Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 10

การใช้ยาพ่นและสูดทางปาก

จัดทำโดย

1.นายภูดิศ บันลือหาญ 6606994


2.นางสาวทรรศนีย์ เอมอยู่ 6600213
3.นางสาวนันท์นภัส สร้างการนอก 6602871
4.นางสาววรัญญา ดับปาล 6600118
5.นางสาววนิดา บุญปก 6600146
6.นางสาวภัทรสรณ์ ปานแย้ม 6600188
7.นางสาวกิตติมา ศักดิ์แสง 6606975
8.นางสาวณิชาภัทร รุ่งอุทัย 6606965
9.นางสาวอุ้มบุญ ปัญญาสิม 6607628
10.นางสาวกัญญ์วรา บุบผาเจริญ 6606973

เสนอ
อาจารย์

รายงานฉบับบนี้เป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชา
RSU 171 วิธีสุขภาพดีมีสุข
มหาวิทยาลัยรังสิต
คำนำ
รายงานเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็ นส่วนหนึ่งของวิชา RSU 171 วิธีสุขภาพดีมีสุข ชั้นปี ที่ 1 เพื่อ
ให้ได้ศึกษาหาความรู้ในเรื่อง การใช้ยาพ่นและสูดทางปาก และได้ ศึกษาอย่างเข้าใจเพื่อเป็ น
ประโยชน์กับการเรียน

ผู้จัดทำหวังว่ารายงานเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์กับผู้อ่าน หรือนักศึกษา ที่กำลังหาข้อมูลเรื่องนี้อยู่


หากมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรับไว้และขออภัยมา ณ ที่นี้ด้ วย

ผู้จัดทำ
วันที่ 4 ตุลาคม 2566
สารบัญ

เรื่อง หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทนำ 1
วิธีการใช้ยาพ่นคอ 2
เทคนิคและขั้นตอนการพ่นยาด้วยกระบอกพ่นยา 3
ขั้นตอนการใช้กระบอกพลยาร่วมกับหลอดอย่าพ่น 4
วิธีการทำความสะอาดกระบอกพ่นยา 5
บทสรุป 6
อ้างอิง 7
1

บทนำ

วัตถุประสงค์
โรคหอบหืดเป็ นโรคที่พบได้บ่อยและมีความสำคัญ การรักษาต้องอาศัยยาหลายชนิดที่สำคัญ
เช่น ยาสูด และพ่นที่ใช้เพื่อขยายหลอดลมและลดการอักเสบของหลอดลม ยาพ่นและสูดจึง
สำคัญสำหรับผู้ป่ วยที่เป็ นโรคทางหลอดลมอย่างมาก
การที่ผู้ป่ วยโรคหืดให้ความร่วมมือในการใช้ยาชนิดสูดพ่นเป็ นอย่างดี ส่งผงให้ควบคุมอาการ
หืดได้ ลดการเกิดกายใจล้มเหลว ลดการเข้ารักษาตัวที่โรงพยาบาลได้ และอัตราการเสียชีวิต
ของผู้ป่ วยโรคหอบหืดได้ และการใช้เครื่องมือทางการแพทย์ช่วยเหลือคนไข้ได้มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
2

วิธีการใช้ยาพ่นคอ Meterd-Doselnhaler
เทคนิคและขั้นตอนการพ่นคอโดยใช้
1. ถือหลอดพ่นยาในแนวตั้งเขย่ากระบอก 4-5 ครั้งก่อนใช้งาน
2. หายใจออกทางปากให้สุดเต็มที่
3. ถือกระบอกยาให้หายจากปากประมาณ 2 นิ้วมือ
4. กดกระบอกยา 1 ครั้งพร้อมกับหายใจเข้าช้าๆ และลึกๆ
5. ปิ ดปากและกั้นลมหายใจประมาณ 10 วินาที
6. เมื่อครบเวลาแล้วให้หายใจออกช้าๆ ทางปากหรือทางจมูกหากต้องการใช้น้ำยาซ้ำ ควรใช้
หลังจากสูดยาครั้งแรกไปแล้วประมาณ 1-2 นาที
*** หลังพ่นยาเสร็จเรียบร้อย กลั้วปากและคอด้วยน้ำสะอาดแล้วบ้วนทิ้งเพื่อลดอาการปาก
แห้ง เชื้อราในช่องปาก และการเกิดเสียงแหบ โดยเฉพาะจากการใช้ยาสเตียรอยด์
3

เทคนิคและขั้นตอนการพ่นยาด้วยกระบอกพ่นยา(Spacer)
กระบอกพ่นยา (spacer) คืออุปกรณ์ที่เป็ นท่อกลวง ใช้ต่อกับหลอดอย่าพ่นยาให้กับผู้ป่ วย
กระบอกพ่นยามีหลายรูปแบบ อาจเป็ นท่อต่อธรรมดาเพื่อเพิ่มระยะห่างระหว่างกระบอกยาพ่น
กับฝากครรภ์นั้น แต่ส่วนใหญ่ที่ใช้ในปัจจุบันนี้มักจะมีวาล์ว เพื่อป้ องกันไม่ให้ยากระจายออก
และเปิ ดให้ลมหายใจออกของผู้ป่ วยไม่เข้ามาปนกับยาอีก ผู้ป่ วยจึง ได้ยาเฉพาะเวลาสูดหายใจ
เข้าเท่านั้นละ

ประโยชน์ ของกระบอกพ่นยา
1. เพิ่มโอกาสที่ยาจะเข้าไปในปอดได้ดีขึ้น
2. ลดผลข้างเคียงที่เกิดจากยาตกค้างในปาก และกลืนลงไปในกระเพาะอาหาร
4

ขั้นตอนการใช้กระบอกพลยาร่วมกับหลอดอย่าพ่น
1. ซื้อหลอดยาในแนวตั้ง โดยให้ปากหลอดยาที่ม ครอบอยู่ด้านล่าง
2. เขย่าหลอดยาในแนวดิ่ง 5-10 ครั้ง
3. ต่อหลอดยาเข้ากับช่องเสียบกระบอก โดยให้หลอดยาอยู่ในแนวตั้ง และปากหลอดยา
อยู่ด้านล่างเสมอ
4. ครอบหน้ากากของกระบอกให้คลุมตั้งแต่จมูกและปากให้สนิทพอสมควร
5. กดหลอดยาอย่างแรงจนมีละอองยาเข้าไปในกระบอก 1 ครั้งและให้ผู้ป่ วยหายใจเข้า
ออกธรรมดาทันทีในขณะที่หน้ากากยังครอบสนิทอยู่ ในเด็กอาจใช้วิธีนับหายใจเข้าออก
10 ครั้ง โดยไม่ต้องการหายใจระหว่างนั้น แต่ให้สังเกตลักษณะการหายใจของผู้ป่ วย
6. กรณีที่ต้องใช้ยามากกว่า 1 กดให้รอประมาณ 1 นาที ก่อนใช้ยาพ่นกดครั้งที่ 2 และ
ปฏิบัติซ้ำตามขั้นตอนที่ 3-5
7. ถ้ายาพ่นเป็ นสเตียรอยด์ (steroid)ควรบ้วนปากหลังพ่นยาทุกครั้ง และล้างหรือเช็ด
ทำความสะอาดผิวหนังบริเวณจมูกและรอบปากที่ถูกครอบด้วยหน้ากาก
5

วิธีการทำความสะอาดกระบอกพ่นยา
1. ถอดชิ้นส่วนของก็บอกแยกออกจากกัน
2. ทำความสะอาดด้วยน้ำยาล้างจานหรือสบู่อ่อน โดยใช้น้ำ 1 ลิตร ต่อน้ำยาล้างจาน 1
หยด ห้ามขัดถูเพราะจะทำให้กระบอกคนอยากไปลอยคิดขวดและเกิดไฟฟ้ าสถิตที่ผนัง
ของกระบอก
3. หลังทำความสะอาดเรียบร้อยแล้วควรพึ่งให้แห้งโดยไม่ต้องล้างน้ำเปล่า โดยทั่วไปควร
ทำความสะอาดเมื่อกระบอกพ่นยาเปรอะเปื้อน หรือประมาณเดือนละ
6

บทสรุป
จากการศึกษาค้นคว้าการใช้ยาพ่นและสูดทางปาก พบว่าโรคหอบหืดเป็ นโรคที่พบได้บ่อยและ
มีความสำคัญ การรักษาต้องอาศัยยาหลายชนิดที่สำคัญการที่ผู้ป่ วยโรคหืดให้ความร่วมมือใน
การใช้ยาชนิดสูดพ่นเป็ นอย่างดี ส่งผงให้ควบคุมอาการหืดได้และมีเทคนิคการพ่นยาที่หลักการ
7

อ้างอิง
https://www.siphhospital.com/th/news/article/share/metered-dose-inhaler

HTTPS://YOUTU.BE/6JXRUPDMHKY?SI=NCW6AKBAOYRJGV05 (SIKARIN
HOSPITAL)

HTTPS://WWW.SIPHHOSPITAL.COM/TH/NEWS/ARTICLE/SHARE/METERED-DOSE-
INHALER (โรงพยาบาลศิริราช)
กันยายน 2566

HTTPS://PHARMACY.MAHIDOL.AC.TH/DIC/KNOWLEDGE_FULL.PHP?ID=54 (คลัง
ข้อมูลยา)
กันยายน 2566

HTTPS://CHULALONGKORNHOSPITAL.GO.TH/KCMH/LINE/6 (โรงพยาบาลจุฬาลง
การณ์)

HTTPS://THAICHESTJOURNAL.ORG/2019/08/27/INHALER/ (วารสารวัณโรค โรคทรวงอก


และเวชบําบัดวิกฤต)

You might also like