Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 15

คำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัส


วิชา ว 16101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ เวลา
80 ชั่วโมง / ปี

ศึกษาวิเคราะห์ สารอาหาร ประโยชน์ของสารอาหารแต่ละประเภทจากอาหารที่


ตนเองรับประทานเพื่อการเลือก รับประทานอาหารให้ได้สารอาหารครบถ้วนในสัดส่วน
ที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวมทั้งความปลอดภัยต่อสุขภาพ โดยมี แบบจำลอง ระบบ
ย่อยอาหาร อวัยวะในระบบย่อยอาหารมีหน้าที่สำหรับการย่อยอาหารและการดูดซึม
สารอาหาร ความสำคัญของระบบย่อยอาหาร การดูแลรักษาอวัยวะในระบบย่อยอาหาร
ให้ทำงานเป็ นปกติ มีการแยกสารผสม โดยการ หยิบออก การร่อน การใช้แม่เหล็กดึงดูด
การรินออก การกรอง และการตกตะกอน สามารถหาวิธีการแก้ปั ญหาใน ชีวิตประจ า
วันเกี่ยวกับการแยกสาร การเกิดผลของแรงไฟฟ้ าซึ่งเกิดจากวัตถุที่ผ่านการขัดถู จาก
ส่วนประกอบ หน้าที่ ของ วงจรไฟฟ้ าแต่ละส่วนอย่างง่าย โดยมีแผนภาพการต่อวงจร
ไฟฟ้ าแบบอนุกรมและแบบขนาน สามารถใช้การต่อหลอดไฟฟ้ า แบบอนุกรมและขนาน
ด้วยวิธีการที่เหมาะสม มีประโยชน์ ข้อจ ากัด ของการเกิดเงามืด เงามัว จากแผนภาพ
รังสีของแสงแสดง การเกิดเงามืดเงามัว จากแบบจำลองปรากฏการณ์สุริยุปราคา และ
จันทรุปราคา มีการพัฒนาของเทคโนโลยีอวกาศและการใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ส่วนกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร ดูจากแบบจำลองวัฏจักรหิน เพื่อ
หา ประโยชน์ของหินและแร่ในชีวิตประจ าวัน มีแบบจำลองการเกิดของซากดึกด า
บรรพ์สภาพแวดล้อมในอดีต ที่เกิดจากลมบก ลมทะเล และมรสุม จากแบบจำลอง
สามารถส่งผลต่อการเกิดของมรสุมในฤดูต่างๆ ของประเทศไทย เกิดผลกระทบของน้ำ
ท่วม การกัดเซาะชายฝั่ ง ดินถล่ม แผ่นดินไหว สึนามิ ร่วมถึงผลกระทบของภัยธรรมชาติ
และธรณีพิบัติภัย เพื่อหาแนวทางการ เฝ้ าระวังและปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากภัย
ธรรมชาติ จากแบบจำลองเพื่ออธิบายการเกิดและผลของปรากฏการณ์เรือนกระจก
กิจกรรมที่ก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจกที่มีทำให้เกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกลูกเห็บ ใช้
เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปั ญหา การทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปั ญหาอย่าง
ง่าย ออกแบบ และเขียน โปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือสื่อ และตรวจหาข้อ
ผิดพลาดและแก้ไขใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ รวบรวม ประเมิน นำเสนอข้อมูลและ
สารสนเทศ โดยใช้ซอฟต์แวร์ที่หลากหลาย เพื่อแก้ปั ญหาในชีวิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ อย่างปลอดภัย เข้าใจสิทธิและหน้าที่ของตน เคารพในสิทธิของผู้อื่น
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจ
สอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ และการ
อภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจสามารถสื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้ มีความ
สามารถในการตัดสินใจ เกิดการรับรู้ และเห็นคุณค่าของการน าความรู้ไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจ าวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสมที่พึง
ประสงค์ต่อการดำเนินชีวิตในปั จจุบัน

รหัสตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 1.2 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5
มาตรฐาน ว 2.1 ป.6/1
มาตรฐาน ว 2.2 ป.6/1
มาตรฐาน ว 2.3 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8
มาตรฐาน ว 3.1 ป.6/1 , ป.6/2
มาตรฐาน ว 3.2 ป.6/1 , ป.6/2 , ป.6/3 , ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 , ป.6/7 , ป.6/8 ,
ป.6/9
รวมจำนวน 26 ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รหัส
วิชา ว 16101
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 เวลา
เรียน 80 ชั่วโมง
ลำ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ เวลา น้ำ
ดับ การเรียน เรียนรู้/ตัวชี้วัด (ชั่วโ หนัก
ที่ รู้ มง) คะแ
นน
1 อาหาร ว 1.2 ป.6/1 - สารอาหารที่อยู่ในอาหารมี ๖ 15 15
และการ ระบุสาร อาหาร ประเภท ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต
ย่อย และบอกประโยชน์ โปรตีน ไขมัน เกลือแร่ วิตามิน
อาหาร ของสารอาหาร และน้ำ
แต่ละประ เภทจาก - อาหารแต่ละชนิดประกอบ
อาหารที่ตนเองรับ ด้วยสารอาหารที่แตกต่างกัน
ประทาน อาหารบางอย่างประกอบด้วย
ว 1.2 ป.6/2 สารอาหารประเภทเดียว
บอกแนวทางใน อาหารบางอย่างประกอบด้วย
การเลือกรับ สารอาหารมากกว่าหนึ่ง
ประทาน อาหารให้ ประเภท
ได้สารอาหารครบ - สารอาหารแต่ละประเภทมี
ถ้วนในสัดส่วนที่ ประโยชน์ต่อร่างกายแตกต่าง
เหมาะสมกับเพศ กัน โดยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน
และวัยรวมทั้ง และไขมันเป็ นสารอาหารที่ให้
ความปลอดภัยต่อ พลังงานแก่ร่างกาย ส่วนเกลือ
สุขภาพ แร่ วิตามิน และน้ำ เป็ นสาร
ว 1.2 ป.6/3 อาหารที่ไม่ให้พลังงานแก่
ตระหนักถึงความ ร่างกาย แต่ช่วยให้ร่างกาย
สำคัญของสาร ทำงานได้เป็ นปกติ
อาหารโดยการ - การรับประทานอาหารเพื่อให้
เลือกรับประทาน ร่างกายเจริญเติบโต มีการ
อาหารที่มีสาร เปลี่ยนแปลงของร่างกายตาม
อาหารครบ ถ้วนใน เพศและวัย และมีสุขภาพดี
สัดส่วนที่เหมาะสม จำเป็ นต้องรับประทานให้ได้
กับเพศ และวัย พลังงานเพียงพอกับความ
รวมทั้งปลอดภัยต่อ ต้องการของร่างกายและให้ได้
สุขภาพ สารอาหารครบถ้วน ในสัดส่วน
ว 1.2 ป.6/4 ที่เหมาะสมกับเพศและวัย รวม
สร้างแบบ จำลอง ทั้งต้องคำนึงถึงชนิดและ
ระบบย่อยอาหาร ปริมาณของวัตถุเจือปนใน
และบรรยายหน้าที่ อาหารเพื่อความปลอดภัยต่อ
ของอวัยวะใน สุขภาพ
ระบบย่อยอาหาร - ระบบย่อยอาหารประกอบ
รวมทั้งอธิบายการ ด้วยอวัยวะต่าง ๆ ได้แก่ ปาก
ย่อยอาหารและ หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
การดูดซึมสาร ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ ทวารหนัก
อาหาร ตับ และตับอ่อน ซึ่งทำหน้าที่
ว 1.2 ป.6/5 ร่วมกันในการย่อยและดูดซึม
ตระหนักถึงความ สารอาหาร
สำคัญของระบบ - อวัยวะต่าง ๆ ในระบบย่อย
ย่อยอาหาร บอก อาหารมีความสำคัญ จึงควร
แนวทางในการดูแล ปฏิบัติตน ดูแลรักษาอวัยวะให้
รักษาอวัยวะใน ทำงานเป็ นปกติ
ระบบย่อยอาหาร
ให้ทำงานเป็ นปกติ
2 การแยก ว 2.1 ป.6/1 - สารผสมประกอบด้วยสาร 10 10
สารเนื้อ อธิบายและเปรียบ ตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไปผสมกัน
ผสม เทียบการแยกสาร เช่น น้ำมันผสมน้ำ ข้าวสารปน
ผสมโดยการหยิบ กรวดทราย วิธีการที่เหมาะ
ออก การร่อน การ สมในการแยกสารผสมขึ้นอยู่กับ
ใช้แม่เหล็กดึงดูด ลักษณะและสมบัติของสารที่
การรินออก การก ผสมกัน ถ้าองค์ประกอบของ
รอง การตกตะกอน สารผสมเป็ นของแข็งกับ
โดยใช้หลักฐานเชิง ของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกัน
ประจักษ์ รวมทั้ง อย่างชัดเจน อาจใช้วิธีการหยิบ
ระบุวิธีแก้ปั ญหาใน ออกหรือการร่อนผ่านวัสดุที่มีรู
ชีวิตประจำวันเกี่ยว ถ้ามีสารใดสารหนึ่งเป็ นสารแม่
กับการแยกสาร เหล็กอาจใช้วิธีการใช้แม่เหล็ก
ดึงดูดถ้าองค์ประกอบเป็ น
ของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลว
อาจใช้วิธีการรินออก การกรอง
หรือการตกตะกอน ซึ่งวิธีการ
แยกสารสามารถนำไปใช้
ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้
3 หินและ ว 3.2 ป.6/1 - หินเป็ นวัสดุแข็งเกิดขึ้นเอง 15 15
ซากดึกดำ เปรียบเทียบ ตามธรรมชาติประกอบด้วยแร่
บรรพ์ กระบวนการเกิด ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป สามารถ
หินอัคนี จำแนกหินตามกระบวนการเกิด
หินตะกอน และ ได้เป็ น ๓ ประเภท ได้แก่
หินแปร และ หินอัคนี หินตะกอน และ
อธิบาย หินแปร
วัฏจักรหินจากแบบ - หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัว
จำลอง ของแมกมา เนื้อหิน มีลักษณะ
ว 3.2 ป.6/2 เป็ นผลึก ทั้งผลึกขนาดใหญ่และ
บรรยายและยก ขนาดเล็ก บางชนิดอาจเป็ นเนื้อ
ตัวอย่างการใช้ แก้วหรือมีรูพรุน
ประโยชน์ของหิน - หินตะกอน เกิดจากการทับถม
และแร่ในชีวิต ของตะกอนเมื่อถูกแรงกดทับ
ประจำวันจาก และมีสารเชื่อมประสานจึงเกิด
ข้อมูลที่รวบรวมได้ เป็ นหินเนื้อหินกลุ่มนี้ส่วนใหญ่มี
ว 3.2 ป.6/3 ลักษณะเป็ นเม็ดตะกอนมีทั้ง
สร้างแบบ จำลองที่ เนื้อหยาบและเนื้อละเอียดบาง
อธิบายการเกิด ชนิดเป็ นเนื้อผลึกที่ยึดเกาะกัน
ซากดึกดำบรรพ์ เกิดจากการตกผลึกหรือตก
และคาด คะเน ตะกอน จากน้ำโดยเฉพาะน้ำ
สภาพ แวดล้อมใน ทะเล บางชนิดมีลักษณะ เป็ น
อดีตของ ชั้น ๆ จึงเรียกอีกชื่อว่า หินชั้น
ซากดึกดำบรรพ์ - หินแปร เกิดจากการแปร
สภาพของหินเดิม ซึ่งอาจเป็ น
หินอัคนี หินตะกอน หรือ
หินแปร โดยการกระทำของ
ความร้อน ความดัน และ
ปฏิกิริยาเคมี เนื้อหินของ
หินแปรบางชนิดผลึกของแร่
เรียงตัวขนานกัน เป็ นแถบ บาง
ชนิดแซะออกเป็ นแผ่นได้ บาง
ชนิดเป็ นเนื้อผลึกที่มีความแข็ง
มาก
- หินในธรรมชาติทั้ง ๓ ประเภท
มีการเปลี่ยนแปลง จากประเภท
หนึ่งไปเป็ นอีกประเภทหนึ่ง
หรือประเภทเดิมได้ โดยมีแบบ
รูปการเปลี่ยนแปลงคงที่และต่อ
เนื่องเป็ นวัฏจักร
- หินและแร่แต่ละชนิดมี
ลักษณะและสมบัติแตกต่างกัน
มนุษย์ใช้ประโยชน์จากแร่ใน
ชีวิตประจำวัน ในลักษณะต่าง
ๆ เช่น นำแร่มาทำเครื่องสำอาง
ยาสีฟั นเครื่องประดับ อุปกรณ์
ทางการแพทย์ และนำหินมาใช้
ในงานก่อสร้างต่าง ๆ เป็ นต้น
- รอยของสิ่งมีชีวิตในอดีต จน
เกิดเป็ นโครงสร้างของซากหรือ
ร่องรอยของสิ่งมีชีวิตที่ปรากฏ
อยู่ในหินในประเทศไทยพบ
ซากดึกดำบรรพ์ที่หลากหลาย
- ซากดึกดำบรรพ์สามารถใช้
เป็ นหลักฐานหนึ่งที่ช่วยอธิบาย
สภาพแวดล้อมของพื้นที่ในอดีต
ขณะเกิดสิ่งมีชีวิตนั้น เช่น หาก
พบซากดึกดำบรรพ์ของ หอยน้ำ
จืด สภาพแวดล้อมบริเวณนั้น
อาจเคยเป็ นแหล่งน้าจืดมาก่อน
และหากพบซากดึกดำบรรพ์
ของพืช สภาพแวดล้อมบริเวณ
นั้นอาจเคยเป็ นป่ ามาก่อน
นอกจากนี้ซากดึกดำบรรพ์ยัง
สามารถใช้ระบุอายุของหิน และ
เป็ นข้อมูลในการศึกษา
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

4 แรงไฟฟ้ า ว 2.2 ป.6/1 - วัตถุ ๒ ชนิดที่ผ่านการขัดถู 15 15


และไฟฟ้ า อธิบายการเกิดและ แล้ว เมื่อนำเข้าใกล้กันอาจ
ผลของแรงไฟฟ้ าซึ่ง ดึงดูดหรือผลักกัน แรงที่เกิดขึ้น
เกิดจากวัตถุที่ผ่าน นี้เป็ นแรงไฟฟ้ า ซึ่งเป็ นแรงไม่
การขัดถูโดยใช้หลัก สัมผัส เกิดขึ้นระหว่างวัตถุที่มี
ฐานเชิงประจักษ์ ประจุไฟฟ้ า ซึ่งประจุไฟฟ้ ามี ๒
ว 2.3 ป.6/1 ชนิด คือ ประจุไฟฟ้ าบวกและ
ระบุส่วนประกอบ ประจุไฟฟ้ าลบ วัตถุที่มี
และบรรยายหน้าที่ ประจุไฟฟ้ าชนิดเดียวกันผลัก
ของแต่ละส่วน กัน ชนิดตรงข้ามกันดึงดูดกัน
ประกอบของวงจร - วงจรไฟฟ้ าอย่างง่ายประกอบ
ไฟฟ้ าอย่างง่ายจาก ด้วย แหล่งกำเนิดไฟฟ้ าสาย
หลักฐานเชิง ไฟฟ้ า และเครื่องใช้ไฟฟ้ าหรือ
ประจักษ์ อุปกรณ์ไฟฟ้ าแหล่งกำเนิดไฟฟ้ า
ว 2.3 ป.6/2 เช่น ถ่านไฟฉาย หรือแบตเตอรี่
เขียนแผนภาพและ ทำหน้าที่ให้พลังงานไฟฟ้ า สาย
ต่อวงจรไฟฟ้ าอย่าง ไฟฟ้ าเป็ นตัวนำไฟฟ้ าทาหน้าที่
ง่าย เชื่อมต่อระหว่างแหล่งกำเนิด
ว 2.3 ป.6/3 ไฟฟ้ าและเครื่องใช้ไฟฟ้ าเข้า
ออกแบบการ ด้วยกันเครื่องใช้ไฟฟ้ ามีหน้าที่
ทดลองและทดลอง เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ น
ด้วยวิธีที่เหมาะ พลังงานอื่น
สมในการอธิบายวิธี - เมื่อนำเซลล์ไฟฟ้ าหลายเซลล์
การและผลของการ มาต่อเรียงกัน โดยให้ขั้วบวก
ต่อเซลล์ไฟฟ้ าแบบ ของเซลล์ไฟฟ้ าเซลล์หนึ่งต่อกับ
อนุกรม ขั้วลบของอีกเซลล์หนึ่งเป็ นการ
ว 2.3 ป.6/4 ต่อแบบอนุกรม ทำให้มีพลังงาน
ตระหนักถึง ไฟฟ้ าเหมาะสมกับเครื่องใช้
ประโยชน์ของ ไฟฟ้ า ซึ่งการต่อเซลล์ไฟฟ้ า
ความรู้ของการต่อ แบบอนุกรมสามารถนำไปใช้
เซลล์ ไฟฟ้ าแบบ ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน
อนุกรมโดยบอก เช่น การต่อเซลล์ไฟฟ้ าใน
ประโยชน์และการ ไฟฉาย
ประยุกต์ใช้ในชีวิต - การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบ
ประจำวัน อนุกรมเมื่อถอดหลอดไฟฟ้ าดวง
ว 2.3 ป.6/5 ใดดวงหนึ่งออกทำให้หลอด
ออกแบบการ ไฟฟ้ าที่เหลือดับทั้งหมด ส่วน
ทดลองและทดลอง การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
ด้วยวิธีที่เหมาะ เมื่อถอดหลอดไฟฟ้ าดวงใดดวง
สมในการอธิบาย หนึ่งออก หลอดไฟฟ้ าที่เหลือก็
การต่อหลอดไฟฟ้ า ยังสว่างได้ การต่อหลอดไฟฟ้ า
แบบอนุกรมและ แต่ละแบบสามารถนำไปใช้
แบบขนาน ประโยชน์ได้ เช่น การต่อหลอด
ว 2.3 ป.6/6 ไฟฟ้ าหลายดวงในบ้านจึงต้อง
ตระหนักถึง ต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน เพื่อ
ประโยชน์ของ เลือกใช้หลอดไฟฟ้ าดวงใดดวง
ความรู้ของการต่อ หนึ่งได้ตามต้องการ
หลอดไฟฟ้ าแบบ
อนุกรมและแบบ
ขนาน โดยบอก
ประโยชน์ ข้อจำกัด
และการประยุกต์
ใช้ในชีวิตประจำวัน
5 เงา อุป ว 2.3 ป.6/7 - เมื่อนำวัตถุทึบแสงมากั้นแสง 10 10
ราคา อธิบายการเกิด จะเกิดเงาบนฉากรับแสงที่อยู่
และ เงามืดเงามัวจาก ด้านหลังวัตถุ โดยเงามีรูปร่าง
เทคโนโล หลักฐานเชิง คล้ายวัตถุที่ทาให้เกิดเงา เงามัว
ยีอวกาศ ประจักษ์ เป็ นบริเวณที่มีแสงบางส่วน
ว 2.3 ป.6/8 ตกลงบนฉาก ส่วนเงามืดเป็ น
เขียนแผนภาพรังสี บริเวณที่ไม่มีแสงตกลงบนฉาก
ของแสงแสดงการ เลย
เกิดเงามืดเงามัว - เมื่อโลกและดวงจันทร์ โคจร
ว 3.1 ป.6/1 มาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
สร้างแบบจำลองที่ กับดวงอาทิตย์ในระยะทางที่
อธิบายการเกิดและ เหมาะสมทำให้ดวงจันทร์บัง
เปรียบเทียบ ดวงอาทิตย์ เงาของดวงจันทร์
ปรากฏการณ์ ทอดมายังโลก ผู้สังเกตที่อยู่
สุริยุปราคาและ บริเวณเงาจะมองเห็นดวง
จันทรุปราคา อาทิตย์มืดไป เกิดปรากฏการณ์
ว 3.1 ป.6/2 สุริยุปราคาซึ่งมีทั้งสุริยุปราคา
อธิบายพัฒนาการ เต็มดวง สุริยุปราคาบางส่วน
ของเทคโนโลยี และสุริยุปราคาวงแหวน
อวกาศและยก - หากดวงจันทร์และโลกโคจร
ตัวอย่างการนำ มาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน
เทคโนโลยีอวกาศ กับดวงอาทิตย์ แล้วดวงจันทร์
มาใช้ประโยชน์ใน เคลื่อนที่ผ่านเงาของโลก จะ
ชีวิตประจำ วันจาก มองเห็นดวงจันทร์มืดไปเกิด
ข้อมูลที่รวบรวมได้ ปรากฏการณ์จันทรุปราคา ซึ่งมี
ทั้งจันทรุปราคาเต็มดวง และ
จันทรุปราคาบางส่วน
- เทคโนโลยีอวกาศเริ่มจาก
ความต้องการของมนุษย์ในการ
สำรวจวัตถุท้องฟ้ าโดยใช้ตา
เปล่ากล้องโทรทรรศน์ และได้
พัฒนาไปสู่การขนส่งเพื่อสำรวจ
อวกาศด้วยจรวดและยานขนส่ง
อวกาศและยังคงพัฒนาอย่างต่อ
เนื่อง ปั จจุบันมีการนำ
เทคโนโลยีอวกาศบางประเภท
มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
เช่น การใช้ดาวเทียมเพื่อการ
สื่อสาร การพยากรณ์อากาศ
หรือการสำรวจ
ทรัพยากรธรรมชาติ การใช้
อุปกรณ์วัดชีพจรและการเต้น
ของหัวใจ หมวกนิรภัย ชุดกีฬา
6 ปรากฏกา ว 3.2 ป.6/4 - ลมบก ลมทะเล และมรสุม 15 15
รณ์ของ เปรียบเทียบการ เกิดจากพื้นดินและพื้นน้ำร้อน
โลกและ เกิดลมบก ลมทะเล และเย็นไม่เท่ากันทำให้อุณหภูมิ
ภัย และมรสุม รวมทั้ง อากาศเหนือพื้นดินและพื้นน้ำ
ธรรมชาติ อธิบายผลที่มีต่อสิ่ง แตกต่างกัน จึงเกิดการเคลื่อนที่
มีชีวิตและสิ่ง ของอากาศจากบริเวณที่มี
แวดล้อมจากแบบ อุณหภูมิต่ำไปยังบริเวณที่มี
จำลอง อุณหภูมิสูง
ว 3.2 ป.6/5 - ลมบกและลมทะเลเป็ นลม
อธิบายผลของ ประจำถิ่นที่พบบริเวณชายฝั่ ง
มรสุมต่อการเกิด โดยลมบกเกิดในเวลากลางคืน
ฤดูของ ทำให้มีลมพัดจากชายฝั่ งไปสู่
ประเทศไทยจาก ทะเล ส่วนลมทะเลเกิดในเวลา
ข้อมูลที่รวบรวมได้ กลางวันทำให้มีลมพัดจากทะเล
เข้าสู่ชายฝั่ ง
- มรสุมเป็ นลมประจาฤดูเกิด
บริเวณเขตร้อนของโลก ซึ่งเป็ น
บริเวณกว้างระดับภูมิภาค
ว 3.2 ป.6/6 ประเทศไทยได้รับผลจากมรสุม
บรรยายลักษณะ ตะวันออกเฉียงเหนือ ในช่วง
และผลกระทบของ ประมาณกลางเดือนตุลาคม
น้ำท่วม การกัด จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ทำให้เกิด
เซาะชายฝั่ ง ดิน ฤดูหนาว และได้รับผลจาก
ถล่ม แผ่นดินไหว สึ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ในช่วง
นามิ ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม
ว 3.2 ป.6/7 จนถึงกลางเดือน
ตระหนักถึงผลกระ ตุลาคมทำให้เกิดฤดูฝน ส่วน
ทบของภัย ช่วงประมาณกลางเดือน
ธรรมชาติและธรณี กุมภาพันธ์จนถึงกลางเดือน
พิบัติภัย โดยนำ พฤษภาคม เป็ นช่วงเปลี่ยน
เสนอแนวทางใน มรสุม และประเทศไทยอยู่ใกล้
การเฝ้ าระวังและ เส้นศูนย์สูตรแสงอาทิตย์เกือบ
ปฏิบัติตนให้ ตั้งตรงและตั้งตรงประเทศไทย
ปลอดภัยจากภัย ในเวลาเที่ยงวันทำให้ได้รับ
ธรรมชาติและธรณี ความร้อนจากดวงอาทิตย์อย่าง
พิบัติภัยที่อาจเกิด เต็มที่ อากาศจึงร้อนอบอ้าว
ในท้องถิ่น ทำให้เกิดฤดูร้อน
ว 3.2 ป.6/8 - น้ำท่วม การกัดเซาะชายฝั่ ง
สร้างแบบจำลองที่ ดินถล่ม แผ่นดินไหวและสึนามิ
อธิบายการเกิด มีผลกระทบต่อชีวิตและสิ่ง
ปรากฏการณ์เรือน แวดล้อมแตกต่างกัน
กระจกและผลของ - มนุษย์ควรเรียนรู้วิธีปฏิบัติตน
ปรากฏการณ์เรือน ให้ปลอดภัย เช่น ติดตาม
กระจกต่อสิ่งมีชีวิต ข่าวสารอย่างสม่ำเสมอ เตรียม
ว 3.2 ป.6/9 ถุงยังชีพให้พร้อมใช้ตลอดเวลา
ตระหนักถึงผลกระ และปฏิบัติตามคำสั่งของผู้
ทบของ ปกครองและเจ้าหน้าที่อย่าง
ปรากฏการณ์เรือน เคร่งครัดเมื่อเกิดภัยธรรมชาติ
กระจกโดยนำเสนอ และธรณีพิบัติภัย
แนวทางการปฏิบัติ - ปรากฏการณ์เรือนกระจกเกิด
ตนเพื่อลดกิจกรรม จากแก๊สเรือนกระจกในชั้น
ที่ก่อให้เกิดแก๊ส บรรยากาศของโลกกักเก็บความ
เรือนกระจก ร้อนแล้วคายความร้อนบางส่วน
กลับสู่ผิวโลก ทาให้อากาศบน
โลกมีอุณหภูมิเหมาะสมต่อการ
ดำรงชีวิต
- หากปรากฏการณ์เรือนกระจก
รุนแรงมากขึ้น จะมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
มนุษย์จึงควรร่วมกันลดกิจกรรม
ที่ก่อให้เกิดแก๊สเรือนกระจก

ระหว่างเรียน 80 80
สอบปลายปี 20
รวมทั้งหมด 100

You might also like