหรือมลพิษของน้ําที่มีตอสิ่งแวดลอม

เรียบเรียงเปนใจความสําคัญไดวา
น้ํามีประโยชนตอมนุษย การระบายน้ําทิ้งโดยไมขจัดสารพิษ จะทําใหน้ําเนาเสีย
เกิดมลพิษ อันจะมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม

(หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที ชัน้ ประถมศึกษาปที่ ๕)


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๕๕

ใบงานที่ ๒ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง การอานวิเคราะหคิด พัฒนาชีวิตใหดีงาม
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดใหแลวสรุปเปนใจความสําคัญ พรอมทั้ง


ตอบคําถามใหถูกตอง

ตนเปนทีพ่ ึ่งแหงตน
เราเกิดมาทั้งทีชีวิตหนึ่ง อยาหมายพึ่งผูใดใหเขาหยัน
ควรคะนึงพึ่งตนทนกัดฟน คิดบากบั่นตั้งหนามานะนํา
กสิกจิ พณิชยการงานมีเกียรติ อยาหยามเหยียดพาลหาวางานต่ํา
หรือจะชอบวิชาอุตสาหกรรม เชิญเลือกทําตามถนัดอยาผัดวัน
เอาดวงใจเปนทุนหนุนนําหนา เอาปญญาเปนแรงมุงแขงขัน
เอาความเพียรเปนยานประสานกัน ผลจะบรรลุสูประตูชัย
เงินและทองกองอยูป ระตูหนา คอยเปดอายิ้มรับไมขับไส
ทรัพยในดินสินในน้ําออกคล่ําไป แหลมทองไทยพรอมจะชวยอํานวยเอย
เพิ่ม สวัสดิ์วรรณกิจ

๑. ผูแตงบทประพันธตนเปนที่พึ่งแหงตน คือใคร..................................................
๒. อตฺตาหิ อตฺตโน นาโถ แปลเปนภาษาไทยวาอยางไร........................................
..............................................................................................................................
๓. คําวา “สุภาษิต” มีความหมายวาอยางไร.........................................................
๕๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๔. “ตนเปนทีพ่ ึ่งแหงตน” แตงดวยบทรอยกรองประเภทใด.................................


๕. “เราเกิดมาทั้งทีชีวติ หนึ่ง อยาหมายพึ่งผูใดใหเขาหยัน
ควรคะนึงพึ่งตนทนกัดฟน คิดบากบั่นตั้งหนามานะนํา”
บทรอยกรองนี้มีความหมายวาอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๖. “กสิกจิ พณิชยการงานมีเกียรติ อยาหยามเหยียดพาลหาวางานต่ํา
หรือจะชอบวิชาอุตสาหกรรม เชิญเลือกทําตามถนัดอยาผัดวัน”
บทรอยกรองนี้มีความหมายวาอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๗. “เอาดวงใจเปนทุนหนุนนําหนา เอาปญญาเปนแรงมุงแขงขัน
เอาความเพียรเปนยานประสานกัน ผลจะบรรลุสูประตูชัย”
บทรอยกรองนี้มีความหมายวาอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๕๗

๘. “เงินและทองกองอยูประตูหนา คอยเปดอายิ้มรับไมขับไส
ทรัพยในดินสินในน้ําออกคล่าํ ไป แหลมทองไทยพรอมจะชวยอํานวยเอย”
บทรอยกรองนี้มีความหมายวาอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๙. จากบทประพันธ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ผูแตงบอกใหเอาอะไรมาเปนแรง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๑๐. ใจความสําคัญของบทประพัน เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน คืออะไร และนักเรียน
จะนําขอคิดที่ไดไปใชอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๕๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๓
เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองและการอธิบายความหมายของคําศัพทในบทเรียน
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง วิเคราะหคิดพินจิ ประโยค
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอธิบายความหมายของคําศัพทในบทเรียน
ความหมายของคํา
เสียงที่เปลงออกมาครั้งหนึ่ง ๆ เสียงพูด หรือตัวหนังสือที่เขียนขึ้น มีความหมายในตัว
ไมวาจะมีกี่พยางคก็ตาม เชน มะละกอ ทะเล กบ ใชประกอบหนาคําอื่นเพื่อระบุประเภท
หรือชนิดของคํา
คําศัพทที่ปรากฏในบทรอยกรอง เรื่อง ตนเปนที่พงึ่ แหงตน

คําศัพท ความหมาย
๑. หยัน เยาะเยย
๒. บากบั่น ตั้งหนาฝาความยากลําบาก
๓. มานะ ความตั้งจริง
๔. กสิกิจ (กะ-สิ-กิด) งานดานการเพาะปลูก
๕. พณิชยการ (พา-นิด-ชะ-ยะ-กาน) งานดานการเพาะปลูก
๖. อุตสาหกรรม กิจการที่ใชทุนและแรงงานเพื่อผลิตสิ่งของ
หรือจัดใหมีบริการ
การอานออกเสียงบทรอยกรอง
บทร อยกรอง คื อ ถ อยคํ าที่ เรี ยบเรี ยงให เปนระเบี ยบถู กต องตามข อกํ าหนดฉันท
ลักษณ
กลอนสุภาพ คือ กลอนที่วรรคหนึ่งมีจํานวนคําระหวาง ๗ - ๙ คํา

การอานออกเสียงบทรอยกรอง กอนอานควรศึกษาประเด็นตอไปนี้ เพื่อใหสามารถอาน


ไดถูกตอง
๑. คําศัพทยากในบทรอยกรอง ตองศึกษาคําอานและความหมายใหเขาใจกอน
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๕๙

๒. รูปแบบของบทรอยกรอง ตองศึกษาประเภทของบทรอยกรอง จํานวนคํา


ในวรรค
๓. จังหวะการอาน ตองศึกษาจังหวะการอานของบทรอยกรองประเภทนั้น ๆ
เพราะบทรอยกรอง ถามี ๗ คํา ใหอานเปน ๒/๒/๓ ถามี ๘ คํา ใหอานเปน ๓/๒/๓ ถามี
๙ คําใหอานเปน ๓/๓/๓

วิธีการอานออกเสียงบทรอยกรองมี ๒ วิธี ดังนี้


๑. อานออกเสียงปกติ คือ อานออกเสียงปกติเหมือนกับการอานบทรอยแกว
ทั่ ว ไปแต จะมี ก ารเว น วรรค และเน น จั ง หวะกี่ สั มผั ส ตามบทร อ ยกรองแต ล ะประเภท
ซึ่งแตกตางกัน
๒. อานออกเสียงเปนทํานอง คือ อานใหมีสําเนียงสูง ต่ํา หนัก เบา ยาว สั้น
เอื้อนเสียง และเนนสัมผัสใหชัดเจน ไพเราะ เสียงเปนกังวาน แสดงอารมณตามเนื้อหา
ของบทรอยกรอง

หลักสําคัญในการอานออกเสียงบทรอยกรอง
๑. อานออกเสียงใหชัดเจนและถูกตองตามอักขรวิธี
๒. อ า นเว น จั ง หวะวรรคตอนให ถู ก ต อ งตามลั ก ษณะของบทร อ ยกรองแต ล ะ
ประเภท รูจักทอดจังหวะ เอื้อนเสียง หรือหลบเสียง
๓. น้ําเสียงไพเราะชัดเจน นุมนวลนาฟง เสียงไมเบาหรือดังมากจนเกินไป
๔. เนนเสียงแสดงอารมณใหเปนไปตามเนื้อเรื่อง เชน รัก ราเริง โกรธ เศรา
โดยใชน้ําเสียงใหเขากับสถานการณนั้น ๆ

มารยาทในการอาน
๑. อานดวยน้ําเสียงสุภาพ เสียงดังพอประมาณ ไมตะโกนเสียงดัง
๒. มีทาทางที่สุภาพในการอาน บุคลิกภาพเรียบรอย สงางาม
๓. ถาเปนการนั่งอาน ควรนั่งหลังตรง ถาเปนการยืน ควรยืนตรงดวยทาทางที่
สุภาพ
๔. ถาเปนการอานบทรอยกรอง ควรอานใหถูกตองตามฉันทลักษณ
๖๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๓ เรื่อง การอานบทรอยกรองและการอธิบายคําศัพท


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การอานบทรอยกรองและการอธิบายคําศัพท
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ตอนที่ ๑ ใหอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน และแบงวรรคตอนใหถูกตอง


ตนเปนที่พึ่งแหงตน
เราเกิดมาทั้งทีชีวิตหนึ่ง อยาหมายพึ่งผูใดใหเขาหยัน
ควรคะนึงพึ่งตนทนกัดฟน คิดบากบั่นตั้งหนามานะนํา
กสิกิจพณิชยการงานมีเกียรติ อยาหยามเหยียดพาลหาวางานต่ํา
หรือจะชอบวิชาอุตสาหกรรม เชิญเลือกทําตามถนัดอยาผัดวัน
เอาดวงใจเปนทุนหนุนนําหนา เอาปญญาเปนแรงมุงแขงขัน
เอาความเพียรเปนยานประสานกัน ผลจะบรรลุสูประตูชัย
เงินและทองกองอยูประตูหนา คอยเปดอายิ้มรับไมขับไส
ทรัพยในดินสินในน้ําออกคล่ําไป แหลมทองไทยพรอมจะชวยอํานวยเอย
เพิ่ม สวัสดิ์วรรณกิจ

ตอนที่ ๒ ใหรวบรวมคําศัพทในบทรอยกรอง เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน และ


เขียนความหมาย
๑. ........................................... ความหมาย…………...….…………………………
๒. ........................................... ความหมาย................................................
๓. ........................................... ความหมาย…….…………………...………………
๔. .......................................... ความหมาย................................................
๕. .......................................... ความหมาย……………………………...………….
๖. ........................................... ความหมาย................................................
ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๖๑

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรู ขอคิด และคุณคาจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากเรื่อง ตนเปนที่พึงแหงตน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การสรุปความรู
การสรุ ป ความรู เป น การสรุ ป ความรู ห รื อ ทฤษฎี ที่ ป รากฏอยู ใ นเรื่ อ งที่ อ า น
โดยเขียนสรุปเปนประโยคสั้น ๆ หรือขอความสั้น ๆ เพื่อขยายความเขาใจใหชัดเจน
มากขึ้น
การสรุปขอคิด
การสรุ ป ข อ คิ ด เป น การค น หาข อ คิ ด จากเรื่ อ งที่ อ า น ซึ่ ง ข อ คิ ด อาจแฝงอยู ใ น
เนื้อเรื่อง หรืออยูสวนทายของเรื่องที่อาน โดยผูอานอาจเขียนสรุปขอคิดเปนประโยค
หรือขอความสั้น ๆ ได หรือเปนคําคมก็ได

การสรุปความรูและขอคิด
จากเรื่องที่อาน คือ การคนหา เมื่อสรุปความรูและขอคิด
ขอคิดหรือคติสอนใจจากเรื่อง ได แ ล ว จึ ง นํ า ข อ คิ ด นั้ น มา
ที่อานวา เรื่องนั้น ๆ ใหขอคิด ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ที่เปนประโยชนอะไรแกผูอาน

การบอกคุ ณ ค า ของเรื่ องที่ อา น เปนการอธิบายประโยชน หรือ สิ่ง ที่เ รีย กวา “ขอ ดี ”
โดยเขียนสรุปเปนประโยคหรือขอความสั้น ๆ เพื่อบอกใหรูวาเรื่องนั้นมีคุณคาแกผูอาน
อย า งไร เช น คุ ณ ค า ด า นเนื้ อ หา คุ ณ ค า ด า นวรรณศิ ล ป คุ ณ ค า สั ง คมและวั ฒ นธรรม
เปนตน
๖๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

การสรุปความรูและขอคิดมีหลักพื้นฐานการปฏิบัติ ดังนี้
๑. อานรอบแรกเพื่อดูชื่อเรื่องกอน แลวอานโดยมีคําถามในใจวา ใคร ทําอะไร
ที่ไหน เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร ขอความใดสําคัญใหขีดเสนใตไว
๒. อานอีกครั้ง โดยดูรายละเอียดของเนื้อหา เพื่อคนหาความรูสําคัญและขอคิด
๓. สามารถอานเพิ่มไดจนกวาจะเขาใจเนื้อหา
๔. ใหสรุปใจความสําคัญของแตละยอหนาไว
๕. นํ า ใจความสํ า คั ญ ที่ ร วบรวมไว ม าเขี ย นเรี ย บเรี ย งใหม อ ย า งละเอี ย ดและ
สละสลวย โดยใชสํานวนภาษาของตนเอง
๖. ทบทวนการสรุปความรูอีกครั้ง เพื่อพิจารณาหาสวนที่ตองแกไขหรือตองการ
เพิ่มเติม หลักการสรุปความจากเรื่องที่อาน
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๖๓

ใบงานที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรู ขอคิด และคุณคาจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนสรุปความรู ขอคิด และคุณคาจากการอานเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน

สรุปความรูไดวา

สรุปขอคิดไดวา

สรุปคุณคาไดวา

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๖๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การวิเคราะหและเขียนอธิบายคุณคาจากเรื่องที่อาน
การวิเคราะห หมายถึง การพิจารณา และประเมินคา เปนการแสดงความคิดเห็น
อภิปรายขอเท็จจริงใหผูอื่นทราบวา ใครเปนผูแตง เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีประโยชน
อย า งไร ต อ ใครบ า ง ผู วิ เ คราะห มี ค วามเห็ น อย า งไร เรื่ อ งที่ อ า นมี คุ ณ ค า ด า นใดบ า ง
แตละดานสามารถนําไปประยุกตใหเกิดประโยชนตอชีวิตประจําวันอยางไรบาง
แนวทางในการวิเคราะหวรรณกรรม มีดังนี้
๑. ความเปนมาหรือประวัติของหนังสือและผูแตง เพื่อชวยใหวิเคราะหในสวน
อื่น ๆ
๒. พิจารณาลักษณะคําประพันธ
๓. อานและสรุปเรื่องยอ
๔. ใหวิเคราะหเรื่องในหัวขอตอไปนี้ตามลําดับ ซึ่งบางหัวขออาจจะมี หรือไมมีก็ได
ตามความจํ าเป น ได แ ก โครงเรื่ อ ง ตั ว ละคร ฉาก วิ ธี ก ารแต ง ลั ก ษณะการเดิ นเรื่อง
การใชถอยคํา สํานวนในเรื่องทวงทํานองการแตง วิธีคิดสรางสรรค ทัศนะหรือมุมมอง
ของผูเขียน
๕. วิเคราะหแนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่เขียนไวในเรื่อง
คุณคาของวรรณกรรม โดยปกติจะวิเคราะหตามหัวขอตอไปนี้
๑) คุ ณ ค าด านวรรณศิ ล ป คื อ ความไพเราะของบทประพั น ธ ทํ าให ผู อ านเกิด
ความรูสึก ความคิดและจินตนาการตามคําประพันธ ความหมายของถอยคําและภาษา
ที่ผูแตงเลือกใชเพื่อใหมีความหมายกระทบใจผูอาน
๒) คุณคาดานเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนําเสนอ
๓) คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรม ที่สะทอนใหเห็นสภาพของสังคม
และวรรณคดีที่จรรโลงสังคมไดมีอะไรบาง
๔) การนํ า แนวคิ ด /ความรู / และประสบการณ จ ากเรื่ อ งไปประยุ ก ต ใ ช ใ น
ชีวิตประจําวัน
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๖๕

ใบงานที่ ๕ เรื่อง เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหเขียนอธิบายคุณคาบทรอยกรองเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ตามหัวขอ


๑. คุณคาดานวรรณศิลป
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

๒. คุณคาดานเนื้อหาสาระ
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

๓. คุณคาดานสังคม
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

๔. การนําไปประยุกตใชในชีวติ ประจําวัน
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๖๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การทองจําบทอาขยาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การทองจําบทอาขยาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การทองบทอาขยาน
การทองจําหรือทองบทอาขยาน เปนการอานออกเสียงที่อาศัยความจําโดยไมดู
บทอานตองใชความสามารถในการจําบททองจํา อานใหถูกตองตามฉันทลักษณและ
ทํานองเสนาะของบทรอยกรองนั้น ๆ สอดคลองกับอารมณในบทอาน โดยอานใหไพเราะ
ถูกตองคลองแคลวเกิดภาพพจนไดรสไดอารมณ
๑. ความหมาย
บทอาขยานคือ บททองจํา การเลา การสวด เรื่อง นิทาน ซึ่งเปนการทองจํา
ขอความ หรือคําประพันธท่ีชอบ บทรองกรองที่ไพเราะ โดยอาจตัดตอนมาจากหนังสือ
วรรณคดีเพื่อใหผูทองจําได เห็นความงามของบทรอยกรองทั้งในดานวรรณศิลป การใช
ภาษา เนื้อหา และวิธีการประพันธ สามารถนําไปใชเปนแบบอยางในการแตงบทรอยกรอง
หรือนําไปใชเปนขอมูล ในการอางอิงในการพูดและการเขียนได เปนอยางดี
๒. หลักการทองบทอาขยาน
การท อ งบทอาขยานส ว นใหญ เ ปน การท อ งออกเสี ย ง คื อ ผู ทอ งเปล ง เสียง
ออกมาดัง ๆ ในขณะที่ใชสายตากวาดไปตามตัวอักษร ยึดหลักการออกเสียงเหมือน
หลักการอานทั่วไป เพื่อใหการออกเสียงมีประสิทธิภาพควรฝกฝน ดังนี้
๑. ฝ ก เปล ง เสี ย งให ดั ง พอประมาณ ไม ต ะโกน ควรบั ง คั บ เสี ย ง เน น เสี ย ง
ปรับระดับเสียงสูง - ต่ํา ใหสอดคลองกับจังหวะลีลา ทวงทํานอง และความหมายของ
เนื้อหาที่อาน
๒. ทอง ดวยเสียงที่ชัดเจน แจมใส ไพเราะ มีกระแสเสียงเดียว ไมแตกพรา
เปลงเสียงจากลําคอโดยตรงดวยความมั่นใจ
๓. ทอง ออกเสียงใหถูกอักขรวิธีหรือความนิยม และตองเขาใจเนื้อหาของ
บทอาขยานนี้กอน
๔. ออกเสียง ร ล คําควบกล้ํา ใหถูกตองชัดเจน
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๖๗

ใบงานที่ ๖ เรื่อง การทองจําบทอาขยาน ตนเปนที่พึ่งแหงตน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การทองจําบทอาขยาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ให ท อ งจํ า บทอาขยานเรื่ อ ง ตนเป น ที่ พึ่ ง แห ง ตน พร อ มทั้ ง แบ ง วรรคตอน
ใหถูกตอง

ตนเปนที่พึ่งแหงตน
เราเกิดมาทั้งทีชีวิตหนึ่ง อยาหมายพึ่งผูใดใหเขาหยัน
ควรคะนึงพึ่งตนทนกัดฟน คิดบากบั่นตั้งหนามานะนํา
กสิกิจพณิชยการงานมีเกียรติ อยาหยามเหยียดพาลหาวางานต่ํา
หรือจะชอบวิชาอุตสาหกรรม เชิญเลือกทําตามถนัดอยาผัดวัน
เอาดวงใจเปนทุนหนุนนําหนา เอาปญญาเปนแรงมุงแขงขัน
เอาความเพียรเปนยานประสานกัน ผลจะบรรลุสูประตูชัย
เงินและทองกองอยูประตูหนา คอยเปดอายิ้มรับไมขับไส
ทรัพยในดินสินในน้ําออกคล่ําไป แหลมทองไทยพรอมจะชวยอํานวยเอย
(เพิ่ม สวัสดิ์วรรณกิจ)

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๖๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง ครอบครัวพอเพียง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของการอานจับใจความสําคัญ
การอานจับใจความสําคัญ คือ การอานเพื่อจับใจความหรือขอคิด ความคิด
สําคัญหลักของขอความหรือเรื่องที่อานเปนขอความที่คลุมขอความ ในยอหนาหนึ่ง ๆ ไว
ทั้งหมด
หลักพื้นฐานการจับใจความสําคัญ
๑. ตั้งจุดมุงหมายในการอานใหชัดเจน
๒. อานเรื่องราวอยางคราว ๆ พอเขาใจ และเก็บใจความสําคัญของแตละยอหนา
๓. เมื่ออานจบใหตั้งคําถามตนเองวา เรื่องที่อาน มีใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร
อยางไร
๔. นําสิ่งที่สรุปไดมาเรียบเรียงใจความสําคัญใหมดวยสํานวนของตนเองเพื่อให
เกิดความสละสลวย
วิธีจับใจความสําคัญ
วิ ธี ก ารจั บ ใจความสํ าคัญ มี หลายอย าง เช น การขี ดเส น ใต การใช สี ตาง ๆ กั น
แสดงความสํ า คั ญ มากน อ ยของข อ ความ การบั น ทึ ก ย อ เป น ส ว นหนึ่ ง ของการอ า น
จับใจความสําคัญที่ดี มีหลักจับใจความสําคัญดังนี้
๑. พิจารณาทีละยอหนา หาประโยคใจความสําคัญของแตละยอหนา
๒. ตัดสวนที่เปนรายละเอียดออกได เชน ตัวอยาง สํานวนโวหาร อุปมาอุปไมย
(การเปรียบเทียบ) ตัวเลข สถิติ ตลอดจนคําถามหรือคําพูดของผูเขียนซึ่งเปนสวนขยาย
ใจความสําคัญ
๓. สรุปใจความสําคัญดวยสํานวนภาษาของตนเอง
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๖๙

ใบงานที่ ๗ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง ครอบครัวพอเพียง


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง การอานจับใจความและตอบคําถามจากเรื่อง ครอบครัวพอเพียง
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ตอนที่ ๑ ใหเขียนสรุปหลักพื้นฐานในการจับใจความสําคัญ เปนแผนผังความคิด

ตอนที่ ๒ ใหอานเรื่อง ครอบครัวพอเพียง แลวตอบคําถามดังนี้

๑. บานปานิดกับลุงวินตั้งอยูที่ไหน........................................................................

๒. ลุงวินทําน้ําหมักชีวภาพอยางไร........................................................................

.........................................................................................................................
๗๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๓. น้ําหมักชีวภาพมีประโยชนอยางไร....................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

๔. ลุงวินและปานิดยึดแนวทางอะไร และเปนแนวทางของใคร..............................

.........................................................................................................................

๕. ใจความสําคัญของเรื่อง ครอบครัวพอเพียง คือ.................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

.........................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๗๑

ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การคัดลายมือจากขอความทีป่ รากฏในสื่อตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

หลักการคัดลายมือ
การคัดลายมือ เปนการฝกเขียนตัวอักษรไทยใหถูกตองตามหลักการเขียนคําไทย
ซึ่ ง ต อ งคํ า นึ ง ถึ ง ความถู ก ต อ งของอั ก ษรไทย เขี ย นให อ า นง า ย มี ช อ งไฟ มี ว รรคตอน
ตัวอักษรเสมอกัน วางพยัญชนะ สระ และวรรณยุกตใหถูกที่ ตัวสะกดการันตถูกตอง
และลายมือสวยงาม การคัดลายมือแบงได ๒ ประเภท คือ ตัวเหลี่ยมหรือตัวกลมหัวมน

จุดประสงคของการคัดลายมือ
การคั ด ลายมื อ มี ค วามสํ า คั ญ มากต อ การพั ฒ นาไปสู ทั ก ษะการเขี ย น การฝ ก
คัดลายมือจึงมีจุดประสงคสําคัญ ดังนี้
๑. เพื่อฝกการเปนผูมีสมาธิในการเขียนตัวอักษรไทย
๒. เพื่อใหเขียนตัวอักษรไทยไดถูกตองตามหลักวิธีการตาง ๆ
๓. เพื่อใหรูจักการจัดระเบียบ การเวนวรรคและเวนชองไฟไดประณีตและมีความ
สม่ําเสมอ ทําใหอานงาย ดูสบายตา
๔. เพื่อใหรูจักสังเกตแบบอยางตัวอักษรที่ถูกตองสวยงามและนําไปเปนตัวอยาง
ในการเขียนไดตอไป
๕. เพื่อใหมีความภาคภูมิใจ ศรัทธาและรักการเขียนภาษาไทยอันเปนมรดกและ
ภาษาประจําชาติไทย

หลักการคัดลายมือ
เขียนลายมือมีหลักรูจักนั่ง ตัวตองตั้งตรงแนบถูกแบบอยาง
จับดินสอปากกาถูกทาทาง สมุดวางพลางเพงแลวเล็งแล
คอยเขียนไปใหงามตามสวนสัด ชองไฟจัดวัดกะระยะแน
สระหรือเครื่องหมายอยายายแปร ตั้งใจแนมีระเบียบเรียบรอยเอย
(กระทรวงศึกษาธิการ)
๗๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

วิธีการคัดลายมือ
๑. อานขอความที่จะคัดใหจบกอนคัด เพื่อทําความเขาใจขอความ
๒. เริ่มคัดตัวอักษรจากหัวไปหางเสมอโดยไมยกดินสอหรือปากกา
๓. ไมเขียนตัวอักษรแบบนั่งเสน หมายถึง สวนลางของตัวอักษรทับเสนบรรทัด
โดยตลอด เชน ตัว ข ฐานลางของเสนจะไมลากตรงทีเดียว จะมีรอยหยักตรงมุมซาย
เล็กนอย
๔. ถาคัดลายมือครึ่งบรรทัด ขนาดความสูงของตัวอักษรดานบนตองสูงเทากัน
โดยตลอด
๕. คัดตัวอักษรและขอความดวยตัวตรงเสมอแนวเดียวกัน ตัวอักษรไมเอนเอียง
โยไปขางหนาหรือหลัง
๖. เวนระยะชองไฟระหวางตัวอักษรใหหางเสมอกัน
๗. ถาเขียนผิดหรือจําเปนตองลบ ตองระมัดระวังเรื่องความสะอาด กอนเขียนใหม
ตองลบรอยเกาใหสะอาดเรียบรอยเสียกอน
๘. สระและวรรณยุกตตองวางใหถูกที่
๙. ขนาดความกวางความสูงของตัวอักษรและสระตองตรงตามแบบ
๑๐. ควรควบคุมอัตราความเร็วในการเขียน อยาเขียนเร็วเกินไป
๑๑. ตองระมัดระวังอยาคัดใหตกหลน การเวนวรรคตอนตองถูกตอง
๑๒. เมื่อคัดจบตองอานทบทวนและตรวจสอบอีกครั้ง
๑๓. หมั่นฝกฝนคัดลายมือสม่ําเสมอ อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง

มารยาทในการเขียนควรปฏิบัติ ดังนี้
๑. ควรเขียนดวยลายมือตัวบรรจง เพื่อใหอานเขาใจงาย
๒. ควรเขียนโดยใชภาษาที่สุภาพถูกตองตามหลักภาษาไทย
๓. ไมควรเขียนวารายผูอื่นใหไดรับความเสียหาย
๔. เมื่อเขียนผิดควรใชยางลบ หรือน้ํายาลบคําผิด ลบใหสะอาด
๕. ไมควรขีดเขียนโตะ เกาอี้ หรือในที่ที่หามเขียน
๖. ควรเขียนในกระดาษที่มีสีขาว สะอาด ไมยับ หรือฉีกขาด
๗. ใชหมึกปากกาสีดํา หรือสีน้ําเงิน ไมควรใชหมึกปากกาสีฉูดฉาดในงานนําเสนอ
๘. หากนํางานเขียนของผูอื่นมาใช ควรเขียนอางอิงแหลงที่มาใหชัดเจน
๙. มีความรับผิดชอบในงานเขียนของตนเอง
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๗๓
๗๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๘ เรื่อง การคัดลายมือจากขอความที่ปรากฏในสื่อตาง ๆ


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การคัดลายมือจากขอความทีป่ รากฏในสื่อตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด แบบอักษรของกระทรวงศึกษาธิการ


จากขอความที่ปรากฏในสื่อตาง ๆ ที่นักเรียนสนใจ
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๗๕

ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕
การพูดแสดงความรู
การพูดแสดงความรู เปนการถายทอดความรูที่มีอยูใหผูอื่นไดรับรูโดยการพูด
ซึ่งสะทอนจากความรูที่ไดพบเห็นจากภาพ เหตุการณ สถานการณตาง ๆ สถานที่ หรือ
สิ่งของตาง ๆ ดวยการพูดใหผูอื่นฟง
การพูดแสดงความคิดเห็น
การพู ดแสดงความคิ ดเห็ น เป น การพู ดขยายความจากเรื่ อ งใดเรื่ อ งหนึ่ ง โดย
การพูดอธิบายหรือพูดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ อยางมีหลักฐานหรือเหตุผล
ประกอบ
หลักการพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็น
๑. ศึกษาเรื่องที่สนใจจะพูดใหเขาใจ ชัดเจน แจมแจง
๒. มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับเรื่องที่จะพูดเปนอยางดี
๓. กลาวถึงขอมูลหรือขอเท็จจริงกอน (ภาคความรู) หลังจากนั้นจึงกลาวความ
คิดเห็น (ภาคความคิดเห็น) โดยใชเหตุผลหรือหลักฐานประกอบ เพื่อขยายความเขาใจ
ใหชัดเจน
๔. พูดในเชิงสรางสรรค และมีขอเสนอแนะโดยไมมีอคติหรือความลําเอียง
๕. มีมารยาทในการพูด พูดดวยน้ําเสียงสุภาพ ไมใชถอยคําภาษาที่รุนแรง
๖. ควรเขียนแบบรางกอนพูด แลวตรวจสอบปรับปรุงสํานวนภาษา และการเขียน
สะกดคําใหถูกตอง
๗. พูดดวยความเปนกัลยาณมิตร บุคลิกภาพตองเหมาะสม นาเชื่อถือ เพื่อใหผูฟง
เกิดความไวใจและยอมรับในตัวผูพูด
๘. ไมพูดใหราย และไมพูดเสียดผูอื่นใหไดรับความเสียหาย เพราะจะมีผลกระทบ
ตามมาในภายหลัง
๙. หลักเลี่ยงการพูดแสดงความคิดเห็นเรื่องสวนตัวของผูอื่น ไมพูดจาสอเสียด
ทับถม เยาะเยยผูอื่น
๙. พูดมีหางเสียง หรือมีคําลงทายที่สุภาพ เปนทางการ เชน ครับ/คะ
๑๐. พูดดวยความปรารถนาดี จริงใจ และบริสุทธิ์ใจตอผูอื่น
๗๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

มารยาทในการพูด
๑. พูดจาไพเราะ
๒. ไมแยงกันพูด
๓. พูดดวยคําสุภาพไมหยาบคาย
๔. พูดดวยน้ําเสียงที่ไพเราะนุมนวล
๕. ไมพูดแทรกจังหวะผูอื่น
๖. พูดดวยหนาตายิ้มแยมแจมใส
๗. ใชความดังของเสียงใหพอเหมาะ ไมเสียงเบาหรือดังเกินไป
๘. ไมพูดนินทาวารายผูอื่น

ขอควรคํานึงในการพูด
การพูดแสดงความรูและความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู เราควรพิจารณาให
รอบคอบกอนพูด เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงกับผูอื่น เพราะในเรื่องเดียวกัน แตละคน
อาจมีมุมมองและความคิดเห็นที่แตกตางกันได
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๗๗

ใบงานที่ ๙ เรื่อง การพูดแสดงความรูส ึกจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนแบบรางการพูดแสดงความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู พรอมทั้ง


ฝกพูดแสดงความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู

แบบรางการพูดแสดงความรูสกึ จากเรื่องที่ฟงและดู
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๗๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนแสดงความรูสึก
เปนการถายทอดความรูสึกนึกคิดที่มีอยูใหผูอื่นไดรับรูโดย การเขียน ซึ่งสะทอน
จากความรูสึกที่ไดพบเห็นภาพ เหตุการณ สถานที่ หรือสิ่งของตาง ๆ แทน การพูดให
ผูอื่นฟง

การเขียนแสดงความคิดเห็น
เปนการเขียนขยายความจากเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยอธิบายหรือแสดงความคิดเห็น
ประกอบเรื่องนั้นอยางมีเหตุผล

ดั ง นั้ น การเขี ย นแสดงความรู สึ ก และความคิ ด เห็ น เป น การเขี ย นแสดง


ความรูสึกและความคิดเห็น ตอเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ควรพิจารณาอยางรอบคอบ ผูเขียน
จะตองตรวจสอบขอเท็จจริงวาถูกตองหรือไม แลวเขียนใหกระจางชัด โดยใชเหตุผล
ประกอบหรือ มีหลักฐานอางอิง

หลักการเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น
๑. ศึกษาเรื่องที่สนใจจะเขียนใหเขาใจ ชัดเจน แจมแจง
๒. กลาวถึงขอมูลหรือขอเท็จจริงกอน แลวจึงกลาวความรูสึกหรือความคิดเห็น
โดยใชเหตุผลหรือหลักฐานประกอบ
๓. ควรเขียนในเชิงสรางสรรค และมีขอเสนอแนะ
๔. มีมารยาทในการเขียน เขียนดวยภาษาที่สุภาพ ไมใชถอยคํารุนแรง
๕. ควรเขียนแบบรางกอน ตรวจสอบปรับปรุงสํานวนภาษา รวมทั้งเขียนสะกดคํา
ใหถูกตอง
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๗๙

ตัวอยางการเขียนแสดงความคิดเห็น

ความแห ง แล ง เกิ ด ขึ้ น จากการที่ ม นุ ษ ย ตั ด ต น ไม ทํ า ลายป า จึ ง เป น สาเหตุ


ทํ า ให เ กิ ด ภาวะโลกร อ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ ก็ สู ญ หายไป แต เ ดิ ม โลกของเรามี
ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ แตตอนนี้โลกเราเปลี่ยนไปมาก ทรัพยากรที่เราเห็นกัน
อยูนั้นคอย ๆ ลดนอยลงไปเรื่อย ๆ ถามนุษยทุกคนหมั่นอนุรักษน้ํา อนุรักษปาไม และ
อนุรักษทรัพยากร ภัยแลงก็ยากจะมาเยือน มนุษยทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงโลก
โดยแยกขยะรีไซเคิล ปลูกตนไม ไมทิ้งขยะลงในลําธาร ไมฆาสัตว สิ่งเหลานี้ก็พอจะ
ชวยโลกของเราได
๘๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรือ่ ง ตนเปนที่พึ่งแหงตน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง การเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหอานนิทานเรื่อง ทองและอวัยวะอื่น ๆ แลวเขียนแสดงความรูสึกและความ


คิดเห็น
ทองและอวัยวะอืน่ ๆ
วันหนึ่งบรรดาอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย ไดแก มือ ขา ปาก และฟน
เห็นวา พวกตนตางทํางานดวยกัน ความเหน็ดเหนื่อย แตทองนั้นอยูเฉย ๆ
ก็ไดรับอาหารโดยไมตองออกแรงอะไรเลย อวัยวะทั้งหลายจึงพากันประทวง
ขาไมยอมเดินไปหาอาหาร มือไมยอมหยิบอาหาร ปากไมยอมอา และฟน
ไมยอมเคี้ยวอาหาร
ไมนานนัก ทองก็รูสึกหิวโหย แตเมื่อไมมีอาหารสงไปเลี้ยงอวัยวะอื่น ๆ
ทั้งขา มือ ปาก และฟน ตางก็รูสึกออนเพลียไมมีเรี่ยวแรง
ทั้งหมดจึงเขาใจวา แทที่จริงแลวทองก็มีหนาที่ของตนเชนกัน อวัยวะ
ทุ ก ส ว นจึ ง ร ว มแรงร ว มใจกั น ทํ า งานอย า งพร อ มเพรี ย งกั น อี ก ครั้ ง ไม น าน
รางกายก็กลับมาแข็งแรงและสมบูรณเหมือนเดิม
นิทานเรื่องนี้สอนใหรูวา การทํางานไมควรเปรียบเทียบวาใครทํามาก
ทํานอยแตทุกคนควรทําตามหนาที่ของตนใหดีที่สุด
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน ๘๑

๑. ตัวละครสําคัญมีใครบาง...................................................................................
.........................................................................................................................
๒. เหตุการณสําคัญในเรื่อง คือ..............................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
๓. เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่อง...............................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................
.........................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๘๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ชั้น ป.๕ ภาคเรียนที่ ๒

แบบประเมินตนเอง
ชื่อ : ___________________________ สกุล : ______________________ชั้น_____เลขที่ _____
หนวยการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน

๑. ประเมินการเรียนรูของตนเอง
กาเครื่องหมาย  ในชองระดับความสามารถของแตละกิจกรรมที่นักเรียนคิดวาทําไดตามระดับการประเมินเหลานี้
ระดับความสามารถ : ดีมาก ดี คอนขางดี พอใช ปรับปรุง
ระดับความสามารถ
ที่ รายการ ดีมาก ดี คอน พอ ปรับ
ขางดี ใช ปรุง
๑ เขียนสรุปความรูขอคิดและคุณคาจากเรื่องที่อาน
๒ เขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
๓ พูดแสดงความความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู
๔ จําแนกสวนประกอบของประโยค
๕ อธิบายคุณคาจากเรื่องที่อาน

๒. สิ่งที่ฉันยังไมเขาใจ / ยังทําไดไมดี คือ…… (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………….............................................................................................................
................................................................................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................
๓. สิ่งที่ฉนั ตั้งใจจะทําใหดีขนึ้ ในการเรียนหนวยตอไป (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………….............................................................................................................
................................................................................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๘๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๐
โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
๘๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่ สุ ภ าพ เป น โคลงชนิ ด หนึ่ ง ที่ ก วี ห รื อ คนส ว นใหญ นิ ย มแต ง มากที่ สุ ด
ด ว ยลั ก ษณะและเสน หข องการบั ง คั บ ตามฉั น ทลั ก ษณ ที่ มีว รรณยุ ก ต เ อก โท ที่ ล งตั ว
ไพเราะสวยงาม ซึ่งคําวา “สุภาพ” นี้หมายถึง คําที่ไมมีไดรูปวรรณยุกต
คําในภาษาไทยหลายคํา ไมมีรูปวรรณยุกต แตมีเสียงวรรณยุกต เชนคําวา “ตก”
ไมมีรูปวรรณยุกตเอก แตเปนเสียงเอก, คําวา “หมอ” ไมมีรูปวรรณยุกตจัตวา แตเปน
เสียงจัตวาและยังมีอีกหลายคําที่ในลักษณะเดียวกันนี้
บางคํา รูปและเสียงวรรณยุกตไมตรงกัน เชนคําวา “ไซร” รูปโท เสียงตรี, คําวา
“มี่” รูปเอก เสียงโท ฯลฯ
ดังนั้น ในการอานโคลงสี่สุภาพ จะพบวามีหลายคําที่รูปและเสียงไมตรงกัน
ฉันทลักษณของโคลงสี่สุภาพ
๑. คณะของโคลงสี่สุภาพ มีดังนี้
- หนึ่งบทมี ๔ บาท
- บาทหนึ่งมี ๒ วรรค
- บาทที่ ๑, ๒ และ ๓ มีจํานวนคําเทากัน วรรคหนามี ๕ คํา วรรคหลังมี
๒ คํา
- บาทที่ ๔ วรรคหนามี ๕ แตวรรคหลังจะมี ๔ คํา
- อาจมีคําสรอย ๒ คํา ในบาทที่ ๑ และบาทที่ ๓
- โคลงสี่สุภาพ ๑ บท จะมีจํานวนคําทั้งหมด ๓๐ คํา
๒. จํานวน เอก โท ของโคลงสี่สุภาพนั้นมี คือ เอก ๗ โท ๔
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๘๕

แผนผังโคลงสี่สุภาพ

ตัวอยางโคลงสี่สุภาพ
เสียงลือเสียงเลาอาง อันใด พี่เอย
เสียงยอมยอยศใคร ทั่วหลา
สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤาพี่
สองพี่คิดเองอา อยาไดถามเผือ
(ลิลิตพระลอ : ไมปรากฏนามผูแตง)

จากมามาลิ่วล้ํา ลําบาง
บางยี่เรือราพลาง พี่พรอง
เรือแผงชวยพานาง เมียงมาน มานา
บางบรับคําคลอง คลาวน้ําตาคลอ
(นิราศนรินทร : นรินทรธิเบศร)
๘๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ (อานวา โคลง - โลก - กะ - นิด) คําวา “กะ” ออกเสียงอะกึ่งเสียง
เปนวรรณคดีอีกเรื่องที่คนไทยรูจักกันดี มีที่มาจากสุภาษิตโบราณ ตอมาไดนํามาแตงเปน
บทประพันธ เพื่อใหเปนคติสอนใจแกคนทั่วไป
โคลงโลกนิ ติ เ ปน พระนิพ นธ ใ นสมเด็ จ พระบรมวงศ เ ธอ กรมพระยาเดชาดิ ศ ร
แตงดวยโคลงสี่สุภาพ มีความยาวหลายบท แตที่นํามาใหนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ ๕
ไดอานนั้น ไดคัดเลือกมาเพียงบางบทเทานั้น
โคลงโลกนิติ จัดเปนวรรณคดีคําสอน มุงหมายใหเปนเครื่องเตือนสติแกผูอาน
และเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต มีเนื้อหาสาระสําคัญกลาวถึงความเปนจริงที่เกิดขึ้น
ในชีวิตของมนุษย รวมทั้งความเปนไปของโลก ถือเปนเรื่องปกติธรรมดา เชน ธรรมชาติ
ของมนุษย คุณคาของความรู วิธีการแสวงหาความรู แนวทางการดําเนินชีวิตเรื่อง เชน
การเลือกคบคน การวางตัวในสังคม เปนตน
ลักษณะเดนของโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ แตละบทมักจะมีเนื้อความจบในบท กลาวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพียง
เรื่องเดียวเทานั้น ทําใหจดจําไดงาย ดังตัวอยางนี้

นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบทําเดโช แชมชา
พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี

โคลงบทนี้ กลาวถึงธรรมชาติอยางหนึ่งของมนุษย โดยทั่วไปวาคนที่มักอวดดีและ


หยิ่งยโสนั้น มักเปนผูดอยความสามารถ สวนผูที่มากดวยความสามารถ มักจะเปนคน
เจียมตัว
ข อ สั ง เกต โคลงโลกนิ ติ มี ก ารเปรี ย บเที ย บ หรื อ “การอุ ป มา” โดยผู แ ต ง ยก
ธรรมชาติอยางใดอยางหนึ่งมาอาง แลวโยงเขาสูสิ่งที่ตองการนําเสนอและชีวิตจริ ง
ดังเชนบทตัวอยางที่ยกมาขางตน ไดนําธรรมชาติของแมลงปอง และงูพิษมาเปรียบเทียบ
เพื่อบอกลักษณะนิสัยหรือธรรมชาติของคน ซึ่งเปนความจริงที่ไมอาจโตแยงได
(จากหนังสือเรียนวรรณคดีลํานํา ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕ หนา ๘๔ - ๘๕)
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๘๗

ใบงานที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทโคลงสี่สุภาพ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกอานโคลงโลกนิติที่สนใจ ๒ บท และประเมินการอานของตนเอง

ปลาราพันหอดวย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา
ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ

ใบพอพันหอหุม กฤษณา
หอมระรวยรสพา เพริศดวย
คือคนเสพเสนหา นักปราชญ
ความสุขซาบฤๅมวย ดุจไมกลิ่นหอม

ยางขาวขนเรียบรอย ดูดี
ภายนอกหมดใสสี เปรียบฝาย
กินสัตวเสพปลามี ชีวิต
เฉกเชนชนชาติราย นอกนั้นนวลงาม
๘๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

รูปแรงดูรางราย รุงรัง
ภายนอกเพียงพึงชัง ชั่วชา
เสพสัตวทมี่ รณัง นฤโทษ
ดังจิตสาธุชนกลา กลั่นสรางทางผล

เปนคนควรรอบรู สมาคม
สองประการนิยม กลาวไว
หนึ่งพาลหนึ่งอุดม นักปราชญ
สองสิ่งนีจ้ งให เลือกรูส มาคม

ใหนักเรียนทําเครื่องหมาย  ลงในชองที่ตนเองปฏิบัตไิ ดตามความเปนจริง


ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช) ๑ (ปรับปรุง)
๑. อักขรวิธี
๒. อานถูกตองตามฉันทลักษณของโคลงสี่สภุ าพ
๓. บุคลิกภาพ ทาทางในการอาน
๔. น้ําเสียงในการอาน
๕. มารยาทในการอาน
รวมคะแนน

สรุปผล รวมทั้งหมด ได..................คะแนน

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๘๙

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การอธิบายความหมายของคําศัพทจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง คําศัพทนารูคูโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําศัพท หมายถึง คํายากที่ตองแปลความหมาย และทําความเขาใจใหถูกตอง


ซึ่งในการเรียนรูเรื่อง โคลงโลกนิติ นั้น จําเปนที่ตองแปลความหมายของคําศัพทที่ปรากฏ
เพื่อใหเขาใจเนื้อเรื่องที่อานไดอยางรวดเร็ว และเขาใจไดงาย
ที่มาของโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ เชื่อกันวามีมาตั้งแตสมัยกรุงศรีอยุธยา โดยนักปราชญในสมัยนั้น
ไดคัดเลือกหาคาถาสุภาษิตที่เปนภาษาบาลีและภาษาสันสกฤตที่ปรากฏในคัมภีรตาง ๆ
เชน คัมภีรโลกนิติ, คัมภีรธรรมนีติ, หิโตปเทศ, ธรรมบท และพระไตรปฎก เปนตน ตอมา
ในสมัยรัตนโกสินทร รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวทรงพระกรุณา
โปรดเกลาฯ ใหบูรณปฏิสังขรณวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) ในป พ.ศ. ๒๓๗๔
และมีดําริใหจารึกวิชาการสาขาตาง ๆ ไวบนแผนศิลาที่ประดับไวตามเสาหรือกําแพง
พระวิหาร
ในการนี้จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให สมเด็จพระเจานองยาเธอกรมขุนเดช
อดิศร (ตอมาไดดํารงพระยศเปน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาเดชาดิศร)
ทรงชําระโคลงโลกนิติของเกาใหประณีตไพเราะยิ่งขึ้น เพื่อจารึกไวในคราวเดียวกัน
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ (อานวา โคลง - โลก - กะ - นิด) คําวา “กะ” ออกเสียงอะกึ่งเสียง
เปนวรรณคดีอีกเรื่องที่คนไทยรูจักกันดี มีที่มาจากสุภาษิตโบราณ ตอมาไดนํามาแตงเปน
บทประพันธ เพื่อใหเปนคติสอนใจแกคนทั่วไป
โคลงโลกนิติ จัดเปนวรรณคดีคําสอน มุงหมายใหเปนเครื่องเตือนสติแกผูอาน
และเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต มีเนื้อหาสาระสําคัญกลาวถึงความเปนจริงที่เกิดขึ้น
ในชีวิตของมนุษย รวมทั้งความเปนไปของโลก ถือเปนเรื่องปกติธรรมดา เชน ธรรมชาติ
ของมนุษย คุณคาของความรู วิธีการแสวงหาความรู แนวทางการดําเนินชีวิตเรื่อง เชน
การเลือกคบคน การวางตัวในสังคม เปนตน
๙๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

จุดประสงคในการแตง
โคลงโลกนิติ เปนโคลงสุภาษิตเกาแกที่มีจุดมุงหมายเพื่อแนะแนวทางการปฏิบัติตน
ในสังคม สอนใหคนในสังคมเปนคนดี มีขอคิดคติเตือนใจในการดําเนินชีวิต
ลักษณะเนื้อหาของโคลงโลกนิติ
เนื้อหาในโคลงโลกนิติมุงแสดงความจริงของโลกและสัจธรรมของชีวิต เพื่อให
ผูอานไดรูเทาทันตอโลกและเขาใจในความเปนไปของชีวิต พรอมเปนแมแบบเพื่อให
ผูอานไดดําเนินชีวิตไปในทางที่ถูกตองดีงามสืบไป โคลงโลกนิติมีความไพเราะเหมาะสม
ทั้งดานรูปแบบและเนื้อหาปรัชญาสาระ และคุณคาทางวรรณคดี
การอธิบายความหมายของคําศัพทในบทเรียน
การอ า นโคลงโลกนิติ จํ า เป น ที่ จ ะต อ งรู จั ก คํ าศั พ ท แ ละทราบความหมายของ
คําศัพท เพื่อใหเขาใจเรื่องที่อาน ซึ่งคําศัพทในบทเรียนั้น มีทั้งคําที่มีความหมายโดยตรง
และโดยนัย ผูอานจะตองใชบริบทในการเขาใจความหมาย จึงจะชวยใหอานเรื่องไดอยาง
ถูกตอง รวดเร็ว ทําใหเขาใจความหมายของบทรอยกรองที่อานได และเกิดความซาบซึ้ง
ประทับใจยิ่งขึ้น
การอธิบายความหมายของคําศัพท สามารถคนหาความหมายของคําไดจาก ดังนี้
๑. เปดพจนานุกรม เพราะในพจนานุกรมจะมีความหมายของคําศัพท
๒. เปดดูอภิธานศัพททายหนังสือเรียน
๓. สังเกตบริบทของคํา ประโยค และขอความจากเรื่องที่อาน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๙๑

ตัวอยาง คําศัพทในโคลงโลกนิติ
เวี่ยไวในกรรณ หมายถึง เปรียบไดกับอาภรณหรือเครื่องประดับหู
กลางสนาม หมายถึง ในที่ชุมชน
ขนนอย หมายถึง หามาแคเล็กนอย
ขร้ํา หมายถึง คือคําวา คร่ํา หมายถึง เกามาก
ครรโลง หมายถึง แผลงมาจากคําวา โคลง
จุ หมายถึง มีขนาด
โฉด หมายถึง โง, เขลา
ชะเล หมายถึง ทะเล
เด็ด หมายถึง ทําใหขาดออก หลุดออก ในที่นี้หมายถึง ตาย
เตา หมายถึง ภาชนะที่ใสปูน เรียกวา เตาปูน
ถายแทนชีวา-วาตม หมายถึง ตายแทนได
ผรอง หมายถึง ลดลง เปนคําโทโทษของคําวา พรอง
พสุธา หมายถึง แผนดิน
พาง หมายถึง เปรียบไดกับ
เพิด หมายถึง ขับไล
เพื่อ หมายถึง เพราะวา
ไพ หมายถึง มาจากคําวา ไยไพ หมายถึง เยาะเยย
มาน หมายถึง มี
มี หมายถึง ร่ํารวย
ยาก หมายถึง ยากจน
เยี่ยง หมายถึง อยาง
รังแตง หมายถึง สรางรัง
เรื้อ หมายถึง ราง
ศศิ หมายถึง ดวงจันทร
ศิขรา หมายถึง ศิขร หมายถึง ยอดเขา
๙๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ตัวอยาง การอธิบายความหมายของคําศัพท

นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบทําเดโช แชมชา
พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี

จากการอานโคลงโลกนิติบทขางตน จะตองแปลความหมายของคําศัพทที่ปรากฏ
เพื่อใหเขาใจความหมายของเรื่อง โดยสามารถคนหาคําศัพทจากเรื่องได ดังนี้

คําศัพทที่ได ๑. นาคี หมายถึง งูใหญมีหงอน เปนสัตวในนิยาย หรือ นาค


(พญานาค)
๒. สุริโย หมายถึง พระอาทิตย
๓. เดโช หมายถึง อํานาจ
๔. โยโส หมายถึง เยอหยิ่ง เพราะถือตัววาตนเหนือกวา มาจาก
คําวา ยโส เชน หยิ่งยโส, ยโสโอหัง
๕. ฤทธี หมายถึง อํานาจ บางก็ใชคําวา ฤทธิ์
๖. แมลงปอง หมายถึง แมงปอง
คําที่มีความหมายโดยนัย (เชิงเปรียบเทียบ)
๑. นาคี หมายถึง ผูมีอํานาจ
๒. แมลงปอง หมายถึง คนหยิ่งยโส
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๙๓

ใบงานที่ ๒ เรื่อง การอธิบายความหมายของคําศัพทจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง คําศัพทนารูคูโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนอธิบายความหมายของคําศัพทจากเรื่อง โคลงโลกนิติ ที่กําหนด

ปลาราพันหอดวย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา
ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ

คําศัพทที่ได ๑) .......................... หมายถึง......................................................................


๒) .......................... หมายถึง......................................................................
๓) .......................... หมายถึง......................................................................
๔) .......................... หมายถึง......................................................................
๕) .......................... หมายถึง......................................................................
คําที่มีความหมายโดยนัย (เชิงเปรียบเทียบ) ไดแกคําวาอะไรบาง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
๙๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

รูปแรงดูรา งราย รุงรัง


ภายนอกเพียงพึงชัง ชั่วชา
เสพสัตวทมี่ รณัง นฤโทษ
ดังจิตสาธุชนกลา กลั่นสรางทางผล

คําศัพทที่ได ๑) .......................... หมายถึง......................................................................


๒) .......................... หมายถึง......................................................................
๓) .......................... หมายถึง......................................................................
๔) .......................... หมายถึง......................................................................
๕) .......................... หมายถึง......................................................................
๖) .......................... หมายถึง......................................................................
คําที่มีความหมายโดยนัย (เชิงเปรียบเทียบ) ไดแกคําวาอะไรบาง
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๙๕

ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การถอดความหรือถอดคําประพันธ
ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ๒๕๕๔ ใหความหมาย
ไววา ถอดความ หมายถึง แปลใหเขาใจความไดงายขึ้น
การถอดความจากบทรอยกรอง คือ การอธิบายความหมายของคําและเคาโครง
เดิมของบทรอยกรอง โดยอาจอธิบายจากบทรอยกรองที่เปนบทบรรยายหรือพรรณนา
โวหาร ทั้งนี้ การถอดความมีประโยชนคือ ทําใหเขาใจบทรอยกรองบทนั้นไดงายยิ่งขึ้น
ในการเรียนภาษาไทย ทักษะดานการอานเปนสิ่งสําคัญ แตในบางครั้งบทเรียน
นอกจาก จะเปนรอยแกวธรรมดาแลวยังมีรอยกรองอีกดวย ซึ่งรอยกรองบางบทยังใช
คําศัพทที่ยากและไมคุนเคยในชีวิตประจําวัน จึงทําใหยากตอการทําความเขาใจ จึงมีการนํา
รอยกรองแตละบทมาแยกคําศัพทยาก หาความหมายของคําศัพทนั้น พรอมถอดความ
เปนรอยแกว เพื่อความสะดวกในการทําความเขาใจในเรื่อง
หลักการถอดความจากบทรอยกรอง มีแนวทาง ดังนี้
๑. ตองรูความหมายของคําศัพทในเรื่องนั้น ๆ อยางถูกตองถองแท จะชวยให
สามารถถอดคําประพันธจากเรื่องที่อานไดงายขึ้น
๒. ศึกษาเนื้อหาโดยรวมของเรื่องนั้น ๆ วาเรื่องนั้นกลาวเกี่ยวกับอะไรเปนสําคัญ
และตองทําความเขาใจเรื่องนั้นใหแจมแจง ชัดเจน
๓. ถอดความทีละบรรทั ด/หรือ ทีล ะวรรค ดวยภาษาของตนเอง โดยคํานึ ง ถึง
เรื่องราวกอนหนานั้นประกอบดวย
๔. ทําความเขาใจกับประโยคที่ถอดความใหเขาใจอยางถูกตอง ชัดเจน
๕. เรียบเรียงขอความใหมเหมือนการพูดเลาเรื่องราวนั้นใหผูอื่นฟง เพราะจะ
ทําใหไดตรวจทานการถอดความไดดีขึ้น
๙๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ตัวอยาง การถอดความจากโคลงโลกนิติ

นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบทําเดโช แชมชา
พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี

ถอดความไดวา งูเปนสัตวที่มีพิษแรงกลาเหมือนดั่งพระอาทิตย แตมันกลับชอบเลื้อย


ชา ๆ ไมแสดงอาการอวดอางอํานาจแตอยางใด ตางจากแมงปองที่มีพิษนอยแตชอบ
อวดอางชูหางตัวเองเพื่อแสดงอํานาจ

ปลาราพันหอดวย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา
ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ

ถอดความไดวา ปลาราที่มีกลิ่นเหม็นหากเรานําใบคามาหอ กลิ่นเหม็นของปลารายอม


ติดไปกับใบคานั้นดวย เหมือนกับการคบเพื่อน หากเราคบเพื่อนไมดี เราก็จะไดรับแตสิ่ง
ไมดี ทําใหเสียชื่อเสียงวงศตระกูล ซึ่งตรงกับสํานวนที่วา “คบคนพาล พาลพาไปหาผิด”
ประโยชนของการถอดความจากโคลงโลกนิติ
การถอดความจากโคลงโลกนิติ จะชวยใหเขาใจเนื้อเรื่องทั้งหมดที่อาน เพราะ
เนื้อหาของโคลงโลกนิตินั้น มีถอยคําภาษาบางคําที่เปนภาษาโบราณ มีคํายากที่คนทั่วไป
ไมคุนเคย ไมไดใชสนทนาสื่อสารในปจจุบัน จึงจําเปนที่จะตองถอดความ เพื่อใหเขาใจ
เนื้อหาเขาใจจุดประสงคของผูแตง เขาใจเนื้อเรื่องโดยรวมวา
โคลงโลกนิ ติในแต ล ะบทนั้น สอนเกี่ ย วกับ อะไร เตื อ นสติ เ กี่ย วกั บเรื่ อ งใดเปน
สําคัญ ดังนั้น การถอดความจึงมีสวนชวยใหผูอานเรียนรูโคลงโลกนิติไดเปนอยางดี
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๙๗

ใบงานที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนถอดความจากโคลงโลกนิติที่กําหนดให และเลือกบทที่สนใจ ๑ บท

ผลเดื่อเมื่อสุกไซร มีพรรณ
ภายนอกแดงดูฉัน ชาดบาย
ภายในยอมแมลงวัน หนอนบอน
ดุจดั่งคนใจราย นอกนั้นดูงาม

ถอดความไดวา..................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………
………………………………………………..……………………………………

ถอดความไดวา..................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๙๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การสรุปความรู
การสรุปความรู เปนการสรุปความรูหรือทฤษฎีที่ปรากฏอยูในเรื่องที่อาน โดยเขียน
สรุปเปนประโยคสั้น ๆ หรือขอความสั้น ๆ เพื่อขยายความเขาใจใหชัดเจนมากขึ้น
การสรุปขอคิด
การสรุ ป ข อ คิ ด เป น การค น หาข อ คิ ด จากเรื่ อ งที่ อ า น ซึ่ ง ข อ คิ ด อาจแฝงอยู ใ น
เนื้อเรื่อง หรืออยูสวนทายของเรื่องที่อาน โดยผูอานอาจเขียนสรุปขอคิดเปนประโยค
หรือขอความสั้น ๆ ได หรือเปนคําคมก็ได
ดังนั้น การสรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน คือ การคนหาขอคิดหรือคติ
สอนใจจากเรื่องที่อานวาเรื่องนั้น ๆ ใหขอคิดที่เปนประโยชนอะไรบางแกผูอาน แลวจึง
นําขอคิดนั้นมาประยุกตใชในชีวิตประจําวันได
การหาขอคิดจากการอานหนังสือตาง ๆ เชน นิทาน เรื่องสั้น ฯลฯ โดยเมื่ออาน
จบเรื่องแลวจับใจความสําคัญหรือประเด็นสําคัญที่ผูเขียนตองการใหขอคิดกับผูอาน
การสรุปความรูและขอคิดมีหลักพื้นฐาน ดังนี้

๑. อานรอบแรกเพื่อดูชื่อเรื่อง แลวอานโดยมีคําถามในใจวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน


เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร หากขอความใดสําคัญใหขีดเสนใตไว
๒. อานอีกครั้ง โดยดูรายละเอียดของเนื้อหา เพื่อคนหาความรูและขอคิด
๓. อานเพิ่มอีกจนกวาจะเขาใจเนื้อหา
๔. เขียนสรุปใจความสําคัญของแตละยอหนาไว
๕. นําใจความสําคัญที่รวบรวมไวมาเขียนเรียบเรียงใหมอยางละเอียดและสละสลวย
โดยใชสํานวนภาษาของตนเอง
๕. ทบทวนการเขียนสรุปความรูอีกครั้ง เพื่อพิจารณาสวนที่ตองแกไขหรือเพิ่มเติม
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๙๙

ตัวอยาง การสรุปความรูและขอคิดจากโคลงโลกนิติ
กานบัวบอกลึกตื้น ชลธาร
มารยาทสอสันดาน ชาติเชื้อ
โฉดฉลาดเพราะคําขาน ควรทราบ
หยอมหญาเหี่ยวแหงเรื้อ บอกรานแสลงดิน
สรุปความรูและขอคิดไดวา เราสามารถรูความลึกของรองน้าํ ลําน้ํา คลอง หวย ได
โดยการวัดความยาวของกานบัว เปรียบเทียบวา กานบัว สามารถบอกความตื้นลึกของน้ํา
ไดฉันใด กิริยามารยาทของคนก็สามารถบงบอกถึงการอบรมเลี้ยงดูไดฉันนั้น คําพูด
ก็สามารถบงบอกใหรูวาคนนั้นพูดฉลาดหรือพูดโง เชนเกี่ยวกับหยอมหญาที่เหี่ยวแหง
ยอมบอกใหรูวาดินในบริเวณนั้นไมดี
โคลงโลกนิ ติ เป น บทร อ ยกรองที่ ใ ห ทั้ ง ความรู แ ละข อ คิ ด สอนให รู จั ก ความดี
ความชั่ว การที่เราไดรับผลอยางไรยอมมีเหตุมาจากการกระทําของเราทั้งสิ้น ผูทําดี
ยอมไดรับผลดีตอบแทน ผูทําชั่วยอมไดรับผลชั่วตอบแทน ผลที่เกิดจากการทําความชั่ว
ยอมกัดกรอนใจ ซึ่งเปรียบไดกับสนิมกัดกรอนเนื้อเหล็กใหผุพัง ดังโคลงโลกนิติที่วา

สนิมเหล็กเกิดแตเนื้อ ในตน
กินกัดเนือ้ เหล็กจน กรอนขร้ํา
บาปเกิดแตตนคน เปนบาป
บาปยอมทําโทษซ้ํา ใสผูบาปเอง

อธิบายไดวา สนิมของเหล็กนั้นที่แทแลวก็เกิดขึ้นมาจากเนื้อของเหล็ก และสนิมนั้น


ก็จะกัดกินเนื้อเหล็กจนผุกรอนไปจนสิ้น เปรียบไดกับบาปที่ก็เกิดขึ้นจากตัวบุคคลเอง
แลวผลแหงบาปนั้นก็จะใหทุกขใหโทษแกผูที่กระทําบาปนั่นเอง
๑๐๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหเขียนสรุปความรูและขอคิดที่ไดจากการอานโคลงโลกนิติ ที่กําหนดให

ยางขาวขนเรียบรอย ดูดี
ภายนอกหมดใสสี เปรียบฝาย
กินสัตวเสพปลามี ชีวิต
เฉกเชนชนชาติราย นอกนั้นนวลงาม

๑. สรุปความรูและขอคิดไดวา

๒. นักเรียนจะนําขอคิดที่ไดไปปรับใชในชีวิตประจําวันอยางไร
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๐๑

นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบทําเดโช แชมชา
พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี

๑. สรุปความรูและขอคิดไดวา

๒. นักเรียนจะนําขอคิดที่ไดไปปรับใชในชีวิตประจําวันอยางไร

ชื่อ............................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่.........
๑๐๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอธิบายคุณคาจากเรื่องที่อาน เปนการวิเคราะหลักษณะดีเดนในดานตาง ๆ
ของเรื่องที่อาน โดยใชความคิดพิจารณาไตรตรอง กลั่นกรอง แยกแยะ และแสวงหา
เหตุผลเพื่อประเมินคุณคาของวรรณคดีอยางมีเหตุผล
การอ า นหนั ง สื อ หรื อ เรื่ อ งราวต า ง ๆ อย า งพิ นิ จ พิ เ คราะห จ ะทํ า ให ป ระจั ก ษ
ในคุณคา รวมทั้งสนุกสนานเพลิดเพลินจากการอานยิ่งขึ้น คุณคาของเรื่องที่อานแบงกวาง ๆ
ได ๔ ดาน ดังนี้
๑. คุณคาดานเนื้อหาสาระ
การที่ผูอานจะไดรับความรู ความคิดเพิ่มขึ้น ทําใหมีปญญาแตกฉานทั้งดาน
วิทยาการ ความรูรอบตัว ความรูเทาทันคนและอื่น ๆ
๒. คุณคาดานวรรณศิลป
ศิลปะในการประพันธและความงามทางภาษา เปนการใชคําใหเกิดความงาม
ความไพเราะทางภาษา ผูอานสามารถซาบซึ้งในความหมายของคํา เห็นภาพเคลื่อนไหว
เกิดภาพพจนจินตนาการตามอารมณและความนึกคิดตาง ๆ เชน ความรูสึกโศกเศรา
สะเทือนใจ โกรธ ตลกขบขัน เปนตน
๓. คุณคาดานสังคมและวัฒนธรรม
เรื่องราวที่อานจะสะทอนใหเ ห็นสภาพสั งคม วัฒนธรรมประเพณี คานิย ม
คติ ชี วิ ต คํ า สั่ ง สอน คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ความเป น อยู ประวั ติ ศ าสตร การเมื อ ง
อาหารการกิน สอดแทรกไปกับการดําเนินเรื่อง ทําใหผูอานไดรับความรูเกี่ยวกับสังคม
ในอดีต ชวยใหเขาใจวิถีชีวิตความเปนไทยมากยิ่งขึ้น และงานเขียนที่ดีจะชวยจรรโลง
สังคมไดดวย
๔. คุณคาดานการนําขอคิดไปใชในชีวิตประจําวัน
การที่ผูอานสามารถนําแนวคิดจากวรรณคดีและประสบการณจาก เรื่องที่อาน
ไปประยุกตใชหรือแกปญหาในชีวิตประจําวันได
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๐๓

การหาขอคิดจากเรื่องที่อาน
ขอคิด หมายถึง ประเด็นชวนคิด คติที่เปนประโยชน
การหาขอคิดจากเรื่องที่อาน หลังจากอานเรื่องนั้น ๆ ไดขอคิดที่เปนประโยชน
อะไรบาง แลวจะนําขอคิดนั้นมาประยุกตใชในชีวิตประจําวันอยางไร
การคนหาขอคิดจากการอานหนังสือ ควรอานตั้งแตตนจนจบเรื่อง แลวทําความ
เขาใจเนื้อเรื่อง จับใจความสําคัญ หรือประเด็นสําคัญที่ผูเขียนตองการใหขอคิดกับผูอาน
การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ เปนวรรณคดีคําสอนที่แฝงไปดวยสุภาษิต มุงหมายใหเปนเครื่อง
เตือนสติแกผูอาน และเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต มีเนื้อหาสาระสําคัญกลาวถึง
ความเปนจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตของมนุษย รวมทั้งความเปนไปของโลก ถือเปนเรื่องปกติ
ธรรมดา เชน ธรรมชาติของมนุษย คุณคาของความรู วิธีการแสวงหาความรู แนวทาง
การดําเนินชีวิตเรื่อง เชน การเลือกคบคน การวางตัวในสังคม เปนตน
ข อคิ ด ของโคลงโลกนิ ติ โคลงแต ล ะบทจะมี ข อ คิ ดที่ ก ล าวอย างตรงไปตรงมา
และกลาวสอนแบบนัย (ความหมายแฝงและความหมายเชิงเปรียบเทียบ)
การใชอุปมาในโคลงโลกนิติ อุปมา คือ การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง
เพื่อใหเห็นภาพชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยที่ทั้งสองสิ่งนั้นมีสภาพที่แตกตางกัน แตมีลักษณะ
เดนรวมกัน เชน ผิวของเธอขาวราวกับสําลี จมูกของเพียงพอเหมือนลูกชมพู ซึ่งทั้งสอง
ประโยคมีการใชคําสําคัญในการเปรียบเทียบ โดยในประโยคแรกใชคําวา “ราวกับ” และ
ประโยคที่สองใช คําวา “เหมือน” ดังนั้น คําสําคัญที่มักใชเปรียบเทียบ ไดแก ดุจ ดั่ง
ราว ราวกับ เปรียบ เสมือน พาง เพี้ยง ประดุจ เฉก เชน เลห ปาน ประหนึ่ง
เปนตน
ตัวอยาง การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ
ปลาราพันหอดวย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา
ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ
๑๐๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๑. ดานเนื้อหา คือ สอนเรื่องการเลือกคบเพื่อน เราไมควรคบคนพาล เพราะคนพาล


จะชักชวนเราไปทําในสิ่งที่ผิด ทําใหเสียชื่อเสียงแกวงศตระกูล เราควรเลือกคบคนดี
เพราะคนดีจะชักชวนเราไปทําแตสิ่งที่ดีและเปนประโยชน ดังคํากลาวที่วา “คบคนพาล
พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล”
๒. ด า นวรรณศิ ล ป คื อ การใช คํ า เปรี ย บเที ย บหรื อ อุ ป มาโวหาร ซึ่ ง ใช คํ า ว า
“ปลารา” เปรียบเทียบไดกับ “คนพาล, คนเกเร” ทําใหเกิดความงามทางภาษาอยางหนึ่ง
๓. ดานสังคมและวัฒนธรรม คือ แทรกวิถีชีวิตของคนสมัยกอน โดยพอแมมัก
สอนใหลูกเลือกคบคนดีเปนมิตร เพราะถาคบคนพาลก็จะถูกชักจูงไปทําในเรื่องเสื่อมเสีย
ทําใหเสียหายแกวงศตระกูล
๔. ดานการนําขอคิดไปใชในชีวิตประจําวัน คือ หากเราอยูในสังคมที่มีทั้งคนดี
และคนไมดี จะตองรูจักแยกแยะคนดีและคนไมดีใหได และรูจักเลือกคบคนดีเปนมิตร
ไมคบคนที่มีนิสัยพาล หรือนิสัยเกเร
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๐๕

ใบงานที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาและขอคิดจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกโคลงโลกนิติที่สนใจ ๑ บท แลวเขียนอธิบายคุณคาและขอคิด


จากโคลงโลกนิติบทนั้น

...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................

๑. ดานเนื้อหา คือ.............................................................................................................
...........................................................................................................................................
๒. ดานวรรณศิลป คือ......................................................................................................
...........................................................................................................................................
๓. ดานสังคมและวัฒนธรรม คือ......................................................................................
...........................................................................................................................................
๔. ดานการนําขอคิดไปใชในชีวิตประจําวัน คือ..............................................................
...........................................................................................................................................

ชื่อ.........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๑๐๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๖ เรื่อง สํานวนเปรียบเทียบที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง สํานวนเปรียบเทียบที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

สํ า นวนเปรี ย บเที ย บ หมายถึ ง ถ อ ยคํ า ที่ เ ป น ชั้ น เชิ ง ไม ต รงตามรู ป ภาษา
มีลักษณะเฉพาะตัว มีความหมายเปนนัยแฝงอยู กินความกวางหรือลึกซึ้ง นํามาใชใหมี
ความหมายแตกต างไปจากความหมายเดิ มของคํ า ๆ นั้ น หรื อ อาจจะมี ค วามหมาย
เปรียบเทียบกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักใชถอยคําที่ไมยาวมาก คมคาย ลึกซึ้งกินใจ ตองอาศัย
การตีความจึงจะเขาใจ
การใชสํานวนเปรียบเทียบ จะตองใชใหถูกตอง ตรงตามความหมาย และเชื่อมโยง
ใหเขากับเนื้อหาของโคลงโลกนิติ สิ่งสําคัญจะตองใชใหถูกตองตามสถานการณ เหตุการณ
และจะตองเปรียบเทียบอยางมีกาลเทศะ และมีมารยาท
โคลงโลกนิติ เปนบทรอยกรองที่มีคุณคาและคําสอนแกผูอาน สามารถนําคุณคา
คําสอน และขอคิดที่ไดไปปรับใชในการดําเนินชีวิตไดเปนอยางดี นอกเหนือจากคําสอน
ที่ไดแลว โคลงโลกนิติยงั แทรกความรูเกี่ยวกับสํานวนไทยไว โดยเปรียบเทียบเนือ้ หาและ
ขอคิดกับสํานวนไทยอยางสัมพันธกัน
ตัวอยาง

ปลาราพันหอดวย ใบคา
ใบก็เหม็นคาวปลา คละคลุง
คือคนหมูไปหา คบเพื่อน พาลนา
ไดแตรายรายฟุง เฟองใหเสียพงศ

สํานวนที่เปรียบเทียบกับโคลงโลกนิติบทนี้ คือ คบคนพาลพาลพาไปหาผิด


อธิบายไดวา การที่เราคบคนพาล คนพาลมักชักชวนเราไปในทางที่ผิด และทําใหเสื่อมเสีย
ถึงวงศตระกูลของตนเอง
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๐๗

ใบงานที่ ๖ เรื่อง สํานวนเปรียบเทียบที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง สํานวนเปรียบเทียบที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกสํานวนเปรียบเทียบที่สัมพันธกับโคลงโลกนิติ ตามที่กําหนดให

ยางขาวขนเรียบรอย ดูดี
ภายนอกหมดใสสี เปรียบฝาย
กินสัตวเสพปลามี ชีวิต
เฉกเชนชนชาติราย นอกนั้นนวลงาม

มือถือสาก ปากถือศีล มือไมพายเอาเทาราน้ํา

๑. สํานวนที่เปรียบเทียบกับโคลงโลกนิติบทนี้ คือ
๒. อธิบายไดวา

ใบพอพันหอหุม กฤษณา
หอมระรวยรสพา เพริศดวย
คือคนเสพเสนหา นักปราชญ
ความสุขซาบฤๅมวย ดุจไมกลิ่นหอม

หนาเนื้อใจเสือ คบบัณฑิตบัณฑิตพาไปหาผล
๑. สํานวนที่เปรียบเทียบกับโคลงโลกนิติบทนี้ คือ
๒. อธิบายไดวา
๑๐๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบทําเดโช แชมชา
พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ชูแตหางเองอา อวดอางฤทธี

คมในฝก ดาบสองคม

๑. สํานวนที่เปรียบเทียบกับโคลงโลกนิติบทนี้ คือ
๒. อธิบายไดวา

กบเกิดในสระใต บัวบาน
ฤาหอนรูรสมาลย หนึ่งนอย
ภุมราอยูไกลสถาน นับโยชนก็ดี
บินโบกมาคอยคอย เกลือกเคลาเสาวคนธ

ใกลเกลือกินดาง ชางตายทั้งตัวเอาใบบัวมาปด

๑. สํานวนที่เปรียบเทียบกับโคลงโลกนิติบทนี้ คือ
๒. อธิบายไดวา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๐๙

รูนอยวามากรู เริงใจ
กลกบเกิดอยูใน สระจอย
ไปเห็นชเลไกล กลางสมุทร
ชมวาน้ําบอนอย มากล้ําลึกเหลือ

กบในกะลาครอบ ช้างตายทัง้ ตัวเอาใบบัวมา

๑. สํานวนที่เปรียบเทียบกับโคลงโลกนิติบทนี้ คือ
๒. อธิบายไดวา

ผลเดื่อเมื่อสุกไซร มีพรรณ
ภายนอกแดงดูฉัน ชาดบาย
ภายในยอมแมลงวัน หนอนบอน
ดุจดังคนใจราย นอกนั้นดูงาม

ขางนอกสุกใส ขางในเปนโพรง ปากวาตาขยิบ

๑. สํานวนที่เปรียบเทียบกับโคลงโลกนิติบทนี้ คือ
๒. อธิบายไดวา

ชื่อ..............................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
๑๑๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขิ อคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนแสดงความคิดเห็น เปนการเขียนขยายความเขาใจจากเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
โดยอธิบายหรือแสดงความคิดเห็นประกอบเรื่องนั้นอยางมีเหตุผล
หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
๑. ศึกษาเรื่องที่สนใจจะเขียนใหเขาใจ ชัดเจน แจมแจง
๒. กลาวถึงขอมูลหรือขอเท็จจริงกอน แลวจึงกลาวความรูสึกหรือความคิดเห็น
โดยใชเหตุผลหรือหลักฐานประกอบ
๓. ควรเขียนในเชิงสรางสรรค และมีขอเสนอแนะ
๔. มีมารยาทในการเขียน เขียนดวยภาษาที่สุภาพ ไมใชถอยคํารุนแรง
๕. ควรเขียนแบบรางกอน ตรวจสอบปรับปรุงสํานวนภาษา รวมทั้งเขียนสะกดคํา
ใหถูกตอง

ตัวอยางการเขียนแสดงความคิดเห็น

ความแห ง แล ง เกิ ด ขึ้ น จากการที่ ม นุ ษ ย ตั ด ต น ไม ทํ า ลายป า จึ ง เป น สาเหตุ


ทํ า ให เ กิ ด ภาวะโลกร อ น ทรั พ ยากรธรรมชาติ ก็ สู ญ หายไป แต เ ดิ ม โลกของเรามี
ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ แตตอนนี้โลกเราเปลี่ยนไปมาก ทรัพยากรที่เราเห็นกัน
อยูนั้นคอย ๆ ลดนอยลงไปเรื่อย ๆ ถามนุษยทุกคนหมั่นอนุรักษน้ํา อนุรักษปาไม และ
อนุรักษทรัพยากร ภัยแลงก็ยากจะมาเยือน มนุษยทุกคนสามารถเปลี่ยนแปลงโลก
โดยแยกขยะรีไซเคิล ปลูกตนไม ไมทิ้งขยะลงในลําธาร ไมฆาสัตว สิ่งเหลานี้ก็พอจะ
ชวยโลกของเราได
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๑๑

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากโคลงโลกนิติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขิ อคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนแสดงความคิดเห็นจากโคลงโลกนิติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโคลงโลกนิติที่กําหนดให

ยางขาวขนเรียบรอย ดูดี
ภายนอกหมดใสสี เปรียบฝาย
กินสัตวเสพปลามี ชีวิต
เฉกเชนชนชาติราย นอกนั้นนวลงาม

ขอความการเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................
๑๑๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

นาคีมีพิษเพี้ยง สุริโย
เลื้อยบทําเดโช แชมชา
พิษนอยหยิ่งโยโส แมลงปอง
ชแตหางเองอา อวดอางฤทธี

ขอความการเขียนแสดงความรูสึกและความคิดเห็น

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................

ชื่อ..............................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๑๓

ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขิ อคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู
การพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา
ถือเปนวิธีการที่เหมาะสําหรับแลกเปลี่ยนความรู การพูดรายงานยังอาจพูดเพื่อนําเสนอ
ทฤษฎี นําเสนอวิธีการหรือนําเสนอเรื่องราวตาง ๆ ก็ได
หลักการพูดรายงาน
๑. เริ่มพูดดวยการกลาวนํา เชน ทักทายผูรวมงาน บอกจุดประสงคของการพูด
รายงาน
๒. ควรพูดใหชัดเจนออกเสียงถูกตอง เสียงดังพอประมาณ น้ําเสียงนุมนวลนาฟง
๓. รายงานเรื่องตามลําดับเนื้อหา ลําดับขั้นตอน หรือลําดับเหตุการณใหถูกตอง
และตอเนื่องสัมพันธกัน ควรมีแหลงอางอิงเพื่อความนาเชื่อถือ และควรทําความเขาใจ
เนื้อหาใหถองแท เพื่อประโยชนในการอธิบายและตอบขอซักถาม
๔. มีบุคลิกภาพที่ดี ยืน หรือนั่งอยางสํารวม
๕. รักษาเวลาในการพูดตามที่กําหนด ไมพูดยืดเยื้อวกวน
๖. เมื่อพูดรายงานจบ ควรเปดโอกาสใหผูฟงซักถามหรือแสดงความคิดเห็น
๗. กลาวขอบคุณเมื่อไดรับคําชมเชย หรือขอคิดเห็นเรื่องตาง ๆ
ขอควรปฏิบัติในการพูดรายงาน
๑. พูดเสนอเนื้อหาสาระทีเปนประโยชน เปนขอ ๆ ชัดเจน ตรงประเด็น
๒. อาจมีอุปกรณประกอบการพูดรายงาน เชน เอกสาร รูปภาพ แผนผัง แผนภูมิ
๓. มีความรูความเขาใจเรื่องทั้งหมดเปนอยางดี
๔. มีทาทางประกอบการพูดที่เปนธรรมชาติเพื่อใหผูฟงรูสึกผอนคลาย
๕. ใชเวลาใหพอเหมาะ ถามีการกําหนดเวลาไวลวงหนา ตองรูจักรักษาเวลา
๖. ควรหลีกเลี่ยงภาษาที่ไมสุภาพเพื่อใหเกียรติผูฟง
๑๑๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๘ เรื่อง แบบรางการพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิตขิ อคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ให นั ก เรี ย นเขี ย นแบบร า งการพู ด รายงานจากเรื่ อ งที่ ฟ ง และดู แล ว ฝ ก พู ด
รายงานหนาชั้นเรียน
เรื่อง

ชื่อ..............................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๑๕

ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕
การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู
ประเภทเรื่องที่ฟงและดู ในชีวิตประจําวัน ไดแก สื่อโฆษณา สื่อเพื่อความบันเทิง
เชน เพลง เรื่องเลา ขาวสาร ปาฐกถา และสุนทรพจน
หลักการฟงและการดูอยางสรางสรรค
๑. มีความพรอมและมีการเตรียมตัวในการฟงและดู
๒. ตั้งใจและมีสมาธิในการฟงและการดูใหตลอดเรื่อง
๓. ฟงและดูอยางมีจุดมุงหมาย
๔. เลือกฟงและดูในสิ่งที่ควรดู และเหมาะสม ไมขัดตอระเบียบประเพณี กฎหมาย
ศีลธรรมและเกิดสิริมงคลแกตัวเอง ไมฟงและดูสิ่งที่ทําใหจิตใจตกต่ํา เศราหมอง หรือตก
อยูในอํานาจของกิเลสฝายต่ํา
๕. เขาใจความหมายของคํา สํานวน ประโยค และขอความที่ดูหรือฟง
๖. จับประเด็นสําคัญใหได วาผูพูดตองการสื่ออะไร สาระสําคัญของเรื่องที่ไดฟง
คืออะไร แยกแยะขอเท็จจริงและขอคิดเห็นได
๗. สรุปใจความสําคัญ ขั้นสุดทายของการฟงและดูเพื่อจับใจความสําคัญก็คือสรุป
ใหไดวา เรื่องอะไร ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร
๘. ใชวิจารณญาณในการฟง ประเมินสิ่งที่ไดฟงวามีประโยชนหรือไม ถาเปนสิ่งที่ดี
ก็นําไปใชประโยชน
๙. สามารถจนบันทึกประเด็นสําคัญไว เพราะอาจหลงลืมได
มารยาทในการฟงและดู
๑. ฟงและดูดวยความสงบ เพราะจะชวยใหมีสมาธิมากขึ้น
๒. ฟงและดูดวยความตั้งใจ และจดบันทึกประเด็นสําคัญ
๓. ปรบมือแสดงอาการ เมื่อประทับใจ
๔. มองหนาและสบตาของผูพูด
๕. เมื่อมีขอสงสัย ควรยกมือถามหลังผูพูดเปดโอกาสใหถาม และไมควรถามแทรก
๖. ไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่นขณะฟง
๗. ไม ค วรแสดงท า ทาง สี ห น า เมื่ อ ไม พ อใจผู พู ด หรื อ ไม ค วรแสดงกิ ริ ย าที่ ไ ม
เหมาะสม เชน โหรอง หัวเราะเสียงดัง นั่งกระดิกเทา
๘. ตั้งใจฟงและดูเรื่องราว ตั้งแตตนจนจบ ไมควรลุกเดินหนีออกจากที่ประชุม
๙. ไมควรเดินเขาเดินออกขณะที่ผูพูดกําลังพูด หากจําเปนควรทําความเคารพกอน
๑๑๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๙ เรื่อง การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนฟงและดูโฆษณาอยางมีวิจารณญาณและวิเคราะหตามหัวขอที่กําหนด

โฆษณานาสนใจซื้อสินคาหรือไม เพราะอะไร
....................................................................................... โฆษณานี้ขายเกี่ยวกับอะไร
....................................................................................... .................................................
....................................................................................... .................................................
.......................................................................................

ชื่อโฆษณา
.............................................................

การใชภาษาเปนอยางไร โฆษณานาเชื่อถือหรือไม เพราะอะไร


............................................................ ...............................................................
............................................................ ...............................................................
...............................................................
...............................................................
ขอคิดที่ไดรบั คืออะไร ...............................................................
........................................................... ...............................................................
........................................................... ...............................................................
...........................................................

ชื่อ..............................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๑๗

ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง วรรณกรรมสะทอนชีวิตขอคิดสอนใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง วรรณกรรมสะทอนชีวิตขอคิดสอนใจ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของวรรณกรรม
วรรณกรรม ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ใหความหมายไววา น. งานหนังสือ, งานประพันธ, บทประพันธทุกชนิดทั้งที่เปนรอยแกว
และรอยกรอง
สรุปความหมายของ “วรรณกรรม” หมายถึง งานเขียนทั่วไป ที่แตงขึ้นตาม
ความรู ความคิด ความคิดเห็น หรือตามจินตนาการ เชน หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ
นวนิยาย เรื่องสั้น เทศนา คําสอน รวมถึงวรรณคดีดวย
ประเภทของวรรณกรรม มีดังนี้
๑. วรรณกรรมสารคดี หมายถึ ง หนั ง สื อ ที่ แ ต ง ขึ้ น เพื่ อ มุ ง ความรู ความคิ ด
ประสบการณแกผูอานซึ่งอาจใชรูปแบบรอยแกว หรือรอยกรองก็ได เชน หนังสือวิชาการ
ตําราเรียน ตําราอาหาร บทความ ฯลฯ
๒. วรรณกรรมบั น เทิ ง คดี หมายถึ ง วรรณกรรมที่ แ ต ง ขึ้ น เพื่ อ มุ ง ให ค วาม
เพลิดเพลิน สนุกสนานบันเทิงแกผูอาน จึงมักเปนเรื่องที่มีเหตุการณและตัวละคร เชน
เรื่องสั้น นวนิยาย นิทาน บทเพลงตาง ๆ ฯลฯ
ชนิดของวรรณกรรมไทย แบงเปน ๒ ชนิด คือ
๑. วรรณกรรมร อ ยกรอง คื อ ลั ก ษณะงานเขี ย นที่ ใ ช ภ าษาเขี ย นที่ ส ละสวย
คลองจองกัน มีสัมผัสบังคับตามฉันทลักษณ เชน พระอภัยมณี ขุนชางขุนแผน สังขทอง
รามเกียรติ์ ฯลฯ โดยจะใชคําประพันธหลายประเภท เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน
ในการแตง
๒. วรรณกรรมรอยแกว คือ งานเขียนแบบความเรียง หรือ เรียงความ ที่ไมใช
ภาษาคลองจอง เชน บทความ นิทาน เพลง เรื่องสั้น นิยาย
หลักการสรุปความรูและขอคิดจากการอานวรรณกรรม
๑. อานเรื่องทั้งหมดใหเขาใจและคนหาสาระสําคัญของเรื่อง
๒. อานอีกครั้งดูรายละเอียดของเนื้อหา เพื่อคนหาความรูสําคัญและขอคิด
๓. อานเพิ่มอีกจนกวาจะเขาใจเนื้อหามากยิ่งขึ้น
๔. สรุปใจความสําคัญเพียงใจความเดียวของแตละยอหนาไว
๕. นําใจความสําคัญที่รวบรวมไวมาเขียนเรียบเรียงใหมอยางละเอียด ดวยภาษา
ตนเอง
๖. ทบทวนการเขียนสรุปอีกครั้งเพื่อพิจารณาหาสวนที่ตองแกไข
๑๑๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ตัวอยางการสรุปขอคิดจากนิทาน
นิทานพื้นบานเรื่องพิกุลทอง
นานมาแลว มีหญิงหมายนางหนึ่งมีลูกสาวอยูสองคน คนโตชื่อ “มะลิ” รูปราง
หนาตาและนิสัยเหมือนแม คนรองชื่อ “พิกุล” มีรูปรางหนาตาผิวพรรณดี นิสัยงาม
เหมือนพอซึ่งตายไปแลว หญิงหมายผูเปนแมรักมะลิมากกวาพิกุล เนื่องจากมะลิ
มีลักษณะหนาตาเหมือนนาง ดังนั้นจึงมักแกลงใชพิกุลใหทํางานหนัก สวนมะลินั้น
ใหทําเพียงงานเบา ๆ พิกุลไปตักน้ําจากลําหวยเดินผานตนไมใหญตนหนึ่ง พิกุลไดพบ
หญิงชรายืนอยูที่ใตตนไม หญิงชรากลาวกับพิกุลวา “ขอน้ําใหคนแกดื่มแกกระหาย
สักหนอยไดไหมจะ” พิกุลสงสารจึงเต็มใจใหหญิงชราผูนี้ดื่มน้ําที่ตนตักมา เมื่อดื่มน้ํา
เสร็ จ แล ว นางจึ ง เล า ความจริ ง ให ฟ ง ว า ที่ แ ท แ ล ว นางเป น นางไม ห รื อ รุ ก ขเทวดา
แปลงกายมา และเพื่ อ ตอบแทนที่ พิ กุ ล มี น้ํ า ใจ นางจึ ง จะให พ รตอบแทนโดยให มี
ดอกพิ กุ ล ทองร ว งออกมาจากปากทุ ก ครั้ ง ที่ พิ กุ ล พู ด ครั้ น เมื่ อ พิ กุ ล กลั บ ถึ ง บ า น
หญิงหมายผูเปนแมก็ดุดาวาที่พิกุลไปตักน้ําเสียนาน แตพอพิกุลอาปากพูดตอบแม
ดอกพิ กุ ล ทองที่ ส วยงามก็ ร ว งออกมาจากปาก และร ว งออกมาทุ ก ครั้ ง ที่ พิ กุ ล พู ด
หญิงหมายเห็นดอกพิกุลทองซึ่งเปนทองจริง ๆ มีสีเหลืองอรามรวงออกมาจากปาก
ก็เกิดความโลภ อยากไดทองมาก ๆ จึงบังคับใหพิกุลพูดอยูตลอดเวลา เมื่อพูดนานเขา
พิ กุ ล ก็ เ ริ่ ม เจ็ บ คอเสี ย งแหบแห ง ดอกพิ กุ ล ก็ ร ว งออกมาน อ ยลง หญิ ง หม า ยเห็ น
ดอกพิกุลทองออกมานอยลงจึงใหมะลิลูกสาวคนโตไปตักน้ําที่ลําหวยเหมือนกับที่พิกุล
เคยทํ าแล ว ได พ รจากหญิ ง ชรา เมื่ อ มะลิ ไปที่ ตน ไม ใ หญ มะลิ ก ลั บ พบหญิ ง สาวสวย
คนหนึ่งมาขอน้ําดื่ม ฝายมะลิเห็นวาไมใชหญิงชราอยางที่พิกุลบอก มะลิจึงไมใหนํ้าดื่ม
และยังพูดจาหยาบคายตอหญิงสาวผูนั้นอีกดวย ดังนั้นแทนที่หญิงสาวสวยหรือนางไม
จะให พ รเหมื อ นที่ น างให แ ก พิ กุ ล นางกลั บ สาปมะลิ แ ทน เมื่ อ มะลิ ก ลั บ มาบ า น
หญิงหมายผูเปนแมก็บังคับใหมะลิพูดมาก ๆ เพื่อจะไดทองเยอะ ๆ แตแทนที่จะมีทอง
รวงออกมาจากปากมะลิ กลับกลายเปนกิ้งกือไสเดือนรวงออกมาแทน หญิงหมาย
เห็นอยางนั้นก็โกรธมาก หันไปหาวาพิกุลพูดหลอกลวงในเรื่องที่เลาวาไปไดพรจาก
หญิงชรา เปนเหตุใหมะลิโดนสาป แลวนางก็ตรงเขาทํารายพิกุล พิกุลทนไมไดจึงหนี
ออกจากบานเขาไปในปา ระหวางทางนางพิกุลโชคดีไดพบกับพระพิชัยมงกุฎขี่มา
ผานมาพอดี พระพิชัยมงกุฎเห็นพิกุลมีรูปโฉมสวยงามและลักษณะกิริยาเรียบรอย
ก็นึกรัก จึงพาพิกุลเขาไปอยูดวยกันในพระราชวังครองคูอยูดวยกันอยางมีความสุข
มีพระโอรสสองพระองค
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๑๙

วันหนึ่งพระพิชัยมงกุฎ นางพิกุลและพระโอรสทั้งสองไดเสด็จออกประพาส
ลําน้ํา มีนางยักษตนหนึ่งแอบซุมดูขบวนเรือของเจาเมืองอยูอยากไดพระพิชัยมงกุฎ
มาเปนคูครองของตน จึงแปลงกายเปนดอกบัวขึ้นกลางน้ํา ทําใหนางพิกุลเกิดความ
หลงใหลใคร อ ยากได ไว เชยชม จึ ง สั่ ง ให ทหารไปเด็ ดมาให แต ก็ ไม สํ าเร็ จ ไม มีใ คร
สามารถเด็ดได นางพิกุลจึงไปเด็ดดอกบัวดวยตัวเอง นางยักษในคราบของดอกบัว
ก็ดึงแขนนางพิกุลจมดิ่งลงไปในน้ําทันที นางยักษไดถอดเอาเครื่องทรงของนางพิกุล
มาสวมใสแทน และสาปนางพิกุลใหกลายเปนชะนี พอพระพิชัยมงกุฎเห็นนางพิกุล
ตัวปลอมโผลขึ้นมาจากน้ําก็รีบรับขึ้นเรือทันที แตลูกทั้งสองของนางพิกุลคือพระยมยศ
และพระลักษณวงศซึ่งยังเล็กอยู จําไดวาไมใชแมของตน เพราะแมของตนนั้นเวลาพูด
จะต อ งมี ด อกพิ กุ ล ทองร ว งลงมาจากปาก เด็ ก น อ ยทั้ ง สองคนจึ ง ไม ย อมเข า ใกล
นางพิกุลตัวปลอม แตกลับชี้ไปที่ชะนีตัวที่เกาะอยูบนกิ่งไมแลวบอกวานั่นคือแมของตน
ทําใหพระพิชัยมงกุฎโกรธมาก พอพนสายตาพระพิชัยมงกุฎ นางยักษในคราบนางพิกุล
ทั้งหยิกทั้งตีเด็กทั้งสองคนจนเขียวช้ําระบมไปทั้งตัว สวนชะนีตัวนั้นยังคงติดตามเรือ
ไปตลอดเพื่อหาทางแกคําสาป เพราะนางยักษไดสาบไววานางพิกุลในรางชะนีจะพน
คําสาปไดก็ตอเมื่อตองเอาเลือดของนางยกษมารดหัวจึงจะกลับรางเดิมได นางยักษ
ไดรายมนตเสนหใหพระพิชัยมงกุฎหลงใหล ยุยงใหโกรธเกลียดลูกทั้งสองคน ถึงกับ
มีรับสั่งวา ถาหากเห็นวาชะนีนั้นเปนแม ก็จงอยูกับชะนีตัวนั้นก็แลวกัน แลวทิ้งลูก
ทั้งสองคนไวกับนางชะนีที่ใตตนไม แลวพระพิชัยมงกุฎก็เสด็จกลับเมืองไปพรอมดวย
นางยั ก ษ ท่ีแ ปลงเป นนางพิกุ ล ต อ มาลู ก ของนางพิ กุล ได เจริ ญ เติ บ โตเปน หนุมโดย
การเลี้ยงดูของนางพิกุลในรางชะนี เด็กหนุมทั้งสองไดฝกฝนวิชาการตอสูจนเกงกาจ
สามารถ จึงคิดจะกลับไปฆานางยักษทิ้งเสีย ทั้งสองจึงเดินทางกลับเมืองพรอมกับ
นางชะนี เมื่อความจริงถูกเปดเผย นางยักษในรางแปลงจึงยอมปรากฏรางที่แทจริง
ออกมา มนตเสนหที่ครอบคลุมจิตใจของเจาเมืองอยูก็คลายออก เมื่อเจาเมืองไดเห็น
รางนางยักษถึงกับเปนลมลมพับไป ลูกของนางพิกุลทั้งสองคนจึงเขาตอสูกับนางยักษ
ในที่สุดนางยักษบาดเจ็บและถูกจับได ลูกของนางพิกุลจึงนําเลือดของนางยักษไปรดหัว
ของนางชะนี นางชะนีจึงคืนรางกลับเปนนางพิกุล แลวปลอยตัวนางยักษไป ทั้งหมด
จึงกลับมาอยูดวยกันอยางมีความสุข
๑๒๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ขอคิด
๑. การไปดาวาผูอื่นดวยถอยคําที่หยาบคายยอมกอศัตรู
๒. ความอาฆาตพยาบาทจองเวรกัน นํามาซึ่งความทุกขและความวิบัติแกตนเอง
๓. นิทานเรื่องนี้ ทําใหเกิดสํานวนวา “กลัวดอกพิกุลรวง” หมายความวา
ถามอะไรก็นิ่ง ไมตอบหรือไมพูด
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๒๑

ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง วรรณกรรมสะทอนชีวิตขอคิดสอนใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง วรรณกรรมสะทอนชีวิตขอคิดสอนใจ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนสรุปความรูและขอคิดที่ไดจากการอานวรรณกรรมที่สนใจ ๑ เรื่อง


เปนแผนภาพความคิด

การสรุปความรู ประเภทของเรื่องที่อาน
......................................................... ...............................................
.........................................................
.........................................................
แหลงที่มา/แหลงคนควา
........................................

ชื่อเรื่อง.............................................
..........................................................

การนําขอคิดไปใชในการดําเนินชีวิต วรรณกรรมนี้สะทอนชีวิตอยางไร
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................

ชื่อ............................................นามสกุล........................................ชั้น............เลขที่..........
๑๒๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๑ เรื่อง การอานจับใจความสําคัญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง วิถีชีวิตไทย
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของการอานจับใจความ
การอานจับใจความ คือ การอานที่มุงจับประเด็นสําคัญหรือจับใจความสําคัญ
ของเรื่ อ งที่ อา นหรื อ ขอ คิด ของเรื่ อ ง โดยใจความสํ า คั ญ จะเป น ข อ ความที่ ค รอบคลุ ม
ขอความอื่น ๆ ไวทั้งหมด
การอ านจั บ ใจความมั ก เปน การอ านในใจเพื่ อ จั บใจความสํ าคั ญ ผู อ านจะต อ ง
มี ส มาธิ ใ นการอ า น จะต อ งค น หาข อ คิ ด เพื่ อ ใหได รั บ ประโยชน แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ในการอานมากขึ้น
การอ า นจั บ ใจความจากสื่ อ ต า ง ๆ เช น ข า ว เหตุ ก ารณ ป ระจํ า วั น บทความ
วรรณคดี วรรณกรรม นิทานตาง ๆ บทโฆษณา เรื่องสั้น หรือขอความที่มีขนาดยาว
นอกจากจะตองเขาใจสาระสําคัญของเรื่องแลว ควรฝกความสามารถในการอานเพิ่มเติม
ดังนี้
- การแยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
- การแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อานอยางมีเหตุผล
- การระบุความรูและนําขอคิดจากเรื่องที่อานไปใชในการดําเนินชีวิต
หลักพื้นฐานการอานจับใจความสําคัญ

๑. ตั้งจุดมุงหมายในการอานใหชัดเจน
๒. ทําความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับชื่อเรื่อง เพราะจะทําใหเรารูวาเรื่องที่อาน
เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร เปนไปในแนวทางใด จะชวยใหเราคาดการณเรื่องได
๓. อานเรื่องราวอยางละเอียด และเก็บใจความสําคัญของแตละยอหนา
๔. เมื่ออานจบควรตั้งคําถามวา “ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร”
๕. นําสิ่งที่สรุปไดจากการอานมาเรียบเรียงใจความสําคัญใหมดวยสํานวน
ภาษาของตนเองเพื่อใหเขาใจงาย
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๒๓

วิธีจับใจความสําคัญ
วิธีการจับใจความมีหลายอยาง ขึ้นอยูกับความชอบวาอยางไร เชน
- การขีดเสนใต
- การใชสีตาง ๆ กัน เพื่อแสดงความสําคัญมากนอยของขอความ
- การบันทึกยอ เปนสวนหนึ่งของการอานจับใจความสําคัญที่ดี ผูที่ยอควรยอ
ดวยสํานวนภาษาและสํานวนของตนเอง ไมควรยอดวยการตัดเอาขอความสําคัญมาเรียง
ตอกัน เพราะอาจทําใหผูอานพลาดสาระสําคัญบางตอนไปอันเปนเหตุใหการตีความ
ผิดพลาดคลาดเคลื่อนได
๑๒๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

เนื้อเรื่องยอ วิถีชีวิตไทย
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง วิถีชีวิตไทย
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

เนื้อเรื่องยอ “วิถีชีวิตไทย”
นกมองดูพอที่สวมเสื้อพระราชทานแขนยาวสีครีม และแมท่ีแตงชุดไทยจิตรลดา
สี เ หลื อ งนวลด ว ยความชื่ น ชม ทั้ ง พ อ และแม แ ต ง ตั ว เป น พิ ธี ก าร เพราะต อ งไปร ว ม
พิธีสําคัญของบานเมือง คือ งานบายศรีสูขวัญที่ทางจังหวัดจัดขึ้น เพื่อรับเสด็จกษัตริย
และพระราชิ นี จ ากต า งแดน พระราชอาคั น ตุ ก ะของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว
เนื่องจากพอเปนขาราชการชั้ นผูใ หญ จึงตองรับผิดชอบการจั ดงาน แมเองก็ชวยทํา
บายศรี แม เ ด็ ก อย า งนกจะไม มี โ อกาสได ทํ า แต ก็ ทํ า หน า ที่ ถ า ยรู ป พ อ กั บ แม คู กั น
หนาพระบรมฉายาลักษณของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว และสมเด็จพระนางเจาฯ
พระบรมราชินีนาถ เพื่อเก็บไวเปนที่ระลึก บานของนกเปนครอบครัวใหญ ตากับยาย
มีลูกหลายคน ลูกคนไหนแตงงานแลวก็แยกออกมาปลูกบาน ใหมในบริเวณเดียวกัน
นกเป น หลานสาวคนโต และยั ง มี น อ งซึ่ ง เป น ลู ก ของน า อี ก ๒ คน คื อ ต อ กกั บ แต ก
สามคนพี่นองชอบไปอยูบานตายาย ทั้งสองทานใจดีรักหลาน แตก็ไมตามใจจนเกินไป
เพราะคื อ คติ ว า “รั ก วั ว ให ผู ก รั ก ลู ก ให ตี ” ตากั บ ยายเป น ที่ เ คารพนั บ ถื อ ของผู ค น
ในละแวกนั้น เพราะใจดี ไมวาใครมีปญหาอะไร ทานก็ชวยเหลือรับเปนธุระใหเสมอ
โดยใหเหตุผลวาคนเราตองชวยเหลือกันเหมือน “น้ําพึ่งเรือเสือพึ่งปา” ทุกคนในครอบครัว
มีความสุข เมื่อรูวานากระปุกนองสาวคนเล็กของแมจะแตงงานกับนาวิชญ ซึ่งคบหาดูใจ
กันมานาน ตากับยายดีใจที่ลูกสาวจะไดเปนฝงเปนฝา ยายสอนหลานสาววา ลูกผูหญิง
ตองรักนวลสงวนตัว ไมปลอยตัวไปกับใคร ๆ กอนวันแตงงาน พอรูวาตายายจะไปหา
หลวงตาปุนที่วัดนอกเมือง เพื่อใหทานดูฤกษยาม วันมงคลจัดงานแตงงาน หลาน ๆ ก็
ขอตามไปดวย ในวันแตงงาน ตอนเชามีพิธีหมั้น ตามมาดวยพิธีหลั่งน้ําพระพุทธมนต
และประสาทพร ตอนเย็ น มี ง านฉลองมงคลสมรสที่ บ า น เชิ ญ แขกเหรื่ อ ไม ม ากนั ก
เพราะนาวิชญกับนากระปุกถือหลักประหยัด ทั้งสองคนไดจดทะเบียนสมรส เพื่อยืนยัน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๒๕

ว า เป น การแต ง งานที่ ถู ก ต อ งตามกฎหมาย ช ว งใกล จ ะเข า พรรษา น า ป อ ก ซึ่ ง เป น


นองคนสุดทองจะบวช จริง ๆ แลว นาปอกตองการจะบวชมานานแลว แตยังจัดเวลา
ไมได เพราะประเพณีไทยแตโบราณถือเปนหนาที่ของผูชายไทยที่นับถือพระพุทธศาสนา
เมื่ อ อายุ ค รบ ๒๐ ป ควรจะบวชเรี ย น เพื่ อ ได ศึ ก ษา และปฏิ บั ติ ธ รรม รวมทั้ ง เป น
การทดแทนพระคุ ณ บิ ด ามารดา วั น งาน น า ป อ กเข า ไปกราบเท า ลาบวชกั บ ตายาย
ยายถึ ง กั บ น้ํ า ตาไหล ขณะที่ ต าลู บ หั ว ลู ก ชายด ว ยความตื้ น ตั น พิ ธี บ วชจั ด ขึ้ น อย า ง
เรียบงาย เมื่อเสร็จพิธี หลวงนาปอกหมจีวรสีเหลืองดูงามจับตา ดูนิ่งสงบสํารวม ทุกคน
กราบพระดวยความรูสึกอิ่มเอม ปลื้มปติในผลบุญกันทั่วหนา
๑๒๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑๑ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง วิถีชวี ิตไทย


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง วิถีชีวิตไทย
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานจับใจความสําคัญเรื่อง วิถีชีวิตไทย และตอบคําถาม พรอมเขียน


แสดงความคิดเห็นจากเรื่องอยางมีเหตุผล

๑) เพราะเหตุใด พอกับแมของนกจึงแตงกายดวยชุดไทยที่เปนพิธกี ารทั้งคู


________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๒) ตากับยายใจดี รักหลาน แตก็ไมตามใจ เพราะทานทั้งสองถือคติวาอยางไร


________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๓) ขนมหวานที่ตาชอบมากที่สุด คืออะไร
________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๔) ตาและยายเปนผูใหญใจดี ใครมาขอความชวยเหลือก็ชวยหมด โดยไมคํานึงถึงความ


เหน็ดเหนื่อย เพราะยายมีเหตุผลวาอยางไร
________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๒๗

๕) สํานวนที่วา “เปนฝงเปนฝา” ใชกับวัฒนธรรมประเพณีใด


________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๖) การหาฤกษยามที่เหมาะสมกอนการทําพิธีตาง ๆ ตามความเชื่อทํากันเพราะอะไร
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๗) ความสมบูรณที่สุดของการแตงงานอยูที่พิธีการใด
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๘) วัตถุประสงคของการบวชของลูกผูชายที่มีอายุครบ ๒๐ ป คืออะไร
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๙) นักเรียนคิดวา เมื่อลูกชายมากราบเทาพอแมเพื่อลาบวช พอและแมจะมีความรูสึก


อยางไร
________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________

๑๐) ในบทเรียนนี้ นักเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเพณีอะไรบาง


________________________________________________________________
________________________________________________________________
________________________________________________________________

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๑๒๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๒ เรื่อง การเขียนคําอวยพร


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง การเขียนคําอวยพร
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

“การอวยพร” หมายถึง การใหคําที่แสดงความปรารถนาใหประสบสิ่งที่เปนสิริมงคล


การเขียนอวยพร คือ การเขียนอวยพรใหแกบุคคลตาง ๆ เปนการสื่อสารระหวาง
ผู เ ขี ย นและผู อ า นหรื อ ผู ใ ห พ รกั บ ผู รั บ พร โดยคํ า นึ ง ถึ ง โอกาส เช น วั น คล า ยวั น เกิ ด
วั น ขึ้ น ป ใหม และใช ถอ ยคําภาษาให เหมาะสมกับบุ คคล เพื่ อ การสื่ อ สารที่ สั มฤทธิ์ผล
และบรรลุตามจุดประสงค
หลักการเขียนอวยพร
การเขียนอวยพรใหมีประสิทธิภาพตองอาศัยแนวทางหลักการ ดังนี้
๑. คํานึงถึง “ความเหมาะสม” โดยตองเหมาะสมระหวางผูใหพรกับผูรับพร เชน
ผูใหพรที่มีอายุออนกวาผูรับพร
๒. ผู ใ ห พ รควรใช ภ าษาให เ หมาะสมเพื่ อ ให ส อดคล อ งกั บ ผู รั บ พรที่ อ าวุ โ สกว า
“โอกาส” คือ ชอง ทาง จังหวะ ที่เหมาะสม เปนสิ่งสําคัญ เพราะจะตองเขียนใหถูกตอง
กับโอกาส เชน เนื่องในวันแมแหงชาติ
๓. เนื้อหาที่เขียนควรกลาวถึงอยาง “สรางสรรค” เปนการแสดงปญญาของผูใหพร
ซึ่งคําอวยพรตองเปนพรที่สรางสรรค พูดแตสิ่งที่ดีงาม เชน ความสุข ความดี ความเจริญ
หนาที่การงาน การเงิน สุขภาพ ความสําเร็จ ความสมหวัง เปนตน
๔. “การกลาวอาง” ถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ถาเปนการอวยพรใหกับผูที่อาวุโสกวาควร
กลาวอางถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่เปนสากลโลกหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ผูรับพรเคารพนับถือ
๕. “การใชภาษา” ควรใชภาษาที่ดีงาม เหมาะสมกับสถานะและประสบการณ
ของผูรับพร หากใชภาษาไมถูกตองอาจทําใหการสื่อสารอวยพรไมบรรลุตามจุดประสงค
การเขียนอวยพรผูใหญ
การเขียนอวยพรผูใหญ ซึ่งอาจรวมถึงญาติ ครูอาจารย ผูใหญที่เคารพ ผูเขียนตอง
ใชภาษาที่เหมาะสมและมีกาลเทศะ ควรมีการกลาวอางถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่บุคคลนั้นเคารพ
นับถือ และเนนอวยพรเรื่องสุขภาพ อายุยืน และความสุข ซึ่งเราสามารถปรับเปลี่ยนตาม
ความเหมาะสมได เชน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๒๙

“ในวารดิถีขึ้นปใหม ขออํานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย


โปรดดลบันดาลใหคุณยา ประสบแตความสุข สุขภาพพลานามัยแข็งแรง ปราศจาก
ทุกขโศกโรคภัยทั้งปวง และเปนรมโพธิ์รมไทรของลูกหลานตลอดไป”

การเขียนอวยพรในโอกาสตาง ๆ
มีโอกาสสําคัญมากมายที่เราสามารถเขียนอวยพรถึงกันได เชน วันเกิด งานแตงงาน
วันขึ้นปใหม เขียนขอบคุณสําหรับความชวยเหลือ ฯลฯ ซึ่งจะตองเขียนขอความใหเขากับ
โอกาสและบุคคลคนนั้นดวย โดยเฉพาะคนที่สนิทมาก ๆ ยิ่งไมควรเขียนขอความอวยพร
ทั่วไป แตควรกลาวถึงความรูสึกและความทรงจําที่ดี ซึ่งจะสามารถสรางความประทับใจ
ใหผูรับพรมากยิ่งขึ้น

จะเขียนอวยพรใหใคร
ควรคํานึงถึงความรูสึก
ของผูรับพรดวยนะคะ
ขอบคุณคะ

การเขียนอวยพรเนื่องในโอกาสใดก็ได
โดยบัตรอวยพรจะตองระบุประเด็นสําคัญ ดังนี้
๑. ชื่อผูใหพร
๒. ชื่อผูรับพร
๓. โอกาสที่เขียน
๔. การสรุป/คําลงทาย
๑๓๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑๒ เรือ่ ง การเขียนคําอวยพร


หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง การเขียนคําอวยพร
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนคําอวยพรเนื่องในโอกาสใดก็ได ๑ โอกาส ตามหลักการเขียน

อวยพรเรื่อง................................................................................
ผูรับพร.......................................................................................
เนื่องในโอกาส.............................................................................

ชื่อ.........................................นามสกุล..............................................ชั้น...........เลขที่........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอ คิดสอนใจ ๑๓๑

ชั้น ป.๕ ภาคเรียนที่ ๒

แบบประเมินตนเอง
ชื่อ : ___________________________ สกุล : ______________________ชั้น_____เลขที่ _____
หนวยการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง โคลงโลกนิติขอคิดสอนใจ

๑. ประเมินการเรียนรูของตนเอง
กาเครื่องหมาย  ในชองระดับความสามารถของแตละกิจกรรมที่นักเรียนคิดวาทําไดตามระดับการประเมินเหลานี้
ระดับความสามารถ : ดีมาก ดี คอนขางดี พอใช ปรับปรุง
ระดับความสามารถ
ที่ รายการ ดีมาก ดี คอน พอ ปรับ
ขางดี ใช ปรุง
๑ อานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง โคลงโลกนิติ
๒ เขียนอวยพร
๓ วิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู
๔ เขียนสํานวนเปรียบเทียบที่ปรากฏในโคลงโลกนิติ
๕ สรุปความรูและขอคิดจากวรรณกรรมที่อาน

๒. สิ่งที่ฉนั ยังไมเขาใจ / ยังทําไดไมดี คือ…… (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

๓. สิ่งที่ฉนั ตั้งใจจะทําใหดีขนึ้ ในการเรียนหนวยตอไป (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
๑๓๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

หนวยการเรียนรูที่ ๑๑
ผูรูดีเปนผูเจริญ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๓

ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอานออกเสียงบทรอยกรอง
บทรอยกรอง คือ ถอยคําที่เรียบเรียงใหเปนระเบียบถูกตองตามขอกําหนดฉันทลักษณ
กลอนสุภาพ คือ กลอนที่วรรคหนึ่งมีจํานวนคําระหวาง ๗ - ๙ คํา

การอานออกเสียงบทรอยกรอง
กอนอานควรศึกษาประเด็นตอไปนี้ เพื่อใหสามารถอานไดถูกตอง
๑. คําศัพทยากในบทรอยกรอง ตองศึกษาคําอานและความหมายใหเขาใจกอน
๒ รูปแบบของบทรอยกรอง ตองศึกษาประเภทของบทรอยกรอง จํานวนคํา
ในวรรค
๓. จังหวะการอาน ตองศึกษาจังหวะการอานของบทรอยกรองประเภทนั้น ๆ
เพราะบทรอยกรอง ถามี ๗ คํา ใหอานเปน ๒/๒/๓ ถามี ๘ คํา ใหอานเปน ๓/๒/๓ ถามี
๙ คําใหอานเปน ๓/๓/๓

วิธีการอานออกเสียงบทรอยกรองมี ๒ วิธี ดังนี้


๑. อานออกเสียงปกติ คือ อานออกเสียงปกติเหมือนกับการอานบทรอยแกว
ทั่ ว ไปแต จะมี ก ารเว น วรรค และเน น จั ง หวะกี่ สั มผั ส ตามบทร อ ยกรองแต ล ะประเภท
ซึ่งแตกตางกัน
๒. อานออกเสียงเปนทํานอง คือ อานใหมีสําเนียงสูง ต่ํา หนัก เบา ยาว สั้น
เอื้อนเสียง และเนนสัมผัสใหชัดเจน ไพเราะ เสียงเปนกังวาน แสดงอารมณตามเนื้อหา
ของบทรอยกรอง

หลักสําคัญในการอานออกเสียงบทรอยกรอง
๑. อานออกเสียงใหชัดเจนและถูกตองตามอักขรวิธี
๒. อ า นเว น จั ง หวะวรรคตอนให ถู ก ต อ งตามลั ก ษณะของบทร อ ยกรองแต ล ะ
ประเภท รูจักทอดจังหวะ เอื้อนเสียง หรือหลบเสียง
๑๓๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๓. น้ําเสียงไพเราะชัดเจน นุมนวลนาฟง เสียงไมเบาหรือดังมากจนเกินไป


๔. เนนเสียงแสดงอารมณใหเปนไปตามเนื้อเรื่อง เชน รัก ราเริง โกรธ เศรา
โดยใชน้ําเสียงใหเขากับสถานการณนั้น ๆ

มารยาทในการอาน
๑. อานดวยน้ําเสียงสุภาพ เสียงดังพอประมาณ ไมตะโกนเสียงดัง
๒. มีทาทางที่สุภาพในการอาน บุคลิกภาพเรียบรอย สงางาม
๓. ถาเปนการนั่งอาน ควรนั่งหลังตรง ถาเปนการยืน ควรยืนตรงดวยทาทางที่
สุภาพ
๔. ถาเปนการอานบทรอยกรอง ควรอานใหถูกตองตามฉันทลักษณ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๕

ใบงานที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานออกเสียงบทรอยกรองเรื่อง ตนเปนที่พึ่งแหงตน พรอมทั้งแบง


วรรคตอนใหถูกตอง
ผูรูดีเปนผูเจริญ
มวลมนุษยผูเปรื่อง ปรีชา เชี่ยวแฮ
เพราะใครใฝศึกษา สิ่งรู
รูกิจผิดชอบหา เหตุสอด สองนา
นี่แหละบุคคลผู เพียบดวยความเจริญ

มวลผูชูปรีชา เสาะวิทยาไมหางเหิน
ผิดชอบกอบไมเกิน รูดําเนินตามเหตุผล
ชื่อวาปรีชาดี ผิดชอบมีพิจารณยล
ผูนั้นจักพลันดล พิพัฒนพนจักพรรณนา
ควรเราผูเยาววัย จงใฝใจการศึกษา
อบรมบมวิทยา ปรุงปรีชาใหเชี่ยวชาญ
ขั้นนี้จักชี้วา มีปญญาไมสมฐาน
ตองหัดดัดสันดาน กอบวิจารณใชปญญา
สังเกตตามเหตุผล ผิดชอบยลดวยปรีชา
ดังนี้จึงชี้วา มีปญญาอยางเพียบเพ็ญ
มีดพราถาหินให มีดคมไดมิยากเย็น
ถาใชมีดไมเปน ฟนคนเลนโทษมหันต
เมื่อใดใชมีดเปน กอบกิจเห็นคุณอนันต
ปญญากลาวมานั้น เปรียบไดกันกับศัสตรา
พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๑๓๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง คนควาหาคําศัพทจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง คนควาหาคําศัพทจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําศัพทที่ปรากฎในเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ

คํา ความหมาย
๑. เชี่ยวชาญ สันทัดชัดเจน, ช่ําชอง, มีความชํานิชํานาญมาก
๒. ถา ถูใหคม, ลับ
๓. โทษ ความไมดี, ความชั่ว
๔. บม สั่งสมอบรมใหสมบูรณ
๕. ปรีชา ความสามารถ
๖. เปรื่อง เชี่ยวชาญ, แตกฉาน
๗. พรรณนา กลาวใหเปนเรื่องเปนราวอยางละเอียด
๘. พิจารณ พิจารณา ตรวจตราตริตรองโดยใชความรู
๙. พิพัฒน ความเจริญ
๑๐. เพียบ เต็ม, เต็มแปล
๑๑. มหันต มาก
๑๒. ยล มองดู
๑๓. เยาววัย อายุนอย
๑๔. วิทยา ความรู
๑๕. ศัสตรา อาวุธ
๑๖. สมฐาน สมฐานะ, สมสถานภาพ, เหมาะแกความเปนอยู
๑๗. สังเกต ตั้งใจดู, จับตาดู
๑๘. สันดาน อุปนิสัยที่มีมาแตกําเนิด
๑๙. เหตุผล เหตุ, เหตุและผล
๒๐. อนันต มากลน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๗

ใบงานที่ ๒ เรื่อง คนควาหาคําศัพทจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง คนควาหาคําศัพทจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนคนหาคําศัพทในบทเรียนและอธิบายความหมายของคําศัพท
จากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ

ผูรูดีเปนผูเจริญ
มวลมนุษยผูเปรื่อง ปรีชา เชี่ยวแฮ
เพราะใครใฝศึกษา สิ่งรู
รูกิจผิดชอบหา เหตุสอด สองนา
นี่แหละบุคคลผู เพียบดวยความเจริญ

มวลผูชูปรีชา เสาะวิทยาไมหางเหิน
ผิดชอบกอบไมเกิน รูดําเนินตามเหตุผล
ชื่อวาปรีชาดี ผิดชอบมีพิจารณยล
ผูนั้นจักพลันดล พิพัฒนพนจักพรรณนา
ควรเราผูเยาววัย จงใฝใจการศึกษา
อบรมบมวิทยา ปรุงปรีชาใหเชี่ยวชาญ
ขั้นนี้จักชี้วา มีปญญาไมสมฐาน
ตองหัดดัดสันดาน กอบวิจารณใชปญญา
สังเกตตามเหตุผล ผิดชอบยลดวยปรีชา
ดังนี้จึงชี้วา มีปญญาอยางเพียบเพ็ญ
มีดพราถาหินให มีดคมไดมิยากเย็น
ถาใชมีดไมเปน ฟนคนเลนโทษมหันต
เมื่อใดใชมีดเปน กอบกิจเห็นคุณอนันต
ปญญากลาวมานั้น เปรียบไดกันกับศัสตรา
พระยาอุปกิตศิลปสาร (นิ่ม กาญจนาชีวะ)
๑๓๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๑. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๒. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๓. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๔. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๕. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๖. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๗. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๘. คํา…………………………. ความหมาย.........................................................
๙. คํา………..................…. ความหมาย.........................................................
๑๐. คํา……………………… ความหมาย.........................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๓๙

ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากบทรอยกรอง


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การถอดความจากบทรอยกรอง คือ การอธิบายความหมายของคําและเคาโครง


เดิมของบทรอยกรอง โดยอาจอธิบายจากบทรอยกรองที่เปนบทบรรยายหรือพรรณนา
โวหาร ทั้งนี้ การถอดความมีประโยชนคือ ทําใหเขาใจบทรอยกรองบทนั้นไดงายยิ่งขึ้น

การถอดคําประพันธตองอาศัยหลักการดังนี้
๑. รูความหมายของคําศัพทในเรื่องนั้น ๆ ถูกตองถองแท
๒. ศึกษาเนื้อหาโดยรวมของเรื่องนั้น ๆ
๓. ถอดความทีละบรรทัด/หรือวรรค โดยคํานึงถึงเรื่องราวกอนหนานั้น
๔. ทําความเขาใจ กับขอความที่ถอดตั้งไว
๕. เรียบเรียงขอความใหมเหมือนกําลังจะพูดเลาเรื่องราวนั้นใหผูอื่นฟง
ตัวอยางการถอดความ

มวลมนุษยผูเปรื่อง ปรีชา เชี่ยวแฮ


เพราะใครใฝศึกษา สิ่งรู
รูกิจผิดชอบหา เหตุสอด สองนา
นี่แหละบุคคลผู เพียบดวยความเจริญ

ถอดความไดวา บุคคลทั้งหลายจะเปนผูที่มีความสามารถเชี่ยวชาญไดก็เพราะเปนผูใฝ
ศึกษาหาความรู ทําใหรูวาสิ่งใดควรทําหรือสิ่งใดไมควรทําไดอยางมีเหตุผล บุคคลนั้นคือ
บุคคลที่จะมีแตความเจริญกาวหนาตลอดไป
๑๔๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

มวลผูชูปรีชา เสาะวิทยาไมหางเหิน
ผิดชอบกอบไมเกิน รูดําเนินตามเหตุผล

ถอดความไดวา ผูมีความสามารถทั้งหลาย จะแสวงหาความรูอยางสม่ําเสมอ แสวงหา


ความรูตลอดเวลา จึงทําใหรูวาสิ่งใดควรทําและสิ่งใดไมควรทําไดอยางมีเหตุผล

ชื่อวาปรีชาดี ผิดชอบมีพิจารณยล
ผูนั้นจักพลันดล พิพัฒนพนจักพรรณนา

ถอดความไดวา คนที่ไดชื่อวาเปนผูมีความสามารถ กอนที่จะทําสิ่งใดจะตริตรองอยาง


รอบคอบกอนเสมอวาสิ่งใดควรทําหรือไมควรทํา จึงทําใหผูนั้นพบแตความสุขความเจริญ
เกินกวาจะกลาวถึงได

ควรเราผูเยาววัย จงใฝใจการศึกษา
อบรมบมวิทยา ปรุงปรีชาใหเชี่ยวชาญ

ถอดความได วา เราทุ ก คนที่ เ มื่ อ อายุ ยั ง น อ ย ควรใฝ ใ จศึ ก ษาหาความรู เพื่ อ เพิ่ มพูน
ความสามารถของตนเอง เพื่อใหเกิดความเชี่ยวชาญ

ขั้นนี้จักชี้วา มีปญญาไมสมฐาน
ตองหัดดัดสันดาน กอบวิจารณใชปญญา

ถอดความไดวา ในวัยเด็กหรือชวงที่อายุนอยเรายังมีความรูไมมาก ดังนั้นเราตองหมั่น


ฝกฝนดัดนิสัยตนเองใหเปนคนที่ทําอะไรดวยการตริตรองโดยใชปญญา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๑

สังเกตตามเหตุผล ผิดชอบยลดวยปรีชา
ดังนี้จึงชี้วา มีปญญาอยางเพียบเพ็ญ

ถอดความไดวา การจะทําอะไรตองพิจารณาดวยความรูความสามารถอยางมีเหตุผล
จึงจะพูดไดวาเรานั้นมีปญญาอยางเต็มเปยม

มีดพราถาหินให มีดคมไดมิยากเย็น
ถาใชมีดไมเปน ฟนคนเลนโทษมหันต

ถอดความไดวา มีดนั้นเรานําไปลับกับหินใหคมนั้นสามารถทําไดไมยาก แตถาเราใชมีด


ไม เ ป น โดยนํ า ไปฟ น คนเล นก็ จ ะได ลั บ โทษหนั ก สอนให รูจัก ใช ค วามรู ค วามสามารถ
ใหถูกตอง ไมนําความรูของตนเองไปคดโกง หรือทํารายผูอื่น

เมื่อใดใชมีดเปน กอบกิจเห็นคุณอนันต
ปญญากลาวมานั้น เปรียบไดกันกับศัสตรา

ถอดความไดวา เมื่อใดที่ใชมีดเปน จะทําสิ่งใดก็เปนประโยชนอยางยิ่ง ปญญาก็เปรียบ


เหมือนมีด ถาใชเปนก็เกิดประโยชน แตถาใชไมเปนก็จะเกิดโทษ
๑๔๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การถอดความจากบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนถอดความบทรอยกรองเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


มวลผูชูปรีชา เสาะวิทยาไมหางเหิน
ผิดชอบกอบไมเกิน รูดําเนินตามเหตุผล

คําศัพท......................................................................................................................................
ถอดความไดวา........................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ควรเราผูเยาววัย จงใฝใจการศึกษา
อบรมบมวิทยา ปรุงปรีชาใหเชี่ยวชาญ

คําศัพท......................................................................................................................................
ถอดความไดวา........................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ขั้นนี้จักชี้วา มีปญญาไมสมฐาน
ตองหัดดัดสันดาน กอบวิจารณใชปญญา

คําศัพท......................................................................................................................................
ถอดความไดวา........................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๓

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การสรุปความรู
การสรุปความรู เปนการสรุปความรูหรือทฤษฎีที่ปรากฏอยูในเรื่องที่อาน โดยเขียน
สรุปเปนประโยคสั้น ๆ หรือขอความสั้น ๆ เพื่อขยายความเขาใจใหชัดเจนมากขึ้น
การสรุปขอคิด
การสรุ ป ข อ คิ ด เป น การค น หาข อ คิ ด จากเรื่ อ งที่ อ า น ซึ่ ง ข อ คิ ด อาจแฝงอยู ใ น
เนื้อเรื่อง หรืออยูสวนทายของเรื่องที่อาน โดยผูอานอาจเขียนสรุปขอคิดเปนประโยค
หรือขอความสั้น ๆ ได หรือเปนคําคมก็ได

การสรุปความรูและขอคิด
จากเรื่องที่อาน คือ การคนหา เมื่อสรุปความรูและขอคิด
ขอคิดหรือคติสอนใจจากเรื่อง ได แ ล ว จึ ง นํ า ข อ คิ ด นั้ น มา
ที่อานวา เรื่องนั้น ๆ ใหขอคิด ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ที่เปนประโยชนอะไรแกผูอาน

การบอกคุ ณ ค า ของเรื่ องที่ อา น เปนการอธิบายประโยชน หรือ สิ่ง ที่เ รีย กวา “ขอ ดี ”
โดยเขียนสรุปเปนประโยคหรือขอความสั้น ๆ เพื่อบอกใหรูวาเรื่องนั้นมีคุณคาแกผูอาน
อย า งไร เช น คุ ณ ค า ด า นเนื้ อ หา คุ ณ ค า ด า นวรรณศิ ล ป คุ ณ ค า สั ง คมและวั ฒ นธรรม
เปนตน
๑๔๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

การสรุปความรูและขอคิดมีหลักพื้นฐานการปฏิบัติ ดังนี้
๑. อานรอบแรกเพื่อดูชื่อเรื่องกอน แลวอานโดยมีคําถามในใจวา ใคร ทําอะไร
ที่ไหน เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร ขอความใดสําคัญใหขีดเสนใตไว
๒. อานอีกครั้ง โดยดูรายละเอียดของเนื้อหา เพื่อคนหาความรูสําคัญและขอคิด
๓. สามารถอานเพิ่มไดจนกวาจะเขาใจเนื้อหา
๔. ใหสรุปใจความสําคัญของแตละยอหนาไว
๕. นํ า ใจความสํ า คั ญ ที่ ร วบรวมไว ม าเขี ย นเรี ย บเรี ย งใหม อ ย า งละเอี ย ดและ
สละสลวย โดยใชสํานวนภาษาของตนเอง
๖. ทบทวนการสรุปความรูอีกครั้ง เพื่อพิจารณาหาสวนที่ตองแกไขหรือตองการ
เพิ่มเติม หลักการสรุปความจากเรื่องที่อาน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๕

ใบงานที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง นักเรียนสรุปความรู ขอคิด และคุณคาจากการอานเรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ

สรุปความรูไดวา

สรุปขอคิดไดวา

สรุปคุณคาไดวา

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๑๔๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การแตงกาพยยานี ๑๑


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง กวีนอยรองเรียงคํา
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

กาพยยานี ๑๑ เปนคําประพันธรอยกรองที่ ๑ บท มี ๒ บาท คือบาทเอกและ


บาทโท แตละบาทแบงเปน ๒ วรรค วรรคแรกมี ๕ คํา วรรคหลังมี ๖ คํา
กาพยยานี ๑๑ มีสัมผัสบังคับ ๒ คู คือ
๑. คําสุดทายของวรรคแรก สัมผัสคําที่ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ ของวรรคที่ ๒
๒. คําสุดทายของวรรคที่ ๒ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๓
สัมผัสระหวางบท คําสุดทายของวรรคที่ ๔ สัมผัสกับคําสุดทายของวรรคที่ ๒
ของบทตอไป
แผนผังฉันทลักษณ

ตัวอยาง
กาพยยานีลํานํา สิบเอ็ดคําจําอยาคลาย
วรรคหนาหาคําหมาย วรรคหลังหกยกแสดง
ครุลหุนั้น ไมสําคัญอยาระแวง
สัมผัสตองจัดแจง ใหถูกตองตามวิธี
(กําชัย ทองหลอ)
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๗

ภาษาจรรโลงใจ อานครั้งใดมีความสุข
เพลินใจไรความทุกข แสนสนุกทุกเวลา
อานแลวไดความรู เหมือนไปสูแดนหรรษา
เพลินพจนรจนา เพราะภาษาจรรโลงใจ

เพราะครูผูนําทาง ใชเรือจางรับเงินตรา
พุมพานจึงนํามา กราบบูชาพระคุณครู
หญาแพรกแทรกดอกไม พรอมมาลัยอันงามหรู
เข็มดอกออกชอชู จากจิตหนูผูรูคุณ

เรื่อยเรื่อยมารอนรอน ทิพากรจะตกต่ํา
สนธยาจะใกลค่ํา คํานึงหนาเจาตราตรู
เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู
ตัวเดียวมาพลัดคู เหมือนพี่อยูผูเดียวดาย
(กาพยเหเรือ : เจาฟาธรรมธิเบศร)

วิชาเหมือนสินคา อันมีคาอยูเมืองไกล
ตองอยากลําบากไป จึงจะไดสินคามา
จงตั้งเอากายเจา เปนสําเภาอันโสภา
ความเพียรเปนโยธา แขนซายขวาเปนเสาใบ
(วิชาเหมือนสินคา : ไมปรากฏผูแตง)

พฤษภกาสร อีกกุญชรอันปลดปลง
โททนตเสนงคง สําคัญหมายในกายมี
นรชาติวางวาย มลายสิ้นทั้งอินทรีย
สถิตทั่วแตชั่วดี ประดับไวในโลกา
(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส)
๑๔๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๕ เรื่อง กวีนอยรอยเรียงคํา


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง กวีนอยรองเรียงคํา
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนจับกลุมชวยกันแตงกาพยยานี ๑๑ ตามหัวขอที่สนใจ จํานวน ๒ บท

เรื่อง

.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................
.......................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๔๙

ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทลําดับขั้นตอนปฏิบตั ิงานจากสื่อตาง ๆ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทลําดับขั้นตอนปฏิบตั ิงานจากสื่อตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอานงานเขียนเชิงอธิบาย และงานเขียนคําแนะนํา และวิธีปฏิบัติ


เปนการอานเพื่อคนควาขอมูลความรู หรือวิธีนําไปใช ตองอานอยางละเอียดใหได
ความครบถวน จะทําใหปฏิบัติตามไดถูกตอง เชน คําแนะนําการใชพจนานุกรม การใช
วัสดุอุปกรณ ขอแนะนํา คําเตือน บนฉลากยา คูมือและเอกสารของโรงเรียน ขาวสาร
ทางราชการ
การเขียนอธิบาย
การเขียนอธิบาย เปนการเขียนที่บอกลักษณะของสิ่งใดสิ่งหนึ่งใหเขาใจกระจาง
ชัดเจน
วิธีการเขียนอธิบาย ผูเขียนตองตั้งหัวเรื่องหรือลําดับความคิด ดังนี้
๑. สิ่งที่อธิบาย คือ อะไร ลักษณะเดนหรือรายละเอียด
๒. จุดมุงหมายในการเขียนอธิบายสิ่งนั้น
๓. ขอคิด หรือขอสังเกตเกี่ยวกับสิ่งนั้น
๑๕๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทลําดับขั้นตอนปฏิบตั ิงานจากสื่อตาง ๆ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การอานงานเขียนประเภทลําดับขั้นตอนปฏิบตั ิงานจากสื่อตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานแผนภาพโครงเรื่อง แลวเขียนอธิบายแสดงขั้นตอน

แผนภาพโครงเรือ่ ง การซักผา

๑. แยกผาสีและผาขาว และเตรียมกะละมังสําหรับซักผา

๒. เติมน้ําลงในกะละมังพอประมาณและใสผงซักออก

๓. ละลายผงซักฟอกใหเปนฟอง และเริ่มซักจากผาขาวกอน แลวจึงซัก

๔. เมื่อซักเสร็จใหลางน้ําสะอาด ๑-๒ รอบ

๕. บิดและสะบัดผา จากนั้นนําไปตากใหแหง

วิธีการซักผา
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๕๑

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูท ี่ ๗ เรื่อง การเขียนลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนอธิบาย
การเขียนอธิบาย เปนการเขียนเพื่อใหผูอานไดรับความรูและความเขาใจเรื่องราว
ตาง ๆ อยางละเอียดและถูกตอง ดวยกลวิธีที่หลากหลายและเหมาะสมกับเนื้อหา
วัตถุประสงคของการเขียนอธิบาย
เพื่อใหผูอานไดรับความรูและความเขาใจ ในเรื่องที่อธิบายอยางละเอียด ชัดเจน
ถูกตอง ตรงตามที่ผูเขียนอธิบายตองการ
ความสําคัญของการเขียนอธิบาย
๑. ชวยใหผูอานไดรับความรูและเขาใจความหมายของคําไดอยางถูกตอง
๒. ชวยใหผูอานเขาใจเรื่องราวตาง ๆ ไดชัดเจน และกวางขวางมากขึ้น
๓. ชวยใหผูอานเขาใจสาระสําคัญอันเกี่ยวของกับสังคมและวัฒนธรรมไดอยาง
ถูกตอง
๔. ชวยใหผูอานเกิดองคความรูใหมและมีประโยชนตอการเรียนการสอน
หลักการเขียนอธิบาย
การเขียนอธิบายที่ดีควรมีหลักการเขียน ดังนี้
๑. กําหนดวัตถุประสงคในการเขียนใหชัดเจนวา ตองการเขียนอธิบายเรื่องอะไร
และมีวัตถุประสงคใน การเขียนอยางไร เพื่อจะไดเลือกวิธีเขียนอธิบายไดอยางเหมาะสม
๒. เตรียมเนื้อเรื่องหรือขอมูล โดยศึกษาคนควาจากหนังสือหรือสื่ออื่น ๆ เชน
หนังสือ คูมือ ตํารา นิตยสาร วารสาร วิทยุ โทรทัศน และอินเทอรเน็ต เปนตน
๓. กําหนดโครงเรื่องที่จะเขียน เพื่อเรียบเรียงความคิดและขอมูลใหมีความตอเนื่อง
และนาสนใจ
๔. เลือกวิธีการอธิบายใหเหมาะสมสอดคลองกับเรื่อง ในบางครั้งอาจจะตองใชวิธี
อธิบายมากกวา ๑ วิธีในการเขียนอธิบายก็ได
๕. ควรใชภาษาที่เขาใจงาย กระชับ รัดกุม และตรงไปตรงมา เพื่อใหผูอานเขาใจ
เรื่องไดอยางชัดเจน
๑๕๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๗ เรื่อง การเขียนลําดับขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕
คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนคําแนะนําหรือการอธิบายขั้นตอนเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่สนใจ
แผนภาพโครงเรือ่ งการเขียนคําแนะนําหรืออธิบายขั้นตอน
ชื่อเรื่อง...............................................................................

จุดประสงค................................................................................................

ขั้นตอนการทํางาน

.....................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

สรุปการทํางาน.......................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................
ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๕๓

ใบความรูที่ ๘ เรื่อง การพูดนําเสนอลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การพูดนําเสนอลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การพูดรายงานลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เปนการพูดเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา เปนวิธีการ
ที่เหมาะสําหรับแลกเปลี่ยนความรู เพื่อนําเสนอทฤษฎี นําเสนอวิธีการ นําเสนอเรื่องราวตาง ๆ
หลักการพูดรายงานลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
๑. เริ่มพูดรายงานดวยการกลาวนํา เชน ทักทายผูรวมงาน บอกจุดประสงค บอกแหลงขอมูล
๒. ออกเสียงถูกตอง เสียงดังพอประมาณ น้ําเสียงนุมนวลนาฟง
๓. พูดตามลําดับเนื้อหา ลําดับขั้นตอน หรือลําดับเหตุการณและตอเนื่องสัมพันธกัน
๔. มีบุคลิกภาพที่ดี ยืนหรือนั่งอยางสํารวม
๕. รักษาเวลาในการพูดตามที่กําหนด ไมพูดยืดเยื้อ ไมพูดวกวนไปมา
๖. เมื่อพูดรายงานจบ ควรเปดโอกาสใหผูฟงซักถามหรือแสดงความคิดเห็น
๗. กลาวขอบคุณเมื่อไดรับคําชมเชย หรือขอคิดเห็นเรื่องตาง ๆ
มารยาทในการพูดที่ดี มีดังนี้
๑. พูดจาไพเราะดว ยคํา สุภาพ ไม ห ยาบคาย และไม พูดว า ร า ยผู อื่น ๒. ไม แ ย งกั นพูด
ไมแทรกจังหวะผูอื่น ๓. พูดดวยน้ําเสียงที่นุมนวล หนาตามยิ้มแยมแจมใส และ ๔. ใชความดัง
ของเสียงใหพอเหมาะ ไมเสียงเบาหรือดังเกินไป
มารยาทในการฟงและดูที่ดี มีดังนี้
๑. ฟงและดูดวยความตั้งใจตั้งแตตนจนจบ
๒. ปรบมือเมื่อจบการฟงหรือการดู
๓. ไปถึงสถานที่ที่มีการแสดงกอนเวลา ประมาณ ๑๕ นาที
๔. ไมนําอาหาร-เครื่องดื่มเขาไปในงาน
๕. เมื่อมีขอสงสัยควรถาม เมื่อผูพูดเปดโอกาสใหถาม ไมควรถามแทรกขณะที่ผูพูดกําลังพูดอยู
๖. ไมสงเสียงรบกวนผูอื่นหรือพูดคุยหรือเลนในขณะฟงและดู
๗. ไมควรแสดงทาทางไมพอใจเมื่อไมชอบใจ
๘. ไมควรแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เชน โหรอง
๙. ไมควรเดินเขาเดินออกขณะที่ผูพูดกําลังพูด หากมีความจําเปนควรทําความเคารพกอน
๑๕๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๘ เรื่อง การพูดนําเสนอลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การพูดนําเสนอลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนแบบรางการพูดนําเสนอลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
แบบรางการพูดเรือ่ ง........................................................................

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๕๕

ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การเขียนยอความ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง การเขียนยอความจากสื่อตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนยอความ
เปนการเขียนจากการอานเก็บใจความสําคัญเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แลวนํามาเรียบ
เรียงใหมเปนถอยคําสํานวนของผูเขียนเอง และเขียนใหถูกตองตามรูปแบบของยอความ
การเขียนยอความที่ดี ผูเขียนจะตองอานเรื่องใหเขาใจ ควรอานเรื่องโดยละเอียด
และทําความเขาใจเรื่องนั้น ๆ แลวนํามาเรียบเรียงใหมเปนถอยคําที่สละสลวย
หลักการเขียนยอความ
๑. อานเนื้อเรื่องใหตลอดโดยละเอียดอยางนอย ๒ ครั้ง ครั้งแรกอานสํารวจอยาง
คราว ๆ อานเร็ว ๆ เพื่อใหรูวาเรื่องนั้นกลาวถึง “ใคร ทําอะไร กับใคร ที่ไหน อยางไร
เมื่อไร และผลเปนอยางไร” จากนั้นจึงอานอยางละเอียดอีกครั้ง เพื่อหาใจความสําคัญ
ของเรื่อง
๒. วิเคราะหเนื้อหาวาเปนงานเขียนแบบใด ขอเท็จจริง ขอคิดเห็น หรือแสดงอารมณ
๓. บันทึกใจความสําคัญเปนถอยคําของผูเขียน ใชคําสั้นที่สุดและเขาใจงาย
๔. ตัดเนื้อหาที่ไมจําเปนออก เชน การยกตัวอยาง รายละเอียด การเปรียบเทียบ
๕. ถามีเนื้อหาคําพูด ใหเปลี่ยนสรรพนามบุรุษที่ ๑ และ ๒ เปนสรรพนามบุรุษที่ ๓
๖. ไมใชอักษรยอ หากมีคําราชาศัพทตองเขียนใหถูกตอง และแปลความหมาย
ควรเปลี่ยนเปนคําที่อานงาย
๗. เมื่อเขียนยกรางยอความแลว ใหอานอีกครั้งหนึ่งและแกไขใหสมบูรณ โดยตัด
ขอความที่ซ้ําซอนออก ใหเนื้อหากระชับ รัดกุมและสัมพันธกันตั้งแตตนจนจบ
๘. ใหเขียนขึ้นตนตามรูปแบบของยอความ ใหรูที่มาของเรื่องที่นํามายอ แลวจึง
เขียนเนื้อเรื่องที่ยอ
รูปแบบของยอความทั่วไป
ยอเรื่อง................................................ผูแตง......................................................
จากหนังสือ..........................................................................ความวา
รูปแบบการขึ (เนื้อเรื้น่อยงที ่ยอ)....................................................................................................
อความ (สวนนํา)
......................................................................................................................................
๑๕๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๑. ยอความเรียงรอยแกวธรรมดา ขึ้นตนดังนี้
ยอเรื่อง...........................ของ (ชื่อผูแตง)....................จากหนังสือ ...................
หนา...........ความวา

๒. ยอจดหมาย ขึ้นตนดังนี้
จดหมายของ.......................ถึง.....................ลงวันที่...........เดือน .....................
พ.ศ. .............. ความวา

๓. ยอคําประกาศ แถลงการณ คําสั่ง ระเบียบ ขึ้นตนดังนี้


คําประกาศของ...............................แก.........................ลงวันที่ ........................
ความวา

๔. ยอคําปราศรัย สุนทรพจน พระราชดํารัส ขึ้นตนดังนี้


คําปราศรัยของ..............................แก........................เนื่องใน ..........................
ทาง(สถานที่สื่อที่กลาว)......................................... ณ วันที่...................................ความวา

๕. ยอปาฐกถา คําบรรยาย คําสอน ขึ้นตนดังนี้


คําบรรยายของ..............................เรื่อง......................................แก..................
ที่ ......................ณ.............................วันที่......................เวลา............................................
ความวา

๖. ยอคําประพันธ ขึ้นตนดังนี้
คําประพันธประเภท...............เรื่อง.................ของ .................... ตอน..............
ความวา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๕๗

ตัวอยางการยอความ
“พานไหวครู”
“ไหวครู” เปนกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อระลึกพระคุณของครูบาอาจารยที่ไดอบรมให
ความรูแกลูกศิษย ดังนั้น ในทุกปจึงมีการจัดพิธีไหวครูขึ้น เพื่อแสดงออกถึงความเคารพ
บูชาของศิษยที่มีตอครู ในพิธีไหวครู สิ่งที่สําคัญอยางหนึ่งก็คือ เครื่องสักการะ โดยมาก
มักจัดในรูปพานดอกไม ธูปเทียน อยางงดงามประณีตที่สุด เพื่อแสดงถึงความตั้งใจจริง
ของลูกศิษย
สิ่งที่ใชในการสักการะในพิธีไหวครู มีอยูสามสิ่งที่ขาดไมได คือ ดอกมะเขือ เปน
สั ญ ลั ก ษณ ข องความอ อ นน อ มถ อ มตน หญ า แพรก เป น สั ญ ลั ก ษณ ข องความอดทน
ขาวตอก เปนสัญลักษณความมีระเบียบวินัย ในเมื่อสามสิ่งนี้เปนตัวแทนสัญลักษณที่มี
ความหมายอั น เป น มงคล ดั ง นั้ น จึ ง พบว า พานไหว ค รู มั ก จะถู ก ตกแต ง ด ว ยสามสิ่ ง นี้
ในการแต ง พานจะป น ดิ น เหนี ย วเป น ทรงแหลมคล า ยเจดี ย ป ก ดอกไม มะเขื อ พวง
ดอกมะลิ ดอกรัก หรือดอกไมตาง ๆ เทาที่จะหาไดลงบนดินเหนียว ตกแตงเปนทรงพุม
พิธีไหวครูมักจัดสองพาน แยกเปนพานดอกไม และพานธูปเทียน พานดอกไมนิยมให
ผูหญิงถือ สวนพานธูปเทียนนิยมใหผูชายถือ
พานไหวครูในปจจุบันจะตกแตงไปตามความคิดสรางสรรคของแตละคน และถูก
ตกแตงดวยดอกไมหรือวัสดุตาง ๆ เพื่อใหสวยงาม และปจจุบันนี้มีการประกวดการแตง
พานไหวครู ดังนั้น ในทุกปนักเรียนในโรงเรียนนอกจากจะแตงพานไหวครูแลวยังทําเพื่อ
การประกวดอีกดวย

ที่มา : วารสารกินรี ฉบับเดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ของใบบุญ

ตัวอยางยอความ
ยอบทความเรื่อง พานไหวครู จากวารสารกินนรี ฉบับเดือนพฤษภาคม พ.ศ.
๒๕๔๗ ของใบบุญ ความวา
พานไหวครูเปนเครื่องสักการะในพิธีไหวครู เพื่อแสดงออกถึงความเคารพบูชา
ของศิษยที่มีตอครู มักตกแตงดวยของสามสิ่งที่เปนสัญลักษณที่มีความหมายอันเปน
มงคล ประกอบดวย ดอกมะเขือ หญาแพรก และขาวตอก นิยมจัดเปนสองพาน คือ
พานดอกไม แ ละพานธู ป เที ย น ป จจุ บั น นั ก เรี ย นแต ง พานเพื่ อ ไหว ค รู ดว ยความคิ ด
สรางสรรคเพื่อประกวดอีกดวย
๑๕๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๙ เรื่อง การเขียนยอความจากนิทาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง การเขียนยอความจากสื่อตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕
คําชี้แจง ใหนักเรียนอานนิทานคํากลอน เรื่อง กวางกับเสือ แลวเขียนยอความจาก
เรื่องที่อานตามรูปแบบของการเขียนยอความ
กวางกับเสือ
กวางตัวหนึ่งหากินตามชายปา และเล็มหญาเหลือบเห็นนายพรานใหญ
ถือหนาไมเดินดอมมาเเตไกล ก็ตกใจโดดหนีรี่เขาดง
พรานสะกดรอยรุกไมละลด กวางเห็นหมดชองหวังดังประสงค
ก็หลบเขาถ้ําเสือดังจํานง เสือหมอบลงไมใหกวางเห็นตัว
ปลอยใหเขากนถ้ํากระโจนจับ ปากงับคอฟดสะบัดหัว
กอนสิ้นใจกวางรองเสียงระรัว อันตรายยอมมีทั่วทุกแหงไป
เราหนีคนพนเเลวปะเสืออีก สุดเลี่ยงหลีกชีวิตปลิดตักษัย
(จาก นิทานอีสปคํากลอน ของ ฉลอง ศุภการ)

..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๕๙

ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง ระดับของภาษา


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง ใสใจระดับภาษา
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕
ระดับของภาษา
การใชภาษาเพื่อการสื่อสารนอกจากผูใชจะคํานึงถึงการใชใหถูกตองและเหมาะสม
กับสถานการณกาลเทศะ สภาวะแวดลอม และสัมพันธภาพระหวางบุคคล สิ่งที่ตอง
คํานึงถึงอีกประการหนึ่งคือ ระดับภาษา ซึ่งอาจแบงภาษาเปนระดับตาง ๆ ไดหลาย
ลักษณะ เปน ๓ ระดับ ดังนี้
ระดับภาษา โอกาสและสถานที่ ลักษณะภาษาที่ใช
๑. ภาษาระดับ ๑. การเขียนหนังสือราชการ เปนภาษาที่มีแบบแผนใชในภาษา
ทางการ ๒. การประชุมทางวิชาการ ราชการ/ทางการ เชน ประกาศ
๓. การประกาศของราชการ เอกสารทางราชการ งานวิชาการ
๔. งานวิชาการตาง ๆ ตาง ๆ งานวิจัย
๒. ภาษาระดับ ๑. การประชุมกลุมยอย ระดับภาษาลดความเปนทางการลง
กึ่งทางการ ๒. การประชุมในโรงเรียน จากระดับทางการ เนื้อหามักเปน
๓. การประชุมกลุมนักศึกษา/ เรื่องที่เกี่ยวของกับความรูทั่วไป
นักเรียน และพูดรายงานขาวตาง ๆ ยกเวน
๔. การพูดกับบุคคลทัว่ ไป ขาวในพระราชสํานักเพราะใช
๕. การพูดรายงานขาว ภาษาระดับทางการ
๓. ภาษาระดับ ๑. สนทนากับบุคคลที่ ภาษาที่ใชจะเปนลักษณะของ
ไมเปนทางการ สนิทสนม คําชี้แจงหรือเปนคําที่เขาใจ
(ภาษาระดับ ๒. การพูดในเฉพาะกลุม ความหมายตรงกันระหวางกลุม
กันเอง/ระดับ ๓. การสนทนาทางเฟซบุก บางคําเปนคําคะนองที่ไมคอยสุภาพ
ปาก) ๔. การสนทนาในครอบครัว เปนคําสแลง มักมีคําอุทานขานรับ
๕. การสนทนาในกลุมเพื่อน
๑๖๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง ระดับของภาษา


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง ใสใจระดับภาษา
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานขอความตอไปนี้ แลวตอบคําถามใหถูกตองวาเปนภาษาระดับใด

๑. ภาษาทางการ ภาษากึ่งทางการ ภาษาไมเปนทางการ


ขอความ ระดับภาษา
๑. อยายื่นแขนออกไปนอกรถ
๒. อยายื่นแขนออกไปนอกรถนะ
๓. กรุณาอยายื่นแขนออกไปจากรถครับ

๒. ภาษาทางการ ภาษากึ่งทางการ ภาษาไมเปนทางการ


ขอความ ระดับภาษา
๑. แมคาผลไมถูกพอคาคนกลางหลอก
๒. แมคาขายผลไมถกู ยีป่ วหลอก
๓. แมคาผลไมโดนยีป่ วตุน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๖๑

๓. ภาษาทางการ ภาษากึ่งทางการ ภาษาไมเปนทางการ


ขอความ ระดับภาษา
๑. นายกอบต. บอกเรื่องน้ําทวมกับชาวบาน
๒. นายกอบต. แจงขาวเรื่องน้ําทวมกับชาวบาน
๓. นายกองคการบริหารสวนตําบลแจงเหตุเรื่อง
อุทกภัยใหคนในชุมชนทราบ

๔. ภาษาทางการ ภาษากึ่งทางการ ภาษาไมเปนทางการ


ขอความ ระดับภาษา
๑. เจาหนาที่ติดแสตมปกอนไปทิ้งจดหมาย
๒. เจาหนาที่ติดแสตมปกอนนําจดหมายไปสง
๓. เจาหนาที่ติดดวงตราไปรษณียากรกอนนําจดหมาย
ไปสง

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๑๖๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๑ เรื่อง การเขียนคําขวัญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง การเขียนคําขวัญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนคําขวัญ
คําขวัญ คือ ถอยคําที่แตงขึ้นเพื่อเตือนใจ เชิญชวน หรือขอรองใหผูอาน ผูฟง
ยึดเปนแนวทางในการปฏิบัติ ถอยคํามักมีความคลองจองหรือมีสัมผัสเปนรอยกรองสั้น ๆ
เพื่อใหจดจําขึ้นใจ
หลักการเขียนคําขวัญ
คําขวัญมีหลักการเขียนดังนี้
๑. ใชถอยคํากะทัดรัด สละสลวย มีสัมผัสคลองจองกัน
๒. ใชขอความเชิงขอคิดใหสอดคลองกับโอกาส เชน การตอนรับนักเรียนใหม
การไวอาลัย การเปดกิจการ แตละโอกาสจําเปนตองใชคติพจนหรือคําขวัญแตกตางกัน
๓. ใชขอความและขอคิดเหมาะสมแกฐานะของผูใหและผูรับหรือของหมูคณะ
ตัวอยางคําขวัญ

 ทรัพยากรน้ํามีวันหมด ใชทุกหยดอยางรูคุณคา
 น้ําประปามีคาตอชีวิต ประหยัดกันสักนิด ชวยเศรษฐกิจได
 รวมภูมิใจในเอกราช อนุรักษชาติภาษาไทย
 ยึดมั่นในความดี สามัคคีรวมใจ สุจริตโปรงใส ชาติไทยพัฒนา
 เด็กดีเปนศรีแกชาติ เด็กฉลาดชาติเจริญ
 รูคิด รูเทาทัน สรางสรรคเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๖๓

ใบงานที่ ๑๑ เรือ่ ง การเขียนคําขวัญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง การเขียนคําขวัญ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนคําขวัญอนุรักษสิ่งแวดลอม พรอมวาดภาพประกอบใหสวยงาม

..........................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
๑๖๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๒ เรื่อง การอานนิทานพื้นบาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง นิทานพื้นบาน ชวนอานชวนคิด
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของนิทาน เปนเรื่องสมมุติ มีตัวละครดําเนินเรื่อง ซึ่งอาจเปนมนุษยหรือสัตว


ก็ได มีเหตุการณหรือการดําเนินเรื่องที่แสดงความขัดแยงของตัวละคร
นิทานพื้นบาน เปนวรรณกรรมทองถิ่น ที่แสดงถึงวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนในแตละ
ทองถิ่นสืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคน ดวยภาษาคําพูดและการบันทึกเปนลายลักษณ
อักษร ทําใหเขาใจถึงความรูสึกนึกคิด ความเชื่อ อารมณ ความรูสึกและหลักคุณธรรม
ในสังคม
คุณคาของการศึกษานิทานพื้นบาน ดังนี้
๑. คุณคาดานอารมณ มีจุดมุงหมายสําคัญใหความเพลิดเพลินแกผูฟง
๒. คุณคาดานใหขอคิดและคติเตือนใจ ขัดเกลาใหมีคานิยมตามสังคมวางไว
๓. คุณคาดานสติปญญา ความรูจากหลายชั่วอายุคน ทําใหเกิดภูมิรู
๔. คุณคาดานภาษา จากการถายทอดโดยการเลาจนถึงการเขียนเปนลายลักษณ
อักษร
การเขียนสรุปความรู จากการอาน การฟง หรือการดูสื่อตาง ๆ เพื่อกันลืม จะไดจดจํา
เรื่องราวนั้น ๆ ได และสามารถนําเรื่องราวนั้นไปใชประโยชนในการพูดและการเขียนได
วิธีการอานเพื่อสรุปความ ควรอานเรื่องนั้นอยางคราวๆ กอน แลวจึงอานซ้ําอีกครั้งเพื่อ
จับใจ ความสําคัญวา “ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร” แลวเขียน
สรุปเปนขอความสั้น ๆ
วิธีการอานเพื่อสรุปความรู
๑. อานเรื่องใหจบทั้งเรื่อง ตองมีความเขาใจเรื่องแลวจับสาระสําคัญ
๒. จดสาระสําคัญของเรื่องที่อาน เปนคําพูดของตนเอง
๓. เขียนสรุปสาระสําคัญที่เปนความรู
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๖๕

นิทานพื้นบาน เรื่อง “ปลาแกมช้ํา”


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง นิทานพื้นบาน ชวนอานชวนคิด
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่
กาลครั้งหนึ่งนานมาแลว มีครอบครัวอยูครอบครัวหนึ่ง มีอยูดวยกัน ๔ ชีวิต ไดแก
ตา ยาย หมา และแมว ยายนั้นมีแหวนอยูวงหนึ่งงามมาก หมาเมื่อไดเห็นแหวนของยาย
แลวก็นึกชอบอยูในใจของมันยิ่งนัก
ตอมาไมนาน หมาก็ไดลักแหวนของยายไปเสีย ตายายจึงใชใหแมวตามไปเอาแหวน
คืนมาจากหมาใหได แมวก็ไดตามไปทันหมาที่สะพานแหงหนึ่ง ซึ่งหมากําลังขามอยูบน
สะพานนั้นพอดี แมวจึงไดรองถามหมาขึ้นวาไดลักแหวนของยายมาบางไหม หมาจึงอาปาก
จะพูดโตตอบกับแมวเลยทําใหแหวนที่มันคาบอยูน้ันหลนลงไปในคลองเสีย และก็บังเอิญ
ในคลองนั้นไดมีฝูงปลาฝูงหนึ่งอาศัยอยู แหวนวงนั้นจึงไดถูกปลาตัวหนึ่งคาบเอาไป
เมื่อแหวนไดตกลงไปในคลองเสียเชนนั้นแลว หมากับแมวก็ไดหันหนาเขาหากัน
เพื่อปรึกษาหารือที่จะงมแหวนจากคลองนั้นใหได โดยหมาไดรูสึกนึกผิดที่ไดลักเอาของมีคา
ของผูมีพระคุณของมันมา มันจึงไดบอกกับแมววา มันจะตองเอาแหวนนั้นไปคืนยายใหได
มิฉะนั้นแลวมันก็จะไมกลับไปบานของตายายอีกเปนอันขาด หมาจึงไดลงไปดําวายอยู
ในคลองเพื่อหาแหวนแตก็ไมพบแตอยางใด มันจึงคิดที่จะวิดน้ําในคลองนั้นใหแหงเสียเลย
หมาจึงไดลงไปในคลองนั้นแลวก็ขึ้นมาสะบัดน้ํา ออกจากตัวมันไดทําอยูเชนนั้นทั้งวันทั้งคืน
ฝายปลาที่อาศัยอยูในคลองนั้นตางก็ตกใจกลัววาน้ําจะแหงแลวพวกตนก็จะพากัน
ตายหมด หัวหนาฝูงปลาจึงไดมาพูดขอรองกับหมาทันทีโดยใหหมายุติการวิดคลองเสีย
แลวตนก็อาสาเอาแหวนมาคืนให หัวหนาฝูงปลาจึงไดพาบริวารออกคนหาปลาตัวที่คาบ
แหวนนั้นไปจนพบ แลวก็ไดขอแหวนคืนใหหมาแตโดยดี แตปลาตัวนั้นก็ ไมยอมคืนให
ปลาทั้งฝูงโกรธปลาตัวนั้น จึงพากันเขาตบตียื้อแยงเอาแหวนวงนั้นมา และไดนําไปให
หมาไดในที่สุด
ในการยื้อแยงเอาแหวนจากปลาดวยกันครั้งนั้น ปลาตัวที่มีแหวนอยูในครอบครอง
ก็ไดถูกเพื่อน ๆ ปลาตบตีเอาจนแกมทั้งสองช้ําชอกยิ่งนัก ปลาตัวนั้นจึงไดแกมช้ํามาตั้งแต
บัดนั้นและมันก็ไดมีเผาพันธุตอมา ปลาทุกตัวที่สืบเชื้อสายมาจากปลาตัวนี้ก็ลวนแตมี
ลักษณะคลายกับแกมช้ําเหมือนกันหมด จึงไดเรียกชื่อปลาชนิดนี้ตามลักษณะของมันวา
“ปลาแกมช้ํา” มาจนทุกวันนี้
นิทานพื้นบานภาคใต รวมเรื่องเลาจากแดนใต
ที่มา : https://hilight.kapook.com/view/80884
๑๖๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑๒ เรื่อง นิทานพื้นบาน ชวนอานชวนคิด


หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง นิทานพื้นบาน ชวนอานชวนคิด
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานนิทานพื้นบานเรื่อง ปลาแกมช้ํา แลวตอบคําถามตามหัวขอที่


กําหนดให

นิทานพื้นบานเรื่อง

นิทานพื้นบานภาคใด

ตัวละครสําคัญ สถานที่ ขอคิดที่ไดจากเรื่อง

นิทานพื้นบานชวนอานชวนคิด

สรุปความรูจากนิทานพื้นบาน

ชื่อ...........................................นามสกุล..........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๖๗

ชั้น ป.๕ ภาคเรียนที่ ๒

แบบประเมินตนเอง
ชื่อ : ___________________________ สกุล : ______________________ชั้น_____เลขที่ _____
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรือ่ ง ผูรูดีเปนผูเ จริญ

๑. ประเมินการเรียนรูของตนเอง
กาเครื่องหมาย  ในชองระดับความสามารถของแตละกิจกรรมที่นักเรียนคิดวาทําไดตามระดับการประเมินเหลานี้
ระดับความสามารถ : ดีมาก ดี คอนขางดี พอใช ปรับปรุง
ระดับความสามารถ
ที่ รายการ ดีมาก ดี คอน พอ ปรับ
ขางดี ใช ปรุง
๑ ถอดความจากบทรอยกรอง
๒ เขียนยอความ
๓ พูดนําเสนอลําดับขั้นตอนปฏิบัติงาน
๔ แตงกาพยยานี ๑๑
๕ สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน

๒. สิ่งที่ฉนั ยังไมเขาใจ / ยังทําไดไมดี คือ…… (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………….............................................................................................................
................................................................................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................
.
๓. สิ่งที่ฉนั ตั้งใจจะทําใหดีขนึ้ ในการเรียนหนวยตอไป (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

……………………………………………........................................................................................................
…………………………………………….......................................................................................................
.........................................................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ผูรูดีเปนผูเจริญ ๑๖๘

ชั้น ป.๕ กลางภาค


แบบบันทึกการเรียนรู (Learning log)

ชื่อ............................................สกุล.................................ชั้น.................เลขที่............
ประจํา :  กลางภาค  ปลายภาค  หนวยการเรียนรูที่.......
สิ่งหนึ่งที่ฉันไดเรียนรูจากการเรียนวิชานี้ในกลางภาคเรียน คือ ........................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

สิ่งที่ฉันชอบ / ทําไดดี ...................................................................................................


....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

สิ่งที่ฉันอยากจะบอกคุณครู คือ .....................................................................................


....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

ฉันนาจะเรียนรูไดดีกวานีห้ าก ........................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

สิ่งที่ฉันควรปรับปรุงตัวเองใหดีขึ้น คือ ...........................................................................


....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๖๙

หนวยการเรียนรูที่ ๑๒
ตามรอยเจาฟานักอาน
๑๗๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑ เรื่อง เจาฟานักอาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง เจาฟานักอาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

พระราชประวัติ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจาฟามหาจักรี
สิ ริน ธร มหาวชิ ราลงกรณวรราชภั กดี สิ ริกิ จการิ ณี พี รยพั ฒ น รั ฐสี มาคุ ณ ากรป ย ชาติ
สยามบรมราชกุมารี เปนสมเด็จพระเจาลูกเธอพระองคที่ ๓ ในพระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง พระองคทรงพระราชสมภพเมื่อวันเสาร
ที่ ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต ไดรับพระราชทาน
พระนามวา สมเด็จพระเจาลูกเธอ เจาฟาสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติวัฒนาดุลโสภาคย
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงเป น พระราชวงศ พ ระองค แ รกที่ เ รี ย นหนั ง สื อ อย างสามั ญ ชนทั่ ว ไป พ.ศ. ๒๕๐๑
ทรงเขาศึกษาระดับอนุบาลที่โรงเรียนจิตรลดา ขณะพระชนมายุ ๓ พรรษาเศษ พ.ศ. ๒๕๐๓
จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลายใน พ.ศ. ๒๕๑๕ ทรงสอบไลจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ในแผนกศิ ล ปะด ว ยคะแนนสูง สุดของประเทศ ทรงโปรดการอ านหนัง สือ มาก ตั้ ง แต
ทรงพระเยาวจวบจนปจจุบันทรงสนับสนุนการอานของประชาชน ดังในพระราชกรณียกิจ
ที่ทรงประจําทุกป คือ เสด็จฯ เปดงานสัปดาหหนังสือแหงชาติ รวมทั้งพระราชทาน
รางวัลแกผูชนะการประกวดหนังสือดีเดน ประจําป
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ ทรงสอบไดลําดับที่ ๑ ในการสอบขอสอบของกระทรวงศึกษาธิการ
ดวยคะแนนรวมรอยละ ๘๙.๓๐ ตอมาป พ.ศ. ๒๕๑๖ ทรงสอบเขาศึกษา คณะอักษรศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทรงเปนนิสิตรุน อบ.๔๑ สาขาวิชาเอก ประวัติศาสตร ทรงเปน
เจาฟาองคแรกที่สําเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย และทรงไดรับเกียรติ
นิยมอันดับหนึ่ง เหรียญทอง ดวยคะแนนเฉลี่ย ๓.๙๘
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๗๑

พระราชกรณียกิจ
พระราชกรณียกิจสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ทรงบําเพ็ญพระองคใหเปนประโยชนแกชาติบานเมือง โดยเสด็จ
พระราชดําเนินไปทรงเยี่ยมเยียนราษฎรในภูมิภาคตาง ๆ อยูเสมอ และทรงชวยเหลือ
กิจการโครงการตามพระราชดําริทุกโครงการ พรอมทรงรับพระบรมราโชบายมาทรง
ดําเนินการสนองพระเดชพระคุณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
บรมนาถบพิตร ในดานตาง ๆ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารีทรงจัดตั้งโครงการตาง ๆ เพื่อ
พัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนผูยากไรในชนบท โดยเฉพาะการสงเสริมสุขภาพ
อนามั ย และแก ไ ขป ญ หาภาวะทุ พ โภชนาการ ทรงเห็ น ว า เด็ ก จะเรี ย นหนั ง สื อ ไม ไ ด
ถาทองหิว หรือเจ็บปวย จึงทรงริเริ่มโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ในโรงเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดน ตั้งแตพุทธศักราช ๒๕๒๓ ทรงเห็นความสําคัญของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จึงพระราชทานพระราชทรัพยใหกอสรางโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ศูนยการเรียนชุมชน
สําหรับชาวไทยภูเขา หองเรียนเคลื่อนที่ ทั้งพระราชทานพระราชทรัพยเปนคาตอบแทน
ครูผูสอน และทรงจัดหาอุปกรณการเรียนการสอนพระราชทาน เพื่อใหเยาวชนมีโอกาส
ไดรับการศึกษาที่เหมาะสม จะไดมีความสามารถในการพึ่งตนเอง และเปนที่พึ่งของ
ครอบครัวไดในอนาคต ทรงติดตามการดําเนินงาน โครงการตามพระราชดําริอยางใกลชิด
และเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎรในโครงการ ดวยพระองคเองเสมอ
นอกเหนือจากงานพัฒนา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ทรงสนพระทัยงานศิลปวัฒนธรรมไทยเปนอยางยิ่ง มีพระราชดําริวา ควรจะมีการถายทอด
งานดานวัฒนธรรมไปสูเด็กและเยาวชนรุนใหม ผานกระบวนการจัดการศึกษาอบรม
ทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหคนรุนใหม
เหลานี้ไดเรียนรู ตระหนักความสําคัญ รักและผูกพันในศิลปวัฒนธรรมของชาติ สามารถ
สืบทอดเพื่อการอนุรักษและอาจพัฒนาเปนอาชีพได ทรงสนับสนุนการดําเนินกิจกรรม
เพื่ออนุรักษและสืบทอดมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของไทย
๑๗๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

พระปรีชาสามารถ
เมื่อครั้งทรงเรียนอยูที่โรงเรียนจิตลดา ทรงใฝพระทัยศึกษาเชี่ยวชาญในเครื่องดนตรี
ซอดวง ซอสามสาย ซออู จะเข ระนาด และขลุย ครูดนตรีไทยของพระองคไดแก ครูนิภา
อภัยวงศ, ครูจินดา สิงหัตน, ครูเทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล เปนตน ทรงเรียนระนาดเอก
กับครูสิริชัยชาญ ฟกจํารูญ
เมื่อทรงเขาศึกษาตอที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ก็ทรงดนตรีกับพระสหายในชมรม
ดนตรีไทย และทรงเรียนขับรองเพลงไทยกับอาจารยเจริญใจ สุนทรวาทิน ในดานการขับรอง
เพลงไทยทํานองเสนาะ พระองคทรงเรียนกับอาจารยกําชัย ทองหลอ และอาจารยเจริญใจ
สุนทรวาทิน สวนการประพันธบทเพลงนั้น ทรงนิพนธเพลงลูกทุงเพลงเปนแรกใน ป พ.ศ.
๒๕๑๓ ชื่อเพลงสมตํา เพลงอื่น ๆ ที่ทรงนิพนธไวไดแก เพลงเตากินผักบุง, เพลงพญาโศก
เพลงดุจบิดามารดร และเพลงลอยประทีปเถา เปนตน
นอกจากดนตรีไทยแลว พระองคยังทรงดนตรีสากลดวย โดยทรงเริ่มเรียนเปยโน
ตั้ ง แต พ ระชนมายุ ๑๐ พรรษา แต ไ ด ท รงเลิ ก เรี ย นหลั ง จากนั้ น ๒ ป และทรงฝ ก
เครื่องดนตรีสากล ประเภทเครื่องเปา จากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จนสามารถ
ทรงทรัมเปตนําวงดุริยางคในงานคอนเสิรตสายใจไทย และทรงระนาดฝรั่งนําวงดุริยางค
ในงานกาชาดคอนเสิรต
ดานพระราชนิพนธ
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
โปรดการอานหนังสือ และการเขียน ตั้งแตครั้งยังทรงพระเยาว ประกอบกับพระปรีชา
ดานอักษรศาสตร และภาษา ทั้งภาษาไทย และภาษาตางประเทศ เปนเหตุใหทรงเริ่ม
งานพระราชนิพนธ ทั้งรอยแกว และรอยกรองมากมาย งานพระราชนิพนธที่เปนที่รูจัก
โดยทั่ ว ไป ได แ ก หนั ง สื อ พระราชนิ พ นธ ชุ ด เสด็ จ พระราชดํ า เนิ น เยื อ นต า งประเทศ
งานพระราชนิพนธบทกวี และงานพระราชนิพนธแปล เปนตน พระองคทรงประพันธ
และแปลหนังสือมากมาย รวมทั้งหนังสือสําหรับเด็กและเยาวชน โดยทรงใชพระนามแฝง
หลายชื่อ อาทิ แวนแกว ที่ทรงใชเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ ในหนังสือพระราชนิพนธสําหรับเด็ก
ไดแก แกวจอมซน แกวจอมแกน และขบวนการนกกางเขน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๗๓

ใบงานที่ ๑ เรื่อง เจาฟานักอาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง เจาฟานักอาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานพระราชประวัติ พระราชกรณียกิจ พระราชนิพนธ และดาน


พระปรี ช าสามารถของสมเด็ จพระกนิ ษ ฐาธิ ราชเจ า กรมสมเด็ จพระเทพ-
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แลวสรุปความรูที่ไดจากการอาน

สรุปพระราชประวัติและพระราชกรณียกิจ

……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………….……………………
………………………………………………………………………………………………………………..……
๑๗๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

สรุปพระราชนิพนธและพระปรีชาสามารถ
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………

วิเคราะหขอคิดที่ไดจากการศึกษาพระราชประวัติ

………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………….

นักเรียนจะนําขอคิดที่ไดไปปรับใชในชีวิตจริงอยางไร

………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………….

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๗๕

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การพูดรายงานประเด็นสําคัญจากการฟงและการดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง การพูดรายงานประเด็นสําคัญจากการฟงและการดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การพูดรายงาน
การพูดรายงานการศึกษาคนควา คือ การบอกเลา ชี้แจง แสดงผลจากเรื่องที่ไป
ศึกษาคนควา การพูดรายงานมีความสําคัญในฐานะที่เปนการเผยแพรความรูความคิด
เพื่อสรางความเจริญงอกงามทางสติปญญา ดังนั้น จึงถือวาเปนทักษะที่ควรศึกษาเรียนรู
และฝกฝนใหเกิดความชํานาญ
การพูดรายงานการศึกษาคนควา คือการรายงานความรูจากการคนควา โดยวางแผน
การพูดเปนระบบ อาจมีอุปกรณเสริมเพิ่มความชัดเจน เชน รูปภาพ แผนภูมิ ฯลฯ หรือมี
กิจกรรม เชน การเลนเกม ฟงเพลง การซักถาม เพื่อเพิ่มความนาสนใจ
การพูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา
ก็เปนวิธีการที่เหมาะสําหรับแลกเปลี่ยนความรู การพูดรายงานยังอาจพูดเพื่อนําเสนอ
ทฤษฎี นําเสนอวิธีการหรือนําเสนอเรื่องราวตาง ๆ ก็ได
หลักการพูดรายงาน
๑. เริ่มพูดรายงานดวยการกลาวนํา เชน ทักทายผูรวมงาน บอกจุดประสงคของ
การพูดรายงาน บอกแหลงขอมูลที่จะมานําเสนอ
๒. ในขณะเริ่มรายงานควรพูดใหชัดเจน ออกเสียงใหถูกตอง เสียงดังพอประมาณ
น้ําเสียงนุมนวลนาฟง
๓. รายงานเรื่องตามลําดับเนื้อหา ลําดับขั้นตอน หรือลําดับเหตุการณใหถูกตอง
และตอเนื่องสัมพันธกัน ควรมีแหลงอางอิงเพื่อความนาเชื่อถือ และควรทําความเขาใจ
เนื้อหาใหถองแท เพื่อประโยชนในการอธิบายและตอบขอซักถาม
๔. มีบุคลิกภาพที่ดี ยืน หรือนั่งอยางสํารวม
๕. รักษาเวลาในการพูดตามที่กําหนด ไมพูดยืดเยื้อวกวน
๖. เมื่อพูดรายงานจบ ควรเปดโอกาสใหผูฟงซักถามหรือแสดงความคิดเห็น
๗. กลาวขอบคุณเมื่อไดรับคําชมเชย หรือขอคิดเห็นเรื่องตาง ๆ
๑๗๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๒ เรื่อง แบบรางการพูดรายงานจากการฟงและการดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง การพูดรายงานประเด็นสําคัญจากการฟงและการดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนแบบรางการพูดรายงานจากการชมพระราชกรณียกิจของสมเด็จ
พระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เรื่อง

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๗๗

ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากการอาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากการอาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การหาขอคิดจากเรื่องที่อาน คือ การหาขอคิดหรือคติสอนใจจากเรื่องที่อานวา


เรื่ อ งนั้ น ๆ ให ข อ คิ ด ที่ เ ป น ประโยชน อ ะไรบ า ง แล ว จึ ง นํ า ข อ คิ ด นั้ น มาประยุ ก ต ใ ช
ในชีวิตประจําวันการหาขอคิดจากการอานหนังสือตาง ๆ เชน การอานนิทาน บทความ
สารคดี ควรอานตั้งแตตนจนจบเรื่อง แลวทําความเขาใจ เนื้อเรื่อง และจับใจความสําคัญ
หรือประเด็นสําคัญที่ผูเขียนตองการใหขอคิดกับผูอาน
การสรุปความรู
การสรุ ป ความรู เป น การสรุ ป ความรู ห รื อ ทฤษฎี ที่ ป รากฏอยู ใ นเรื่ อ งที่ อ า น
โดยเขียนสรุปเปนประโยคสั้น ๆ หรือขอความสั้น ๆ เพื่อขยายความเขาใจใหชัดเจน
มากขึ้น
การสรุปขอคิด
การสรุ ป ข อ คิ ด เป น การค น หาข อ คิ ด จากเรื่ อ งที่ อ า น ซึ่ ง ข อ คิ ด อาจแฝงอยู ใ น
เนื้อเรื่อง หรืออยูสวนทายของเรื่องที่อาน โดยผูอานอาจเขียนสรุปขอคิดเปนประโยค
หรือขอความสั้น ๆ ได หรือเปนคําคมก็ได
ดังนั้น การสรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน คือ การคนหาขอคิดหรือคติ
สอนใจจากเรื่องที่อานวาเรื่องนั้น ๆ ใหขอคิดที่เปนประโยชนอะไรบางแกผูอาน แลวจึง
นําขอคิดนั้นมาประยุกตใชในชีวิตประจําวันได การหาขอคิดจากการอานหนังสือตาง ๆ
เช น นิ ท าน โดยอ า นจนจบเรื่ อ งแล ว จั บ ใจความสํ า คั ญ หรื อ ประเด็ น สํ า คั ญ ที่ ผู เ ขี ย น
ตองการใหขอคิดกับผูอาน
๑๗๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

การสรุปความรูและขอคิดมีหลักพื้นฐานการปฏิบัติ ดังนี้
๑. อานรอบแรกเพื่อดูชื่อเรื่องกอน แลวอานโดยมีคําถามในใจวา ใคร ทําอะไร
ที่ไหน เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร ขอความใดสําคัญใหขีดเสนใตไว
๒. อานอีกครั้ง โดยดูรายละเอียดของเนื้อหา เพื่อคนหาความรูสําคัญและขอคิด
๓. สามารถอานเพิ่มไดจนกวาจะเขาใจเนื้อหา
๔. ใหสรุปใจความสําคัญของแตละยอหนาไว
๔. นํ า ใจความสํ า คั ญ ที่ ร วบรวมไว ม าเขี ย นเรี ย บเรี ย งใหม อ ย า งละเอี ย ดและ
สละสลวย โดยใชสํานวนภาษา ของตนเอง
๕. ทบทวนการสรุปความรูอีกครั้ง เพื่อพิจารณาหาสวนที่ตองแกไขหรือตองการ
เพิ่มเติม หลักการสรุปความจากเรื่องที่อาน
การสรุ ป คุ ณ ค า ของเรื่ อ งที่ อ า น เป น การอธิ บ ายประโยชน ห รื อ สิ่ ง ที่ เ รี ย กว า
“ขอดี” โดยเขียนสรุปเปนประโยคหรือขอความสั้น ๆ เพื่อบอกใหรูวาเรื่องนั้นมีคุณคาแก
ผูอานอยางไร เชน คุณคาดานเนื้อหา คุณคาดานวรรณศิลป คุณคาสังคมและวัฒนธรรม
เปนตน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๗๙

ใบงานที่ ๓ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากการอาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การสรุปความรูแ ละขอคิดจากการอาน
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานพระราชกระแสของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จ


พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี แลวเขียนสรุปความรู คุณคา
และขอคิด

การเรี ย นภาษาไทยในระดั บ ประถมศึ ก ษา เป น การเรี ย นขั้ น ต น เพื่ อ วาง


รากฐานการศึกษา ไมเฉพาะดานความรูภาษาไทย แตเปนรากฐานการศึกษา
ความรู วิ ช าอื่ น ๆ เป น รากฐานการคิ ด การรั บ คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม การรู จั ก
ระเบียบวินัยและกฎเกณฑของสังคม ตลอดจนการปลูกฝงวัฒนธรรมไทยและ
ความเปนไทยดวย สําหรับคนไทยภาษาไทยจึงเปนภาษาที่มีความสําคัญมากที่สุด
การเรียนระดับประถมศึกษาหากเรียนไดถูกตองแมนยําแลว ผูเรียนจะสามารถ
ยึดถือเปนหลักตลอดไป ทําใหใชภาษาถูกตองในการอาน การเขียน และการใช
ตามบริบทของสังคม

พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี ซึ่งเสด็จฯ เปนองคประธานเปด


การอบรม และพระราชทานปาฐกถาเรื่อง “การจัดการเรียนการสอนภาษาไทย” เนื่องในวันภาษาไทยแหงชาติ
ประจําป ๒๕๔๙ จัดโดยสมาคมครูภาษาไทยแหงประเทศไทย ที่โรงแรมแอมบาสซาเดอร กรุงเทพฯ เมื่อเวลา
๐๙.๐๐ น. วันที่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๔๙

ตอบคําถามจากการอาน
๑. พระราชกระแสขางตน มีใจความสําคัญวาอยางไร
๑๘๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๒. เพราะเหตุใด การเรียนวิชา ภาษาไทย จึงเปนพื้นฐานในการเรียนวิชาอื่น ๆ

๓. นักเรียนสรุปความรูจากการอานพระราชกระแสที่กําหนดใหไดอยางไร

๔. นักเรียนไดรับคุณคาและขอคิดอะไรบาง จากการอานพระราชกระแสที่กําหนดให

ชื่อ..........................................นามสกุล.........................................ชั้น...........เลขที่..........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๘๑

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง ชวนคิดชวนจํา คําราชาศัพท


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง ชวนคิดชวนจํา คําราชาศัพท
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําราชาศัพท
คําราชาศัพท คือ ภาษาหรือถอยคําที่กําหนดขึ้นใชใหเหมาะสมกับระดับชั้นของ
บุคคล ไมเฉพาะแตพระมหากษัตริยเพียงเทานั้น แตยังรวมถึงพระบรมวงศานุวงศ ตั้งแต
ชั้นหมอมเจาลงมาถึงพระภิกษุสงฆ ขุนนางหรือขาราชการชั้นผูใหญ และสุภาพชน
ลักษณะของคําราชาศัพท เปนคําเฉพาะที่ใชสื่อสารเฉพาะบุคคล ซึ่งแสดงถึ ง
วัฒนธรรมการใชภาษาไทย เพราะสังคมไทยมีระดับบุคคลที่ตางกัน
การแบงลําดับชั้นของบุคคลในการใชคําราชาศัพทออกเปน ๕ ระดับ ดังนี้
๑. พระมหากษัตริย
๒. พระบรมวงศานุวงศ
๓. พระสังฆราชเจาและพระสงฆ
๔. ขุนนาง ขาราชการชั้นสูง
๕. สุภาพชน
คําราชาศัพท เปนลักษณะการใชถอยคําที่แสดงออกถึงวัฒนธรรมการใชภาษา
ของไทยที่ชัดเจนอันเปนผลสืบเนื่องมาจากระบบและรูปแบบการปกครอง ภาษาไทย
เปนภาษาที่มีลักษณะพิเศษ เพราะแจกแจงการใชถอยคําตามระดับชนชั้นของบุคคล
เพื่อใหถูกตองและเหมาะสมตามกาลเทศะ คําราชาศัพทจึงเปนเอกลักษณที่สําคัญยิ่งของ
ชนชาวไทย เราคนไทยจึงมีความจําเปนตองใชคําราชาศัพทไดทั้งในการพูดและการเขียน
ตลอดจนเขาใจความหมายของคําราชาศัพททั้งในการอานและการฟงเพื่อใหการสื่อสาร
มีประสิทธิภาพ
๑๘๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ลักษณะการใชคําราชาศัพท
คําราชาศัพทใชสําหรับสามัญชนพูดกับพระเจาแผนดิน พระราชินี และพระบรม
วงศานุวงศ พระเจาแผนดิน พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศจะใชคําสามัญ ไมใช
คําราชาศัพทยกยองพระองคเอง พระเจาแผนดินจะใชราชาศัพทกับพระบรมวงศานุวงศ
ที่ทรงศักดิ์สูงกวาทางสืบสายโลหิตหรือทางการนับพระญาติ เชน ปู ยา ตา ยาย พอ แม
ลุง ปา นา อา พี่ และบรมวงศานุวงศ สวนเจานายจะใชราชาศัพทระหวางกัน เมื่อผูพูด
มีอิสริยยศต่ํากวา เชน เจานายมีศักดิ์เปนลุง กับหลานซึ่งเปนพระเจาแผนดิน
การแบงคําราชาศัพทหมวดตาง ๆ
การแบงหมวดหมูคําราชาศัพท ออกเปนหมวด ๆ นั้น เพื่อใหงายตอการจดจํา
และการใชถอยคํา เราจึงจัดเรียงคําราชาศัพทใหเปนหมวดหมู โดยมีทั้งคําราชาศัพท
หมวดตาง ๆ เชน หมวดเครือญาติ หมวดเครื่องใชตาง ๆ หมวดรางกาย หมวดกริยา
หมวดทั่วไป เปนตน

หมวดคําราชาศัพท

เครือญาติ คําสรรพนาม

รางกาย คํากริยา

เครื่องใช
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๘๓

คําราชาศัพทหมวดเครือญาติ

คําราชาศัพท ความหมาย คําราชาศัพท ความหมาย


พระปยกา ปูทวด ตาทวด พระปยยิกา ยาทวด ยายทวด
พระอัยกา พระอัยกี ปู ตา พระอัยยิกา ยา ยาย
พระชนนี พระ
พระชนก พระบิดา พอ แม
มารดา
พระปตุลา ลุงหรืออา (ฝายพอ) พระปตุจฉา ปาหรืออา (ฝายพอ)
พระมาตุลา ลุงหรือนา (ฝายแม) พระมาตุจฉา ปาหรือนา (ฝายแม)
พระเชษฐา พี่ชาย พี่สาว พระเชษฐภคินี
พระกนิษฐา พระ
พระอนุชา นองชาย นองสาว
ขนิษฐา
พระมเหสี พระสวามี
ภรรยา สามี
พระชายา พระภัสดา
พระโอรส ลูกชาย พระธิดา ลูกสาว
พระชามาดา ลูกเขย พระสุณิสา ลูกสะใภ
พระนัดดา หลาน พระปนัดดา เหลน
๑๘๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

คําราชาศัพทหมวดรางกาย

คําราชาศัพท ความหมาย คําราชาศัพท ความหมาย


พระเกศา ผม พระกรรณ หู
พระนลาฏ หนาผาก พระเนตร ตา
พระโอษฐ ปาก ขอบพระเนตร ขอบตา
ตอมพระเนตร ตอมน้ําตา มานพระเนตร มานตา
พระขนง คิ้ว พระอัสสุชล น้ําตา
พระทนต ฟน พระนาสิก จมูก
พระชิวหา ลิ้น พระศอ คอ
พระเขฬะ น้ําลาย พระพักตร หนา
พระอุทร ทอง พระเสโท เหงื่อ
พระองคุลี นิ้วมือ พระหนุ คาง
พระหัตถ มือ พระเศียร ศีรษะ
ขอพระหัตถ ขอมือ พระปราง แกม
พระมังสา เนื้อ พระพาหา ชวงแขน
พระโลมา ขน พระพาหุ ตนแขน
พระอุระ อก พระกร แขน
พระนาภี สะดือ พระบาท เทา
พระโสณี สะโพก ขอพระบาท ขอเทา
พระรากขวัญ ไหปลารา พระชานุ เขา
พระกัจฉะ รักแร พระชงฆ แขง
พระเพลา ขาหรือตัก พระดรรชนี นิ้วชี้
พระชีพจร ชีพจร พระหทัย ใจ
พระธมนี เสนประสาท พระนขา เล็บ
พระกําโบล กระพุงแกม พระอัฐิ กระดูก
พระวักกะ ไต พระทาฐะ เขี้ยว
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๘๕

คําราชาศัพทหมวดเครื่องใช

คําราชาศัพท ความหมาย คําราชาศัพท ความหมาย


ฉลองพระองค เสื้อ พระสนับเพลา กางเกง
ซับพระองค ผาเช็ดตัว ซับพระพักตร ผาเช็ดหนา
รัดพระองค เข็มขัด ฉลองพระเนตร แวนตา
พระฉาย กระจก ฉลองพระบาท รองเทา
พระมาลา หมวก กระเปาทรง กระเปาถือ

คําราชาศัพทหมวดคํากริยา

คําราชาศัพท ความหมาย คําราชาศัพท ความหมาย


เสด็จ ไป พระราชดําเนิน เดิน
สรงน้ํา อาบน้ํา ประชวร ปวย
เสวย รับประทาน พระราชทาน ให
โปรด ชอบ กริ้ว โกรธ
นั่ง ประทับ นอน บรรทม
ตรัส พูด ทอดพระเนตร ดู
ชําระพระหัตถ ลางมือ ทรงยืน ยืน
๑๘๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

คําราชาศัพทหมวดคําสรรพนาม

สถานะในการพูด คําราชาศัพท ใชกับ


แทนชื่อผูพูด (บุรุษที่ ๑) ขาพระพุทธเจา พระมหากษัตริย
กระผม ดิฉัน ผูใหญ, พระสงฆ
แทนชื่อผูที่เราพูดดวย ใตฝาละอองธุลีพระบาท พระมหากษัตริย
(บุรุษที่ ๒) ฝาพระบาท เจานายชั้นสูง
พระคุณเจา พระสงฆผูทรงสมณศักดิ์
แทนชื่อผูที่เรากลาวถึง
พระองค พระมหากษัตริย
(บุรุษที่ ๓)
ผูใหญ (ซึ่งถือวาเปนการให
แทนผูที่เรากลาวถึงทั่วไป ทาน
เกียรติ)
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๘๗

ใบงานที่ ๔ เรื่อง ชวนคิดชวนจํา คําราชาศัพท


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง ชวนคิดชวนจํา คําราชาศัพท
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนแตงประโยคโดยใชคําราชาศัพทที่นักเรียนสนใจ จํานวน ๑๐ คํา


พรอมบอกหมวดหมูใหถูกตอง
ตัวอยาง
คําราชาศัพท เสวย หมวดหมู คํากริยา
การแตงประโยค พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวเสวยพระกระยาหาร

๑. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๒. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๓. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๔. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๕. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................
๑๘๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๖. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๗. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๘. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๙. คําราชาศัพท.......................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

๑๐. คําราชาศัพท....................................หมวดหมู............................................................
การแตงประโยค.................................................................................................................

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๘๙

ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอานหนังสือตามความสนใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง อานคิดลิขติ ความรู
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอานหนังสือที่มีคุณคาตามความสนใจ เปนการเลือกอานหนังสือที่ตนเองชอบ
เช น บทความ สารคดี การ ตูน เรื่ อ งสั้ น นิ ย าย นวนิ ย าย นิ ทาน จากนั้ น เขี ย นแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และสรุปใจความสําคัญจากเรื่องตามความเขาใจของ
ตนเอง และสามารถนําขอคิดที่ไดจากการอานไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
การเลือกหนังสืออาน
การเลือกหนังสืออานมีความจําเปนมาก นักอานที่ดีจะตองเปนผูที่รูจักวิธีเลือก
หนังสืออาน ใหไดประโยชนสูงสุดแกการอาน โดยพิจารณาวิธีเลือก (ศิวกานท ปทุมสูติ,
๒๕๔๐, หนา ๑๙-๒๐) ตอไปนี้
๑. เลือกหนังสือที่มีสาระเรื่องราวตรงกับความตองการหรือความจําเปนที่ตองอาน
๒. เลือกหนังสือที่ดีมีคุณลักษณะ ดังนี้
๒.๑ หนังสือที่เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลววาดี
๒.๒ หนังสือที่มีกระแสวิพากษวิจารณอยางกวางขวางวาดี
๒.๓ หนังสือที่ไดรับรางวัลสําคัญ ๆ ในการประกวดขององคกรที่มีคุณภาพ
๒.๔ หนังสือซึ่งเขียนโดยนักเขียนที่มีคุณภาพเปนที่ยอมรับของแวดวงนักอาน
๒.๕ หนั ง สื อ ที่ มี คุ ณ ค า ดี พ ร อ มทุ ก ด า น ได แ ก ด า นเนื้ อ หา ด า นความคิ ด
ดานกลวิธี ดานทางภาษา ดานรูปแบบและการนําเสนอ
๒.๖ หนังสือที่ไดรับการยอมรับศึกษาสืบทอดกันมาทุกยุคทุกสมัย
๒.๗ เลือกหนังสือที่จะไมโนมนําไปในทางเสื่อมทั้งปวง
การอานและจับใจความสําคัญ
ในการอานหนังสือตามความสนใจ ผูอานจะตองมีหลักและพื้นฐานในการอาน
จับใจความสําคัญจากเรื่องที่อาน ซึ่งมีหลักเกณฑการอาน (ฉวีลักษณ บุณยะกาญจน,
๒๕๔๗, หนา ๑๑-๑๒) ดังนี้
๑. ตั้งใจอาน มีสมาธิแนวแน พยายามอานอยางรวดเร็วจะชวยใหเก็บใจความ
สําคัญไดดีกวาอานชา ๆ เพราะการอานอยางเร็วนั้นจะทําใหความหมายของขอความ
แตละชวงสายตาที่ผูอานเขาใจ จะยังคงอยู และนํามาสัมพันธกัน ทําใหเขาใจขอความ
๑๙๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ที่อานทั้งหมดได แตถาอานไดชาความหมายของขอความยอย ๆ ทั้งหลายอาจเลือนไป


ไมสามารถจะนํามาเชื่อมโยงกันได และทําใหเสียสมาธิไดงายดวย
๒. เมื่ออานจบยอหนาหนึ่ง ๆ ใหหยุดคิดเล็กนอยวา ยอหนานั้นมีใจความสําคัญ
อยางไร ซึ่งตามปกติใจความสําคัญจะอยูตอนตน ตอนกลาง และตอนทายของยอหนา
ก็ได โดยจะมีเพียง ๑ - ๓ ประโยคเทานั้น
๓. เมื่ อ อ า นจบทุ ก ย อ หน า นํ า เอาใจความสํ า คั ญ ของทุ ก ย อ หน า มารวมกั น
ใหตอเนื่องเปนเรื่องเดียวกัน โดยนึกคิดในใจหรือเขียนขึ้นใหมโดยใชถอยคําภาษาของ
ตนเอง
ตัวอยางหนังสือประเภทตาง ๆ
หนังสือพิมพ นิตยสาร และ วารสาร หนังสือสารคดี หนังสือนวนิยาย หรือบันเทิงคดี
หนังสือเกี่ยวกับสถิติ
หลักการพิจารณาหนังสือ
คําวา “พิจารณา” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ใหความหมาย
วา “ก. ตรวจตรา, ตริตรอง, สอบสวน”
การพิจารณาหนังสือ เปนการอานหนังสืออยางละเอียดถี่ถวน แลวแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับหนังสือเลมนั้นอยางมีหลักเกณฑ เปนการวิเคราะหและวิจารณหนังสือ
การพิจารณาหนังสือจะชวยใหผูอานอานหนังสืออยางมีหลักเกณฑ อานหนังสือ
อยางสนุกสนานและมองเห็นคุณคาของหนังสือ เขาถึงรสไพเราะของหนังสือและการใช
ถอยคํา ทําใหผูอานชอบอานหนังสือมากขึ้น นอกจากการพิจารณาหนังสือจะเปนการอาน
เพื่อเขาใจหนังสือแลว ผูอานยังสามารถอธิบายคุณคาของหนังสือไดอยางมีหลักการ
ชวยทําใหผูอานรูจักสวนประกอบของหนังสือทั้งรูปแบบการแตงเนื้อเรื่อง ความไพเราะ
ของสํานวนโวหาร สามารถประเมินคุณคาของหนังสือได และทําใหผูอานเกิดสติปญญา
ในการอาน
ผูพิจารณาหนังสือตองมีความสามารถหลายอยาง เชน อานจับใจความได ตีความได
อานแลวแยกไดวาขอความใดเปนขอเท็จจริง ขอความใดเปนการแสดงความคิดเห็น
หรืออานแลวประเมินคุณคาได นอกจากนั้น ผูพิจารณาหนังสือยังจะตองรูจักลักษณะ
ของหนังสือประเภทตาง ๆ เพราะการพิจารณาหนังสือแตละประเภทยอมแตกตางกันไป
ตามลักษณะของประเภทหนังสือ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๙๑

ใบงานที่ ๕ เรื่อง การอานหนังสือตามความสนใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง อานคิดลิขติ ความรู
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกอานหนังสือหรือเรื่องที่สนใจ ๑ เรื่อง จากนั้นเขียนสรุปความรู


และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องนั้นอยางเหมาะสม

๑. ประเภทของหนังสือที่อาน............................................................................................

๒. ชื่อหนังสือ/ชื่อเรื่องที่อาน..............................................................................................

๓. สรุปความรูที่ไดจากการอาน.........................................................................................

๕. ขอคิดที่ไดจากเรื่องที่อาน..............................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
๖. เรื่องนี้ใหสาระความรูและขอคิดที่เปนประโยชนตอนักเรียนหรือไม เพราะอะไร
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
๑๙๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การสรุปเรื่องจากวรรณกรรมที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง วรรณกรรมดีมีคณุ คา (๑)
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

พจนานุ ก รมฉบั บ ราชบั ณ ฑิ ต ยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได ใ ห ค วามหมายของ


“วรรณกรรม” ไว ว า น. งานหนั ง สื อ , งานประพั น ธ , บทประพั น ธ ทุ ก ชนิ ด ทั้ ง ที่ เ ป น
รอยแกวและรอยกรอง เชน วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร วรรณกรรมของเสฐียรโกเศศ
วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทสื่อสารมวลชน

สรุปความหมายของ “วรรณกรรม” แบบเขาใจอยางงาย คือ วรรณกรรม


หมายถึง งานเขียนทั่วไปที่แตงขึ้นตามความรู ความคิด ความคิดเห็น หรือตาม
จินตนาการ เชน หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ นวนิยาย เรื่องสั้น เทศนา คําสอน
รวมถึงวรรณคดีดวย

หนังสือตาง ๆ
วรรณคดี บันทึก
นิตยสาร

หนังสือพิมพ วรรณกรรม เทศนา


เรื่องสั้น
นวนิยาย
คําสอน พงศาวดาร
ศิลาจารึก
นิทานพื้นบาน โฆษณา
ปาย/ประกาศ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๙๓

ประเภทของวรรณกรรมไทย
วรรณกรรมไทย แบงเปน ๒ ชนิด ไดแก
๑. วรรณกรรมรอยกรอง คือ ลักษณะงานเขียนที่ใชภาษาที่สละสวย คลองจองกัน
มีสัมผัสบังคับตามรูปแบบฉันทลักษณ เชน พระอภัยมณี ขุนชางขุนแผน สังขทอง นิราศ
รามเกียรติ์ บทเหกลอมเรื่อง กากี ฯลฯ โดยจะใชคําประพันธประเภทโคลง ฉันท กาพย
กลอน ราย ประเภทตาง ๆ ในการแตง
๒. วรรณกรรมรอยแกว คือ งานเขียนแบบความเรียงหรือเรียงความ ที่ไมใช
ภาษาคลองจอง เชน เรื่องสั้น สารคดี วรรณกรรม บทความ นิทาน เพลง ฯลฯ
การเขียนสรุปเรื่อง
การเขียนสรุปเรื่องหรือเขียนสรุปความ เปนการสรุปแนวคิดหลักหรือประเด็น
สําคัญของเรื่อง จากการฟงหรือการอาน แลวถายทอดใหผูอื่นเขาใจ จึงตองเก็บใจความ
สําคัญของเรื่อง แลวนํามาเขียนใหมเพื่อใหงายใน การเขาใจ
วิธีการเขียนสรุปเรื่อง
เนื้ อ หาและงานเขี ย นแต ล ะประเภทมี วิ ธี ก ารที่ แ ตกต า งกั น ไปในรายละเอี ย ด
ปลีกยอยแตหลักการและขั้นตอนในภาพรวมมีความคลายคลึงกัน ดังนี้
๑. อานหรือฟงเรื่องราวใหเขาใจทั้งหมดอยางนอย ๒ เที่ยว เพื่อใหเขาใจวาเรื่อง
ที่อานเกี่ยวของกับ “ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร อยางไร ผลเปนอยางไร”
๒. พิจารณาประเภทของสาร/ประเภทของงานเขียน
๓. พิจารณาวัตถุประสงคของเรื่อง/งานเขียน เพื่อสรางกรอบประเด็นเนื้อหา
๔. คนหาประเด็นเรื่องจากชื่อเรื่อง หรือจากยอหนา
๕. คนหาหัวขอยอยจากแตละยอหนา
๖. คนหาใจความสําคัญตามหัวขอยอยใหถูกตองและครบถวน
๗. หากใจความสําคัญยังไมชัดเจน อาจจําเปนตองสรุปประเด็นจากเนื้อเรื่องยอย
๘. จัดเรียงประเด็นความคิด และลําดับเรื่องราว ดวยภาษาของตนเอง
๙. เรียบเรียงดวยภาษาเขียน ใชคําที่สั้น เขาใจงาย และไดใจความ ไมควรใช
คํายอ
๑๐. อานทบทวนและขัดเกลาภาษาใหสละสลวย
๑๙๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

นิทานพื้นบาน เรื่อง จันทโครพ

เรื่องยอ
จันทโครพ เปนโอรสของพระเจาพรหมทัต พระองคทรงรักพระโอรสดั่งดวงพระทัย
ของพระองคเลยที่เดียว ดังนั้นพระกุมารจึงแวดลอมไปดวยพระพี่เลี้ยงอยูตลอดเวลา
เนื่องจากพระกุมารจะตองปกครองบานเมืองในภายภาคหนา จึงจําเปนจะตองศึกษา
วิ ช าทุ ก แขนงอั นเป น ประโยชน ตอ การปกครองของตนในอนาคต วั น หนึ่ ง ในขณะที่
เพลิดเพลินอยูในพระราชอุทยานนั้น พระราชาก็ทรงรับสั่งใหพระกุมารเขาเฝาแลวรับสั่ง
ให พ ระกุ ม ารไปศึ ก ษาศิ ล ปวิ ช าการกั บ พระฤๅษี ใ นป า พระกุ ม ารก็ ยิ น ดี ป ฏิ บั ติ ต าม
พระประสงคพระราชบิดา และเดินทางไปอยูกับพระฤๅษี หลังจากสําเร็จการศึกษาแลว
เจาชายจันทโครพก็เขาไปกราบลาพระอาจารยกลับบานเกิดเมืองนอนของตน วาแลว
พระฤๅษีก็หยิบผอบเล็ก ๆ สงใหพรอมกับกําชับอยางหนักแนน
“เจาจงเก็บไวกับตัว แตจงจําไววาเจาจะเปดผอบไดก็ตอเมื่อถึงเมืองของตนแลว
เท า นั้ น อย า เป ด ในระหว า งเดิ น ทาง มิ ฉ ะนั้ น เจ า จะประสบอั น ตรายถ า ไม เ ชื่ อ ฟ ง ”
พระฤๅษี ก ล าวขึ้ น “ครั บ ท านอาจารย หลานจะเป ดผอบก็ ต อ เมื่ อ หลานถึ ง บ านเมื อ ง
ของหลานแลวเทานั้น” เจาชายยืนยันหนักแนน และแลวจันทโครพก็มุงหนาเดินทาง
กลับบานเมืองของตน เมื่อถึงเวลาเสวยอาหารกลางวันก็เขาไปนั่งใตตนโคนรมไมแลวควัก
หออาหารแหงที่เตรียมไวกอนลาพระอาจารยมาเสวย หลังจากเสวยเสร็จก็เกิดเคลิ้มหลับไป
และก็สุบินวา ผอบที่พระอาจารยใหไวนั้นหลุดจากมือตนตกลงน้ําไปแลว พระสุบินนี้เอง
ที่กระตุนใหพระองคอยากเปดผอบดู แตก็ยังคงกังวลถึงคําสั่งของพระอาจารย
ในระหวางทาง เจาชายหนุมก็ทรงครุนคิดถึงผอบที่ติดตัวมาตลอดเวลา และแปลก
พระทัยวาอะไรหนอที่อยูขางในนั้น ยิ่งนึกก็ยิ่งอยากเปดดูใหแน และในที่สุด พระองค
ก็ตัดสินพระทัยผิดคําพูดโดยการเปดผอบออก และในทันทีที่ฝาผอบถูกเปดออก ก็มี
หญิงสาวผูเลอโฉมปรากฏออกมาจากผอบใบนั้น เธอสงยิ้มหวาน ๆ ใหเจาชายหนุมผูซึ่ง
ทอดพระเนตรอยูดวยความตื่นเตนและแนะนําตัวนางวา
“นายจา หมอนฉันชื่อโมราเพคะ พระฤๅษีใสหมอมฉันไวในผอบใบนี้ หมอมฉัน
ดีใจมากที่ไดเปนอิสระเสียที” ทันทีที่เห็นหญิงสาว เจาชายหนุมก็ตกหลุมรักในทั น ที
และขอใหนางเปนชายาของพระองคและแลวทั้งคูก็เดินทางกันในปา เจาชายจันทโครพ
ดีพระทัยมากที่เพื่อนเดินทางแตในขณะเดียวกันก็ทรงกังวลวาทําไมพระฤๅษีจึงหามไมให
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๙๕

เปดผอบในระหวางทาง ทรงครุนคิดเพีย งลํ าพั งแลวก็ ส รุปเอาเองว าพระฤๅษีอ าจจะ


ทดสอบดูวาตนเปนคนสอดรูสอดเห็นหรือไมเทานั้นเอง อยางไรก็ตามสิ่งที่พระฤๅษีพูดนั้น
ก็ปรากฏวากําลังจะเปนจริงแลว เพราะวามีโจรปาแอบซุมอยูในพุมไมใกล ๆ นั้น เขาแอบดู
ความเคลื่อนไหวของทั้งคูอยูอยางเงียบ ๆ และเมื่อไดเห็นความงามของนางโมราก็อยาก
ไดไปเปนภรรยา ชวงเวลานั้นโมรารูสึกกระหายน้ํามาก คอของนางแหงผากแตวาไมมี
น้ําสักหยดใหนางดื่มกินได เจาชายจันทโครพก็ใชพระขรรคแทงเนื้อรินพระโลหิตใหโมรา
ดื่มกินแกกระหาย ในขณะนั้นเองโจรปาก็โผลออกมาจากพุมไมทันทีและยืนอยูเบื้องหนา
ของทั้งคู โจรปากลาวหาทั้งคูวาบุกรุกเขามายังถิ่นของตน แตเจาชายยืนกรานวาปาไมใชที่
ของผูหนึ่งผูใดโดยเฉพาะ ชายทั้งสองจึงเกิดโตเถียงกันอยางรุนแรงโดยไมพูดพร่ําทําเพลง
อะไรอีกตอไป เจาโจรพุงเขาใสจันทโครพแลวชกเขาลมลงกับพื้นกอนที่ จันทโครพจะมี
โอกาสชักพระขรรคออกมาเสียดวยซ้ําไป ทั้งคูตอสูกันอยูบนพื้นอยูพักหนึ่งกอนที่โจรปา
ไดเปรียบ แตเจาชายมีทักษะในการตอสูไดดีกวาเพราะไดรับการสั่งสอนมาจากพระฤๅษี
จันทโครพจึงสามารถผลักโจรปาและเรียกใหภรรยาพระขรรคใหตน โมราจับพระขรรคไว
แตลังเลที่จะสงใหสามีตนเพราะไมตองการใหเจาชายฆาโจรปา ผูซึ่งเปนคนที่นางมีใจให
อยูดวยเหมือนกันในตอนนี้ เมื่อไมสามารถจะตัดสินใจไดในยามคับขันเชนนี้ นางก็วาง
พระขรรคไวตรงกลางชายทั้งสอง แตวาใหดามหันไปทางโจรปา ในขณะที่ดานคมหันไป
ทางสามีทั้งคูจึงกรูกันไปแยงอาวุธในเวลาพรอมกัน จันทโครพถูกคมมีดบาดจึงปลอย
พระขรรค เปนจังหวะที่โจรปาไดโอกาสกําดามพระขรรคได จึงแทงเจาชายจันทโครพ
สิ้นพระชนมอยูตรงนั้นเอง รางของเจาชายนอนจมกองเลือดอยูอยางนั้น ตอนนี้เองที่โมรา
รูสึกใจที่เห็นรางอันไรวิญญาณของเจาชายจันทโครพแตก็สายเกินไปที่จะชวยชีวิตใหฟน
คืนมาได และแลวนางก็ตามโจรปาผูซึ่งจูงมือนางนําทางไป หลังจากไดโมราเปนภรรยา
แลวโจรปาก็มาคิดตรึกตรองวา หญิงผูนี้เปนคนชั่วรายเพราะแมแตสามีของนางก็ยังทรยศ
ไดลงคอ นางฆาไดแมกระทั่งชายผูซึ่งเสียสละเลือดใหนางดื่มกินแทนน้ํา ในภายภาคหนา
นางก็อาจจะกระทําแบบนี้กับเขาก็ได ในขณะที่โมรานอนหลับโจรปาก็ท้ิงนางไวในปา
แตเพียงลําพังเมื่อตื่นขึ้นมา ไมพบสามีใหม โมราก็หลงทางในปาแตเพียงลําพัง และรูสึก
หิวอยางมาก นางไมรูวา จะหาอาหารอยางไร จึงไดแตนั่งรองไหอยูตรงนั้นฝายพระอินทร
เมื่อเล็งทิพยเนตรเห็นเหตุการณทั้งหมด ก็เสด็จลงมายังโลกมนุษยเพื่อสอนบทเรียนแก
โมราใหเข็ดหลาบและชวยชุบชีวิตจันทโครพแลวพระองคก็แปลงรางเปนเหยี่ยวคาบชิ้นเนื้อ
ไวในปากทันทีที่เห็นชิ้นเนื้อในปากนก โมราก็รองเรียกขอสวนแบงบาง แตเหยี่ยวทําเปน
แกลงถามวานางจะใหอะไรเปนของแลกเปลี่ยนกับชิ้นเนื้อของตน โมราไมรีรอที่จะเสนอ
๑๙๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ตัวเองเปนภรรยาของสัตวเดรัจฉานอยางเชนเหยี่ยว เมื่อไดยินเชนนี้ นกเหยี่ยวก็โกรธมาก


และทันใดนั้นก็กลายรางเปนพระอินทรอยางเดิม พระองคชี้นิ้วไปที่โมราและประณามวา
“เจาเปนหญิงชั่วราย แมวาเจาจะมีสามีที่ดีแสนดีก็ยังแบงใจใหชายอื่นที่ตนไมรูจักมากอน
เมื่ อ โจรป า หนี ไ ปจากเจ า ตอนนี้ ก็ ยั ง ยกกายให เ ป น ภรรยาของเหยี่ ย วอี ก เพี ย งเพื่ อ
ใหไดมาซึ่งชิ้นเนื้อเทานั้น เจาพรอมที่จะสมสูกับสัตวเดรัจฉานโดยปราศจากยางอาย”
ทันทีที่สิ้นคําประณามของพระอินทรรางของโมราก็กลายเปนชะนี พรอมน้ําตานองหนา
รองเรียกหา ผัว ผัว ผัว ผัว แลวนางชะนีที่มีหนาเศราก็โดดเขาปาหายไป ตั้งแตนั้นมา
ชะนีก็จะรองหาผัวอยูตลอดเวลา บางแหงก็จบเนื้อเรื่องแตเพียงเทานี้ แตก็มีบางแหง
กล า วว า พระอิ น ทร ท รงร า ยมนต ชุ บ เจ า ชายจั น ทโครพให ฟ น คื น ชี พ กลั บ มาอี ก ครั้ ง
และทรงตรัสสอนเจาชาย เราคือพระอินทร เจามีกรรมแตหนหลัง โมราเปนหญิงชั่วราย
ไมเหมาะสมที่จะเปนคูครองของเจา หญิงที่เกิดมาเพื่อเปนภรรยาของเจาแทที่จริงแลว
เปนธิดาพญานาค พระอินทรทรงตรัสแลวก็หายไป และแลวเจาชายจันทโครพก็ไดพบ
เนื้อคูในอนาคตของพระองคมีนามวา “นางมุจลินท” ซึ่งอาศัยอยูในถ้ําทอง บิดาของนาง
รักนางดุจดวงใจ จึงใหนางอยูแตในถ้ําทามกลางการอารักขาอยางแนนหนาอยางไรก็ตาม
จันทโครพก็สามารถเล็ดลอดเขาไปจนไดและเกี้ยวพาราสีนาง จนกระทั่งนางหลงรัก
พระองคทั้งคูอยูดวยกัน จนกระทั่งนางมุจลินทมีครรภแลวจันทโครพก็ตัดสินใจเขาไปขอขมา
พญานาค และแลวทั้งคูก็ออกเดินทางไปยังเมืองของเจาชายจันทโครพ เพราะราชบิดา
ของพระองคกําลังรอการกลับมาของพระองค ในเนื้อเรื่อง กลาววาในระหวางที่ทั้งคู
เดินทางไปนั้น ทั้งคูก็พบกับศัตรูและอุปสรรคมากมาย แตทายที่สุดทั้งคูก็ไดกลับมาอยู
และปกครองเมืองพรหมทัตจนกระทั่งชราภาพ และสิ้นพระชนมอยางสงบ พระโอรสของ
ทั้งสองพระองคพระนามวา “เจาชายจันทวงศ” ไดขึ้นครองราชยแทน และปกครอง
พระนครอยางมีความสุขเรื่อยมา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๙๗

ใบงานที่ ๖ เรื่อง การสรุปเรื่องจากวรรณกรรมทีอ่ าน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง วรรณกรรมดีมีคณ
ุ คา (๑)
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนสรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อานและขอคิดจากเรื่อง

เรื่อง..............................................................................................

การสรุปเรื่องจากวรรณกรรมที่อาน
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................
..................................................................................................................................


..................................................................................................................................

ขอคิดที่ไดจากเรื่อง การนําขอคิดไปใชในชีวิตประจําวัน

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
๑๙๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

นิทานพื้นบาน เรื่อง ไกรทอง


เรื่องยอ
ณ เมืองพิจิตร ชาวบานพากันแตกตื่นเมื่อไอดางเกยชัย จระเขรายออกอาละวาด
ขุนไกร หมอจระเขจากนนทบุรีและไกรทอง ลูกชายไดลองแพผานมาพอดี จึงไดชวย
ชาวบานปราบไอดางเกยชัย แตขณะที่ขุนไกรจับไอดางได ทาวโคจร พญาจระเขไดโผล
ขึ้นมางาบขุนไกรจมหายไปในน้ําทามกลางความตกตะลึงของทุกคน ทาวโคจรอาศัยอยู
ในถ้ําจระเขกับ ทาวรําไพ ผูเปนพอ และลูกชาย ชื่อวา ชาละวัน
ทาวรําไพพยายามดุดาวาทาวโคจรที่เอาแตเกเร เที่ยวกัดกินคนไปทั่ว แตทาวโคจร
ไมสนใจ จนวันหนึ่ง ทาวโคจรเกิดไปมีเรื่องกับทาวพันตา และทาวพันวัน จระเขตางถิ่น
จนเกิดการกัดกันตายทั้งสามฝาย ทําใหจระเขรายหมดไป สรางความยินดีใหกับชาวบาน
เปนอันมาก
สิบปผานไป ณ บานริมน้ําที่เมืองพิจิตร เศรษฐีมีลูกสาวสองคนคือ ตะเภาแกว
และ ตะเภาทอง ทั้งสองไดออกไปเลนน้ํา ชาละวันซึ่งโตเปนหนุมแลวเห็นเขาก็รูสึกถูกใจ
จึงจับตัวตะเภาทองไป สรางความตื่นตะลึงใหกับเศรษฐีเปนอันมาก เศรษฐีจึงรีบปาวประกาศ
ตามหาหมอจระเขใหมาชวยกันจับตัวชาละวัน พรอมกับจะใหรางวัลอยางงาม
พญาชาละวันมีเมียอยูแลวสองคน คือ วิมาลาและเลื่อมลายวรรณ ซึ่งรูสึกไมพอใจ
ที่ ช าละวั น จะเอาตะเภาทองมาเป น เมี ย อี ก แต ก็ ไ ม ส ามารถขั ด ชาละวั น ได ชาละวั น
ไมสนใจคําเตือนของทาวรําไพวา จะนําเคราะหมาสูตน ไกรทองไดลองแพสงสินคามาจาก
เมืองนนทบุรี ไดเห็นประกาศของเศรษฐีก็สนใจรับอาสาปราบเจาชาละวัน โดยมีคูแขงคือ
เสี่ ย เฮง เจ า ของฟาร ม จระเข ที่ ห วั ง จะได ต ะเภาแก ว มาเป น เมี ย ไกรทองใช ม นต ล อ
ชาละวันออกมา หวังใชหอกจัดการกับเจาชาละวัน แตหอกทําอันตรายชาละวันไมได
กอนที่ไกรทองจะถูกชาละวันเลนงาน อาจารยคง ก็มาชวยไกรทองเอาไวได ไกรทองรูวา
อาจารย คงเป น อาจารย ข องขุ น ไกรพ อ ของตน จึ ง ขอให อ าจารย ค งช ว ยฝ ก วิ ช าให จน
เกงกลา อาจารยคงบอกวาการจะฆาชาละวันไดตองใชหอกสัตตโลหะเทานั้น
ไกรทองจึงไปหาชางตีเหล็กที่บึงจระเขสามพันโดยมีเสี่ยเฮงแอบติดตามไป หวังจะ
แยงหอกมาจากไกรทอง แตกรรมตามทันเมื่อเสี่ยเฮงพลาดทาตกลงไปในบึงถูกจระเขกัดกิน
จนตาย ทาวรําไพเตือนชาละวันวา กําลังมีเคราะห ใหชาละวันบําเพ็ญศีลอยูแตในถ้ํา
แตชาละวันทนมนตเรียกจระเขของไกรทองไมไหวจึงระเบิดถ้ําออกมา ไกรทองไดใช
เทียนระเบิดน้ําบุกเขาไปเพื่อชวยตะเภาทองและเกิดการตอสูกับชาละวันขึ้น ไกรทองได
โอกาสใชหอกสัตตะโลหะแทงชาละวันจนตาย ชาวเมืองพิจิตรกลับสูความสงบอีกครั้ง
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๑๙๙

ใบงานที่ ๗ เรื่อง วรรณกรรมดีมคี ุณคา


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง วรรณกรรมดีมีคณ
ุ คา (๒)
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนสรุปความรูและขอคิด จากการอานวรรณกรรมที่กําหนดให

๑. ชื่อเรื่อง..........................................................................................................................
๒. ประเภทของเรื่องที่อาน  รอยแกว  รอยกรอง
๓. แหลงที่มา.....................................................................................................................
๔. เลือกอานเรื่องนี้เพราะ..................................................................................................
...........................................................................................................................................
๕. สรุปความรูจากเรื่องที่อาน
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
๖. สรุปขอคิดจากเรื่องที่อาน
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
๒๐๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง แผนภาพโครงเรื่องประเทืองปญญา
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

แผนภาพโครงเรื่อง
การเขี ย นแผนภาพโครงเรื่ อ ง เป น การเขี ย นที่ แ สดงให เ ห็ น ภาพรวมของเรื่ อ ง
ทั้งหมด ทําใหจับใจความสําคัญของเรื่องที่อานไดดียิ่งขึ้น การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง
ตองอาศัยการตั้งคําถามและตอบคําถามจากเรื่องที่อานวา ตัวละครในเรื่องมีใครบาง
สถานที่เกิดเหตุการณคือที่ไหน มีเหตุการณอะไรเกิดขึ้น ผลของเหตุการณนั้นเปนอยางไร
แผนภาพโครงเรื่อง ใชในการวางโครงเรื่องที่มีตัวละคร ฉาก สถานที่ และ
การดําเนินเรื่องตามลําดับของเหตุการณ ซึ่งมีองคประกอบดังนี้
องคประกอบของแผนภาพโครงเรื่อง
ชื่อเรื่อง
๑. ตัวละคร
๒. ฉากและสถานที่
๓. เหตุการณสําคัญ
๔. ผลของเรื่อง
๕. ขอคิดจากเรื่อง
ขั้นตอนการสรางแผนภาพโครงเรื่อง
๑. กําหนดชื่อเรื่อง หรือความคิดรวบยอด
๒. ระดมสมองคิดถึงสิ่งที่เกี่ยวของกับชื่อเรื่อง หรือความคิดรวบยอดสําคัญนั้น
แลวจดบันทึกไวเปนคําหรือกลุมคําสั้น ๆ
๓. นําคําหรือกลุมคําที่จดบันทึกไวซึ่งมีความสัมพันธกันมาจัดกลุม ตั้งชื่อกลุมคํา
เปนหัวขอยอย แลวเรียงลําดับกลุมคําตามความสําคัญ
๔. เลือกรูปแบบแผนภาพความคิดใหเหมาะสมกับการนําไปใชประโยชนและ
เนื้อหา ของเรื่อง
ปรับปรุงมาจาก http://dlit.ac.th
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๒๐๑

ตัวอยาง การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

เรื่อง กากับสุนัขจิ้งจอกเจาเลห

อีกาตัวหนึ่งกําลังหิว มันจึงบินออกหาอาหาร มันเหลือบไปเห็นเนื้อชิ้นหนึ่งหลนอยู


มันจึงใชปากคาบเนื้อชิ้นนั้นขึ้นมา แลวบินไปเกาะที่ตนไมตนหนึ่ง สุนัขจิ้งจอกตัวหนึ่ง
เดินผานมาเห็นอีกาคาบเนื้ออยูในปาก มันอยากกินเนื้อชิ้นนั้นมันจึงเอยปากทักอีกาวา
“สวัสดีครับคุณกา คุณชางสงางามอะไรอยางนี้ ขนของคุณก็ดูสวยงามมาก” อีกา
รูสึกชอบใจมาก มันมองดูขนของตัวเองอยางภูมิใจ สุนัขจิ้งจอกจึงพูดตอไปวา
“คุณคงมีเสียงที่ไพเราะมาก คุณคงรองเพลงเพราะดวยใชไหม” อีการีบผงกหัวรับ
“ถาอยางนั้นคุณชวยรองเพลงใหผมฟงสักหนอยเถิดครับ” อีกาจึงอาปาก จะรอง
เพลง พอมันอาปาก เนื้อก็หลุดจากปากตกลงที่พื้น สุนัขจิ้งจอกจึงรีบคาบเนื้อชิ้นนั้น
แลววิ่งหนีไป

แผนภาพโครงเรื่อง :
กากับสุนัขจิ้งจอกเจาเลห
ตัวละครในเรื่อง :อีกา และสุนัขจิ้งจอก
สถานที่ :
ตนไมตนหนึ่ง
เหตุการณที่เกิดขึ้น :
อีกาซึ่งกําลังคาบเนื้ออยูในปาก หลงเชื่อคําพูดของสุนัขจิ้งจอกที่
ชมวา อีกามีเสียงไพเราะ จึงอาปากจะรองเพลงใหสุนัขจิ้งจอกฟง
ผลของเหตุการณ : ทําใหชิ้นเนื้อที่อีกาคาบมาหลนจากปาก สุนัขจิ้งจอกจึงมาคาบเนื้อ
ไปกินแทน
ขอคิด : อยาไวใจทาง อยาวางใจคน จะจนใจเอง คือ หากไวใจคนอื่นมาก
จนเกินไป อาจจะทําใหไดรับเคราะหหรือผลเสียได

จากนิทานอีสป
๒๐๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๘ เรื่อง แผนภาพโครงเรื่องประเทืองปญญา


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง แผนภาพโครงเรื่องประเทืองปญญา
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานเรื่อง บานหลังใหมของปอม แลวเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

นิทานสงเสริมคุณธรรม เรื่อง บานหลังใหมของปอม

ฉันชื่อปอม เปนสมาชิกใหมในคลองสายทองแหงนี้ ที่นี่มีสัตวนอยใหญมากมาย


หลายชนิด เมื่อฉันมองขึ้นไปบนผิวน้ําที่มีแสงแดดออน ๆ มาสองกระทบ ฉันมีความสุขใจ
ที่บานของฉันมีความสวยงาม
วั น หนึ่ ง ในคลองแห ง นี้ ไ ด จั ด ต อ นรั บ ป อ มสมาชิ ก ใหม ที่ ม าเยื อ น ทุ ก คนร า เริ ง
แจมใสมีความสุข ลุงเตากลาวตอนรับสมาชิกใหม ฉันรูสึกวาที่นี่เปนบานหลังใหมที่มี
ความสุข ในเชาวันนี้อากาศสดใส ขณะที่ฉันกําลังวายน้ําทักทายพี่ปูอยูนั้น ฉันเห็นผิวน้ํา
กําลังเปนสีดํา ดวยความตกใจฉันจึงรองเรียกใหสัตวตาง ๆ มาดู พี่กุงบอกพวกเราวา ตอง
ไปจากที่ นี่ เ พราะน้ํ า กํ า ลั ง จะเน า เสี ย ลุ ง เต า บอกว า พวกมนุ ษ ย ข า งบนนั้ น ใจร า ย
ชอบปลอยน้ําเสียลงมาเรื่อย ๆ ทําใหสัตวน้ําอยางเราลมปวยและเปลี่ยนที่อยูบอย ๆ
ลุงอยากใหมนุษยพวกนั้นเห็นใจสัตวน้ําอยางพวกเราบาง เราจะไดไมลมปวยและเปลี่ยน
ที่อยูกันบอย ๆ
ลุงเตาและทุกคน รวมทั้งปอมก็ออกเดินทางเพื่อบานหลังใหม ปอมตามหาบาน
หลังใหมดวยความเหน็ดเหนื่อย และก็ไดแตคิดวา หากมนุษยเหลานั้นมีจิตใจที่คิดถึงสัตว
ตัวเล็กอยางตนบาง บานหลังใหมที่ตนอาศัยอยูนั้น คงจะมีความสุขเปนแน

โครงการสื่อ ๖๐ พรรษา
สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๒๐๓

การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง

แผนภาพโครงเรื่อง

ตัวละคร

สถานที่

เหตุการณที่เกิดขึ้น

ผลของเหตุการณ

ขอคิดที่ไดจากเรื่อง

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่..........
๒๐๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๘ เรื่อง บทอาขยานสืบสานเอกลักษณไทย


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง บทอาขยานสืบสานเอกลักษณไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การทองบทอาขยาน
การทองจําหรือทองบทอาขยาน เปนการอานออกเสียงที่อาศัยความจําโดยไมดู
บทอานตองใชความสามารถในการจําบททองจํา อานใหถูกตองตามฉันทลักษณและ
ทํ านองเสนาะของบทร อ ยกรองนั้ น ๆ สอดคล อ งกั บ อารมณ ใ นบทอ าน โดยอ า นให
ไพเราะถูกตองคลองแคลวเกิดภาพพจนไดรสไดอารมณ
บทอาขยาน คือ บททองจํา การเลา การสวด นิทาน ซึ่งเปนการทองจําขอความ
หรือคําประพันธที่ชอบ บทรองกรองที่ไพเราะ โดยอาจตัดตอนมาจากหนังสือวรรณคดี
เพื่อใหผูทองจําได และเห็นความงามของบทรอยกรองทั้งในดานวรรณศิ ลป การใช
ถอยคําภาษา เนื้อหา และกลวิธีในการประพันธ ตลอดจนสามารถนําไปเปนแบบอยาง
ในการแตงบทรอยกรอง หรือนําไปใชเปนขอมูล ในการอางอิงในการพูดและการเขียนได
เปนอยางดี
การกําหนดบทอาขยานใหทองจํา
กระทรวงศึกษาธิการ ไดกําหนดบทอาขยานที่ใหนักเรียนทองจํานั้น แบงออกได
เปน ๓ ประเภท ไดแก บทหลัก บทรอง และบทเลือกอิสระ (ตามความสนใจ)
๑. บทหลัก คือ บทอาขยานที่ทางกระทรวงศึกษาธิการกําหนดตามหลักสูตร
เพื่อใหนักเรียนทุกคน สามารถนําไปทองจําเหมือนกันทั่วประเทศ
๒. บทรอง คือ บทอาขยานที่ครูผูสอนหรือสถานศึกษา (โรงเรียน) เปนผูกําหนดให
นักเรียนทองจําเสริมจากบทหลักที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด โดยมักเปนบทรอย
กรองที่แสดงภูมิปญญาทองถิ่น เชน เพลงพื้นบาน, เพลงกลอมเด็ก, คาวซอ (วรรณกรรม
พื้นบานของภาคเหนือ), เพลงชานอง, เพลงเรือ (ภาคใต), บทกวีที่มีคุณคา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๒๐๕

๓. บทเลือกอิสระ คือ บทที่นักเรียนสามารถเลือกทองตามความสนใจ หรือดวย


ความชื่นชอบ อาจเปนบทรอยกรองที่มีผูแตงไว แตตองบอกไดวามีเหตุผลอยางไรจึงเลือก
บทรอยกรองนั้น ๆ มาทองจําเปนบทอาขยานของตนเองโดยความเห็นชอบของครูผูสอน
หรือสถานศึกษา
บทรอยกรองที่จะคัดเลือกใหเปนบทรอยกรองและบทเลือกอิสระ ควรมีลักษณะ
ดังนี้
๑. มีเนื้อหา ความยากงาย เหมาะสมกับวัย
๒. มีความยาวพอเหมาะ พอควร
๓. มีคุณธรรม คติธรรม ใหแนวทางการดําเนินชีวิตที่ดีงาม
๔. มีสุนทรียภาพทางภาษา
๕. มีความถูกตองตามฉันทลักษณ
๖. มีรูปแบบที่หลากหลาย
หลักการทองจําบทอาขยาน
การทองจําบทอาขยาน เปนการทองออกเสียง คือ ผูทองเปลงเสียงออกมาดัง ๆ
ในขณะที่ใชสายตากวาดไปตามตัวอักษร ยึดหลักการออกเสียงเหมือนหลักการอาน
ทั่วไป เพื่อใหการออกเสียงมีประสิทธิภาพควรฝกฝน ดังนี้
๑. ฝกเปลงเสียงใหดังพอประมาณ ไมตะโกน ควรบังคับเสียง เนนเสียง ปรับ
ระดับเสียงสูง - ต่ํา ใหสอดคลองกับจังหวะลีลา ทวงทํานอง และความหมายของเนื้อหา
ที่อาน
๒. ทองดวยเสียงที่ชัดเจน แจมใส ไพเราะ มีกระแสเสียงเดียว และเปลงเสียงจาก
ลําคอโดยตรงดวยความมั่นใจ
๓. ทอง ออกเสียงใหถูกอักขรวิธีหรือความนิยม และตองเขาใจเนื้อหาของบท
อาขยานนี้กอน
๔. ออกเสียง ร ล และคําควบกล้ําใหถูกตองชัดเจนตามอักขรวิธี
ประโยชนของการทองจําบทอาขยาน
๑. ฝกความจํา เพราะมนุษยตองอาศัยความจําในการคิดวิเคราะหคิดสังเคราะห
๒. เปนการฝกวินัย เพราะการจะทองจําใหไดนั้น ผูทองตองมีวินัยในการฝกฝน
๓. เปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชน
๔. แสดงถึงการอนุรักษวัฒนธรรมไทย ทางดานภาษาใหคงอยูตลอดไป
๒๐๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๕. ไดรับคติสอนใจจากบทคําประพันธตาง ๆ ที่ทองจํา
๖. ทําใหเปนคนอารมณดี เพลิดเพลิน จากความงามของบทประพันธที่ทอง
๗. เพื่อตระหนักในคุณคาภาษาไทย และซาบซึ้งในความไพเราะของบทรอยกรอง
๘. เพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจในความสามารถของกวีไทย
๙. เพื่อเปนพื้นฐานในการแตงคําประพันธ
๑๐. เพื่อใชเปนสื่อถายทอดคุณธรรมจริยธรรม และนําขอคิดที่เปนประโยชน
ไปใชในการดําเนินชีวิต
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๒๐๗

ใบงานที่ ๙ เรื่อง บทอาขยานสืบสานเอกลักษณไทย


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง บทอาขยานสืบสานเอกลักษณไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเติมวรรคของบทอาขยานที่ขาดหายไปใหถูกตองและสมบูรณ
เรื่อง

วิชาเหมือนสินคา อันมีคาอยูเมืองไกล
จึงจะไดสินคามา
จงตั้งเอากายเจา
แขนซายขวาเปนเสาใบ
นิ้วเปนสายระยาง
ปากเปนนายงานไป อัชฌาสัยเปนเสบียง
ถือทายเรือไวใหเที่ยง
ถือไวอยาใหเอียง ตัดแลนเลี่ยงขามคงคา
ปญญาเปนกลองแกว
เจาจงเอาหูตา
จะทําลายใหเรือจม
เอาใจเปนปนคม
จึงจะไดสินคามา คือวิชาอันพิสมัย
จงหมั่นมั่นหมายใจ

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
๒๐๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ
การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ เปนการอานขอมูลเพื่อทําความเขาใจ
เชน ขาวสารทางราชการ ประกาศ ฉลากยา การใชวัสดุอุปกรณ ผูอานจะตองทําความ
เขาใจใหชัดเจนจึงจะสามารถปฏิบัติตามไดอยางถูกตองตามขั้นตอน ปลอดภัย และมี
ประสิทธิภาพ
นอกจากนี้ ยังเปนการอานเพื่อคนควาขอมูลหรือวิธีนําไปใช ตองอานอยางละเอียด
ใหไดความครบถวน จะทําใหปฏิบัติตามไดถูกตอง เชน ขาวสารทางราชการ คําแนะนํา
การใช พ จนานุ ก รม การใช วั ส ดุ อุ ป กรณ คํ า เตื อ นบนฉลากยา คู มื อ และเอกสารของ
โรงเรียน ขั้นตอนการซักผา การลางจาน ฯลฯ
หลักการอานงานเขียนเชิงอธิบาย

๑. ตั้งจุดประสงคในการอานวาจะอานเพื่อความรู หรือเพื่อคนควา หรือ


เพื่อตองการปฏิบัติตามขั้นตอน
๒. อานเพื่อนําไปปฏิบัติ เพื่อใหไดรับสิ่งที่ตองการ และนําไปใชประโยชน
ไดถูกตอง
๓. อานอยางละเอียด ใหเขาใจชัดเจน เพื่อใหไดรับขอมูลที่ครบถวน
๔. สํารวจและสังเกตหมายเหตุ เนื่องจากงานเขียนบางเรื่อง อาจมีหมายเหตุ
หรือขอหามสําหรับการใชงาน เพื่อลดความผิดพลาด
๕. สรุปความรูและขอคิดที่ไดจากการอานงานเขียนเชิงอธิบาย และปฏิบัติ
ตาม
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๒๐๙

ตัวอยาง งานเขียนเชิงอธิบายแสดงขั้นตอน

เรื่อง การลางมือ ๗ ขั้นตอน

ขั้นตอนที่ ๑
ฝามือถูฝามือ ลางมือดวยน้ําสะอาด ถูสบูจนขึ้นฟอง หลังจากนั้นนําฝามือทั้งสองขาง
ประกบกัน และถูวนใหทั่ว
ขั้นตอนที่ ๒
ถูหลังมือและซอกนิ้ว เพื่อฆาเชื้อโรคบริเวณมือและซอกนิ้วดานหลัง โดยใชฝามือถู
บริเวณหลังมือ และซอกนิ้วสลับไปมาทั้งสองขาง
ขั้นตอนที่ ๓
ถูฝามือและซอกนิ้ว นํามือทั้งสองขางมาประกบกัน ถูฝามือและซอกนิ้วดานหนา
ใหสะอาด
ขั้นตอนที่ ๔
หลังนิ้วมือถูฝามือ ใหนิ้วมือทั้งสองขางงอเกี่ยวกัน ถูวนไปมา
ขั้นตอนที่ ๕
ถูนิ้วและโคนนิ้วหัวแมมือ กางนิ้วหัวแมมือแยกออกมา ใชฝามืออีกขางกํารอบ
นิ้วหัวแมมือ แลวถูหมุนไปรอบ ๆ ทําสลับกันทั้งสองขาง
ขั้นตอนที่ ๖
ถู ป ลายนิ้ ว มื อ บนฝ า มื อ ให แ บมื อ แล ว ใช ป ลายนิ้ ว มื อ อี ก ข า งถู ว นเป น วงกลม
จากนั้นสลับขางทําแบบเดียวกัน
ขั้นตอนที่ ๗
ถู รอบข อ มื อ กํ ามื อ รอบข อ มื อ ข างหนึ่ ง ถู ว นจนกว าจะสะอาด หลั ง จากนั้ น ให
เปลี่ยนขางทําแบบเดียวกับมือขางแรก
แหลงที่มาของขอมูล https://www.nestle.co.th
๒๑๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ตัวอยาง ฉลากยา

การอานฉลากยา หมายถึง ปายบอกชื่อยา ฉลากที่ใชแปะติดกับภาชนะที่บรรจุ


ยารั ก ษาโรค ในการอ า นฉลากยา ต อ งอ า นชื่ อ ยาให เ ข า ใจ อ า นสรรพคุ ณ จํ า นวนที่
รับประทานตอครั้ง ดูวายานั้นรับประทานเมื่อใด กอนอาหาร หลังอาหาร และเวลาใด
เชน เชา กลางวัน เย็น และกอนนอน
ฉลากยาที่พบไดบอย คือ ฉลากยาจากบริษัทผูผลิต และ ฉลากยาจากโรงพยาบาล
คลินิก รานขายยา ซึ่งรายละเอียดจะมีความแตกตางกันบางเล็กนอย แตทั้งนี้การให
ขอมูลมีจุดมุงหมายเดียวกันเพื่อใหผูบริโภคใชยาไดอยางถูกตอง และมีความปลอดภัย
จากการใชยา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน ๒๑๑

ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรื่อง ตามรอยเจาฟานักอาน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง การอานงานเขียนเชิงอธิบายจากสื่อตาง ๆ
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานงานเขียนเชิงอธิบายตามที่กําหนดให จากนั้นตอบคําถาม และ


เขียนสรุปความรูและประโยชนใหถูกตอง

๑. งานเขียนขางตน คืออะไร
......................................................................................................................................
๒. เนื้อหาสวนใหญอธิบายเกี่ยวกับเรื่องใด
......................................................................................................................................
๓. ยานี้ รับประทานครั้งละเทาไร
......................................................................................................................................
๔. ยานี้ รับประทานกอนหรือหลังอาหาร และรับประทานเวลาใดบาง
......................................................................................................................................
๕. ยานี้ คือยาอะไร ควรทําอยางไรกอนรับประทาน
......................................................................................................................................

ชื่อ................................................สกุล............................................ชั้น..........เลขที่...........
๒๑๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ชั้น ป.๕ ภาคเรียนที่ ๒

แบบประเมินตนเอง
ชื่อ : ___________________________ สกุล : ______________________ชั้น_____เลขที่ _____
หนวยการเรียนรูที่ ๑๒ เรือ่ ง ตามรอยเจาฟานักอาน

๑. ประเมินการเรียนรูของตนเอง
กาเครื่องหมาย  ในชองระดับความสามารถของแตละกิจกรรมที่นักเรียนคิดวาทําไดตามระดับการประเมินเหลานี้
ระดับความสามารถ : ดีมาก ดี คอนขางดี พอใช ปรับปรุง
ระดับความสามารถ
ที่ รายการ ดีมาก ดี คอน พอ ปรับ
ขางดี ใช ปรุง
๑ การอานงานเขียนเชิงอธิบาย
๒ การเขียนแผนภาพโครงเรื่อง บานหลังใหมของปอม
๓ การพูดรายงานจากเรื่องที่ฟงและดู
๔ ชวนคิดชวนจํา คําราชาศัพท
๕ การทองจําบทอาขยาน

๒. สิ่งที่ฉนั ยังไมเขาใจ / ยังทําไดไมดี คือ…… (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................

๓. สิ่งที่ฉนั ตั้งใจจะทําใหดีขนึ้ ในการเรียนหนวยตอไป (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๑๓

หนวยการเรียนรูที่ ๑๓
ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
๒๑๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความสําคัญ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอานจับใจความ
เป น การอ า นเพื่ อ หาส ว นสํ า คั ญ ของเรื่ อ ง ซึ่ ง เรี ย กว า ใจความ ตรงกั น ข า มกั บ
พลความ (อานวา พน-ละ-ความ) ซึ่งหมายถึง สวนที่ไมสําคัญ ใจความสําคัญจะปรากฏ
อยูตามหนาตาง ๆ ของเรื่องที่อาน อาจอยูสวนตน สวนกลาง หรือสวนทายของยอหนา
ก็ได
การอานจับใจความสําคัญ ควรปฏิบัติ ดังนี้
๑. อานในใจทุกยอหนาอยางละเอียด
๒. ศึกษาความหมายของคํา กลุมคํา สํานวนที่ไมเขาใจ
๓. ตั้งคําถามวาใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร ทําไม ฯลฯ
๔. สั ง เกตประโยคที่แ สดงให เ ห็ น ว าเป น ใจความสํ าคั ญ ซึ่ ง มั ก มี ป ระโยคอื่ น ๆ
อธิบายขยายความหรือใหรายละเอียด
๕. จัดทําแผนภาพความคิดของเรื่องที่อาน

วิธีจับใจความสําคัญ
วิธีการจับใจความมีหลายอยาง ขึ้นอยูกับความชอบวาอยางไร เชน
- การขีดเสนใต
- การใชสีตาง ๆ กัน เพื่อแสดงความสําคัญมากนอยของขอความ
- การบันทึกยอเปนสวนหนึ่งของการอานจับใจความสําคัญที่ดี แตผูที่ยอควร
ยอดวยสํานวนภาษาและสํานวนของตนเอง ไมควรยอดวยการตัดเอาขอความสําคัญ
มาเรี ย งต อ กั น เพราะอาจทํ า ให ผู อ า นพลาดสาระสํ า คั ญ บางตอนไปอั น เป น เหตุ ใ ห
การตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๑๕

ใบงานที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความจากเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนตอบคําถามจากเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี พรอมทั้งสรุป


ใจความสําคัญจากเรื่องใหถูกตอง
๑. กรุงศรีอยุธยาเคยเปนราชธานีอันยิ่งใหญของไทย มีความเจริญในดานใดมากที่สุด
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๒. หลักฐานที่บันทึกเรื่องกรุงศรีอยุธยา ถูกถายทอดไวในอะไร
..............................................................................................................................
๓. อยุธยาในอดีตเปนเชนไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๔. อยุธยาในปจจุบันเปนอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๒๑๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๕. ผมแกละพาชาลีไปยืนที่ประตูวังดานหนึ่งแลวพูดวาอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๖. สรุปใจความสําคัญของเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๑๗

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การวิเคราะหและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การวิเคราะหและเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
๑. การวิเคราะหเรื่อง โดยพิจารณาจาก
๑.๑ ผูเขียนเรื่องมีจุดประสงคในการเขียนอยางไร
๑.๒ เนื้อเรือ่ งเปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีความเปนเหตุเปนผลเหมาะสมหรือไม
๑.๓ เนื้อเรือ่ งมีคุณคาตอผูอานหรือตอสวนรวมหรือไม มีขอคิดอะไรบาง
๒. ควรยกรางการเขียนแสดงความคิดเห็นกอนเสมอ
๓. การเขียนแสดงความคิดเห็น จะตองกลาวถึงขอเท็จจริงกอนแลวจึงกลาวถึง
ความคิดเห็นสนับสนุนหรือคัดคาน โดยมีเหตุผลประกอบ
๔. ผูเขียนตองมีมารยาทในการเขียน ไมใชถอยคํารุนแรง
๕. ผูเขียนควรอานและแกไขปรับปรุงขอเขียนของตนเอง รวมทั้งการตรวจตัวสะกด
การันต และถอยคําสํานวน
๒๑๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ตัวอยาง การวิเคราะหและเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
น้ํา เปนสิ่งจําเปนสําหรับการดํารงชีวิต มีสถานะเปนทั้งของเหลว ของแข็ง
และก าซ โลกของเรามี น้ํ าอยู มากมาย ร างกายของเราก็มีน้ํ าเปนส วนประกอบใช
ในการควบคุมการทํางานของระบบตาง ๆ ใหเกิดความสมดุล น้ํามีความสําคัญเราจึง
ตองชวยกันอนุรักษน้ําดวยการดูแลแหลงตนน้ําลําธารใหสมบูรณ รักษาระบบนิเวศ
รวมกันพัฒนาแหลงน้ํา ดังโครงการในพระราชดําริที่มีอยูทุกภูมิภาคตามความตองการ
และความจําเปนของแตละพื้นที่ เชน การพัฒนาแหลงน้ําเพื่อการเกษตร การรักษา
ตนน้ําลําธาร การผลิตไฟฟา การระบายน้ําออกจากที่ลุม การบรรเทาอุทกภัย ทุกคน
ตองชวยกันรักษาระบบนิเวศของน้ําและชวยกันดูแลใชนํ้าอยางประหยัดและคุมคา
ดังที่องคการสหประชาชาติกําหนดใหวันที่ ๒๒ มีนาคมของทุกปนั้น เปน “วันน้ําโลก”
เพื่อรณรงคใหเห็นความสําคัญของน้ําและรวมมือกันดูแลแหลงน้ําเพื่อใหมีน้ํากินน้ําใช
ที่สะอาดและเพียงพอตลอดไป

เขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
จากขอความขางตน ผูเขียนตองการเขียนเพื่อรณรงคใหเห็นความสําคัญของน้ํา
และให ทุ ก คนร ว มมื อ กั น ในการดู แ ลแหล ง น้ํ า เพื่ อ ให มี กิ น มี ใ ช ต ลอดไป เนื่ อ งจากน้ํ า
มีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย หากทุกคนรวมมือกันดูแลและอนุรักษแหลงน้ํา
ก็จะสงผลใหเรามีน้ําที่สะอาดสําหรับการอุปโภคบริโภคตลอดไป
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๑๙

ใบงานที่ ๒ เรื่อง การวิเคราะหและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง การอานจับใจความเรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานเรื่อง แลววิเคราะหและเขียนแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน

เพลงชาติไทย

ประเทศไทยรวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย
เปนประชารัฐ ไผทของไทยทุกสวน
อยูดํารงคงไวไดทั้งมวล
ดวยไทยลวนหมาย รักสามัคคี
ไทยนี้รกั สงบแตถึงรบไมขลาด
เอกราชจะไมใหใครขมขี่
สละเลือดทุกหยาดเปนชาติพลี
เถลิงประเทศชาติไทยทวีมีชยั ชโย
๒๒๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๑. ใจความสําคัญ คือ
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๒. เขียนวิเคราะหและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อานไดดังนี้
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๓. การนําขอคิดไปใชในชีวิตจริง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๒๑

ใบความรูที่ ๓ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามจากการฟงและดูสารคดีเกี่ยวกับความรักชาติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การตั้งคําถาม
เปนการตั้งประเด็นหรือขอสงสัยเกี่ยวกับเรื่องราวตาง ๆ ที่เกิดจากการอาน การดู
การสังเกต การฟงและการดู หรือการรับรู แลวตั้งคําถามเปนขอหรืออาจตั้งเปนประโยค
ซึ่งการตั้งคําถามที่ดีควรเปนคําถามที่มีเหตุผล เพื่อใหผูฟงเกิดกระบวนการคิด วิเคราะห
และการแกปญหา
ลักษณะของคําถามเชิงเหตุผล
คําถามที่ดีควรเปนคําถามเชิงเหตุผลและคิดวิเคราะห มักใชคําวา “เพราะเหตุใด
เพราะอะไร ทําไม อะไร อยางไร สาเหตุใด” เพื่อเปนการใชความคิดอยางเปนเหตุเปนผล
รูจักวิเคราะหขอความ และคิดหาหลักฐานและเหตุผลมาเขียนประกอบ
หลักทั่วไปของการตั้งคําถามและตอบคําถามจากการฟง การดู และการอาน
๑. กอนตั้งคําถาม เราควรตั้งใจฟง ตั้งใจดู หรือตั้งใจอาน เพื่อทําความเขาใจกับ
เรื่องนั้น ๆ
๒. จดบันทึกระหวางการฟง การดู การอาน ในเรื่องที่สนใจหรือมีขอสงสัย ไดแก
“ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร ผลเปนอยางไร”
๓. จับใจความหรือประเด็นสําคัญของเรื่องที่ฟง ดู หรืออาน ใหได
๔. ตั้งคําถามที่ ชัดเจนตรงประเด็นไมกํากวม ใหเหมาะสม ถูกกาลเทศะ
๕. ใชภาษาที่สุภาพ เขาใจงาย และใชเหตุผลมากกวาอารมณหรืออคติ
๖. มีความคิดสรางสรรค รูจักคิดหลายแงมุม เพื่อจะไดคําถามที่หลากแนวคิด
แนวการตั้งคําถามเชิงเหตุผล
๑. เริ่มจากการตั้งคําถาม “ทําไม อะไร เพราะเหตุใด”
๒. ในเรื่องกลาวถึงอะไรบาง
๓. เรื่องนี้มีจุดประสงคอยางไร
๔. ขอเท็จจริงคืออะไร และขอคิดเห็นคืออะไร
๕. ขอความนาเชื่อถือมากนอยเพียงใด
๖. ขอคิดหรือความรูที่จะนําไปใชประโยชนคือ อะไร
๒๒๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๓ เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผล


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓
เรื่อง การตั้งคําถามและตอบคําถามจากการฟงและดูสารคดีเกี่ยวกับความรักชาติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนตั้งคําถามและตอบคําถามจากการฟงและดูกําหนดให จํานวน ๕ ขอ


๑. คําถาม ........................................................................................................
คําตอบ .......................................................................................................
....................................................................................................................

๒. คําถาม ........................................................................................................
คําตอบ .......................................................................................................
....................................................................................................................

๓. คําถาม ........................................................................................................
คําตอบ .......................................................................................................
....................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๒๓

๔. คําถาม ........................................................................................................
คําตอบ .......................................................................................................
....................................................................................................................

๕. คําถาม ........................................................................................................
คําตอบ .......................................................................................................
....................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๒๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็น


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็นเกี่ยวกับความรักชาติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การพูดแสดงความคิดเห็น ควรพิจารณาอยางรอบคอบกอนพูด และพูดอยางมี


เหตุผล เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงกับผูอื่น เพราะในเรื่องเดียวกันแตละคนอาจมีมุมมอง
และความคิดเห็นที่แตกตางกันได

ขอคํานึงในการพูดแสดงความคิดเห็นมีดังนี้
๑. คิดใหดีกอนพูด
๒. มีความรูเกี่ยวกับเรื่องที่จะพูดเปนอยางดี
๓. มีเหตุผลโดยยกตัวอยางประกอบการพูดใหเห็นจริง
๔. เรียงลําดับการพูดใหตอเนื่อง ไมพูดวกวน
๕. เนื้อหาที่จะพูดเปนเชิงสรางสรรค
๖. หลีกเลี่ยงการพูดเรื่องสวนตัวทั้งของตนเองและผูอื่น

การใชภาษาในการพูดแสดงความคิดเห็น
๑. ใชถอยคําใหกะทัดรัดมีความหมายชัดเจน เรียงเนื้อความตามลําดับไมสับสน
๒. ใชถอยคําภาษาที่เปนลักษณะเฉพาะของการแสดงความคิดเห็น เชน การใช
คําสรรพนามบุรุษที่ ๑ ประกอบกับคํากริยาหรือกลุมคํากริยา ที่ระบุวาเปนการพูดแสดง
ความคิดเห็นเปนตนวา ดิฉันเห็นวา ผมคิดวา ดิฉันเขาใจวา ผมใครขอสรุปวา ที่ประชุม
มีมติวา เราจึงขอเสนอแนะวา หรือพวกเรามีความเห็นรวมกันวา
๓. ใชถอยคําหรือกลุมคําเพื่อบงชี้ใหเห็นวาเปนการแสดงความคิดเห็นอันไดแก
คําวา อาจ อาจจะ คง คงจะ นา นาจะ ทั้ง ควร เปนตน
๔. ใชถอยคําเชิงสรางสรรค กอใหเกิดผลดานศีลธรรมจริยธรรม และคุณธรรม
ไมประชดประชัน ไมพูดกาวราวเสียดสี ไมพูดแบบขวานผาซาก หรือมีเจตนาไมดี
๕. มีมารยาทในการพูด ไมใชคํารุนแรง เชน คําสบถ คําดา คําหยาบ มีกิริยาวาจา
ที่สุภาพ น้ําเสียง นุมนวล และตองรูจักยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๒๕

ลักษณะของผูพูดแสดงความคิดเห็นที่ดี
๑. เปนผูมีความรูความเขาใจในเรื่องนั้น ๆ เปนอยางดี
๒. สนใจตอปญหา หรือเหตุการณตาง ๆ อยางกวางขวาง
๓. เปนผูมีเหตุผลสามารถใชดุลพินิจ หรือใชปญญาพิจารณาเรื่องตาง ๆ ดวย
ความเปนกลาง ปราศจากอคติ ไมใชอารมณ ไมเดา ไมคาดคะเน
๔. เปนผูมีความกลาสามารถแสดงออกถึงความคิดที่มีอยูในตนเองใหผูอื่นทราบ
๒๒๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๔ เรื่อง การพูดแสดงความรูและความคิดเห็น


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็นเกี่ยวกับความรักชาติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนแบบรางการพูดแสดงความรูสึกและความคิดเห็น และพูด


แสดงความรูสึกและความคิดเห็นหนาชั้นเรียน

แบบรางการพูด
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๒๗

ใบความรูที่ ๕ เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่องที่อาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การอานวรรณกรรมเกี่ยวกับความรักชาติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การวิเคราะหและเขียนอธิบายคุณคาจากเรื่องที่อาน
การวิเคราะห หมายถึง การพิจารณา และประเมินคา เปนการแสดงความคิดเห็น
อภิปรายขอเท็จจริงใหผูอื่นทราบ วาใครเปนผูแตง เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีประโยชน
อย างไร ต อ ใครบ าง ผู วิ เ คราะห มี ค วามเห็ น อย างไร เรื่ อ งที่ อ านมี คุ ณ ค าด านใดบ า ง
แตละดานสามารถนําไปประยุกต ใหเกิดประโยชนตอชีวิตประจําวันอยางไรบาง
แนวทางในการวิเคราะหวรรณกรรม มีดังนี้
๑. ความเปนมาหรือประวัติของหนังสือและผูแตง เพื่อชวยใหวิเคราะหในสวนอื่น ๆ
๒. พิจารณาลักษณะคําประพันธ
๓. อานและสรุปเรื่องยอ
๔. ใหวิเคราะหเรื่องในหัวขอตอไปนี้ตามลําดับ ซึ่งบางหัวขออาจจะมี หรือไมมีก็
ไดตามความจําเปน ไดแก โครงเรื่อง ตัวละคร ฉาก วิธีการแตง ลักษณะการเดินเรื่อง
การใชถอยคํา สํานวนในเรื่องทวงทํานองการแตง วิธีคิดสรางสรรค ทัศนะหรือมุมมอง
ของผูเขียน
๕. วิเคราะหแนวคิด จุดมุงหมาย เจตนาของผูเขียนที่เขียนไวในเรื่อ ง ซึ่งตอง
วิเคราะหออกมา
คุณคาของวรรณกรรม โดยปกติจะวิเคราะหตามหัวขอตอไปนี้
๑. คุ ณ ค าด านวรรณศิ ล ป คื อ ความไพเราะของบทประพั น ธ ทํ าให ผู อ านเกิ ด
ความรูสึก ความคิด และจินตนาการตามคําประพันธ ความหมายของถอยคําและภาษา
ที่ผูแตงเลือกใชเพื่อใหมีความหมายกระทบใจผูอาน
๒. คุณคาดานเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนําเสนอ
๓. คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรม ที่สะทอนใหเห็นสภาพของสังคม
และวรรณคดีที่จรรโลงสังคมไดมีอะไรบาง
๔. การนําแนวคิด ความรู และประสบการณจากเรื่องไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
ไปประยุกตใชหรือแกปญหาในชีวิตประจําวันได
๒๒๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๕ เรื่อง การอานวรรณกรรมเกี่ยวกับความรักชาติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง การอานวรรณกรรมเกี่ยวกับความรักชาติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานวรรณกรรมที่กําหนดให แลวเขียนอธิบายคุณคาที่ไดรับจาก


การอาน

เพลงความฝนอันสูงสุด
บทเพลงพระราชนิพนธ
ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ขอฝนใฝในฝนอันเหลือเชื่อ ขอสูศึกทุกเมื่อไมหวัน่ ไหว
ขอทนทุกขรุกโรมโหมกายใจ ขอฝาฟนผองภัยดวยใจทะนง
จะแนวแนแกไขในสิ่งผิด จะรักชาติจนชีวิตเปนผุยผง
จะยอมตายหมายใหเกียรติดํารง จะปดทองหลังองคพระปฏิมา
ไมทอถอยคอยสรางสิ่งที่ควร ไมเรรวนพะวาพะวังคิดกังขา
ไมเคืองแคนนอยใจในโชคชะตา ไมเสียหายชีวาถาสิ้นไป
นี่คือปณิธานที่หาญมุง หมายผดุงยุติธรรมอนั สดใส
ถึงทนทุกขทรมานนานเทาใด ยังมั่นใจรักชาติองอาจครัน
โลกมนุษยยอมจะดีกวานี้แน เพราะมีผูไมยอมแพแมถูกหยัน
คงยืนหยัดสูไปใฝประจัญ ยอมอาสัญก็เพราะปองเทิดผองไทย
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๒๙

๑. เนื้อเรื่องกลาวถึงอะไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๒. คุณคาของเรื่องคืออะไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๓๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การเขียนเรียงความ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรือ่ ง การเขียนสื่อสาร
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ความหมายของเรียงความ
เรียงความ คือ การนําถอยคํามาแตงเปนเรื่องราว เพื่อใชเปนขอเขียนที่แสดง
ความคิด ความรู ความรูสึก ความคิดเห็น และขอเสนอแนะตาง ๆ ที่ผูเขียนถายทอดสู
ผูอาน โดยมีองคประกอบ ๓ สวน คือ คํานํา เนื้อเรื่อง และสรุป จึงจะเรียกวาเรียงความ
อยางสมบูรณ
จุดประสงคในการเขียนเรียงความ
กอนเขียนเรียงความตองวางจุดประสงคใหชัดเจนวา
๑. เขียนเรื่องนั้น อยางไร
๒. เขียนใหใครอาน
๓. เขียนไปในแนวใด เชน เขียนชักจูง เขียนใหความรู เขียนแสดงความคิดเห็น
รูปแบบการเขียนเรียงความ
๑. คํานํา (ความนํา) เปนสวนเริ่มตน นําเรื่องเพื่อเชื่อมโยงเขาสูเรื่อง ควรเขียน
ใหผูอานเกิดความสนใจ เราใจ นาติดตาม คํานําเปนยอหนาแรกและควรมียอหนาเดียว
สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงในการเขียนคํานํา ไดแก
๑.๑ ไมเขียนออกนอกเรื่อ
๑.๒ ไมควรนําเรื่องราวประวัติศาสตรที่คนรูจักดีแลวมาเขียน
๑.๓ ไมควรนําขอคิดเห็นที่กวางเกินไปมาเขียน เชน ภาษาไทยในรอบ ๒๐ ป
๑.๔ ไมนําคํากลาวที่เปนความจริงในตัวเองอยูแลวมาเขียน เชน “เปนที่กลาว
กันวา สิ่งที่แนนอนในชีวิตมนุษยมีอยางเดียวเทานั้น คือ ความไมแนนอน”
๒. เนื้อเรื่อง เปนสวนที่แสดงสาระสําคัญของเรื่องราว ความรู ความคิดที่ตรงกับ
ชื่ อ เรื่ อ ง มี ร ายละเอี ย ดเนื้ อ หาที่ ค รอบคลุ ม ชื่ อ เรื่ อ ง เพื่ อ ตอบคํ า ถามว า เป น เรื่ อ งราว
เกี่ยวกับใคร อะไร ทําอะไร เมื่อใด ที่ไหน อยางไร เพราะเหตุใด สําคัญอยางไร เกี่ยวของ
กับใคร ฯลฯ อาจมีหลายยอหนา แตละยอหนามีความสัมพันธตอเนื่องกัน
หรืออาจกลาวไดวา เนื้อเรื่องเปนขอความที่ตอจากคํานํา ทําหนาที่ขยายใจความ
ของคํานําใหละเอียด แจมแจง แตละยอหนาจะขยายความของเรื่องตามแนวคิดที่ตั้งไว
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๓๑

๓. สรุป เปนขอความยอหนาสุดทาย เปนการปดเรื่อง หรือ สรุปเนื้อหาสําคัญ


ของเรื่อง ควรมีเพียง ๑ ยอหนา ซึ่งอาจเปนคติสอนใจ ความประทับใจ ขอคิดแกผูอาน
เพื่อใหนําไปคิดหรือปฏิบัติเมื่อมีโอกาส หรือทิ้งคําถามใหผูอานใครครวญตอไปโดยไม
จําเปนตองเสนอขอยุติ

ขั้นตอนในการเขียนเรียงความ
๑. การกําหนดหัวเรื่อง มี ๒ ลักษณะ การกําหนดหัวเรื่องไวเรียบรอยแลว และ
เลือกเขียนตามความสนใจ และมีความรูเรื่องนั้นมากที่สุด
๒. การกําหนดขอบเขตของหัวขอเรื่อง ไมควรกวางมากเกินไปจนเขียนไมจบ
ควรมีจุดมุงหมายที่เฉพาะ เจาะจง ตัวอยางหัวขอเรื่องที่กวาง “สมุนไพร” ถานํามาทําให
เฉพาะเจาะจง เปน “สมุนไพรรักษาโรค”
๓. การรวบรวมข อ มู ล ใช ว างโครงเรื่ อ ง ต อ งเป น ข อ มู ล ที่ มี ห ลั ก ฐานอ า งอิ ง
มีเหตุผลนาเชื่อถือ โดยพิจารณาวาหัวขอใดควรมากอน หรือมาหลัง แลวจัดเรียงลําดับ
๔. การจัดกลุมความคิดในการวางโครงเรื่อง อาจจัดเปนพวก หมวดหมูเดียวกัน
เปนหัวขอใหญ หัวขอยอย โดยจัดใหตอเนื่องสอดคลองกัน
๕. วางโครงเรื่องดวยการใชหัวขอหลัก หัวขอรอง และหัวขอยอย เชน
ตัวอยาง โครงเรื่อง สัตวเลี้ยงของฉัน
สวนคํานํา : เปดเรื่องดวยความหมายของสัตวเลี้ยง
สวนเนื้อเรื่อง : ๑. รูปรางลักษณะ (ของสัตวเลี้ยงของฉัน)
๒. การเลี้ยงสัตวเลี้ยง
๓. ประโยชนของสัตวเลี้ยง
สวนสรุป : ขอคิดของการเลี้ยงสัตว
(วิภา ตัณฑุลพงษ. ๒๕๕๖. เอกสารนิเทศการศึกษา แนวทางการพัฒนาการเรียนการสอนเขียน
ภาษาไทยในระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.)
๒๓๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๖ เรื่อง การเขียนเรียงความ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การเขียนสื่อสาร
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนเรียงความตามหัวขอที่สนใจ

เรียงความ เรื่อง ....................................................................


………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๓๓

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนจดหมาย


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง จดหมายบรรยายอักษร
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนจดหมาย
การเขียนจดหมาย เปนการสื่อสารกับบุคคลเพื่อแจงเรื่องราว ถามทุกขสุข หรือ
เลาเรื่องเหตุการณตาง ๆ จดหมายของบุคคลสําคัญจะเปนหลักฐานทางประวัติศาสตร
ในอนาคต และจดหมายที่เขียนดีมีคุณคาก็อาจเปนวรรณกรรมได
การเขียนจดหมายควรคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้
๑. เขียนใหผูรับเขาใจจุดประสงคของผูเขียน
๒. ไมเขียนนอกเรื่อง ไมรวบรัด หรือเยิ่นเยอจนเกินไป
๓. เรียงลําดับขอความในจดหมายตามลําดับเหตุการณไมสับสน
๔. ใชภาษาสุภาพ คําขึ้นตน และคําลงทายถูกตองเหมาะสมกับโอกาสและบุคคล
๕. ลายมือสวยงาม สะอาด อานงาย
๖. วางรูปแบบถูกตอง สวยงาม เปนระเบียบ
รูปแบบของจดหมาย
๑. ที่อยูของผูเขียน อยูมุมบนขวาของหนากระดาษ โดยเริ่มเขียนจากกึ่งกลาง
หนากระดาษ
๒. วันเดือนป เขียนเยื้องที่อยูผูเขียนมาขางหนาเล็กนอย
๓. คําขึ้นตน อยูดานซายหางจากขอบกระดาษประมาณ ๑ นิ้ว และเปนแนวชิด
ดานซายสุดของเนื้อความ
๔. เนื้อความ เริ่มเขียนโดยยอหนา และควรขึ้นยอหนาใหมเมื่อขึ้นเนื้อความใหม
นอกจากนี้ตองเวนวรรคตอนใหถูกตองดวย
๕. คําลงทาย อยูตรงกับวันเดือนปที่เขียน
๖. ชื่ อ ผู เ ขี ย น เยื้ อ งลงมาทางขวามื อ ถ า เขี ย นจดหมายถึ ง บุ ค คลที่ ไ ม คุ น เคย
ควรวงเล็บชื่อที่เขียนเปนตัว บรรจงดวย ถาเปนจดหมายราชการตองบอกยศตําแหนง
ของผูสงดวย
๒๓๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

การเขียนหนาซองจดหมาย
๑. ที่อยูของผูรับ ตองเรียงลําดับจากสวนยอยไปหาสวนใหญ ไดแก
- ชื่อ - นามสกุลของผูรับ
- บานเลขที่ ซอย หรือตําบล
- ถนนและที่ตั้ง
- ตําบลหรือแขวง
- อําเภอหรือเขต
- จังหวัดและรหัสไปรษณีย
๒. ที่อยูของผูสง เรียงลําดับเชนเดียวกับผูรับ จะเขียนไวดานบนซายของตนเอง
๓. คําขึ้นตน
- ถาเปนจดหมายสวนตัว อาจใชคําวา “กรุณาสง” หรือ “นามผูรับ”
- ถาเปนจดหมายราชการหรือจดหมายธุรกิจนิยมใช “เรียน”
- จดหมายถึงพระสงฆทั่วไปใช “นมัสการ”
๔. การติดดวงตราไปรษณียากร (แสตมป) ใหครบถวนตามราคาที่กรมไปรษณียฯ
กําหนด เพราะถาติดไมครบ ผูรับจะถูกปรับเปน ๒ เทาของราคาแสตมปที่ขาดไป

การใชคําขึ้นตน คําลงทาย และสรรพนามในการเขียนจดหมาย


ผูรับ คําขึ้นตน สรรพนาม คําลงทาย
อาจารย เรียน อาจารยประจําชั้น อาจารย, ทาน ดวยความเคารพ
ประถมศึกษาปที่ ผม, ดิฉัน อยางสูง
................
เพื่อน ....................เพื่อนรัก เพื่อน, คุณ, เธอ รักและคิดถึง
ผม, ดิฉัน, ฉัน
บิดา มารดา กราบเทา.............ที่ คุณพอ, คุณแม ดวยความเคารพ
ลุง ปา นา อา เคารพ คุณปู, คุณตา, อยางสูง
ปู ยา ตา ยาย ทาน
ญาติผูใหญ หนู, ผม, ดิฉัน
อื่น ๆ ลูก, หลาน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๓๕

แบบของจดหมาย
สถานที่.............................................
วัน เดือน ป..........................................................
คําขึ้นตน.................................................

ขอความของจดหมาย.............................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
คําลงทาย................................................................
ชื่อผูเขียน.................................................

รูปแบบการเขียนหนาซองจดหมาย
ชื่อและที่อยูของผูฝาก แสตมป
ชื่อ...................................นามสกุล..................................... (ดวงตราไปรษณียากร)

บานเลขที่....................ถนน...................อําเภอ.................
จังหวัด........................รหัสไปรษณีย................................

ชื่อและที่อยูของผูรับ
ชื่อ...................................นามสกุล.....................................
บานเลขที่....................ถนน...................อําเภอ..................
จังหวัด........................รหัสไปรษณีย..................................
๒๓๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

การเขียนจดหมายถึงพอแม ผูปกครอง และญาติ ควรใชถอยคําภาษาที่แสดงถึง


ความเคารพและสุภาพ เขียนถูกตองตามรูปแบบของจดหมายดวยลายมือที่สวยงาม
อานงาย ไมมีรอยลบ ขูดขีดฆาขอความ ใชกระดาษและซองจดหมายที่เรียบรอย สะอาด
สีสุภาพ แสดงถึงการมีมารยาทในการเขียนและการใชจดหมาย และการจาหนาซอง
ควรใชเขียนใหชัดเจนโดยบอกรหัสไปรษณีย ดวยเลขอารบิก และปดดวงตราไปรษณียากร
ใหถูกตอง

คุณคาของการเขียนจดหมาย
๑. ไดเขียนหรือเลาเรื่องราวที่บางครั้งไมสามารถใชคําพูดได แตสามารถเขียนเปนจดหมายได
๒. ภาษาที่ใชเขียนควรเลือกใหเหมาะสมกับระดับบุคคลและเขียนใหถูกตองตามรูปแบบ
๓. การเขียนเรียงลําดับเรื่องและเหตุการณ เปนการบันทึกเรื่องราวและประสบการณ
ความทรงจํา
๔. สื่อสารไดทุกสถานที่และทุกโอกาส ทั้งในประเทศและตางประเทศ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๓๗

ใบงานที่ ๗ เรื่อง จดหมายบรรยายอักษร


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง จดหมายบรรยายอักษร
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกเขียนจดหมายถึงพอแม ผูปกครอง หรือญาติ ที่เคารพนับถือ


ใหถูกตองตามรูปแบบของจดหมาย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๓๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่น


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาไทยถิ่นในวรรณกรรมทองถิ่น
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ภาษาไทยมาตรฐาน
ภาษาไทยมาตรฐาน หมายถึง ภาษาไทยซึ่งเปนที่ยอมรับใหใชเปนภาษากลางใน
การติดตอสื่อสารทางราชการและในการศึกษาทั่วประเทศ
ภาษาไทยกรุ ง เทพ ก็ นั บ เป น อี ก ภาษาไทยถิ่ น หนึ่ ง ในภาคกลาง แต เ นื่ อ งจาก
กรุงเทพฯ มีฐานะเปนเมืองหลวง ภาษาไทยถิ่นกรุงเทพจึงถูกกําหนดใหเปนภาษาไทย
มาตรฐาน และใชเปนภาษากลางสําหรับการติดตอราชการ เปนสื่อในการศึกษาและเปน
ภาษาที่สอนใหแกผูที่เรียนภาษาไทย
ลักษณะของภาษาไทยมาตรฐาน มีลักษณะดังนี้
๑. ใชเปนภาษาราชการ ใชในโอกาสที่เปนทางการตาง ๆ
๒. ใชในการเรียนการสอนในโรงเรียนและสถานศึกษาตาง ๆ
๓. เปนภาษาที่สื่อสารมวลชนตาง ๆ ใช เชน การอานขาว การเขียนรายงาน
๔. มีความแตกตางไปจากภาษาพูด
ภาษาถิ่น
ภาษาถิ่ น หมายถึ ง ภาษาย อ ยของภาษาไทยที่ ใ ช สื่ อ สารกั น ในท อ งถิ่ น ต า ง ๆ
ในประเทศไทย และมีความแตกตางกันไปตามทองถิ่น เปนภาษาที่ใชพูดจากันในทองถิ่น
ตาง ๆ เพื่อการสื่อความหมาย ความเขาใจกันระหวาง ผูคนที่อาศัยอยูตามทองถิ่นนั้น ๆ
แตกตางไปจากมาตรฐานหรือภาษาที่คนสวนใหญของประเทศใช
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๓๙

ลักษณะของภาษาถิ่น
ภาษาถิ่นมีความเฉพาะ คือ ทั้งถอยคําและสําเนียง แสดงถึงเอกลักษณ ลักษณะ
ความเปนอยูและวิถีชีวิตของผูคนในทองถิ่นของแตละภาคของประเทศไทย
ภาษาถิ่นเปนภาษาที่สําคัญในสังคมไทย เปนภาษาที่บันทึกเรื่องราว ประสบการณ
และวัฒนธรรมทุกแขนง ของทองถิ่น เราจึงควรรักษาภาษาถิ่นทุกถิ่นไวใชใหถูก ต อง
เพื่ อ เป น สมบั ติมรดกของชาติ ตอ ไป ซึ่ ง ภาษาถิ่ น จะเป น ภาษาพู ดหรื อ ภาษาท าทาง
มากกวาภาษาเขียน
ภาษาถิ่นของไทยจะแบงตาม ภูมิศาสตรหรือทองถิ่นที่ผูพูดภาษา แบงไดเปน ๔ ถิ่น
ใหญ ๆ คือ ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน และภาษาถิ่นใต

ตารางเปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับคําภาษาถิ่น
ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาใต ภาษาอีสาน ภาษาเหนือ
โกรธ หวิบ เคียด โขด
รับประทาน กิน กิ๋น กิ๋น
ดู แล เบิ่ง แอว
เที่ยว เตี๋ยว เถี่ยว ผอ
โกหก ขี้ฮก ขี้ตั๋ว ขี้จุ
กลับบาน หลบบาน เมือบาน ปกบาน
อรอยมาก หรอยจังฮู แซบอีหลี ลําแตๆ
กลางวัน กลางวัน กางเวน แมวัน
กลางคืน กลางคืน กางคืน แมคืน
ยอดเยี่ยม/ดีมาก แมเอย ดีหลาย ๆ ดีปะล่ําปะเหลือ
๒๔๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๘ เรื่อง ภาษาถิ่นในวรรณกรรมทองถิ่น


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาถิ่นในวรรณกรรมทองถิ่น
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนวิเคราะหวรรณกรรมภาษาถิ่น แลวตอบวาเปนภาษาถิ่นใด พรอมทั้ง


บอกความหมาย
เพลง ใหญแลวอดเอา
“...ลุกเจากินผักตางปาย ลุกขวายจะไดกินผักตางเกา
กําตี้แมบอกแมสอนเจา อดเอาใหญแลวเนอลูกจาย
ดําน้ําหื้อมันหันทราย นอนหงายหื้อมันหันฟา
วันเดือนเคลื่อนไปไผบทา ลูกหลาใหญแลวหื้ออดเอา...”

เพลง ใหญแลวอดเอา ผูแตง ณัฐวุฒิ ศรีหมอก

เนื้อเพลง ใหญแลวอดเอา เปนภาษาถิ่น...........................................................

๑. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๒. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๓. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๔. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๕. คํา................................... ความหมาย..............................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๔๑

๖. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๗. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๘. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๙. คํา................................... ความหมาย..............................................................
๑๐. คํา................................ ความหมาย..............................................................
๑๑. คํา................................ ความหมาย..............................................................
๑๒. คํา................................ ความหมาย..............................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๔๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การอานหนังสือตามความสนใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง การอานหนังสือนอกเวลาเพื่อสงเสริมความรู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเลือกอานหนังสือ ควรเลือกหนังสือที่มีลักษณะเนื้อหาดังนี้ เปนหนังสือที่สงเสริม


ความรู สงเสริมสติปญญา สงเสริมความเขาใจทางภาษา สงเสริมการเรียนรูดวยตนเอง
ลักษณะหนังสือที่ควรเลือกอาน
๑. หนังสือที่ไดรับการยอมรับวาดี
๒. หนังสือที่ไดรับรางวัลสําคัญ ๆ
๓. หนังสือที่เขียนโดยนักเขียนที่มีคุณภาพ
๔. หนังสือที่มีเนื้อหา คุณคา ความคิด กลวิธี
การบันทึกความรู
การเขี ย นเรื่ อ งราวจากการอ า นหนั ง สื อ หรื อ การฟ ง การดู สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง ที่ เ ปน
ความรูควรจํา เพื่อเปนการเตือนความจําหรือใชในการอางอิง
หลักการบันทึกความรู
๑. กําหนดหัวขอเรื่องที่จะบันทึก
๑.๑ ชื่อเรื่อง
๑.๒ เนื้อหหาที่ไดจากการคนควาโดยสรุป
๑.๓ ชื่อผูรายงาน
๑.๔ หนังสือที่นํามาคนควาโดยระบุชื่อหนังสือ ผูแตง โรงพิมพ ปท่ีพิมพ หรือ
จากการฟง การดูเมื่อใด
๒. วิธีการเขียนบันทึกความรู
๒.๑ อาน ฟง หรือดูเรื่องใหเขาใจ
๒.๒ ตั้งคําถามและตอบคําถามใหไดวาอาน ฟง หรือดูเรื่องอะไร เรื่องนั้นเปน
อยางไร
๒.๓ นําคําตอบมาเรียบเรียง แลวเขียนจดบันทึกเปนเรื่องราว
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๔๓

ใบงานที่ ๙ เรื่อง เขียนสรุปความรูขอ คิดที่ไดจากการอาน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาถิ่นในวรรณกรรมทองถิ่น
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกอานหนังสือตามความสนใจ และบันทึกความรูที่ไดลงในใบงาน

แบบบันทึกการอาน

อานวันที.่ ..............................เดือน................................................................พ.ศ......................
ชื่อเรื่อง...........................................................................................................................................
ชื่อหนังสือ.....................................................................................................................................
ผูแตง...............................................................................................................................................
เนื้อหาโดยสรุป
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

ขอคิด/ประโยชนที่ได
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๔๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การสรุปความรูและขอคิด


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง คุณธรรมนําชีวิต
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การสรุปความรู
การสรุ ป ความรู เป น การสรุ ป ความรู ห รื อ ทฤษฎี ที่ ป รากฏอยู ใ นเรื่ อ งที่ อ า น
โดยเขียนสรุปเปนประโยคสั้น ๆ หรือขอความสั้น ๆ เพื่อขยายความเขาใจใหชัดเจน
มากขึ้น
การสรุปขอคิด
การสรุ ป ข อ คิ ด เป น การค น หาข อ คิ ด จากเรื่ อ งที่ อ า น ซึ่ ง ข อ คิ ด อาจแฝงอยู ใ น
เนื้อเรื่อง หรืออยูสวนทายของเรื่องที่อาน โดยผูอานอาจเขียนสรุปขอคิดเปนประโยค
หรือขอความสั้น ๆ ได หรือเปนคําคมก็ได
การบอกคุณคาของเรื่องที่อาน
เปนการอธิบายประโยชนหรือสิ่งที่เรียกวา “ขอดี” โดยเขียนสรุปเปนประโยค
หรือขอความสั้น ๆ เพื่อบอกใหรูวาเรื่องนั้นมีคุณคาแกผูอานอยางไร เชน คุณคาดาน
เนื้อหา คุณคาดานวรรณศิลป คุณคาสังคมและวัฒนธรรม เปนตน
การสรุปความรูและขอคิดมีหลักพื้นฐานการปฏิบัติ ดังนี้
๑. อานรอบแรกเพื่อดูชื่อเรื่องกอน แลวอานโดยมีคําถามในใจวา ใคร ทําอะไร
ที่ไหน เมื่อไร อยางไรผลเปนอยางไร ขอความใดสําคัญใหขีดเสนใตไว
๒. อานอีกครั้ง โดยดูรายละเอียดของเนื้อหา เพื่อคนหาความรูสําคัญและขอคิด
๓. สามารถอานเพิ่มไดจนกวาจะเขาใจเนื้อหา
๔. ใหสรุปใจความสําคัญของแตละยอหนาไว
๕. นํ า ใจความสํ า คั ญ ที่ ร วบรวมไว ม าเขี ย นเรี ย บเรี ย งใหม อ ย า งละเอี ย ดและ
สละสลวย โดยใชสํานวนภาษาของตนเอง
๖. ทบทวนการสรุปความรูอีกครั้ง เพื่อพิจารณาหาสวนที่ตองแกไขหรือตองการ
เพิ่มเติม หลักการสรุปความจากเรื่องที่อาน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๔๕

เรื่องของมด

กาลครั้งหนึ่ง ยังมีปาแหงหนึ่งซึ่งอุดมสมบูรณฟาฝนตกตองตามฤดูกาล
ผืนดินชุมชื่นรมเย็น สัตวทั้งหลายอยูรวมกันอยางเปนสุข
ครั้นอยูมาไดเกิดมีชางอันธพาลตัวหนึ่งแสดงอาการเกเรเที่ยวระรานสัตว
ตาง ๆ ทําใหเกิดทุกขระส่ําระสาย ไปทุกหยอมหญานานนับป สัตวใหญนอย
ทั่วทั้งพงพีตางกลัวไมกลาแกปญหา จนกระทั่งมีแมลงหวี่ ผึ้ง และฝูงมดชวยกัน
วางแผนตอสูจนสามารถกรูกันเขาไปในงวงชางอันธพาลนั้น ชวยกันกัด ตี ตอย
ตอม จนมันลมสิ้นฤทธิ์ ปาทั้งปาจึงกลับคืนสูความสงบดังเดิม
เมื่อปาทั้งปาสงบสุข สัตวทั้งหลายเริ่มมาประชุมสนทนาปรึกษาหารือกัน
บางก็คุยถึงความหลังเมื่อครั้งปราบชางอันธพาล ตัวนั้นเปนผูกลาหาญมาก ตัวนี้
เป น ผู นํ า กลุ ม กล า ตาย ต า งก็ อ วดกั น จนกลายเป น การโต เ ถี ย ง เจ า มดแดง
มดตะนอย มดงาม ก็อวดเบงถึงบทบาทของกลุมมดในการสูรบครังนั้น เสือโครง
ทําหนาที่สื่อความซักถามพวกโนนบางวิจารณพวกนี้บาง จนเกิดการขุนเคืองกันไป
ทุกฝาย
นั บ วั น พวกสั ต ว ก็ เ ริ่ ม บาดหมางน้ํ า ใจกั น มากขึ้น พวกหนึ่ ง เสนอใหว าง
ระเบียบของปาขึ้นใหม อีกพวกหนึ่งใหจัดแบงพื้นที่และตนไมสําหรับสัตวแตละ
ประเภท บางก็เสนอใหชวยกันแบงหนองน้ําสําหรับสัตวสี่เทา สองเทา สัตวปก
และสัตวเลื้อยคลาน ในที่สุดตกลงกันไมได เกิดความขัดแยงกันรุนแรงยิ่งขึ้น
เพราะตางฝายตางก็คิดวาคนมีบุญคุณแกสัตวทั้งหลายในปานี้
๒๔๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

มิชานาน มดดํา มดแดง มดงาม มดตะนอย ผึ้ง แมลงภู ฯลฯ ก็ตั้งกลุม


ตั้งศูนยของตัวขึ้นมาใหม ตางพวกตางอยูตางขัดคอกัน โจมตีกัน จนเมื่อเดินทาง
มาพบกันก็ไมทักทาย ทั้ง ๆ ที่เมื่อกอนมดเกินตามกันเปนขบวน เมื่อสวนทาง
เพื่อนมดดวยกัน มันจะหยุดทักทายกันเสมอ
วันหนึ่งเดิฝนตกหนักและมีพายุใหญ ตนไมหักลมระเนระนาดและน้ําทวม
เปนที่นาหวาดกลัว พวกมดทั้งหลายหลบหนีไปอยูที่ดอนแตก็หนีไมพน น้ําพัด
ลอยเปนแพไปทุกทิศทุกทาง
แมลงหวี่และแมลงวันรีบระดมพรรคพวกมาชวยเหลือจนสุดความสามารถ
จนมดส ว นใหญ ร อดตาย เมื่ อ เกิ ด ภั ย พิ บั ติ สั ต ว ทั้ ง หลายก็ ไ ด คิ ด เลิ ก ถื อ พวก
ถือเหลา สัตวใหญ ๆ ตางชวยกันหักกิ่งไมเอามาชวยพวกมด สัตวเล็ก ๆ ชวยกัน
ขนลู ก อ อ นและสร า งรั ง ชั่ ว คราวอยู พวกแมลงที่ บิ น ได ก็ อ อกไปหาอาหารมา
ชวยเหลือ
น้ําลดลงแลว ฝนหยุดตก ปาทั้งปากลับมาสูความสงบสุขและความสดชื่น
อี ก ครั้ง พวกมดและแมลงเริ่ม ชวยกันทํารังและสะสมอาหารกันใหม มันเริ่ม
เรียนรูวาไมมีผูใดเกงที่สุดพวกที่เกงวันนี้ อาจมีเหตุการที่ทําใหออนแอในวัน
ขางหนา การชวยเหลือการรวมมือกันเทานั้นที่จะรวมพลังกันแกความเดือดรอนได
สัตวทั้งหลายจึงเลิกทะเลาะกัน และกลับมาสามัคคีกันดังเดิม
อุดม อมรวิวัฒน จาก วารสารพุทธชาด
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๔๗

ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง นิทานคุณธรรมนําชีวติ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง นิทานคุณธรรมนําชีวติ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานนิทานคุณธรรมเรื่อง “เรื่องของมด” พรอมทั้งตอบคําถามและ


จับใจความสําคัญใหถูกตอง
๑. ทําไมเหตุการณในปาถึงความทุกขยากระส่ําระสาย
..............................................................................................................................
๒. มีสัตวใดบางที่ชวยกันปราบชางอันธพาลจนสิ้นฤทธิ์
..............................................................................................................................
๓. เมื่อปากลับมาสูความสงบ สัตวทั้งหลายมาทําอะไรกัน จนเกิดการขุนเคืองกัน
ไปทุกฝาย
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๔. ในที่สุดตกลงกันไมไดเพราะเหตุใด
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๒๔๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๕. มดดํา มดแดง มดงาม มดตะนอย ผึ้ง แมลงภู รวมกลุมตั้งศูนยรวมขึ้นมาใหม


และปฏิบัติตอกันอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๖. เมื่ อ เกิดเหตุก ารณฝนตกหนัก และมีพายุใหญ ตนไมหัก ลม ลงและน้ําทวม
พวกมดทั้งหลายเปนอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๗. ใครมาชวยเหลือพวกมดจนรอดตาย
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๘. เมื่อน้ําเริ่มลดแลว สัตวทั้งหลายเรียนรูวาอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรื่อง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี ๒๔๙

๙. สรุปใจความสําคัญของเรื่อง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๑๐. ขอคิดที่ไดจากเรื่อง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๕๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ชั้น ป.๕ ภาคเรียนที่ ๒

แบบประเมินตนเอง
ชื่อ : ___________________________ สกุล : ______________________ชั้น_____เลขที่ _____
หนวยการเรียนรูที่ ๑๓ เรือ่ ง ดวยไทยลวนหมายรักสามัคคี

๑. ประเมินการเรียนรูของตนเอง
กาเครื่องหมาย  ในชองระดับความสามารถของแตละกิจกรรมที่นักเรียนคิดวาทําไดตามระดับการประเมินเหลานี้
ระดับความสามารถ : ดีมาก ดี คอนขางดี พอใช ปรับปรุง
ระดับความสามารถ
ที่ รายการ ดีมาก ดี คอน พอ ปรับ
ขางดี ใช ปรุง
๑ วิเคราะหแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อาน
๒ เขียนจดหมายถึงพอแม ผูปกครอง และญาติ
๓ ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟงและดู
๔ วิเคราะหภาษาถิ่นจากวรรณกรรมที่อาน
๕ นําคุณคาและขอคิดจากการอานไปปรับใชในชีวิต

๒. สิ่งที่ฉนั ยังไมเขาใจ / ยังทําไดไมดี คือ…… (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................
๓. สิ่งที่ฉนั ตั้งใจจะทําใหดีขนึ้ ในการเรียนหนวยตอไป (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................
…………………………………………................................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๕๑

หนวยการเรียนรูที่ ๑๔
วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
๒๕๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑ เรื่อง การอานสรุปเรื่อง


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานสรุปเรื่อง ภาษาจรรโลงใจ
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนสรุปเรื่อง
การเขียนสรุปเรื่อง หรือสรุปความ เปนการสรุปแนวคิดหลักหรือประเด็นสําคัญ
ของเรื่อง จากการฟงหรือการอาน แลวถายทอดใหผูอื่นเขาใจ จึงตองเก็บสําคัญของเรื่อง
แลวนํามาเขียนใหมเพื่อใหงายใน การเขาใจ
เทคนิคการสรุปความ
เนื้ อ หาและงานเขี ย นแต ล ะประเภทมี วิ ธี ก ารที่ แ ตกต า งกั น ไปในรายละเอี ย ด
ปลีกยอยแตหลักการและขั้นตอนในภาพรวมมีความคลายคลึงกัน ดังนี้
๑. อานหรือฟงเรื่องราวใหเขาใจทั้งหมดอยางนอย ๒ เที่ยว เพื่อใหเขาใจวาเรื่อง
ที่อานเกี่ยวของกับ “ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไหร อยางไร ผลเปนอยางไร”
๒. พิจารณาประเภทของสาร/ประเภทของงานเขียน
๓. พิจารณาวัตถุประสงคของเรื่อง/งานเขียน เพื่อสรางกรอบประเด็นเนื้อหา
๔. คนหาประเด็นเรื่องจากชื่อเรื่อง หรือจากยอหนา
๕. คนหาหัวขอยอยจากแตละยอหนา
๖. คนหาใจความสําคัญตามหัวขอยอยใหถูกตองและครบถวน
๗. หากใจความสําคัญยังไมชัดเจน อาจจําเปนตองสรุปประเด็นจากเนื้อเรื่องยอย
๘. จัดเรียงประเด็นความคิด และลําดับเรื่องราว ดวยภาษาของตนเอง
๙. เรียบเรียงเขียนดวยเปนภาษาเขียน ใชคําที่สั้น เขาใจงาย และไดใจความ
ไมควรใชคํายอ
๑๐. อานทบทวนและขัดเกลาภาษาใหสละสลวย
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๕๓

ตัวอยางที่ ๑
หลังฤดูเก็บเกี่ยว เกษตรกรมักปลูกพืชอายุสั้นและทนแลง พืชที่เหมาะสมไดแก
ถั่วเขียว ถาปลูก ถั่วเขียวโดยวิธีหวานจะมีปญหามาก เพราะมีหญาขึ้นแขงกับตน
ถั่วเขียว จึงยากตอการกําจัดตนหญา ทําใหไดผลผลิตต่ํา

วิธีการสรุปความ
ใคร - เกษตรกร
ทําอะไร - ปลูกถั่วเขียว
เมื่อไร - หลังฤดูเก็บเกี่ยว
อยางไร - ใชวิธีหวาน
ผลเปนอยางไร - หญาขึ้นแขง ไดผลผลิตต่ํา
สรุปความไดวา
เกษตรกรปลูกถั่วเขียว หลังฤดูเก็บเกี่ยว ถาใชวิธีหวานทําใหหญาขึ้นแขง ไดผลผลิตต่ํา
๒๕๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๑ เรื่อง การอานสรุปเรื่อง ภาษาจรรโลงใจ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑ เรื่อง การอานสรุปเรื่อง ภาษาจรรโลงใจ
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนสรุปเรื่องจากการอานเรื่อง ภาษาจรรโลงใจ พรอมระบุขอคิด


และการนําขอคิดไปใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน

เรื่อง

การสรุปเรื่อง

ขอคิดที่ไดจากเรื่อง การนําขอคิดไปใชในชีวิตประจําวัน

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๕๕

ใบความรูที่ ๒ เรื่อง การอานขอความที่เปนการบรรยายและพรรณนา


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๒ เรื่อง โวหารนารูควบคูก ารอาน
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การบรรยาย คือ การเลาเรื่อง การกลาวถึงเหตุการณที่ตอเนื่องกัน โดยชี้ใหเห็น


ฉาก สถานที่ เวลา เหตุการณ สาเหตุที่กอใหเกิด สภาพแวดลอม บุคคลที่เกี่ยวข อ ง
ตลอดจนผลที่เกิดจากเหตุการณนั้น ๆ เนื้อหาในการบรรยายอาจเปนเรื่ องจริง เชน
ประวัติบุคคล เรื่องเลาจากประสบการณหรือเปนเรื่องสมมติ เชน นิทาน นิยาย เรื่องสั้น
ที่มีการเลาเรื่อง
การพรรณนา คือ การใหรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สิ่งนั้นอาจจะเปนบุคคล
วั ต ถุ สถานที่ หรื อ เหตุ ก ารณ ช ว งใดช ว งหนึ่ ง โดยพรรณนาส ว นประกอบแต ล ะส ว น
ใหแจมแจงหรือชี้ใหเห็นลักษณะเดนของสิ่งนั้น ๆ
ขอความที่เปนการบรรยาย คือ ขอความที่เปนการเลาเรื่อง การกลาวถึงเหตุการณ
ที่ตอเนื่องกัน โดยชี้ใหเห็นฉาก สถานที่ เวลา เหตุการณ สาเหตุที่กอใหเกิด สภาพแวดลอม
บุคคลที่เกี่ยวของตลอดจนผลที่เกิดจากเหตุการณนั้น ๆ เนื้อหาในการบรรยายอาจเปน
เรื่องจริง เชน ประวัติบุคคล เรื่องเลาจากประสบการณหรือเปนเรื่องสมมุติ เชน นิทาน
นิยาย เรื่องสั้นที่มีการเลาเรื่อง
ขอความที่เปนการพรรณนา คือ ขอความที่เปนการใหรายละเอียดของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
สิ่งนั้นอาจจะเปนบุคคล วัตถุ สถานที่ หรือเหตุการณชวงใดชวงหนึ่ง โดยยกพรรณนา
สวนประกอบแตละสวนใหแจมแจงหรือชี้ใหเห็นลักษณะเดนของสิ่งนั้น ๆ
๒๕๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

บทอาน บรรยายโวหารและพรรณนาโวหาร

ตัวอยางบรรยายโวหารแบบรอยแกว
“น้ําตาซึมออกมาจากตอมน้ําตาอยูตลอดเวลา ตอมน้ําตามีขนาดราว ๆ ปลาย
นิ้วกอยอยูบริเวณเหนือตาเล็กนอย น้ําตาออกมาฉาบเคลือบดานหนาลูกตา แลวซึมลงไป
ในทางรูน้ําตาซึ่งอยูที่ขอบเปลือกตาบนและลางดานหัวตา จากรูน้ําตาทั้ง ๒ จะมีทั้งน้ําตา
มารวมกัน ใหน้ําตาไหลออกมาทางรูเปดที่เยื่อบุรูจมูก น้ําตาที่ออกมาจากตอมน้ําตา จึงมี
บางสวนที่ระเหยไป และบางสวนไหลซึมลงมาในรูจมูก น้ําตาทําหนาที่ชวยใหผิวดานหนา
ลูกตาชุมชื้น ไมแหง ชวยชําระลางตาใหสะอาด ชวยใหตามองเห็นดีขึ้น ชวยทําลาย
จุลินทรียหรือพิษตาง ๆ ที่เขาตาใหฤทธิ์เจือจางไปได คนเราจะกะพริบตาอยูเปนระยะ ๆ
โดยเฉลี่ยกะพริบตาทุก ๆ ๒-๓ วินาที การกะพริบตานั้นก็เพื่อใหน้ําตาแผเคลือบไปทั่วผิว
ดานหนาลูกตา เปนการปองกันไมใหลูกตาแหง”
(เกร็ดจากลวมยา : เสนอ อินทรสุขศร)

ตัวอยางพรรณนาโวหารแบบรอยแกว
…ขณะพระองคเสด็จมาใกลเบญจคีรีนครคือราชคฤห เปนเวลาจวนสิ้นทิวาวาร
แดดในยามเย็นกําลังลงสูสมัยใกลวิกาล ทอแสงแผซานไปยังสาลีเกษตร แลละลิ่วเห็นเปน
ทางสวางไปทั่วประเทศสุดสายตา ดูประหนึ่งมีหัตถทิพยมาปกแผอํานวยสวัสดี เบื้องบน
มีกลุมเมฆเปนคลื่นซับซอนสลับกันเปนทิวแถว ตองแสงแดดจับเปนสีระยับวะวับแวว
ประหนึ่งเอาทรายทองมาโปรยปราย เลื่อนลอยละลิ่ว ๆ เรี่ย ๆ รายลงจดขอบฟา...
(กามนิต : เสฐียรโกเศศและนาคะประทีป)

ตัวอยางพรรณนาโวหารแบบรอยกรอง

เสนาะเสียงแสนเศราดุเหวาเอย ไฉนเลยครวญคราราอยูได
หรือใครทําเจ็บช้ําระกําใจ จึงหวนไหโหยอยูมิรูแลว
แวววาบปลาบสายฟา ผสานวาตะโชยชาย
เปลาเปลี่ยวอยูเดียวดาย วิเวกแววคะนึงใน
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๕๗

ใบความรูที่ ๓ เรื่อง คํายืมภาษาตางประเทศ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง เรียนรูคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การยืมคําภาษาตางประเทศ
การยืมคําจากภาษาหนึ่งไปใชอีกภาษาหนึ่ง เปนลักษณะของทุกภาษา ทุกภาษา
ในโลกนี้ ย อ มมี ก ารใช คํ า ภาษาอื่ น ปะป น กั น เป น เรื่ อ งธรรมดา เนื่ อ งจากแต ล ะชาติ
จําเปนตองมีการติดตอสัมพันธกันมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน จึงเกิดการนําคําภาษาอื่น
เขามาใชในภาษาของตนเอง
สาเหตุการยืมคําภาษาอื่น ๆ มาใชในภาษาไทย
๑. ประเทศไทยมีพื้นที่ติดตอกับเพื่อนบาน ทําใหคนไทยนําคําของภาษานั้น ๆ มาใช
๒. ประเทศไทยติดตอคาขายกับตางประเทศ ทําใหมีการแลกเปลี่ยนสินคา
๓. การเผยแผศาสนา การรับเอาศาสนาและวัฒนธรรม ทําใหเราใชคําของศาสนานั้น
๔. การศึกษาและการกีฬาทั้งในหนังสือเรียน และขาวสาวในสื่อตาง ๆ
๕. สาเหตุอื่น ๆ เชน การแตงงาน การเขารีต การสงคราม การทูต ฯลฯ
คําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย
๑. คํายืมภาษาจีน
๑.๑ ที่มาของการยืมคําภาษาจีน ไทยกับจีนมีการติดตอสัมพันธทางการทูต
มาตั้งแตอดีต และชาวจีนอพยพมาตั้งรกรากถิ่นฐานทํามาหากินในเมืองไทย ทําใหมีการ
ผสมผสานกันทางวัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ การยืมคําจีนบางคํา มักเปนคําเรียกชื่อ
สิ่งของเครื่องใช อาหาร พืช ผัก ผลไม รวมทั้งคําที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมจีน นิยมใชคําจีน
เปนภาษาพูด
๑.๒ หลักการสังเกตคําภาษาจีน มีหลักสังเกตดังนี้
๑. เปนชื่ออาหารการกิน เชน กวยเตี๋ยว แปะซะ เฉากวย จับฉาย เปนตน
๒. เปนคําที่เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช เชน ตะหลิว เกง ฮวงซุย เปนตน
๓. เปนคําที่เกี่ยวกับการคา เชน เจง หุน หาง เปนตน
๔. เปนคําที่ใชวรรณยุกตตรี จัตวา เปนสวนมาก เชน กวยจั๊บ กุย เก
เกก กง ตุน เปนตน
๒๕๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ตัวอยางคําภาษาจีน หมวดอาหารการกิน

คํายืมภาษาจีน ความหมาย
เตาหู ถั่วที่โมเปนแปงแลวทําเปนแผน ๆ
เตาเจี้ยว ถั่วเหลืองหมักเกลือ ใชปรุงอาหาร
กวยเตี๋ยว ของกินชนิดหนึ่งทําดวยแปงขาวเจาเปนเสน ๆ ปรุงอาหารทั้งแหงและน้าํ
เกาเหลา แกงมีลักษณะอยางแกงจืด ปรุงรสได ไมใชแกงเผ็ดแกงสม
กุนเชียง ไสกรอกจีน
เกี๊ยว ของกินทําดวยแปง เปนแผนบาง ๆ ทอดกรอบ หรือหอหมูแลวนึ่ง
โจก ขาวตมแบบละเอียด ทําจากขาว
แปะซะ ชื่ออาหารใชปลานึ่งจิ้มน้ําสมกินกับผัก

ตัวอยางคําภาษาจีน หมวดพืช ผัก ผลไม

คํายืมภาษาจีน ความหมาย
เกกฮวย ดอกเบญจมาศหนู ใชเปนยารักษาโรคไดหลายอยาง หรือตมเปนน้ําดื่มกินได
ตั้งโอ ผักจีนชนิดหนึ่ง ใบเล็กหนามีกลิ่นหอม
กุยชาย ผักชนิดหนึ่งคลายตนหอมหอมหรือกระเทียมใบแบน ๆ มีกลิ่นหอมฉุย, กุยชาย ก็ใช
เกาลัด ไมตนขนาดเล็ก เปลือกผลหนา ไมมีหนาม เมล็ดเกลี้ยง

ตัวอยางคําภาษาจีน หมวดกริยา

คํายืมภาษาจีน ความหมาย
แฉ แบ ตีแผ เปดเผย
ซวย เคราะหราย อับโชค
เซียน ชํานาญ
เอี่ยว มีสวนรวม
โละ ไมเอา ทิ้ง
เฮง ดี เจริญ
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๕๙

ตัวอยางคําภาษาจีน เกี่ยวกับการคาขาย

คํายืมภาษาจีน ความหมาย
เหลา รานอาหาร ภัตตาคาร
โสหุย คาใชจาย
แปะเจี๊ยะ เงินกินเปลา
เจง ลมเลิกกิจการเพราะทุนหมด
ยี่หอ เครื่องหมายการคา

ตัวอยางคําภาษาจีน เกี่ยวกับเครือญาติ

คํายืมภาษาจีน ความหมาย
กง ปู ตา
ตี๋ เด็กผูชายจีน
เตี่ย พอ
หมวย เด็กหญิงหรือหญิงสาวลูกจีน มวยก็ใช
เฮีย พี่ชาย, คือที่ใชเรียกผูชายเพื่อยกยอง
เจ พี่สาว, คําเรียกผูหญิงเพื่อยกยอง

ตัวอยางคําภาษาจีน หมวดทั่วไป

คํายืมภาษาจีน ความหมาย
เขง ภาชนะสานมีรูปแบบตาง ๆ
จับกัง กรรมกร ผูใชแรงงาน
ตั๋ว บัตรบางอยางแสดงสิทธิ์ของผูใช
แตะเอีย เงินที่ใชในโอกาสพิเศษ
ไตฝุน พายุกําลังแรง ๑๒๐ กม./ชม.
บวย สุดทาย ทีหลัง
๒๖๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๒. คํายืมภาษาอังกฤษ
๒.๑ ที่มาของการยืมคําภาษาอังกฤษ อังกฤษมีการติดตอกับไทยมาตั้งแต
สมัยอยุธยา โดยเขามาคาขาย และภาษาอังกฤษเริ่มมีบทบาทในไทยมากขึ้นในสมัย
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๓)
๒.๒ หลักการสังเกตคําภาษาอังกฤษในภาษาไทย มีดังนี้
- คํายืมภาษาอังกฤษสวนใหญเปนคําหลายพยางค เชน ช็อกโกแลต
แคปซูล โฟกัส เทรนเนอร คอมพิวเตอร ไวโอลิน เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส เปนตน
- คํายืมภาษาอังกฤษสวนใหญเปนคําทับศัพท เชน
คําที่ไทยใช คําอังกฤษ
ออกซิเจน oxygen
เคก cake
คุกกี้ cookie
ครีม cream
ชี้ส cheese
สลัด salad
ฟุตบอล football

- คํายืมภาษาอังกฤษสวนใหญเปนคําที่มีตัวสะกดหลายตัว และมี
เครื่องหมาย ทัณฑฆาตกํากับอยูบนตัวสะกดตัวแรก หรือตัวสะกดตัวสุดทาย เชน
ฟลม การด ปาลม มารค ชอลก ฟารม คอรส ฟอรม เบียร ออกไซด ไวน ฟวส กีตาร
- คํายืมภาษาอังกฤษสวนใหญเปนคําที่ใชในกรณีที่ไมเปนทางการ
เชน แอร (air-conditioner) แอร (air-hostess) คอม (computer)
- คํายืมภาษาอังกฤษสวนใหญเปนคําที่มีเสียงพยัญชนะควบกล้ํา บล
บร ดร ฟล ฟร ทร เชน บล็อก เบรก บร็อกโคลี บรอนซ ดรัมเมเยอร ดร็อป
แอดเดรส แฟลต ฟลุก ฟรี เฟรม แฟรนชายส ทรัมเปต เทรน อิเล็กทรอนิกส
- คํายืมภาษาอังกฤษสวนใหญเปนคําที่สะกดดวยพยัญชนะ ฟ ล ส ศ ต
เชน กราฟ กอลฟ บอล อีเมล โบนัส โฟกัส แกส ช็อกโกแลต รีสอรต แครอต
โดนัต
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๖๑

๒.๓ ตัวอยางคําภาษาอังกฤษที่ใชในภาษาไทย
คําภาษาอังกฤษที่ไทยนํามาใชในวงการตาง ๆ เชน
- คําศัพทในวงการการชาง เชน โซลา ดีเซล ไดนาโมแทรกเตอร น็อต
ปม ปารเกต แปบ มอเตอร สปริง สวิตซ คอนกรีตฯลฯ
- คํ า ศั พ ท ใ นวงการกี ฬ า เช น กอล ฟ เทนนิ ส ฟุ ต บอล มาราธอน
ยิมนาสติก วอลเลยบอล สกี สเก็ต สนุกเกอร เสิรฟ สเตเดียม สปอรต เกม ฯลฯ
- คําศัพทในวงการแพทย เชน เกาต คลินิก โคมา เซรุม วัคซีน ไวรัส
- คําศัพทในวงการวิทยาศาสตร เชน กาซ แกส คลอรีน แคลเซียม
แคลอรี่ เซลล ตะกั่ว ไนลอน โปรตีน ยิปซัม โมเลกุล เลเซอร ออกซิเจน อิเล็กทรอนิกส
ฯลฯ
- คําศัพทในวงการศึกษา เชน ชอลก เทอม สถิติ ฯลฯ
- คําศัพทในวงการเศรษฐกิจ เชน เครดิต แค็ตตาล็อก เช็ค แชร สต็อก
สโตร อีเมล ฯลฯ
- คํ า ศั พ ท เ กี่ ย วกั บ อาหาร ผลไม และเครื่ อ งดื่ ม เช น กาแฟ เค ก
แซนดวิช สตรอวเบอรี่ ไอศกรีม ไวน วิสกี้ ซอส ซุป ฯลฯ
- คําศัพทเกี่ยวกับเครื่องใชตาง ๆ เชน คลิป คัตเตอร โซฟา เน็กไท
เชิ้ต โนตบุก

๓. คํายืมภาษาเขมร
เขมรเปนชาติที่มีความสัมพันธกับไทยมานานทั้งการคา การสงคราม การเมือง
การปกครอง และวัฒนธรรมเขมร
ลักษณะคําภาษาเขมรในภาษาไทย
๑. เปนคําที่สะกดดวย จ ญ ร ล เชน เสด็จ เผด็จ อาจ อํานาจ บําเพ็ญ สราญ
กําจร จราจร ตําบล บันดาล
๒. เปนคําควบกล้ํา เชน ไกร ขลัง ปรุง ปรับปรํา ปรอง
๓. ขึ้นตนดวยคํา “บัง บัน บรร บํา นําหนา” เชน บังคับ บังคม บังเกิด บังอาจ
บันได บันดาล บันลือ บําเพ็ญ บําบัด บําเหน็จ
๒๖๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

๔. มักขึ้นตนดวยคําวา “กํา ดํา ตํา จํา ชํา สํา บํา รํา” เชน
กํา = กําเดา กําแพง กําไร กําจัด กําจร กําพรา กําสรวล กําเนิด
ดํา = ดําเนิน ดําริ ดํารู ดํารง (ดํารี ดําไร แปลวา ชาง)
ตํา = ตํานาน ตํารวจ ตําบล ตํารา ตําลึง ตําหนัก ตําหนิ
จํา = จํานํา จํานอง จําหนาย จําแนก
ชํา = ชํานิ ชํานาญ ชํารวย ชําระ ชําแหละ ชํารุด
สํา = สําราญ สํารวย สําเริง สําเนา สําเภา
บํา = บําเรอ บําราบ บํานาญ บําเหน็จ บํารุง บําเพ็ญ
รํา = รําคาญ รําไร
๕. นิยมเปนคําที่นิยมใชอักษรนํา เชน สนุก สนาน สมัคร สมาน เสด็จ สมอ
ถนน เฉลียว
๖. คําเขมรสวนมากใชเปนคําราชาศัพท เชน เสวย ผนวช บรรทม เสด็จ โปรด
ขนง เขนย สรวล
๗. เปนคําแผลง เชน ครบ > คํารบ, ขดาน > กระดาน, จาย > จําหนวย,
แจก > จํ า แนก, ชาญ > ชํ า นาญ, เดิ น > ดํ า เนิ น , เรี ย บ > ระเบี ย บ, รํ า > ระบํ า ,
ตริ > ดําริ, ตรวจ > ตํารวจ

๔. คําภาษาบาลี สันสกฤต ขอสังเกต คํายืมที่มาจากภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต


ดังนี้

คําภาษาบาลี คําบาลีสันสกฤต
๑. ไมใชพยัญชนะ “ศ” และ “ษ” ๑. ใช “ศ” และ “ษ” เชน ปกษา ปกษี ศาสนา
กษัตริย ตรุษ ศาสตรา ศัพท อักษร ศรี เศียร
๒. ไมใช “รร” แตนิยมใช “ริ” เชน ๒. ใช รร เชน จรรยา สุบรรณ สุวรรณ สุพรรณ
จริยา ภริยา กริยา ภรรยา ครรภ ธรรม บรรพต วรรค ขรรค
๓. นิยมใชพยัญชนะ ๒ ตัวติดกัน ๓. ใชคําที่พยัญชนะขามวรรค ไมติดกัน เชน
เชน นิพพาน ปญญา บุคคล ปจจัย จันทรา มนตรี อุทยาน พิสดาร วิทยา พัสดุ
ภัตตา อัคคี วิญญาณ มัธยม ดัสกร อาตมา
๔. ไมใช ฤ ฤๅ ๔. ใชตัว ฤ ฤๅ เชน ฤๅษี ฤทธิ์ ฤกษ ฤทัย
กฤษณา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๖๓

๕. ภาษาชวา-มลายูในภาษาไทย การสังเกตคําภาษาชวา-มาลายูท่ีนํามาใชใน
ภาษาไทย
๑. ภาษาชวาที่นํามาใชในภาษาไทยสวนใหญเปนภาษาเขียน ซึ่งรับมาจาก
วรรณคดีเรื่อง ดาหลังและอิเหนาเปนสวนใหญ ใชในการแตงคําประพันธ เชน บุหรง
บุหลัน ระตู ปาหนัน บุหงา บุตรี บุตรา มะละกา มะละกอ กะทัดรัด ดาหลา
๒. ภาษาชวาใช สื่ อ สารในชี วิ ต ประจํ า วั น เช น กั ล ป ง หา กุ ญ แจ กระดั ง งา
ซาหริ่ม
๓. ภาษาชวายังนํามาใชในความหมายคงเดิม เชน ทุเรียน นอยหนา บุหลัน

ภาษาอื่น ๆ ตัวอยางเชน
• เปอรเซีย กุหลาบ คาราวาน ตราชู บัดกรี สักหลาด
• โปรตุเกส กะละแม กะละมัง สบู เลหลัง ปนโต
• ฝรั่งเศส กงสุล ครัวซองต คูปอง แชมเปญ บุฟเฟต
• ญี่ปุน กิโมโน คาราเต ซูโม ยูโด สุกี้ยากี้
• ทมิฬ กะไหล กุลี กานพลู กํามะหยี่ อาจาด
• อาหรับ กะลาสี การบูร กั้นหยั่น กะไหล ฝน
• มอญ มะ เมย เปงมาง พลาย ประเคน
• พมา หมอง กะป สวย

********************************
ขอความ (สําหรับขั้นนําเขาสูบทเรียน)

นักกีฬาฟุตบอลทีมแขงสายฟา ไดเขาแขงขันตอรอบไฟนอล ชิงถวยพระราชทาน


ซึ่งสามารถเอาชนะคูแขง ๔ : ๑ ประตู นับวาเจงมาก ๆ และเย็นวันนี้นดั ฉลองแชมป
ณ สนามฟุตบอลแขงสายฟา เวลา ๑๘.๐๐ น.
๒๖๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๒ เรื่อง คํายืมภาษาตางประเทศ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๓ เรื่อง เรียนรูคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ให นั ก เรี ย นแต ง ประโยคโดยใช คํ า ภาษาต า งประเทศ ประโยคหนึ่ ง ต อ คํ า


ภาษาตางประเทศ ๑ คํา และขีดเสนใตคําภาษาตางประเทศนั้น พรอมระบุ
ดวยวาเปนคําภาษาใด
ขอ ประโยค คํา ภาษา
ตัวอยาง
นักฟุตบอลกําลังฝกซอมที่สนาม ฟุตบอล อังกฤษ

๑๐

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๖๕

ใบความรูที่ ๔ เรื่อง การจับใจความและวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การจับใจความและวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การจับใจความสําคัญจากการฟงและดู
การจั บ ใจความสํ าคั ญจากการฟ งและดู เป น การจั บ ใจความสํ าคั ญ หรื อขอคิด
หรือความคิดหลักของเรื่องที่ฟงและดู โดยใจความสําคัญนั้น จะเปนสิ่งที่ครอบคลุม
เรื่องราวทั้งหมดที่ฟงและดู
ใจความสําคัญ หมายถึง ใจความที่สําคัญที่สุด หรือเรียกวา เปนหัวใจหลักของ
เรื่องนั้นทั้งหมด เชน
- การฟงและดูครูเลานิทาน : ในนิทาน ๑ เรื่องจะมีใจความสําคัญหรือความคิดหลัก
ของเรื่อง อาจเปนขอความหรือประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดของเรื่อง
หรืออาจเปนขอคิดของเรื่อง
- การฟงและดูขา ว/เหตุการณในชีวิตประจําวัน : ในแตละวันเราจะไดฟงและดูขาว
หรือเหตุการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวันซึ่งทําใหเราไดรูและเปนประสบการณนั้น
ในเรื่องที่ไดฟงและดู มักจะมีความคิดหลัก หรือที่เรียกวา “ประเด็นหลัก” ของ
ขาว/เหตุการณนั้น ๆ ซึ่งจะทําใหเราเขาใจภาพรวมไดโดยงาย

หลักการจับใจความสําคัญจากการฟงและดู
๑. ตั้งจุดมุงหมายในการฟงและดูใหชัดเจน
๒. ฟงและดูเรื่องราวอยางคราว ๆ พอเขาใจ และเก็บประเด็นที่สําคัญ ๆ ของเรื่อง
๓. เมื่อฟงและดูจบใหตั้งคําถามตนเองวาเรื่องที่อานมี “ใคร ทําอะไร ที่ไหน
เมื่อไร อยางไร”
๔. นําสิ่งที่สรุปไดมาเรียบเรียงใจความสําคัญใหมดวยสํานวนของตนเอง เพื่อให
เกิดความสละสลวย
๒๖๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

จุดมุงหมายของการสรุปความจากการฟงและดู
การจับใจความสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู แลวนํามาเรียบเรียงใหมอยางสั้น ๆ
เพื่อใหรูวาเปนเรื่องอะไร โดยมี “ใคร ทําอะไร มีใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร”
จุดมุงหมายของการสรุปความจากการฟงและดูมีดังนี้
๑. เพื่ อ การนํ าไปใช เช น เพื่ อ ข อ มู ล ที่ ได มาเขี ย นเรี ย งความ เพื่ อ ช ว ยทบทวน
ความรู ความคิด และความจํา เพื่อนําใจความสําคัญไปใชในการติดตอสื่อสาร ชวยให
การฟงและการดูไดผลดียิ่งขึ้น
๒. เพื่อความเพลิดเพลิน ไดแก การรับสารเพื่อความสนุกสนาน ผอนคลายความ
ตึงเครียด ไมเนนความสําคัญของเนื้อหาสาระ ไมจําเปนตองมีสมาธิมากนักในการรับสาร
๓. เพื่อความจรรโลงใจ ไดแก การรับสารที่กอใหเกิดสติปญญาหรือชวยยกระดับ
จิตใจใหสูงขึ้น ผูรับสารตองมีวิจารณญาณที่จะเชื่อหรือปฏิบัติในสิ่งที่ถูกตอง
๔. เพื่อประเมินผลและวิจารณ ไดแก การรับสารที่ตองอาศัยความรูอยางละเอียด
ถูกตองในเรื่องที่จะประเมินหรือวิจารณ นอกจากนั้น ตองมีความเปนธรรม ไมมีอคติตอ
ผูสงสารหรือตัวสาร

กระบวนการฟงและการดูมี ๖ ขั้นตอน ดังนี้


๑. ขั้นไดยินหรือเห็นเปนขั้นตนของการรับสาร เมื่อมีคลื่นเสียงมากกระทบกับโสต
ประสาทหรือไดเห็นภาพที่ปรากฏอยูในสายตา
๒. ขั้นพิจารณาแยกแยะเสียงที่ไดยินหรือภาพที่เห็น วาเปนเสียงอะไรหรือภาพอะไร
คน สัตว สิ่งของ หรือปรากฏการณทางธรรมชาติ
๓. ขั้นยอมรับ เปนขั้นตอนที่ตอจากการพิจารณาแลว ผูฟงหรือผูดูอาจยอมรับ
หรือปฏิเสธวาขอความที่ไดยินหรือภาพที่เห็น สื่อความหมายไดหรือไม
๔. ขั้นตีความ เปนขั้นที่ผูฟงหรือผูดูแปลความหมายหรือตีความหมายของสิ่งที่
ไดยินหรือไดเห็นใหตรงกับจุดประสงคของผูสงสารที่ตองการสื่อถึงผูรับสาร เนื่องจากสาร
ที่สงมาอยูในรูปของความหมายโดยนัย
๕. ขั้นเขาใจ เปนขั้นที่ผูฟงหรือผูดูทําความเขาใจกับขอความที่ไดยินหรือภาพที่
ไดเห็น
๖. ขั้นนําไปใช เปนขั้นที่พิจารณาจนเขาใจ อยางถองแทแลว ผูฟงและผูดูก็จะมี
ปฏิกิริยาตอบสนอง
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๖๗

หลักการฟงที่ดี
๑. ฟงใหตรงจุดประสงค คือ กําหนดจุดประสงคในการฟง เชน ฟงเพื่อเอาความรู
ฟงเพื่อสรุปความรู
๒. ฟงดวยความพรอม คือ ตองมีความพรอมทั้งทางรางกาย จิตใจ และสติปญญา
๓. ฟงอยางมีสมาธิ คือ มีความตั้งใจ จดจออยูกับเรื่องที่ฟงหรือดู ไมฟุงซานคิดถึง
เรื่องอื่น
๔. ฟงดวยความกระตือรือรน คือ มีความสนใจ เห็นประโยชนหรือคุณคาของเรื่อง
ที่ฟง
๕. ฟ ง โดยไม มี อ คติ คื อ ไม มี ค วามลํ า เอี ย ง ซึ่ ง ความลํ า เอี ย งเกิ ด จากความรั ก
ความโกรธ
๖. ฟงโดยใชวิจารณญาณ คือ นําสิ่งที่ฟงมาประเมินวามีประโยชนหรือนาเชื่อถือ
มากนอยเพียงใด

มารยาทในการฟงและดู
๑. ฟงและดูดวยความสงบ เพราะจะชวยใหมีสมาธิมากขึ้น
๒. ฟงและดูดวยความตั้งใจ และจดบันทึกประเด็นสําคัญ
๓. ปรบมือแสดงอาการ เมื่อประทับใจ
๔. มองหนาและสบตาของผูพูด
๕. เมื่อมีขอสงสัย ควรยกมือถามหลังผูพูดเปดโอกาสใหถาม ไมควรถามแทรก
ขณะที่ผูพูดกําลังพูดอยู
๖. ไมสงเสียงดังรบกวนผูอื่นขณะฟง
๗. ไมควรแสดงทาทาง สีหนา เมื่อไมพอใจผูพูด
๘. ตั้งใจฟงและดูเรื่องราว ตั้งแตตนจนจบ ไมควรลุกเดินหนีออกจากที่ประชุม
๙. ไมควรแสดงกิริยาที่ไมเหมาะสม เชน โหรอง หัวเราะเสียงดัง พูดตะโกนถาม
หรือนั่งกระดิกเทา
๑๐. ไมควรเดินเขาเดินออกขณะที่ผูพูดกําลังพูด หากมีความจําเปนควรทําความ
เคารพกอน
๒๖๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๓ เรื่อง การจับใจความและวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๔ เรื่อง การจับใจความและวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนฟงและดูเรื่องจากสื่อตางๆ ที่สนใจ ๑ เรื่อง และวิเคราะหประเด็น


ตามที่กําหนดให

โฆษณานาสนใจซื้อสินคาหรือไม เพราะอะไร
.......................................................................... โฆษณานี้ขายเกี่ยวกับอะไร
.......................................................................... ............................................................
.......................................................................... ............................................................

ชื่อโฆษณา
............................................................
............................................................

การใชภาษาเปนอยางไร โฆษณานาเชื่อถือหรือไม เพราะอะไร


............................................................ ...............................................................
............................................................ ...............................................................
...............................................................

ขอคิดที่ไดรบั คืออะไร
............................................................
............................................................
............................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๖๙

ใบความรูที่ ๕ เรื่อง ภาษาถิ่นกับวรรณกรรมทองถิ่นไทย


หนวยเรียนรูท ี่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง ภาษาถิ่นกับวรรณกรรมทองถิ่นไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ภาษาถิ่น
ภาษาถิ่ น หมายถึ ง ภาษาย อ ยของภาษาไทยที่ ใ ช สื่ อ สารกั น ในท อ งถิ่ น ต า ง ๆ
ในประเทศไทย และมีความแตกตางกันไปตามทองถิ่น เปนภาษาที่ใชพูดจากันในทองถิ่น
ตาง ๆ เพื่อการสื่อความหมาย ความเขาใจกันระหวาง ผูคนที่อาศัยอยูตามทองถิ่นนั้น ๆ
แตกตางไปจากมาตรฐานหรือภาษาที่คนสวนใหญของประเทศใช

ลักษณะของภาษาถิ่น
ภาษาถิ่นมีความเฉพาะ คือ ทั้งถอยคําและสําเนียง แสดงถึงเอกลักษณ ลักษณะ
ความเปนอยูและวิถีชีวิตของผูคนในทองถิ่นของแตละภาคของประเทศไทย ซึ่งบางที
จะเรียกวา ภาษาทองถิ่น เชน ภาษาถิ่นใต ก็มีภาษา สงขลา ภาษานคร ฯลฯ
ภาษาถิ่นเปนภาษาที่สําคัญในสังคมไทย เปนภาษาที่บันทึกเรื่องราว ประสบการณ
และวั ฒนธรรมทุ ก แขนงของท อ งถิ่ น เราจึ ง ควรรั ก ษาภาษาถิ่ น ทุ ก ถิ่ น ไว ใ ช ใ ห ถู กตอง
เพื่ อ เป น สมบั ติ ม รดกของชาติ ต อ ไป ซึ่ ง ภาษาถิ่ น จะเป น ภาษาพู ด หรื อ ภาษาท า ทาง
มากกวาภาษาเขียน
ภาษาถิ่นของไทยจะแบงตาม ภูมิศาสตรหรือทองถิ่นที่ผูพูดภาษานั้นอาศัยอยูใน
ภาคตาง ๆ แบงไดเปน ๔ ถิ่นใหญ ๆ คือ ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถิ่นเหนือ ภาษาถิ่นอีสาน
และภาษาถิ่นใต
๒๗๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ความหมายของวรรณคดีทองถิ่น
วรรณคดีทองถิ่น หมายถึง วรรณคดีที่แตงขึ้น หรือเผยแพร อยูในทองถิ่นตาง ๆ
ของไทย ซึ่งมีทั้งที่ถายทอดดวยปาก คือ เลาหรือขับรองเปนเพลง เรียกวา “วรรณคดี
มุขปาฐะ” และที่ถายทอดเปนตัวหนังสือ เรียกวา “วรรณคดีลายลักษณ” ซึ่งแตงเปน
รูปแบบรอยแกว หรือรอยกรอง ผูแตงสวนใหญเปนคนในทองถิ่น เขียนหรือเลา เพื่อสื่อ
เรื่องราวความคิด ความรูสึกกับคนในทองถิ่น ถอยคําภาษาที่ใชจึงเปนภาษาทองถิ่น
โดยทั่วไป แบงวรรณคดีทองถิ่นออกเปนกลุมใหญ ๆ ตามถอยคําภาษาที่ใชเปน ๔ กลุม
กล า วคื อ วรรณคดี ภ าคกลางใช ภ าษาไทยกลาง วรรณคดี ล า นนาใช ภ าษาถิ่ น เหนื อ
วรรณคดีอีสานใชภาษาอีสาน และวรรณคดีภาคใตก็ใชภาษาถิ่นใต หากเปนวรรณคดี
ลายลักษณ ที่เขียนขึ้นในสมัยกอน ก็มักใชตัวอักษรที่ใชในทองถิ่นดวย
วรรณคดีทองถิ่นบางเรื่อง อาจมีที่มาหรือไดรับอิทธิพลบางสวน มาจากวรรณคดี
ท อ งถิ่ น อื่ น ซึ่ ง อยู ใ กล เ คี ย ง และมี ข นบธรรมเนี ย มประเพณี แ ละภาษาคล า ยคลึ ง กั น
นอกจากนี้ ยังอาจพบวรรณคดีทองถิ่นในกลุมชนที่มีวัฒนธรรมตาง ๆ ซึ่งอยูอาศัยมา
ตั้งแตสมัยโบราณ หรืออพยพเขามาภายหลัง ในแตละภาคของไทย เชน ในภาคเหนือ
มีวรรณคดี ของกลุมคนไทยลื้อ ไทยเขิน และไทยใหญ ในภาคอีสานทางใต มีวรรณคดี
ของกลุมชนที่พูดภาษาสวย ในภาคใตมีวรรณคดี ของกลุมชนที่นับถือศาสนาอิสลาม
และในภาคกลางมีวรรณคดีของกลุมชนที่พูดภาษามอญ วรรณคดีของไทยโซงและไทยพวน

ประโยชนของการศึกษาภาษาถิ่น
ภาษาถิ่นมีประโยชนสําหรับเยาวชนที่เปนคนในทองถิ่นอยางยิ่ง ความรูภาษาไทย
ถิ่นจะชวยใหมีความรูความเขาใจ สามารถสืบทอดและพัฒนาภูมิปญญาทองถิ่นที่สืบทอด
กั น มาแต โ บราณให ค งอยูอ ย างเหมาะสมกับสั ง คมปจจุ บัน และอนาคตได นอกจากนี้
การศึกษาภาษาไทยถิ่นยังเปนประโยชนตอผูที่สนใจทั่วไป เชน
- ทําใหสามารถติดตอสื่อสารกับผูคนในทองถิ่นตาง ๆ ไดอยางถูกตองและสะดวกขึ้น
- ทําใหเขาใจวัฒนธรรมของทองถิ่นนั้น ๆ ไดดียิ่งขึ้น
- ทําใหเขาใจความหมายของคําโบราณบางคําที่อยูในวรรณกรรมทองถิ่น
- ทําใหสามารถรับรูและเขาใจบริบทแวดลอมของทองถิ่นนั้น ๆ ไดดีอีกดวย
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๗๑

ใบงานที่ ๔ เรื่อง ภาษาถิ่นในวรรณกรรมทองถิ่นไทย


หนวยเรียนรูท ี่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๕ เรื่อง ภาษาถิ่นกับวรรณกรรมทองถิ่นไทย
รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกวรรณกรรมทองถิ่นมา ๑ เรื่อง แลวคนหาคําภาษาถิ่นจํานวน


๑๐ คํา พรอมระบุความหมายใหถูกตอง
วรรณกรรมทองถิ่น เรื่อง

ขอที่ คําภาษาถิ่น ความหมาย











๑๐

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๗๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๖ เรื่อง การวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดูจากสื่อตาง ๆ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การวิเคราะหประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การวิเคราะหเรื่องที่ฟงและดู
ประเภทเรื่องที่ฟงและดู ในชีวิตประจําวัน ซึ่งอาจสรุปประเภทได ดังนี้
๑. สื่อโฆษณา จะเปนการสื่อใหคลอยตาม อาจไมสมเหตุสมผล ผูฟงตองพิจารณา
ไตรตรองกอนซื้อ
๒. สื่อเพื่อความบันเทิง เชน เพลง, เรื่องเลา ซึ่งอาจมีการแสดงประกอบดวย
ผูฟง/ดูตองระมัดระวัง ใชวิจารณญาณประกอบการตัดสินใจกอนที่จะซื้อหรือทําตาม
๓. ขาวสาร ผูฟง/ดู ตองรูจักแหลงขาว ผูนําเสนอขาว การจับประเด็น ความมีเหตุ
มีผล รูจักเปรียบเทียบเนื้อหาจากที่มาของขาวหลาย ๆ แหง เปนตน
๔. ปาฐกถา เนื้อหาประเภทนี้ผูฟงตองมีสมาธิเพื่อจับประเด็นสําคัญใหได และ
กอนตัดสินใจเชื่อหรือนําขอมูลสวนใดไปใชประโยชนตองมีความรูพื้นฐานในเรื่องนั้น ๆ
อยูบาง
๕. สุนทรพจน สื่อประเภทนี้สวนใหญจะไมยาว และมีใจความที่เขาใจงาย ชัดเจน
แตผูฟงจะตองรูจักกลั่นกรองสิ่งที่ดีไปเปนแนวทางในการปฏิบัติ

แนวทางการฟงและดูอยางสรางสรรค
๑. เขาใจความหมายของคํา สํานวนประโยคและขอความที่บรรยายหรืออธิบาย
๒. เขาใจลักษณะของขอความวามีใจความสําคัญของเรื่อง ที่เปนความคิดหลัก
ซึ่งมักตรงกับหัวขอเรื่อง
๔. รูจักประเภทของเรื่องที่ฟงและดู ตองแยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็นของเรื่อง/ขาว
๕. ตีความในเรื่องไดตรงตามจุดประสงคของผูเลา/ผูเขียน บางคนตองการให
ความรู บางคนตองการโนมนาวใจ ผูฟงและดูตองรูจุดประสงคของเรื่องใหได เพื่อจะได
จับใจความสําคัญได
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๗๓

๖. ตั้งใจฟงและดูใหตลอดเรื่อง พยายามทําความเขาใจใหตลอดเรื่อง ยิ่งเรื่องยาว


สลับซับซอนยิ่งตองตั้งใจเปนพิเศษและพยายามจับประเด็นหัวเรื่อง
๗. สรุปใจความสําคัญ ขั้นสุดทายของการฟงและดูเพื่อจับใจความสําคัญก็คือสรุป
ใหไดวา เรื่องอะไร ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไร
การสรุปการฟงและการดู
- รูจุดมุงหมายของสารที่ดูและฟงนั้น
- รับฟงและดูอยางตั้งใจและทําความเขาใจ
- รูจักสรุปและเลือกนําไปใชประโยชน

กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๓๘. หนังสือเรียนภาษาไทยชุดพื้นฐานภาษาชั้นประถมศึกษาปที่ ๕. กรุงเทพฯ:


โรงพิมพองคการคาคุรุสภา.
๒๗๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๕ เรื่อง การวิเคราะหประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๖ เรื่อง การวิเคราะหประเด็นสําคัญจากเรื่องที่ฟงและดู
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนฟงและดูเรื่องตามที่ครูที่กําหนด จากนั้นวิเคราะหตามหัวขอทีก่ ําหนดให


ประเด็นสําคัญของเรื่องนี้คืออะไร
.......................................................................... การใชภาษาเปนอยางไร
.......................................................................... ............................................................
.......................................................................... ............................................................

ชื่อเรื่อง
............................................................
............................................................

ขอคิดที่ไดจากเรื่อง เรื่องนี้นาเชื่อถือหรือไม เพราะอะไร


............................................................ ...............................................................
............................................................ ...............................................................
...............................................................
สามารถนําขอคิดไปปรับใชไดอยางไร
........................................................................
........................................................................
........................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๗๕

ใบความรูที่ ๗ เรื่อง การเขียนเรื่องตามจินตนาการ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง เขียนเรื่องจินตนาการผสานภาษา
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
การเขียนเรื่องตามจินตนาการ เปนความคิดที่เชื่อมโยงประสบการณและความจริง
ในชีวิตจากอดีตไปสูอนาคต หรือเชื่อมโยงเรื่องราวและเหตุการณตาง ๆ ในปจจุบันโดยผูก
เปนเรื่องราวขึ้นมา จากความคิดของนักเรียน การเขียนเลาเรื่องจากภาพ เปนการใช
ประสบการณรวมกับจินตนาการของแตละคน โดยดูรายละเอียดตาง ๆ จากภาพเปน
พื้นฐานในการจินตนาการ เขียนเปนเรื่องราวที่นาสนใจหรือใหความสนุกสนาน เพลิดเพลิน
แกผูอาน การเขียนเรื่องจากภาพตองเรียบเรียงเรื่องราวตาง ๆ จากภาพใหมีความเกี่ยวเนื่อง
สัมพันธกัน
หลักการเขียนเรื่องจากภาพ
๑. ดูภาพ พิจารณาภาพรายละเอียดตาง ๆ ใหครบถวน
๒. จิ น ตนาการผู ก เรื่ อ งราวย อ นไปในอดี ต คิ ด ไปในอนาคต หรื อ เชื่ อ มโยง
เหตุการณใด เหตุการณหนึ่งในปจจุบัน
๓. สรางความคิดคํานึงโดยใชความเปนจริงหรือเหตุการณที่สมจริงเปนพื้นฐาน
๔. ลําดับเรื่องราวใหตอเนื่องตั้งแตตนจนจบ
๕. เขียนเลาความใหตอเนื่อง
๖. ตั้งชื่อเรื่องใหนาสนใจ
๗. เขียนลายมือใหอานงาย จบประโยคเวนวรรคใหชัดเจน
๒๗๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๖ เรื่อง เขียนเรื่องจินตนาการผสานภาษา


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗ เรื่อง เขียนเรื่องจินตนาการผสานภาษา
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนเรื่องตามจินตนาการอยางสรางสรรค ๕ – ๘ บรรทัด พรอมตั้ง


ชื่อเรื่อง

ชื่อเรื่อง.....................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๗๗

ใบความรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาพูด ภาษาเขียน


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาพูดและภาษาเขียนในสือ่ ตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาไทยเปนภาษาที่มีวัฒนธรรมทางภาษาและมีวิธีการใชถอยคําตามระเบียบ
ราชการและสื่อสารโดยทั่วไปในหมูคนไทย ภาษาไทยมาตรฐานแบงออกเปนภาษาพูด
และภาษาเขียน
หลักการใชภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
๑. ใชสื่อสารในการพูด ๑. ใชสื่อสารดวยการเขียน
๒. พูดโดยสรางความรูสึกเปนกันเอง ๒. ใชภาษาพูดปะปนในภาษาเขียนได
ไมนิยมใชภาษาพูดในภาษาเขียน ยกเวน ในบางลักษณะ เชน นิทาน เรื่องสั้น
การกลาวอางอิง หนังสือพิม ฯลฯ
๓. เครงครัดการใชถอยคําตามหลักเกณฑ ๓. เครงครัดการใชถอยคําใหถูกตองตาม
ในการใชภาษามากนัก หลักเกณฑในการใชภาษา
๔. ใชถอยคําภาษาที่สุภาพ และเหมาะสม ๔. ใชถอยคําภาษาที่สุภาพ และเหมาะสม
กับกาลเทศะ กับกาลเทศะ

ตัวอยางการใชภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ผมอยากกินขาวแลวนะ ผมหิวขาวแลวครับ
ตาวไปหยิบหนังสือพิมมาใหนาหนอย ตาวชวยหยิบหนังสือพิมพใหนาดวย
โอย ! อยากจะบาตายทําไมการบานยาก ทําไมการบานวันนี้ถึงยากมากนะ
แบบนี้นะ
รอเดี๋ยวกําลังจะเอาหนังสือมาคืนให รอสักครูกําลังจะนําหนังสือมาคืนให
๒๗๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๗ เรื่อง ภาษาพูดและภาษาเขียนในสื่อตาง ๆ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๘ เรื่อง ภาษาพูดและภาษาเขียนในสือ่ ตาง ๆ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนสืบคนเกี่ยวกับภาษาพูดและภาษาเขียนจากสื่อตาง ๆ ที่นักเรียน


สนใจ แลวเขียนเปรียบเทียบกันลงในตาราง

ภาษาพูด ภาษาเขียน
ตัวอยาง วัยโจ ตัวอยาง วัยรุน
๑. ๑.
๒. ๒.
๓. ๓.
๔. ๔.
๕. ๕.
๖. ๖.
๗. ๗.
๘. ๘.
๙. ๙.
๑๐. ๑๐.

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๗๙

ใบความรูที่ ๙ เรื่อง การอานสรุปความ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง นิทานสอนใจ (๑)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การอานสรุปความ
การสรุปความ หมายถึง การรวบรวมนําใจความสําคัญของเรื่อง มาเรียบเรียงใหม
แบบสั้น ๆ โดยใชสํานวนภาษาของตนเองโดยครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด สรุปขอความ
ที่อานใหตรงกับจุดมุงหมายของเนื้อเรื่องที่ทําใหผูอานเขาใจ
วิธีอานสรุปความ
๑. อานเรื่องอยางคราว ๆ พรอมตั้งคําถามวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร และ
อยางไร
๒. อานเรื่องอีกครั้งอยางละเอียดเพื่อดูเนื้อหา สาระสําคัญของเรื่อง
๓. อานเพิ่มเติมจนกวาจะเขาใจเรื่อง
๔. สรุปใจความสําคัญของแตละยอหนาไว
๕. นําใจความความสําคัญมาเรียบเรียงใหมโดยใชสํานวนภาษาของตนเอง
๖. อานทบทวนการสรุปความอีกครั้ง เพื่อปรับแกใหสมบูรณ
หลักการสรุปความจากเรื่องที่อาน
๑. อ า นเนื้ อ เรื่ อ งที่ จ ะสรุ ป ความโดยให ค วามสํ า คั ญ กั บ ชื่ อ เรื่ อ ง และใช ก ารตั้ ง
คําถามวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไหร และอยางไร ชวยในการสรุปความ
๒. หาใจความสําคัญของแตละยอหนา
๓. นําใจความสําคัญมาเรียบเรียงใหมดวยภาษาของตนเอง
๔. อานทบทวนและแกไขเพื่อใหการสรุปความมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น
๒๘๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

นิทานเรื่อง หนูกรุงกับหนูบานนอก

หนูกรุงกับหนูบานนอกเปนญาติกัน วันหนึ่งหนูกรุงไปเยี่ยมหนูบานนอก
ในหมูบานชนบท หนูบานนอกเชิญใหเขาไปในบานหลังเล็ก ที่มืดทึม แตอยูกลาง
ทุงนาขาวและทุงหญาเขียวสะอาด อากาศบริสุทธิ์ หนูกรุงไมพอใจในความเปนอยู
และอาหารที่หนูบานนอกนํามาให “อาหารมีแตขาวโพด ขาวเปลือก ฉันไมชอบ
มีอยางอื่นอีกไหม” หนูกรุงบน “มีมะมวงอีกอยางดวยนะ” หนูบานนอกบอก
“เจาไมมีเนยแข็ง เนยเหลวบางหรือไง เนื้อสัตว เนื้อปลาเลา เจาเคยกิน
บางไหม” หนูกรุงถาม
“แฮะ...แฮะ...ไมมีหรอกพี่ ทั้งเนยแข็ง เนยเหลว” หนูบานนอกตอบเสียง
เบาๆ
“นี่ถามจริง ๆ เจาเคยลิ้มชิมรสขนมเคก หรือคุกกี้บางไหม” หนูกรุงซักตอ
“ไมเคยหรอกพี่ แตบางวันนะ ฉันจะมีผลไมสุกหอมหวานนานาชนิด เชน
กลวย มะมวง มะละกอ มาใหพี่ลิ้มรสเปรี้ยวหวาน พอหายอยาก และมีประโยชน
ตอรางกายทําใหดวงตาแจมใส มองเห็นไดถนัดชัดเจนยิ่งขึ้นดวยนะ” หนูบานนอก
อธิบาย
“ พี่ละเศราใจ เสียดายแทนเจาที่ไมมีโอกาสกินอาหารทีแ่ สนอรอย จําพวก
หมูแฮม ไกทอด หรือขนมปงปง อะไรทํานองนี้ เอาอยางนี้ไหม ไปกับพี่ ไปเที่ยว
บานพี่ในเมืองกรุงกัน แลวเจาจะเห็นเองวา ตึกรามบานชองในเมืองลวนใหญโต
มีตลาดใหญกวางขวาง อุดมสมบูรณดวยขาวปลาอาหารนานาชนิด มีหางสรรพสินคา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๘๑

สูงใหญหลายสิบชั้น ขายเสื้อผาแพรพรรณ สินคามากมาย ไปนะ” หนูกรุงชวน


หนูบานนอก
“ตกลง ฉันจะไปกับพี่” หนูบานนอกรีบรับคําเชิญ
ดวยเหตุนี้ หนูบานนอกจึงออกเดินทางไปกับหนูกรุงผูเปนญาติผูพี่ มุงหนา
สูเมืองกรุง จวบจนมืดค่ํายามกลางคืน จึงเขาสูใจกลางเมืองหลวง
“ หนวกหูจังเลย ทําไมมีแตเสียงเอะอะอึกทึกครึกโครม ปูด ๆ แปด ๆ
ดังสนั่นมาก ที่บานฉันยามค่ําคืนทุกอยางเงียบสงบ ไรเสียงอึกทึก” หนูบานนอกบน
“นั่นมันเสียงรถที่วิ่งไปมา ทั้งรถยนต รถโดยสาร และรถบรรทุก ผูคน
ในเมืองเขาทํางานและมีธุระตองเดินทางไปติดตอตลอดวันตลอดคืน จึงมีเสียงดัง
แบบนี้ตลอดเวลาไงละ” หนูกรุงพูดเลาใหฟง
หนูกรุงและหนูบานนอกพากันมาจนถึงบานใหญหลังหนึ่ง ที่มีแสงสวาง
จากหลอดไฟฟา มีอาหารมากมายวางอยูบนโตะ หนูกรุงยื่นเนยแข็ง ไกทอด
และหมูแฮมใหหนูบานนอกกิน ขณะที่ทั้งสองกําลังกินอาหารพลันสุนัขตัวมหึมา
๒ ตัวกระโจนเขามา หนูทั้งสองตัววิ่งหนีเขาไปในโพลงมืดมิด หนูบานนอกตกใจ
กลัวเนื้อตัวสั่นงันงกจนพูดไมออก หนูกรุงยื่นหนาบอกใหออกไปกินอาหารตอ
เพราะสุนัขไปแลว แตหนูบานนอกสายหนาและบอกวา “ไมเอาแลว กินอะไรไมลง
ฉันอยากกลับบาน ชีวิตที่นี่ไมปลอดภัยมีอันตรายรอบดาน ที่โนนสุขสบายกวา
เงียบสงบกวา ฉันขอลาไปกอนละ” จากนั้นหนูบานนอกจึงออกวิ่งกลับคืนสูบาน
ชนบทหลังเล็กอันสงบรมรื่นของตนทันที

(แหลงที่มา : ผูเขียน อาราเชลี มาราซีกัน วิลลามิน จากหนังสือเลานิทานใหหนู


ฟงหนอย. หนา ๙๕ – ๑๐๐ กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๑.)
๒๘๒ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๘ เรื่อง การอานสรุปความ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๙ เรื่อง นิทานสอนใจ (๑)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานนิทานที่ครูกําหนดพรอมทั้งสรุปเรื่องใหไดใจความ พรอมทั้ง


บอกขอคิดที่ไดจากเรื่อง

นิทานเรื่อง…………………………………………………………………………

วาดภาพประกอบ สรุปเรื่อง
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................
.............................................................

ขอคิดที่ไดรับ การนําขอคิดไปใชในชีวิตประจําวัน
.................................................................... ....................................................................
.................................................................... ....................................................................
.................................................................... ....................................................................
.................................................................... ....................................................................
.................................................................... ....................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๘๓

ใบความรูที่ ๑๐ เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่อง


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง นิทานสอนใจ (๒)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การวิเคราะหและเขียนอธิบายคุณคาจากเรื่องที่อาน
การวิเคราะห หมายถึง การพิจารณา และประเมินคา ซึ่งจะเกิดประโยชนตอ
ผูวิเคราะหในการนําไปแสดงความคิดเห็น อภิปรายขอเท็จจริงใหผูอื่นทราบ ดวยวาใคร
เปนผูแตง เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีประโยชนอยางไร ตอใครบาง ผูวิเคราะห มีความเห็น
อยางไร เรื่องที่อานมีคุณคาดานใดบางและแตละดาน สามารถนําไปประยุกต ใหเกิด
ประโยชนตอชีวิตประจําวันอยางไรบาง

คุณคาของวรรณกรรม โดยปกติจะวิเคราะหตามหัวขอตอไปนี้
๑) คุณคาดานวรรณศิลป คือ ความไพเราะของบทประพันธ ซึ่งอาจทําใหผูอาน
เกิดอารมณ ความรูสึกและจินตนาการตามรส ความหมายของถอยคําและภาษาที่ผูแตง
เลือกใชเพื่อใหมีความหมายกระทบใจผูอาน แนวการวิเคราะหคุณคา
๒) คุณคาดานเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธีนําเสนอ
๓) คุณคาดานสังคม วรรณคดีและวรรณกรรมจะสะทอนใหเห็นสภาพของสังคม
และวรรณคดีที่ดีสามารถจรรโลงสังคมไดอีกดวย
๔) คุณคาดานการนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ผูอานสามารถนําแนวคิด
และประสบการณจากเรื่องที่อานไปประยุกตใชหรือแกปญหาในชีวิตประจําวันได
๒๘๔ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบงานที่ ๙ เรื่อง การอธิบายคุณคาของเรื่อง


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๐ เรื่อง นิทานสอนใจ (๒)
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนอานนิทานที่ครูกําหนด จากนั้นใหนักเรียนบอกขอคิดที่ไดจากเรื่อง


และการนําขอคิดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

นิทาน เรือ่ ง ตนไมกับขวาน


ชายคนหนึ่งตองการจะเขาไปตัดไมในปาเพื่อนํามาสรางบานหลังใหม
แตดามขวานของเขาหัก ใชงานไมได เขาจึงตัดสินใจเดินทางไปในปาที่เต็ม
ไปดวยตนไมมากมาย และมาหยุดที่ตนไมใหญตนหนึ่ง พรอมกับพูดขึ้นวา
“ทานตนไม ขาขอสักกิ่งหนึ่งจากลําตนของทานไดหรือไม”
ตนไมใหญจึงขอคําแนะนําจากเพื่อน ๆ ตนไมตนหนึ่งจึงพูดวา “เจาให
กิ่งไมเล็ก ๆ เขาไปเถิด เขาจะไดไมมากวนพวกเราอีก”
ตนไมใหญเห็นดวย จึงมอบกิ่งไมเล็กใหชายผูนั้นไปหนึ่งกิ่ง วันตอมา
ชายคนนั้นไดนําเอากิ่งกิ่งไมไปทําเปนดามขวาน และเดินทางกลับมาในปา
พรอมกับโคนตนไมลงจนเกือบหมด
เมื่อตนไมใหญเห็นเชนนั้นจึงพูดขึ้นวา “ขาไมนึกเลยวาความเมตตา
ของขาจะเปนสิ่งที่นําหายนะมาสูพวกพอง”
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๘๕

๑. ขอคิดที่ไดจากเรื่อง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

๒. คุณคาที่ไดจากเรื่อง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๓. นําขอคิดที่ไดรับไปปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๒๘๖ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

นิทาน เรือ่ ง ลาโงกับจิ้งหรีด


ลาโงยืนกินหญา ที่ชายปาใตตนยาง
จิ้งหรีดมาตามทาง กรีดเสียงพลางเพราะจับใจ
ลาโงเห็นจิง้ หรีด ฟงมันกรีดรองเสียงใส
มันจึงเอยถามไป กินอะไรเสียงเพราะจัง
จิ้งหรีดรองตอบวา น้ําคางฟาที่ไหลหลัง่
ฉันดื่มเสียงจึงดัง ไพเราะฟงตองหลงใหล
ลาโงไดฟงคํา จึงจดจําทําเร็วไว
เสาะหาน้ําคางไพร เลียบนใบยอดหญากิน
ไมชาลาซูบผอม อกตรมตรอมแรงหมดสิ้น
แผหลาทีก่ ลางดิน จบชีวินเพราะโงเอย
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๘๗

๑. ขอคิดที่ไดจากเรื่อง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๒. คุณคาที่ไดจากเรื่อง
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
๓. นําขอคิดที่ไดรับไปปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................
..............................................................................................................................

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๘๘ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ใบความรูที่ ๑๑ เรื่อง การกรอกแบบรายการ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ใสใจกรอกแบบรายการ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

การกรอกแบบรายการ
หมายถึง การเขียนกรอกรายละเอียดตาง ๆ ลงในเอกสารแบบรายการ เพื่อให
เอกสารนั้นสมบูรณถูกตอง ตรงตามจุดประสงค ของผูจัดทําแบบรายการ

แบบรายการที่พบในชีวิตประจําวัน แบงออกเปน ๔ ประเภท ไดแก


๑. แบบรายการที่ใชในการติดตอกับหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เชน ใบสมัครงาน
ใบฝากเงิน ใบถอนเงิน
๒. แบบรายการที่ผูอื่นขอความรวมมือใหกรอก เชน แบบสอบถามความนิยมของ
ผูบริโภค
๓. แบบรายการที่ใชภายในองคกร เชน ใบสมัครสมาชิกหองสมุด แบบขออนุญาต
ออกนอกพื้นที่
๔. แบบรายการสัญญา สัญญาเปนเอกสารที่มีผลผูกพันทางกฎหมาย เชน สัญญา
ใหเชาอาคารสถานที่ สัญญาซื้อขาย

การกรอกแบบรายการมีแนวปฏิบัติ ดังนี้
๑. อานสํารวจเพื่อทราบวาแบบรายการนั้นมีขอมูลใดที่ตองการกรอกบาง
๒. เขียนขอมูลทีละรายการจนครบ
๓. สอบถามเจาหนาที่ หากไมเขาใจการกรอกบางรายการ
๔. อานทบทวนอีกครั้งวากรอกแบบรายการถูกตองครบถวนหรือไม
๕. เมื่อกรอกขอมูลสําคัญผิดพลาด เชน จํานวนเงิน อาจขีดฆาและเซ็นชื่อกํากับ
๖. ควรเขียนดวยลายมือที่อานงาย ใหขอมูลและภาษาที่ถูกตอง รวมทั้งไมทําให
แบบรายการเสียหาย เชน ยับ ฉีกขาด มีรอยขีดฆา
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๘๙

ใบงานที่ ๑๐ เรื่อง การกรอกแบบรายการ


หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๑ เรื่อง ใสใจกรอกแบบรายการ
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท๑๕๑๐๑ ภาคเรียนที่ ๒ ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

คําชี้แจง ใหนักเรียนกรอกแบบรายการตามที่กําหนดใหถูกตองสมบูรณ

แบบสํารวจขอมูลนักเรียนประจําปการศึกษา....................................................................................
โรงเรียน.............................................................................................................................................
ระดับชั้น อนุบาลปที่................ ประถมศึกษาปที่............. มัธยมศึกษาปที่.................

ขอมูลประจําตัวนักเรียน
ชื่อ........................................ นามสกุล......................................... ชื่อเลน.......................
เกิดวัน.......................ที.่ .................เดือน.........................................พ.ศ. .......................
หมูโ ลหิต.....................ศาสนา.....................เชื้อชาติ......................สัญชาติ......................
เลขประจําตัวประชาชน - - - -
ขอมูลที่อยูปจจุบันของนักเรียน
อยูตามลําพัง อยูกับผูปกครอง อยูกับองคกรในทองถิ่น (หนวยงาน มูลนิธิ วัด)
บานเลขที่...............หมูที่..................ตรอก/ซอย........................ถนน..............................
ตําบล/แขวง............................อําเภอ/เขต................................จังหวัด...........................
รหัสไปรษณีย......................... หมายเลขโทรศัพท...........................................................
อีเมล...............................................................................................................................
การเดินทาง
ระยะทางจากบานถึงโรงเรียน........................กิโลเมตร
สภาพเสนทาง (เชน ถนนลูกรัง ถนนลาดยาง).................................................................
เดินทางโดย ผูป กครองมาสง รถรับ-สงนักเรียน รถจักรยาน
มากับเพือ่ น/ผูปกครองเพื่อน ชื่อ...................................ชี้น.............
คาใชจา ยในการเดินทาง........................................บาท ตอ (วัน / เดือน / ภาคเรียน)
ใชเวลาในการเดินทาง...........................................นาที

ชื่อ.............................................นามสกุล..........................................ชั้น..........เลขที่.........
๒๙๐ ชุดกิจกรรมการเรียนรู สําหรับนักเรียน ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนที่ ๒ (ภาษาไทย ป.๕)

ชั้น ป.๕ ภาคเรียนที่ ๒

แบบประเมินตนเอง
ชื่อ : ___________________________ สกุล : ______________________ชั้น_____เลขที่ _____
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรือ่ ง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน

๑. ประเมินการเรียนรูของตนเอง
กาเครื่องหมาย  ในชองระดับความสามารถของแตละกิจกรรมที่นักเรียนคิดวาทําไดตามระดับการประเมินเหลานี้
ระดับความสามารถ : ดีมาก ดี คอนขางดี พอใช ปรับปรุง
ระดับความสามารถ
ที่ รายการ ดีมาก ดี คอน พอ ปรับ
ขางดี ใช ปรุง
๑ สรุปความรูจากเรื่องที่อาน
๒ กรอกแบบรายการตาง ๆ
๓ มีมารยาทในการฟงและดู
๔ วิเคราะหการใชคําภาษาตางประเทศ
๕ บอกหลักการอธิบายคุณคาจากเรื่องที่อาน

๒. สิ่งที่ฉนั ยังไมเขาใจ / ยังทําไดไมดี คือ…… (สามารถเขียนไดมากกวา ๑ อยาง)

…………………………………………….............................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................

๓. สิ่ งที่ฉันตัง้ ใจจะทําให้ดีขึน้ ในการเรียนหน่ วยต่อไป (สามารถเขียนไดมากกวา ๑

…………………………………………….............................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................
…………………………………………….............................................................................................................
หนวยการเรียนรูที่ ๑๔ เรื่อง วินิจคุณคาภาษาพาเพลิน ๒๙๑

ชั้น ป.๕ ปลายภาค


แบบบันทึกการเรียนรู (Learning log)

ชื่อ............................................สกุล.................................ชั้น.................เลขที่............
ประจํา :  กลางภาค  ปลายภาค  หนวยการเรียนรูที่.......
สิ่งหนึ่งที่ฉันไดเรียนรูจากการเรียนวิชานี้ในปลายภาคเรียน คือ ........................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

สิ่งที่ฉันชอบ / ทําไดดี ...................................................................................................


....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

สิ่งที่ฉันอยากจะบอกคุณครู คือ .....................................................................................


....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

ฉันนาจะเรียนรูไดดีกวานีห้ าก ........................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

สิ่งที่ฉันควรปรับปรุงตัวเองใหดีขึ้น คือ ...........................................................................


....................................................................................................................................
....................................................................................................................................

You might also like