เอกสารประกอบการสอนปี 66 231101 011644

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 196

ตัวแปรเชิงซ้อน

Complex Variables

w = z2

สมถวิล ขันเขตต์
คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
แผนการสอน (Course Outline)
ชื่อวิชา 4093403 ตัวแปรเชิงซ้อน ชั้นปีที่ 3-4 ระดับปริญญาตรี หน่วยกิต 3(3-0-6)
สอนโดย ผศ.ดร.สมถวิล ขันเขตต์ ติดต่อได้ที่ ห้องพักอาจารย์ ชั้น 2 ตึก 3 คณะวิทยาศาสตร์ โทร.086-3230121
วิชาบังคับที่ต้องเรียนก่อน : ไม่มี
คำอธิบายรายวิชา
ระบบจำนวนเชิงซ้อน การหาอนุพันธ์ การหาปริพันธ์ ทฤษฎีบทของโคชี สูตรปริพันธ์ของโคชี อนุกรมเท
เลอร์ และอนุกรมเลอรองต์ ทฤษฎีบทส่วนตกค้างและการประยุกต์ การส่งคงรูป
วัตถุประสงค์
1. นักศึกษามีความซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัย และมีจิตอาสา
2. นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับตัวแปรเชิงซ้อนเพื่อนำมาอธิบายหลักการและทฤษฎีในศาสตร์ต่าง ๆ ได้
3. นักศึกษาสามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ มีเหตุผลตามหลักวิชาการ
4. นักศึกษามีภาวะความเป็นผู้นำและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
5. นักศึกษาสามารถสื่อสาร หรืออธิบายความรู้เกี่ยวกับตัวแปรเชิงซ้อนได้
สัปดาห์ที่ จำนวนคาบ หัวข้อการสอน หมายเหตุ
1 3 แจกแผนการสอนและชี้แจงรายวิชา
2-4 9 บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน สอบย่อย ครั้งที่ 1
5-7 9 บทที่ 2 ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน สอบย่อย ครั้งที่ 2
8-10 9 บทที่ 3 การหาปริพันธ์บนระนาบเชิงซ้อน สอบย่อย ครั้งที่ 3
11-13 9 บทที่ 4 ลำดับและอนุกรมในระนาบเชิงซ้อน
14-16 9 บทที่ 5 วิธีหาประพันธ์โดยใช้ส่วนตกค้าง
สอบปลายภาค ( บทที่ 4 – 5 )
เกณฑ์การเก็บคะแนน 65% : 35%
คะแนนเก็บระหว่างภาค 65% คะแนนสอบปลายภาค 35%
คะแนนสอบย่อยบทที่ 1 10%
คะแนนสอบย่อยบทที่ 2 10%
คะแนนสอบย่อยบทที่ 3 15%
คะแนนแบบฝึกหัด 10%
คะแนนเข้าเรียน + จิตสาอา 20%
เกณฑ์การประเมินผล คะแนน 73 – 79 ได้ B+ คะแนน 80 – 100 ได้ A
คะแนน 58 – 65 ได้ C+ คะแนน 66 – 72 ได้ A
คะแนน 43 – 49 ได้ D+ คะแนน 50 – 57 ได้ C
คะแนน 0 – 35 ได้ E คะแนน 36 – 42 ได้ D

คำนำ

ตำราเล่มนี้ได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อใช้เป็นตำราประกอบการสอนรายวิชา 4094410 ตัวแปรเชิงซ้อน


ของนั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 3 หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าคณิ ต ศาสตร์ คณะวิ ท ยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยที่นักศึกษาทุกคนควรมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับแคลคูลัสของฟังก์ชัน
ค่าจริงมาเป็นอย่างดี เนื้อหาในเล่มมีทั้งหมด 6 บท
บทที่ 1 เป็นการทบทวนบทนิยามและทฤษฎีบทต่าง ๆ ของจำนวนเชิงซ้อน ตลอดจนรูปแบบของ
จำนวนเชิงซ้อ น ในบทที่ 2 จะกล่ าวถึ งฟั งก์ชั น ชนิ ด ต่างๆของตั ว แปรเชิ งซ้ อน สมบั ติ การเป็ น ฟั งก์ชั น
ต่อเนื่อง และการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน บทที่ 3 จะกล่าวถึงการหาปริพันธ์บนระนาบเชิงซ้อนในรูปแบบ
ต่างๆ บทที่ 4 จะกล่าวถึงลำดับและอนุกรมของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน การตรวจสอบการลู่เข้า และการ
หาอนุกรมกำลังที่สำคัญ ในบทที่ 5 เป็นการศึกษาถึงอนุกรมกำลังที่นำมาใช้ในการหาปริพันธ์ที่เรียกว่า
ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง และในบทที่ 6 เป็นเรื่องการส่งคงรูปและการส่งของฟังก์ชันรูปแบบต่าง ๆ ในแต่ละ
บทผลลัพธ์ที่สำคัญจะรวบรวมไว้เป็นทฤษฎีบทและพิสูจน์ให้ดูอ ย่างละเอียด นอกจากทฤษฎีบทที่กว้างเกิน
ขอบเขตก็จะละไว้ แต่สามารถค้น คว้าได้จากหนังสืออ้างอิง นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างประกอบทฤษฎีบท
ต่างๆ และแบบฝึกหัดมากพอที่นักศึกษาจะสามารถทำความเข้าใจกับเรื่องนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี
ผู้เรียบเรียงหวังว่าตำราเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ และช่วยให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจในรายวิชานี้ดี
ยิ่งขึ้น อนึ่งตำราตัวแปรเชิงซ้อนเล่มนี้จะไม่สามารถสำเร็จลุล่วงได้หากขาดซึ่งตำราที่นำมาใช้ประกอบดัง
เอกสารอ้างอิงในเล่ม ผู้เรียบเรียงจึงขอขอบพระคุณเจ้าของตำราทุกเล่มเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้

สมถวิล ขันเขตต์
2558

สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน 1
1.1 จำนวนเชิงซ้อน 1
1.2 การดำเนินการของจำนวนเชิงซ้อน 2
1.3 จำนวนเชิงซ้อนในรูปแบบเชิงขั้ว 6
1.4 รากของจำนวนเชิงซ้อน 14
1.5 สรุป 18
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1 19

บทที่ 2 ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน 21
2.1 ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน 21
2.2 ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนเบื้องต้น 26
2.3 การส่ง 37
2.4 เซตในระนาบเชิงซ้อน 39
2.5 ลิมิตและความต่อเนื่อง 48
2.6 อนุพันธ์ของฟังก์ชันเชิงซ้อน 53
2.7 ฟังก์ชันวิเคราะห์และสมการโคชี – รีมันน์ 56
2.8 สรุป 62
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 63

บทที่ 3 การหาปริพันธ์บนระนาบเชิงซ้อน 65
3.1 บทนำ 65
3.2 ปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน 68
3.3 ปริพันธ์ตามเส้นเชิงซ้อน 70
3.4 การหาปริพันธ์เชิงซ้อน 76
3.5 อนุพันธ์ของฟังก์ชันวิเคราะห์ 99
3.6 สรุป 102
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3 103

สารบัญ (ต่อ)
หน้า

บทที่ 4 ลำดับและอนุกรมในระนาบเชิงซ้อน 107


4.1 ลำดับของฟังก์ชัน 107
4.2 อนุกรมของฟังก์ชัน 110
4.3 อนุกรมกำลังของฟังก์ชันพื้นฐาน 120
4.4 การหาอนุกรมกำลังของฟังก์ชันอื่น ๆ 126
4.5 อนุกรมโลรองต์ 128
4.6 สรุป 132
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 133

บทที่ 5 วิธีหาปริพันธ์โดยใช้ส่วนตกค้าง 135


5.1 ส่วนตกค้าง 135
5.2 ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง 144
5.3 การหาค่าปริพันธ์จำกัดเขต 148
5.4 สรุป 162
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 163

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท 165
บรรณานุกรม 173
บทที่ 1
จำนวนเชิงซ้อน

ในการหาคำตอบของสมการพหุนามกำลังสอง พบว่ามีสมการจำนวนมากที่ไม่ สามารถหา


คำตอบในรูปของจำนวนจริงได้ เช่น
x2 + 1 = 0
หรือ x 2 = −1

ด้วยเหตุผ ลนี้ นั กคณิ ตศาสตร์จึ งต้องขยายระบบจำนวนขึ้น อีกเพื่ อให้ ส มการดังกล่ าวสามารถหา


คำตอบได้ เรียกจำนวนที่สร้างขึ้นใหม่ว่า จำนวนเชิงซ้อน (Complex number)

1.1 จำนวนเชิงซ้อน
บทนิยาม 1.1 จำนวนเชิงซ้อน คือ จำนวนที่เขียนอยู่ในรูป a + bi หรือ a + ib
เมื่อ a , b เป็นจำนวนจริง และ i = −1 หรือ i 2 = −1
นั่นคือ ถ้า z = a + bi

เรียก a ว่า ส่วนจริง (real part) ของ z เขียนแทนด้วย Re( z ) นั่นคือ Re( z ) = a

เรียก ว่า ส่วนจินตภาพ (imaginary part) ของ z เขียนแทนด้วย Im( z ) นั่นคือ Im( z ) = b
b
ถ้า a = 0 แล้ว z = a + bi = 0 + bi = bi เรียกว่า จำนวนจินตภาพแท้ (pure imaginary
number)
ถ้า b = 0 แล้ว z = a + bi = a + 0i = a เป็นจำนวนจริง
ถ้า a = 0 และ b = 0 แล้ว z = 0 + 0i เขียนแทนด้วย 0 นั่นคือ 0 = 0 + 0i
ตัวอย่างจำนวนเชิงซ้อน เช่น z = 3 − 4i จะมี Re(3 − 4i ) = 3 และ
Im(3 − 4i ) = − 4

นอกจากนีจ้ ำนวนเชิงซ้อน z = a + bi สามารถแทนด้วยจุด (a, b) บนระนาบ xy ได้ดังภาพ 1.1


y

b ( a , b ) = a + bi

x
0 a

ภาพที่ 1.1 จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi บนระนาบ xy


แกน x เรียกว่า แกนจริง (real axis)
แกน y เรียกว่า แกนจินตภาพ (imaginary axis)
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 2

ระนาบ xy เรียกว่า ระนาบเชิงซ้อน (complex plane)


ดังนั้น จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi เขียนอีกรูปแบบคือ z = ( a , b )

บทนิยาม 1.2 ให้ z = a + bi เป็นจำนวนเชิงซ้อน เราเรียกจำนวนเชิงซ้อน a − bi ว่าเป็นจำนวน


เชิงซ้อนสังยุค (conjugate complex number) ของ z เขียนแทนด้วย z

นั่นคือ z = a + bi = a − bi

ตัวอย่างเช่น 3 − 4i = 3 + 4 i

−2 + i = − 2 − i

บทนิยาม 1.3 จำนวนเชิงซ้อนสองจำนวนเท่ากัน ก็ต่อเมื่อ ส่วนจริงเท่ากันและส่วนจินตภาพเท่ากัน


นั่นคือ ให้ z1 = a + bi และ z2 = c + di เป็นจำนวนเชิงซ้อน จะได้ว่า
z1 = z 2 ก็ต่อเมื่อ a=c และ b=d

ข้อสังเกต การเปรียบเทียบจำนวนเชิงซ้อน กระทำได้เฉพาะบอกว่าจำนวนเชิงซ้อนทั้งสองเท่ากัน


หรือไม่เท่ากันเท่านั้น ไม่สามารถเปรียบเทียบได้ในรูป z1  z2 หรือ z1  z2

1.2 การดำเนินการของจำนวนเชิงซ้อน
บทนิยาม 1.4 การบวกจำนวนเชิงซ้อน
ผลบวกของสองจำนวนเชิงซ้อน z1 = a + bi และ z2 = c + di เขียนแทนด้วย z1 + z 2
คือ จำนวนเชิงซ้อนซึ่งนิยามโดยสมการ
z1 + z2 = ( a + c ) + (b + d )i

บทนิยาม 1.5 การลบจำนวนเชิงซ้อน


ผลต่างของสองจำนวนเชิงซ้อน z1 = a + bi และ z2 = c + di เขียนแทนด้วย z1 − z2
คือ จำนวนเชิงซ้อนซึ่งนิยามโดยสมการ
z1 − z2 = ( a − c ) + (b − d )i

บทนิยาม 1.6 การคูณจำนวนเชิงซ้อน


ผลคูณของสองจำนวนเชิงซ้อน z1 = a + bi และ z2 = c + di เขียนแทนด้วย z1 z2 คือ
จำนวนเชิงซ้อน ซึ่งนิยามโดยสมการ
z1 z2 = ( ac − bd ) + (bc + ad )i
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 3

บทนิยาม 1.7 การหารจำนวนเชิงซ้อน


ผลหารของสองจำนวนเชิงซ้อน z1 = a + bi และ z2 = c + di  0 + 0i เขียนแทนด้วย
z1
คือ จำนวนเชิงซ้อนซึ่งนิยามโดยสมการ
z2
z1 ac + bd bc − ad
= + i
z2 c +d
2 2
c2 + d 2

ข้อสังเกต โดยสมบัติทางพีชคณิต พบว่า


i1 = i , i 2 = − 1 , i 3 = − i , i4 = 1 , i5 = i ,

เขียนในรูปทั่วไป สำหรับจำนวนเต็ม n ได้ดังนี้


พิจารณา in = i4k +r เมื่อ k เป็นจำนวนเต็ม โดยที่ 0r 4

เราจะได้ i 4k =1

i 4 k +1 = i

i 4 k + 2 = −1

i 4 k + 3 = −i

ตัวอย่าง 1.1 กำหนดให้ z1 = 3 + 2i และ z2 = 5 − i


z1
จงหา (1) z1 + z2 (2) z1 − z2 (3) z1 z2 (4)
z2

วิธีทำ (1) z1 + z2 = (3 + 2i ) + (5 − i )

= (3 + 5) + (2 − 1)i

= 8+i #
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 4

ทฤษฎีบท 1.1 สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z1 , z 2 และ z3 จะสอดคล้องสมบัติต่อไปนี้


1. สมบัติปิดภายใต้การบวกและการคูณ นั่นคือ z1 + z2 และ z1 z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อน
2. สมบัติการสลับที่ภายใต้การบวกและการคูณ นั่นคือ
z1 + z2 = z2 + z1

z1 z2 = z2 z1

3. สมบัติการจัดหมู่ภายใต้การบวกและการคูณ นั่นคือ
z1 + ( z2 + z3 ) = ( z1 + z2 ) + z3

z1 ( z2 z3 ) = ( z1 z 2 ) z3

4. สมบัติการแจกแจง นั่นคือ
z1 ( z2 + z3 ) = z1 z 2 + z1 z3

( z2 + z3 ) z1 = z2 z1 + z3 z1

5. การมีเอกลักษณ์การบวกและการคูณ นั่นคือ
z1 + 0 = 0 + z1 = z1 เรียก 0 เป็นเอกลักษณ์การบวก

z1 1 = 1  z1 = z1 เรียก 1 เป็นเอกลักษณ์การคูณ ( 1 = 1 + 0i )
6. การมีอินเวอร์สการบวกและการคูณ
สำหรับทุกจำนวนเชิงซ้อน z1 จะมีจำนวนเชิงซ้อน z ที่ทำให้ z1 + z = 0 เรียก z
ว่าอินเวอร์สการบวกของ z1 เขียนแทนด้วย − z1
สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z1  0 จะมีจำนวนเชิงซ้อน z ที่ทำให้ z1  z = 1 เรียก z
1
ว่าอินเวอร์สการคูณของ z1 เขียนแทนด้วย z1−1 หรือ
z1
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 5

ทฤษฎีบท 1.2 สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z = a + bi ใดๆ


1. z + z = 2 Re( z )

2. z − z = 2 Im( z )

3. z z = a2 + b2

4. z=z

พิสูจน์ ให้จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi

1. z + z = ( a + bi ) + ( a − bi )

= 2a
= 2 Re( z )

2. z − z = ( a + bi ) − ( a − bi )

= 2bi
= 2 Im( z )

3. zz = ( a + bi )( a − bi )

= a 2 − b 2i 2
= a2 + b2

4. z = ( a − bi )

= a + bi =z 

ทฤษฎีบท 1.3 สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z1 และ z 2 ใดๆ

1. ( z1 + z 2 ) = z1 + z2

2. ( z1 z 2 ) = z1 z 2

พิสูจน์ ให้ z1 = a + bi และ z2 = c + di

1. ( z1 + z 2 ) = ( a + c ) + (b + d )i

( z1 + z 2 ) = ( a + c ) − (b + d )i
= ( a − bi ) + (c − di )
= a + bi + c + di
= z1 + z 2
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 6

2. ( z1 z 2 ) = ( ac − bd ) + ( ad + bc )i
= ( ac − bd ) − ( ad + bc )i
= ( a − bi )( c − di ) 
= z1 z 2

1.3 จำนวนเชิงซ้อนในรูปแบบเชิงขั้ว
จากบทนิยามการคูณและการหารของจำนวนเชิงซ้อน จะเห็นว่าการคูณหรือการหารจำนวน
เชิงซ้อนหลาย ๆ จำนวนมีความยุ่งยากซับซ้อน จึงมีวิธีการอื่น ๆ มาช่วยแก้ปัญหาเหล่านี้ได้ง่ายขึ้น

บทนิ ย าม 1.8 ค่ า สั ม บู ร ณ์ (absolute value) หรื อ มอดู ลั ส (modulus) ของจำนวนเชิ งซ้ อ น


z = a + bi ใด ๆ คือ a + b เขียนแทนด้วย z
2 2

นั่นคือ z = a2 + b2

นอกจากการเขียนจำนวนเชิงซ้อน z = a + bi ซึ่งแทนด้วยจุด ( a , b ) ในระบบพิกัดฉาก


แล้ว ยังสามารถเขียน z ในระบบพิกัดเชิงขั้ว (polar coordinates) ได้ ดังนี้
ให้ P ( a , b ) เป็นจุดในระนาบเชิงซ้อน แทนด้วยจำนวนเชิงซ้อน z = a + bi
ให้ r = z = a 2 + b 2 และ  เป็นมุมที่เวกเตอร์ OP ทำกับแกน x ดังภาพที่ 1.2

P (a, b)
b

r= z

O  x
a

ภาพที่ 1.2 จำนวนเชิงซ้อน z = a + bi ในระบบพิกัดเชิงขั้ว


b
จะได้ tan  =
a
b
 = tan −1 ( )
a
ดังนั้น จุด P ( a , b ) ในระบบพิกัดฉาก แทนได้ด้วย P (r , ) ในระบบพิกัดเชิงขั้ว
โดยที่ r= a2 + b2 และ  = tan −1 ( b )
a
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 7

จากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก จะได้ความสัมพันธ์ดังนี้
a = r cos 
b = r sin 
ดังนั้น z = a + bi

= r (cos  + i sin  )

บทนิ ย าม 1.9 จำนวนเชิ ง ซ้ อ น z ซึ่ ง เขี ย นอยู่ ในรู ป z = r (cos  + i sin  ) เรี ย กว่ า จำนวน
เชิงซ้อนรูปแบบเชิงขั้ว โดยที่
r คือ ค่าสัมบูรณ์ หรือ มอดูลัส ของ z
 เรียกว่า อาร์กิวเมนต์ (argument) ของ z เขียนแทนด้วย  = arg( z )

จากบทนิ ย าม ถ้ า z = 0 นั่ น คื อ a = 0 และ b = 0 ดั ง นั้ น arg( z ) หาค่ า ไม่ ได้ และ


arg( z ) มีจำนวนอนันต์ ซึ่งแต่ละค่าต่างกัน 2n เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม ดังนั้นถ้าพิจารณาเฉพาะ
ในช่วงหนึ่ง จึงนิยามค่าสำคัญของอาร์กิวเมนต์ ดังนี้

บทนิ ย าม 1.10 ค่ าสำคั ญ ของอาร์ กิ ว เมนต์ (principle value of arg( z ) ) ของจำนวนเชิ งซ้ อ น
z  0 เขียนแทนด้วย Arg ( z ) หมายถึงค่าของ arg( z ) เพียงค่าเดียว ซึ่ง −  arg( z )  

ตัวอย่าง 1.2 กำหนดให้ z = −1 + i จงเขียนให้อยู่ในรูปแบบเชิงขั้ว


วิธีทำ จาก z = −1 + i เขียนแสดงด้วยจุดบนระนาบเชิงซ้อนได้ดังภาพที่ 1.3
y
( − 1,1) = z = − 1 + i

r

x

ภาพที่ 1.3 z = −1 + i บนระนาบเชิงซ้อน

จาก r = z = ( −1) 2 + 12 = 2
1 3
และ  = tan −1 ( )=
−1 4
3 3 3 3
นั่นคือ arg( z ) = , + 2 , + 4 ,…, + 2 n , เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม
4 4 4 4
3
และ Arg ( z ) =
4
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 8

จากรูปแบบเชิงขั้ว z = r (cos  + i sin  )

3 3
จะได้ z = −1 + i = 2 (cos + i sin )
4 4
3 3
หรือ z = 2[cos( + 2 n ) + i sin( + 2 n )] #
4 4

3 1
ตัวอย่าง 1.3 กำหนดให้ z= − i จงเขียนให้อยู่ในรูปแบบเชิงขั้ว
2 2

 
ตัวอย่าง 1.4 กำหนดให้ z1 = 4[cos + i sin ]
3 3
 
z 2 = 5[cos( ) + i sin( )]
6 6
จงเขียน z1 , z2 ให้อยู่ในรูป a + bi

วิธีทำ
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 9

ข้อสังเกต จากทฤษฎีบท 1.2 (3) สำหรับจำนวนเชิงซ้อน z = a + bi ใดๆ จะได้ว่า z z = a2 + b2

และจากบทนิยาม 1.8 z = a2 + b2 ดังนั้น 2


z = z z = a2 + b2

ทฤษฎีบท 1.4 ให้ z1 , z2 , z3 ,..., zm เป็นจำนวนเชิงซ้อน


1. z1 z 2 = z1 z 2

z1 z1
2. = , z2  0
z2 z2

3. z1 + z 2  z1 + z 2

4. z1 − z 2  z1 − z 2

พิสูจน์ (1) จากทฤษฎีบท 1.2 , z1 z1 = a 2 + b 2 = z1


2

2
z1 z2 = ( z1 z2 )( z1 z2 ) (ทฤษฎีบท 1.3 ข้อ 2)
= ( z1 z 2 )( z1  z 2 )

= ( z1 z1 )( z 2 z 2 )
2 2
= z1 z2

= ( z1 z 2 ) 2

ดังนั้น z1 z 2 = z1 z 2

2
z1 z1 z1
(2) = ( ) , z2  0
z2 z2 z2
2
z1 z1 z1
=
z2 z2 z2
2
z1
= 2
z2

z1 z1
ดังนั้น =
z2 z2
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 10

(3) 2
z1 + z2 = ( z1 + z 2 )( z1 + z 2 )

= ( z1 + z 2 )( z1 + z 2 )

= z1 z1 + z1 z 2 + z 2 z1 + z 2 z 2
2 2
= z1 + z1 z 2 + z 2 z1 + z 2

แต่ z1 z 2 + z 2 z1 = 2 Re( z1 z 2 )

 2 Re( z1 z 2 )

 2 z1 z 2 = 2 z1 z 2

= 2 z1 z 2
2 2 2
z1 + z2  z1 + 2 z1 z2 + z2 = ( z1 + z2 ) 2

เนื่องจาก z1 + z 2  0 และ z1 + z 2  0

ดังนั้น z1 + z 2  z1 + z 2

(4) เนื่องจาก z1 = ( z1 − z2 ) + z2
ดังนั้น z1 = ( z1 − z 2 ) + z 2
 z1 − z 2 + z 2 (จากข้อ 3)
จะได้ z1 − z 2  z1 − z 2

นั้นคือ z1 − z 2  z1 − z 2 

ทฤษฎีบท 1.5 ทฤษฎีบทของเดอมัวว์ (De Moivre’s Theorem)


ให้ z1 = r1 (cos1 + i sin 1 ) และ z2 = r2 (cos 2 + i sin  2 ) เป็นจำนวนเชิงซ้อนแล้ว
1. z1 z2 = r1r2 [cos(1 +  2 ) + i sin(1 +  2 )]
z1 r1
2. =  cos(1 −  2 ) + i sin(1 −  2 )  , z2  0
z2 r2

พิสูจน์ ให้ z1 = r1 (cos1 + i sin 1 ) และ z2 = r2 (cos 2 + i sin  2 )

1. z1 z2 = r1 (cos1 + i sin 1 )r2 (cos 2 + i sin  2 )

= r1r2 [(cos1 cos 2 − sin 1 sin  2 ) + i(sin 1 cos  2 + cos 1 sin  2 )]

= r1r2 [cos(1 +  2 ) + i sin(1 +  2 )]


ดังนั้น z1 z2 = r1r2 [cos(1 +  2 ) + i sin(1 +  2 )]
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 11

z1 r1 (cos 1 + i sin 1 )
2. = , z2  0
z2 r2 (cos  2 + i sin  2 )

r1  (cos 1 + i sin 1 ) (cos  2 − i sin  2) 


=  . 
r2  (cos  2 + i sin  2 ) (cos  2 − i sin  2 ) 

z1 r1  (cos 1 cos  2 + sin 1 sin  2 ) + i (sin 1 cos  2 − sin  2 cos 1 ) 


=  
z2 r2  cos 2  2 + sin 2  2 
r1
=  cos( 1 −  2 ) + i sin( 1 −  2 ) 
r2

ดังนั้น z1
=
r1
 cos(1 −  2 ) + i sin(1 −  2 )  
z2 r2

ทฤษฎีบท 1.6 ถ้า z = r ( cos  + i sin  ) เป็นจำนวนเชิงซ้อนใด ๆ และ n เป็นจำนวนเต็ม


จะได้ z n = r n  cos( n ) + i sin( n ) 
พิสูจน์ กรณี 1 ถ้า n = 0 แล้ว z n = r n  cos( n ) + i sin( n ) 
กรณี 2 ถ้า n  0 จะพิสูจน์โดยวิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์
เมื่อ n = 1 จะได้ z = r  cos( ) + i sin( ) 
ถ้า n = k เป็นจริง นั้นคือ z k = r k  cos( k ) + i sin( k ) 
จะแสดงว่า z k +1 = r k +1 cos[( k + 1) ] + i sin[( k + 1) ]
พิจารณา z k +1 = z k z
= r k  cos( k ) + i sin( k )  r (cos  + i sin  )
= r k +1  cos( k +  ) + i sin( k +  ) 
= r k +1  cos( k + 1) + i sin( k + 1) 
กรณี 3 ถ้า n0
1 1
zn = =
z −n
r −n
 cos( − n ) + i sin( − n ) 
1
zn =
r −n
 cos( n ) − i sin( n ) 
1 1 cos( n ) + i sin( n )
=
r −n
 cos( n ) − i sin( n )  cos( n ) + i sin( n )
cos( n ) + i sin( n )
= rn
cos 2 ( n ) + sin 2 ( n )
= r n  cos( n ) + i sin( n )  
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 12

 
ตัวอย่าง 1.5 กำหนดให้ z1 = 3[cos + i sin ]
2 2
 
z 2 = 4[cos + i sin ]
4 4
จงหา z1 z2 ในรูปของ a + bi

   
วิธีทำ z1 z2 = 3[cos + i sin ] 4[cos + i sin ]
2 2 4 4
   
= 12[cos( + ) + i sin( + )]
2 4 2 4
3 3
= 12[cos + i sin ]
4 4
 2 2 
= 12  − + i = −6 2 + 6 2i #
 2 2 

2 2
ตัวอย่าง 1.6 กำหนดให้ z1 = 2[cos + i sin ]
3 3
 
z 2 = [cos + i sin ]
4 4
z1
จงหา ในรูปแบบเชิงขั้ว และในรูป a + bi
z2
วิธีทำ
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 13

 
ตัวอย่าง 1.7 กำหนดให้ z = 2[cos + i sin ] จงหา z9 ในรูปของ a + bi
3 3

วิธีทำ

5 5
ตัวอย่าง 1.8 กำหนดให้ z = 2[cos + i sin ] จงหา z3 ในรูปของ a + bi
6 6

วิธีทำ

ตัวอย่าง 1.9 กำหนดให้ z = −1 + i จงหา z7 ในรูปของ a + bi

วิธีทำ
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 14

ตัวอย่าง 1.10 กำหนดให้ z = 1 + 3i จงหา z −5 ในรูปของ a + bi

วิธีทำ จาก z = 1 + 3i เปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบเชิงขั้ว


r = z = 12 + ( 3) 2 = 4=2

เนื่องจาก (1, 3) อยู่ในจตุภาคที่ 1 บนระนาบเชิงซ้อน


3 
จะได้  = tan −1 ( )=
1 3

ดังนั้น Arg ( z ) =  =
3
 
z = 1 + 3i = 2[cos + i sin ]
3 3
 
นั่นคือ z −5 = (1 + 3i ) −5 = 2 −5 [cos( − 5  ) + i sin( −5  )]
3 3
1 5 5
= 5
[cos( − ) + i sin( − )]
2 3 3
1 5 5
= 5
[cos( ) − i sin( )]
2 3 3
1 1 3
= [ − i(− )]
32 2 2
1 3
z −5 = + i #
64 64

1.4 รากของจำนวนเชิงซ้อน
จำนวน w จะเรียกว่า รากที่ m (mth roots) ของจำนวนเชิงซ้อน z ถ้า wm = z และ
1
เขียนได้เป็น w = z m จาก De Moivre’s theorem สามารถแสดงให้เห็นได้ว่า
เมื่อกำหนด z = r (cos  + i sin  ) ถ้า m เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว
=  r (cos  + i sin  ) 
1 1
m m
z

เมื่อ เป็นจำนวนเต็มใดๆ
1
= [ r{cos( + 2 n ) + i sin( + 2 n )}] m
n
1  + 2 n  + 2 n
=r m
[cos( ) + i sin( )]
m m
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า รากที่ m ของจำนวนเชิงซ้อน z จะมีค่าราก m รากที่แตกต่างกันคือ
1 1  + 2 n  + 2 n
z m
=r m
[cos( ) + i sin( )] , n = 0,1, 2,..., m − 1
m m
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 15

ตัวอย่าง 1.11 จงหารากที่ 3 ของ 1

วิธีทำ จาก 1 = 1 + 0i เปลี่ยนในรูปแบบเชิงขั้วได้ดังนี้


r = 1 + 0i = 12 + 0 2 = 1

เนื่องจาก (1, 0) อยู่บนแกน x ทางบวก


0
จะได้  = tan −1 ( ) = 2
1
ดังนั้น arg(1 + 0i ) = 2 + 2 n เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มใดๆ
1 = 1 cos(2 + 2 n ) + i sin(2 + 2 n ) 

2 + 2 n 2 + 2 n
ดังนั้น เมื่อ
1 1
1 3
= 1 3 [cos( ) + i sin( )] n = 0,1, 2
3 3
2 2
เมื่อ จะได้
1
n=0 z 0 = 1 3 [cos + i sin ]
3 3
1 3
=− + i
2 2
2 + 2 2 + 2
เมื่อ จะได้
1
n =1 z1 = 1 3 [cos( ) + i sin( )]
3 3
4 4 1 3
= [cos + i sin ] =− − i
3 3 2 2
2 + 4 2 + 4
เมื่อ จะได้
1
n=2 z 2 = 1 3 [cos( ) + i sin( )]
3 3

= cos 2 + i sin 2

= 1 + 0i =1

1 3 1 3
ดังนั้น รากที่ 3 ของ 1 คือ 1 , − + i , − − i #
2 2 2 2

ตัวอย่าง 1.12 จงหารากที่ 2 ของ −8 + 8 3i

วิธีทำ
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 16

ตัวอย่าง 1.13 จงหา z ทั้งหมดที่ทำให้ z 5 = −1

วิธีทำ
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 17

ตัวอย่าง 1.14 จงแก้สมการ z2 − 2z − i = 0

วิธีทำ จากสูตรการหาผลเฉลยของสมการกำลังสองทั่วไป คือ


ax 2 + bx + c = 0 เมื่อ a  0
− b  b 2 − 4 ac
จะได้ x=
2a
ดังนั้นสมการ z − 2z − i = 0
2

− ( − 2)  ( − 2) 2 − 4(1)( − i )
จะได้ z=
2(1)
2  4 + 4i
z=
2
z = 1 1+ i …………………(ก)

พิจารณา 1+ i ก็คือการหารากที่ 2 ของ 1+ i


ให้ w = 1 + i
ได้ w = r = 12 + 12 = 2

และ arg (1 + i ) =  = + 2 n เมื่อ n เป็นจำนวนเต็มใดๆ
4
จาก w = r (cos  + i sin  )
 
จะได้ w= 2[cos( + 2 n ) + i sin( + 2 n )]
4 4
 
+ 2 n + 2 n
ดังนั้น
1 1
w 2
= ( 2 ) 2 [cos( 4 ) + i sin( 4 )]
2 2
 + 8n  + 8n
= 4
2[cos( ) + i sin( )] เมื่อ n = 0,1
8 8
กรณี n=0 จะได้
 
1+ i = 4
2[cos( ) + i sin( )]  1.09 + 0.007 i
8 8
แทนในสมการ (ก) จะได้
z  1  (1.09 + 0.007 i )

= 2.09 + 0.007 i , − 0.09 − 0.007 i


กรณี n =1 จะได้
9 9
1+ i = 4
2[cos( ) + i sin( )]  −1.09 − 0.007 i
8 8
แทนในสมการ (ก) จะได้
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 18

z  1  ( −1.09 − 0.007 i )

= 2.09 + 0.007 i , − 0.09 − 0.007 i


จะเห็นว่า ทั้งสองกรณี ได้คำตอบของสมการเป็นชุดเดียวกัน
ดังนั้น รากของสมการ z 2 − 2 z − i = 0 คือ 2.09 + 0.007i, − 0.09 − 0.007 i #

ข้อสังเกต จากตัวอย่าง 1.14 ในการหาคำตอบของสมการ ถ้ามีการหารากของตัวแปรเชิงซ้อน


สามารถหารากเพียงค่าเดียวแล้วแทนในสมการได้ เพราะทุกรากของตัวแปรเชิงซ้อนจะทำให้ได้
คำตอบของสมการชุดเดียวกัน

1.5 สรุป
จำนวนเชิงซ้อนคือจำนวนที่เขียนในรูป z = a + bi เรียกว่ารูปแบบทั่วไป หรือเขียนในรูป
z = r (cos  + i sin  ) เรียกว่ารูปแบบเชิงขั้ว และได้นิยามการบวก การลบ การคูณ และการหาร
จำนวนเชิงซ้อน ตลอดจนการหารากของจำนวนเชิงซ้อน
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 19

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 1
1. จงเขียนจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูป a + bi
1.1 ( − 12 ) 3 1.2 1− −4

1.3 10 + − 12 1.4 (1 + − 15 ) 2

2. จงหาค่า x และ y ที่ทำให้สมการต่อไปนี้เป็นจริง


2.1 3 + yi = x + 7i 2.2 x + yi = 6

2.3 x + yi = − 7 i 2.4 ( x + 3) + ( y − 2)i = 1 − 2i

3. จงหาผลลัพธ์ต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปของ a + bi
3.1 (7 − 3i ) + (2 + 6i ) 3.2 (4 − 3i ) + (2i − 8)

3.3 ( − 5 − 3i ) − ( − 2 + 6i ) 3.4 3( −1 + 4i ) − 2(7 − i )

3.5 (3 + i )(2 + 2i ) 3.6 (4 + i )(3 + 2i )(1 − i )

3.7 (2 + i ) 2 3.8 (2 − 3i ) 3

7 + 2i 6 − 3i
3.9 3.10
1− i 2+i
5 + 5i 20 i 3+i
3.11 + 3.12 +
3 − 4i 4 + 3i 2+i 4+i

4. จงหา z1 z 2 และ z1 z2 ของแต่ละข้อต่อไปนี้


4.1 z1 = 1 − i , z2 = 3i 4.2 z1 = 2 − i , z2 = 3 + 2i

5. จงหาค่าสัมบูรณ์ของ
5.1 3 + 4i 5.2 (1 + i )(2 − i )

1+ i
5.3 i (2 + i ) 5.4
1− i
5.5 (2 − i )(3 + 2i ) 5.6 (1 + i ) 2 (1 + 2i )

6. จงเขียนจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปแบบเชิงขั้ว
4 4 3 1
6.1 − i 6.2 + i
2 2 6 6

6.3 −7 6.4 2 2 + 2 2i
บทที่ 1 จำนวนเชิ งซ้อน 20

7. จงเขียนจำนวนเชิงซ้อนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปของ a + bi
2 2
7.1 z = 12[cos + i sin ] 7.2 z = 3[cos 0 + i sin 0]
3 3
7.3 z = 2[cos 270 + i sin 270 ] 7.4 z = 8[cos135 + i sin135 ]
  5 5
7.5 z = 2[cos + i sin ] 7.6 z = 2[cos + i sin ]
6 6 4 4

8. จงหาค่าต่อไปนี้
1 1
8.1 (− + i ) 40 8.2 (1 − i ) 4
2 2
1+ i 3i 30 − i19
8.3 ( )8 8.4
1− i 2i − 1

9. 9.1 จงหารากที่ 4 ของ −1 9.2 จงหารากที่ 6 ของ −64

9.3 จงหารากที่ 8 ของ − 14 9.4 จงหารากที่ 4 ของ −2 3 − 2i

10. จงหาเซตของผลเฉลยของสมการต่อไปนี้
10.1 z 3 + 1 = 0 10.2 z 4 − 16 = 0

10.3 ( z 4 − 5)( z 2 − 2) = 0 10.4 z 2 + (2i − 3) z + 5 − i = 0


บทที่ 2
ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน

ในระบบจำนวนจริ ง ฟั ง ก์ ชั น มี ค วามสำคั ญ เป็ น อย่ า งมากซึ่ ง ฟั ง ก์ ชั น เป็ น การศึ ก ษา


ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้นไป และในทำนองเดียวกันถ้าปริมาณดังกล่าวเป็น
จำนวนเชิงซ้อน ก็สามารถศึกษาฟังก์ชันของจำนวนเชิงซ้อนได้เช่นกัน สำหรับในบทนี้จะกล่าวถึง
ฟังก์ชันในระบบจำนวนเชิงซ้อน ลิมิต ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน และการส่งฟังก์ชัน ซึ่งจะนำไปใช้ใน
การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไป

2.1 ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน
ในการนิยามฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อนก็เช่นเดียวกับการนิยามฟังก์ชันตัวแปรจริง ดั งนั้น
ความสัมพันธ์จาก เมื่อ เป็นเซตของจำนวนเชิงซ้อน ไปยัง จะเรียกว่าเป็นฟังก์ชันของตัว
แปรเชิงซ้อน เมื่อ z เป็นตัวแปรอิสระ และ w เป็นตัวแปรตาม จะเขียนฟังก์ชันในรูป w = f ( z )

บทนิ ย าม 2.1 ให้ S  สำหรับ แต่ ล ะ z  S จะได้ จ ำนวนเชิ งซ้ อ น w เรีย ก w ว่ า ค่ าของ
ฟังก์ชัน (function) ของ z เขียนแทนด้วย f ( z ) นั่นคือ w = f ( z ) และเซต S เรียกว่าโดเมน
ของฟังก์ชัน f

จากบทนิยามจะได้ว่า
ตัวแปรเชิงซ้อน (complex variable) คือ ตัวแปรที่อยู่ในรูปของ z หรือ z = x + yi
เมื่อ x, y เป็นตัวแปรจริง (real variable)
ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน คือ ฟังก์ชันจากเซตของจำนวนเชิงซ้อน ไปยังเซตย่อยของเซต
ของจำนวนเชิงซ้อนและใช้ z เป็นตัวแปร เช่น
f ( z) = z 2 − 3z + 4
g ( z ) = sin z
z
h( z ) =
( z + 1)( z − 2i )

ทุกๆ ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อนเมื่อแทน z ด้วย z = x + yi แล้วจะสามารถแยกเป็นส่วนจริง


u ( x , y ) และส่วนจินตภาพ v ( x , y ) ซึ่งทั้งสองส่วนเป็นฟังก์ชันของ x และ y
นั่นคือฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนสามารถเขียนในรูป f ( z ) = u ( x, y ) + v ( x, y )i
ซึ่งเรียกรูปแบบนี้ว่าฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 22

ตัวอย่าง 2.1 กำหนด f ( z) = z 2 จงหาค่าของ f (2 + i )

วิธีทำ จาก f ( z) = z 2

ดังนั้น f (2 + i ) = (2 + i ) 2

= 3 + 4i #

ตัวอย่าง 2.2 กำหนดให้ f ( z ) = 4 z 2 + 3z จงหา f (2 + 3i )

วิธีทำ

บทนิยาม 2.2 ถ้า z สมนัยกับ w เพียง 1 ค่า เรียก w เป็นฟังก์ชันค่าเชิงเดี่ยว (single valued
function) ของ z และถ้า z สมนั ยกับ w มากกว่า 1 ค่า เรียก w เป็น ฟังก์ชัน หลายค่า หรือ
ฟังก์ชันค่าพหุคูณ (multiple valued function) ของ z

ตัวอย่าง 2.3 จงพิจารณาฟังก์ชันต่อไปนี้


1) w = f (z) = z 2 + 1
1

2) w = f (z) = z 2

วิธีทำ 1) กำหนด w = f ( z ) = z 2 + 1
เป็นฟังก์ชันค่าเชิงเดี่ยว เพราะว่าถ้าแทน z ด้วยจำนวนเชิงซ้อนใดๆ จะได้ค่าของ
w เพียงค่าเดียว #
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 23

ตัวอย่าง 2.4 ให้ f ( z) = 2z + 3 จงแสดงว่า f (z) เป็นฟังก์ชันค่าเชิงเดี่ยว เมื่อ z = 1 + 4i


วิธีทำ

ตัวอย่าง 2.5 ให้ f (z) = z จงแสดงว่า f (z) เป็นฟังก์ชันค่าพหุคูณ เมื่อ z = 1+ i

วิธีทำ

ตัวอย่าง 2.6 กำหนด f ( z ) = 3z 2 − z + 4 จงเขียน f (z) ให้อยู่ในรูปฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน


วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 24

ในทางกลับกันเมื่อกำหนดฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน f ( z ) = u ( x, y ) + v ( x, y )i เราสามารถ
เปลี่ยนให้อยู่ในรูปฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนได้ โดยอาศัยความสัมพันธ์ดังนี้
จาก z = x + yi และ z = x − yi

z+z z−z
จะได้ x= และ y=
2 2i

ตัวอย่าง 2.7 กำหนดให้ f ( z ) = ( x 2 − y 2 ) + 2 xyi และ z = x + yi


จงเขียน f ( z ) ในรูปฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน
วิธีทำ

ตัวอย่าง 2.8 กำหนดให้ f ( z ) = (2 xy − 1) − ( x 2 − y 2 )i และ z = x + yi


จงเขียน f ( z ) ให้อยู่ในรูปฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน
วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 25

ในบางฟังก์ชันของฟังก์ชันค่าเชิงซ้อนอาจไม่สามารถจัดพจน์ทั้งหมดของฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน
ให้อยู่ในรูปของ z ล้วน ๆ ได้ ดังนั้นเราอาจต้องเขียนบางพจน์ให้อยู่ในรูปอื่นของ z ได้แก่
Re( z ) = x หรือ Im( z ) = y หรือ z = x − yi

ตัวอย่าง 2.9 ให้ f ( z ) = x + 5 yi จงเขียน f (z) ในรูปฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนตามเงื่อนไขต่อไปนี้


1) ในรูป z และ Re( z )

2) ในรูป z และ Im( z )

3) ในรูป z และ z

วิธีทำ 1) จาก f ( z ) = x + 5 yi

= 5 x − 4 x + 5 yi

= − 4 x + 5( x + yi )

ดังนั้น f ( z ) = 5 z − 4 Re( z ) #

หมายเหตุ ในการศึกษาเรื่องฟังก์ชันต่อไปนี้ เมื่อกล่าวถึง ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน เราหมายถึง ฟังก์ชันค่า


เชิงเดี่ยวเท่านั้น
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 26

2.2 ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนเบื้องต้น
ในการศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับทฤษฎีของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน หรือเรียกอีกอย่างหนึ่ง
ว่า ทฤษฎี ของฟั งก์ชัน วิเคราะห์ เชิงซ้อน (Complex analytic function) หรือ เรียกสั้ น ๆว่า การ
วิเคราะห์เชิงซ้อน (Complex analysis) นั้น เราจำเป็นจะต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกั บฟังก์ชันตัวแปร
เชิงซ้อนเบื้องต้น เช่นเดียวกันกับการศึกษาฟังก์ชันตัวแปรจริง ในวิชาแคลคูลัส ซึ่งฟังก์ชันตัวแปรจริง
ที่ เป็ น ฟั งก์ ชั น พื้ น ฐานที่ ส ำคั ญ ได้ แ ก่ ฟั งก์ ชั น พหุ น าม ฟั งก์ ชั น เลขชี้ ก ำลั ง ฟั งก์ ชั น ลอการิ ทึ ม
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ และฟังก์ชันไฮเพอร์โปลิก ในทำนองเดียวกันฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนก็มีฟังก์ชัน
เบื้ องต้น เช่น เดียวกั น กับฟังก์ชัน ตัวแปรจริงเหล่ านี้ แต่ ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนบางชนิดมีสมบัติที่
น่าสนใจซึ่งไม่พบในฟังก์ชันตัวแปรจริง

2.2.1 ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial function)


บทนิยาม 2.3 ฟังก์ชันพหุนาม นิยามโดย w = P ( z ) = an z n + an −1 z n −1 + ... + a1 z + a0
เมื่อ an  0, an −1 ,..., a1 , a0 เป็นจำนวนเชิงซ้อน และ n เป็นจำนวนเต็มบวก เรียก n ว่าเป็น
ระดับขั้น (degree) ของพหุนาม P ( z )
ตัวอย่างเช่น f ( z ) = 2 z 3 − (3 + 2i ) z 2 + 15i เป็นฟังก์ชันพหุนามระดับขั้น 3
g ( z ) = 2 z 4 − iz 2 + (1 + 5i ) 2 เป็นฟังก์ชันพหุนามระดับขั้น 4

2.2.2 ฟังก์ชันพีชคณิตตรรกยะ (rational algebraic function)


P( z)
บทนิยาม 2.4 ถ้า w= เมื่อ P( z) และ Q(z) เป็นฟังก์ชันพหุนาม ซึ่ง Q( z)  0 จะเรียก
Q( z)
w ว่าเป็น ฟังก์ชันพีชคณิตตรรกยะ

z2 + 2z − i
ตัวอย่างเช่น f ( z) = เป็นฟังก์ชันพีชคณิตตรรกยะ เพราะว่า z2 + 2z − i
3i − 2 z
และ 3i − 2 z ต่างเป็นฟังก์ชันพหุนาม

2.2.3 ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง (exponential function)


บทนิยาม 2.5 ฟังก์ชันเลขชี้กำลังของตัวแปร z นิยามโดย f (z) = ez เมื่อ e  2.71828...

และ ถ้า z = x + yi นิยามโดย f ( z ) = e z = e x + yi = e x  e yi = e x (cos y + i sin y )

หมายเหตุ สูตรของออยเลอร์ (Euler’s formula) เขียนในรูป


e i = cos  + i sin 
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 27

ตัวอย่าง 2.10 กำหนดให้ f ( z ) = e z จงหา f (1 + 2i )


วิธีทำ โดยบทนิยาม 2.5 จะได้
f (1 + 2i ) = e1+ 2 i
= e1  cos(2) + i sin(2) 
 2.718  −0.416 + i 0.909 
= −1.131 + 2.472i
นั่นคือ f (1 + 2i ) = e1+ 2i  −1.131 + 2.472i #

ตัวอย่าง 2.11 จงหาค่าของ ez เมื่อ z = 1.4 − 2.6i


วิธีทำ

สมบัติบางประการของฟังก์ชัน e z เมื่อ z = x + yi ได้แก่


1. ให้ z1 , z2 เป็นจำนวนเชิงซ้อน จะได้ e z  e z = e z + z 1 2 1 2

2. e0 = 1

3. จาก z = r (cos  + i sin  ) อาจเขียนได้อีกรูป คือ z = re i

4. e z = e x + yi = e x e yi

= e x cos y + i sin y

= e x cos 2 y + sin 2 y
= ex

5. จากสมบัติ ข้อ 4 e z = e x เมื่อ e z = e x (cos y + i sin y )


ดังนั้น Arg (e z ) = y และ arg (e z ) = y + 2n เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม
6. e z + 2 n i = e x + yi + 2 n i เมื่อ z = x + yi
= e x  cos( y + 2 n ) + i sin( y + 2 n ) 
= e x  cos y + i sin y 
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 28

= e x + yi
= ez

7. ฟังก์ชันเลขชี้กำลังของตัวแปรจริง f ( x) = e x เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
แต่ฟังก์ชันเลขชี้กำลังของตัวแปรเชิงซ้อน f ( z ) = e z ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
เช่น f (4i ) = e 4i = cos 4 + i sin 4
และ f ((4 + 2 )i ) = e (4 + 2 ) i
= cos(4 + 2 ) + i sin(4 + 2 )
= cos 4 + i sin 4
นั่นคือ f (z) = ez ไม่เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง

ตัวอย่าง 2.12 กำหนดให้ f (z) = ez จงหา


 
1) f (2i ) 2) f ( 3 i ) 3) f ( i) 4) f (− i)
2 2

วิธีทำ จาก f (z) = ez โดยนิยาม 2.5 จะได้


1) f (2 i ) = e 0+ 2 i = e 0  cos 2 + i sin 2 

= 1[1 + i (0)]

=1
f (2 i ) = 1 #
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 29

ตัวอย่าง 2.13 จงหาค่า z ทั้งหมดจากสมการ e z = 3 + 4i


วิธีทำ จากสมการ e z = 3 + 4i

ให้ z = x + yi

จะได้ e x + yi = 3 + 4i

e x cos y + i sin y  = 3 + 4i

e x cos y + ie x sin y = 3 + 4i
ดังนั้น e x cos y = 3 ………………………………(1)
e x sin y = 4 ………………………………(2)
จาก (1), e 2 x cos 2 y = 9 ………………………………(3)
จาก (2), e 2 x sin 2 y = 16 ………………………………(4)
นำ (3) บวก (4) จะได้
ex = 5
x = ln 5 = 1.609
นำ (2) หาร (1) จะได้
4
tan y =
3
4
y = tan −1 ( ) = 0.927
3
ดังนั้นค่าของค่าหนึ่ง คือ z = 1.609 + 0.927 i
z
แต่เนื่องจาก
e z เป็นฟังก์ชันคาบทีม
่ ีคาบเท่ากับ 2i ดังนั้นค่าของ z ทั้งหมด คือ
z = 1.609 + (0.927 + 2 n )i เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม #

ข้อสังเกต จากตัวอย่าง 2.13 ที่ค่าของ z มีจำนวนนับไม่ถ้วนและอยู่บนเส้นแนวตั้ง คือ


x = 1.609 แต่ละค่าของ z จะอยู่ห่างกันเป็นระยะ 2 ซึ่งแสดงดังภาพที่ 2.1

2 • (1.609, 0.927 + 2 )

(1.609, 0)
• x
−
−2 • (1.609, 0.927 − 2 )

x = 1.609

ภาพที่ 2.1 ค่าของ z = 1.609 + (0.927 + 2 n )i


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 30

2.2.4 ฟังก์ชันลอการิทึม (Logarithms function)


ลอการิทึมธรรมชาติ (natural logarithms) ของ z เขียนแทนด้วย ln z
(บางครั้งก็อาจจะแทนด้วย log z ได้เมื่อตกลงกันไว้ก่อน)

บทนิ ย าม 2.5 ถ้ า z = ew แล้ ว เขี ย น w = ln z เรี ย กว่ า ฟั ง ก์ ชั น ลอการิทึ ม ธรรมชาติ ข อง z


นิยามโดย
w = ln z = ln r + i ( + 2 n )
เมื่อ r= z และ  = Arg ( z ) เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม

จากบทนิยามจะได้ว่าฟังก์ชันลอการิทึมธรรมชาติมีได้หลายค่า ดังนี้
ถ้าอาร์กิวเมนต์ของ z คือ Arg ( z ) ดังนั้นการหาค่าของ ln z จะแทนด้วย Ln z ซึ่ง
เรียกว่า ค่าสำคัญ (principal value) ของ ln z กำหนดโดย
Ln z = ln r + iArg ( z )

ถ้าอาร์กิวเมนต์ของ z คือ arg( z ) ดังนั้นค่าของ ln z เรียกว่าค่าทั่วไปของ ln z จะ


กำหนดโดย
ln z = Ln z  2n i , n เป็นจำนวนเต็ม

หมายเหตุ 1) ถ้า z เป็นค่าจริงบวก จะได้ Arg ( z ) = 0 ดังนั้น


Ln z = ln z เหมือนกับลอการิทึมของตัวแปรจริง
2) ถ้า z เป็นค่าจริงลบ จะได้ Arg ( z ) =  ดังนั้น Ln z +  i

ตัวอย่าง 2.14 จงหาค่าสำคัญและค่าทั่วไปของลอการิทึมธรรมชาติต่อไปนี้


1) 1 2) -1 3) 1 + i 4) 3 + 4i
0
วิธีทำ 1) จาก z =1 จะได้ r = 1 =1 และ  = Arg (1) = tan −1 ( ) = 0
1
ดังนั้นค่าสำคัญคือ Ln 1 = ln1 + i 0 = 0 + 0 = 0

และค่าทั่วไปคือ ln1 = 0  2 n i =  2 n i เมื่อ n เป็นจำนวนเต็ม #


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 31

สมบัติที่สำคัญของลอการิทึมธรรมชาติ ยังคงเป็นจริงสำหรับฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน เช่น


ln( z1 z2 ) = ln z1 + ln z2
z1
ln( ) = ln z1 − ln z 2 , z2  0 เป็นต้น
z2

2.2.5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric function)


จากสูตรของออยเลอร์
e xi = cos x + i sin x ………………………………….(1)
e − xi = cos x − i sin x ………………………………….(2)
e xi − e − xi
นำ (1) ลบ (2) จะได้ sin x =
2i
e + e − xi
xi
นำ (1) บวก (2) จะได้ cos x =
2
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 32

บทนิยาม 2.7 ฟังก์ชันตรีโกณมิติของ z กำหนดโดย


e zi − e − zi
sin z = ,
2i
e zi + e − zi
cos z =
2
sin z
tan z = เมื่อ cos z  0
cos z
cos z
cot z = เมื่อ sin z  0
sin z
1
cos ecz = เมื่อ sin z  0
sin z
1
sec z = เมื่อ cos z  0
cos z

สมบัติที่สำคัญของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ยังคงเป็นจริงสำหรับฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน เช่น


sin 2 z + cos 2 z = 1, 1 + tan 2 z = sec 2 z , 1 + cot 2 z = csc 2 z

sin( − z ) = − sin z , cos( − z ) = cos z , tan( − z ) = − tan z

sin( z1  z2 ) = sin z1 cos z2  cos z1 sin z2

cos( z1  z2 ) = cos z1 cos z2 sin z1 sin z2 เป็นต้น

ตัวอย่าง 2.15 จงหาค่าของ



1) sin(2 i ) 2) cos( ) 3) cos(2 − 3i )
4
วิธีทำ จากบทนิยาม 2.7 จะได้
e (2 i ) i − e ( −2 i ) i
1) sin(2 i ) =
2i
−2 
e − e 2
=
2i
535.492 − 0.002
= = − 267.745i
2i
sin(2 i ) = −267.745i #
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 33

ตัวอย่าง 2.16 จงหาค่า z จากสมการ cos z = 2


วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 34

2.2.6 ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิก (Hyperbolic function)


บทนิยาม 2.8 ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิกตัวแปรเชิงซ้อน กำหนดโดย
1
sinh z = (e z − e − z )
2
1
cosh z = (e z + e − z )
2
sinh z e z − e− z
tanh z = = เมื่อ cosh z  0
cos h z e z + e− z
cos h z e z + e− z
coth z = = เมื่อ sinh z  0
sinh z e z − e− z
1 2
sec hz = = เมื่อ cosh z  0
cosh z e + e−z
z

1 2
c o s echz หรือ csc hz = = เมื่อ sinh z  0
sinh z e − e−z
z

ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิกและฟังก์ชันตรีโกณมิติของตัวแปรเชิงซ้อนมีความสัมพันธ์กันดังนี้
sinh iz = i sin z

sin iz = i sinh z

cosh iz = cos z

cos iz = cosh z
sin( x + yi ) = sin x cosh y + i cos x sinh y

cos( x + yi ) = cos x cosh y − i sin x sinh y

สมบัติของฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิกของตัวแปรเชิงซ้อน
1) sinh( x + yi ) = sinh x cosh y + i cos x sin y

2) cosh( x + yi ) = cosh x cos y + i sinh x sin y

3) sinh( z1 + z2 ) = sinh z1 cos z2 + cosh z1 sinh z2


4) cosh( z1 + z2 ) = cosh z1 cos z2 + sinh z1 sinh z2

5) cosh 2 z − sinh 2 z = 1
6) cosh 2 z + sinh 2 z = cosh 2 z
7) ฟังก์ชัน sinh z , cosh z เป็นฟังก์ชันที่มีคาบเท่ากับ 2 i
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 35

ตังอย่าง 2.17 จงหาค่าของ


1) sinh(2i ) 2) tanh(3i )
4

วิธีทำ 1) จากบทนิยาม 2.8 จะได้


sinh(2i ) = 1
2
(e 2i
− e −2 i )
1
= [(cos 2 + i sin 2) − cos( −2) − i sin( −2)]
2
= i sin(2) = 0.909i

ดังนั้น sinh(2i ) = 0.909i #

2.2.7 จำนวนเชิงซ้อนยกกำลังด้วยจำนวนเชิงซ้อน (Complex exponents)

บทนิยาม 2.9 จำนวนเชิงซ้อน z1 ยกกำลังด้วยจำนวนเชิงซ้อน z2 จะแทนด้วย z


z1 2 กำหนดโดย
ค่าสำคัญของ z1 2 = e
z z Lnz 2 1

ค่าทั่วไปของ z
z1 2 = e z lnz 2 1

ตัวอย่าง 2.18 จงหาค่าสำคัญ และค่าทั่วไปของ


1) i 2 2) 2 i
3) (1 + i ) 2 −i

วิธีทำ จากบทนิยาม 2.9 จะได้


1) จาก i 2 ให้ z1 = i และ z2 = 2

ค่าสำคัญของ i 2 = e 2 Lni
2( ln1 + i 2 )
=e = e i

= cos  + i sin  = −1
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 36

ค่าทั่วไป i 2 = e 2 ln i
2 [ ln1 + i ( 2 + 2 n )]
=e เมือ่ n เป็นจำนวนเต็ม
= e ( + 4 n ) i = e i = −1 #
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 37

2.3 การส่ง
ถ้า w = u + iv หรือ f ( z ) = u ( x , y ) + iv ( x, y ) และ w เป็นฟังก์ชันค่าเชิงเดี่ยวของ
z = x + yi

เช่น w = z 2 = ( x + yi ) 2 = ( x 2 − y 2 ) + 2 xyi

นั่นคือ จุด P ( x, y ) บนระนาบ z จะแปลงไปเป็นจุด P ( x , y ) บนระนาบ w

โดยที่ u = x2 − y 2 และ v = 2 xy

เช่น P1 (1,1) จะแปลงไปเป็น P1(12 − 12 , 2(1)(1) ) = P1(0, 2) บนระนาบ w

P2 (1, 2) จะแปลงไปเป็น P2 (12 − 2 2 , 2(1)(2) ) = P2( −3, 4) บนระนาบ w

P ( x, y ) ใดๆ จะแปลงไปเป็น P( x 2 − y 2 , 2 xy ) บนระนาบ w ดังภาพที่ 2.2

ระนาบ z ระนาบ w

ภาพที่ 2.2 การส่งจุดจากระนาบ z ไประนาบ w

จุดทุกจุดที่อยู่บนเส้นโค้ง PQ (เส้นประ) ในระนาบ z ถูกส่งไปยังจุดที่สมนัยกันบนส่วน


โค้ง P Q  (เส้ น ประ) ของระนาบ w จะเรียกฟั งก์ชัน f ว่าการส่ ง (mapping) หรือ การแปลง
(transformation)
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 38

ตัวอย่าง 2.19 กำหนด w = z + 1 − 2i จงแสดงการส่งของ w ที่จุด z = 0, i และ 2 + 4i


วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 39

2.4 เซตในระนาบเชิงซ้อน
ในที่นี้เราจะให้ แทนเซตของจุดทุกจุดในระนาบเชิงซ้อน
S แทนเซตย่อยของ
C แทนเส้นโค้งบนระนาบเชิงซ้อน

บทนิยาม 2.10 ย่านใกล้เคียงของจุด z 0 (neighborhood of a point z0 ) คือ เซตของจุด z


ทั้งหมดที่สอดคล้องอสมการ
z − z0   ,  0

ในเชิงเรขาคณิตเรากล่าวได้ว่า ย่านใกล้เคียงของจุด z 0 จะประกอบด้วยจุดทุกจุดภายในวงกลมที่มี

จุดศูนย์กลางอยู่ที่ z 0 รัศมียาว  ซึ่งไม่รวมจุดที่อยู่บนเส้นรอบของวงกลม และแทนย่านใกล้เคียง


ของจุด z0 ด้วย N ( z0 ,  ) เช่น S เป็นย่านใกล้เคียงของจุด z0 หรือเขียนแทนเซต S ด้วย
S = {z  z − z0   } = N ( z0 ,  ) ดังภาพที่ 2.4

ภาพที่ 2.4 S = {z  z − z0   } = N ( z0 ,  )

เช่น N (3 + 2i ,1) เป็นย่านใกล้เคียงจุด 3 + 2i รัศมี 1 แสดงด้วยภาพที่ 2.5


y

(3, 2)

ภาพที่ 2.5 S = {z  z − (3 + 2i )  1} = N (3 + 2i ,1)

และย่ า นใกล้ เคี ย งของจุ ด z 0 ที่ ไม่ ร วมจุ ด z 0 (deleted neighborhood) รั ศ มี  ซึ่ ง
หมายถึงเซต { z  0  z − z0   } จะแทนด้วยสัญลักษณ์ N  ( z0 ,  ) แสดงดังภาพที่ 2.6
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 40

ภาพที่ 2.6 N  ( z0 ,  ) = { z  0  z − z0   }

บทนิยาม 2.11 จุ ด z 0 จะเรี ย กว่า จุดภายใน (interior point) ของเซต S ถ้าสามารถหาย่า น


ใกล้เคียงของจุด z 0 ที่ จุดทุกจุดอยู่ภายใน S ภายใน (interior) ของเซต S แทนด้วยสัญลักษณ์
int( S ) หมายถึง เซตของจุดที่ประกอบด้วยจุดภายในทุก ๆ จุดของ S

จุด z1 เป็นจุดภายใน S ( z1  int(S ) ) เพราะมีย่านใกล้เคียงของจุด z1 ซึ่งประกอบด้วย


จุดของ S เท่านั้น ดังภาพที่ 2.7

z3
ภายนอของ S
ภายในของ S
z2
z1 ขอบเขตของ S

ภาพที่ 2.7 จุด z1 เป็นจุดภายใน S


บทนิยาม 2.12 เซต S เรียกว่า เซตเปิด (open set) ถ้าเซต S ประกอบด้วยจุดภายในทั้งหมด

เช่น ให้ S = { z  z − 3  1.5} จะได้ว่าทุก ๆ จุดใน S เป็นจุดภายในของ S ดังนั้น S


เป็นเซตเปิด ซึ่งแสดงเซตเปิดนี้ดังภาพที่ 2.8
y

ภาพที่ 2.8 เซตเปิด S = {z  | z − 3  1.5}


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 41

บทนิยาม 2.13 จุด z 0 จะเรียกว่า จุดภายนอก (exterior point) ของเซต S ถ้าสามารถหาย่าน


ใกล้ เคี ย งของจุ ด z 0 ที่ จุ ด ทุ ก จุ ด ไม่ อ ยู่ ภ ายใน S ภายนอก (exterior) ของเซต S จะแทนด้ ว ย
สัญลักษณ์ ext ( S ) เป็นเซตที่ประกอบด้วยจุดต่าง ๆ ที่เป็นจุดภายนอกของ S

นั่นคือ จุด z จะเรียกว่าจุดภายนอกของ S ถ้ามีย่านใกล้เคียงของจุด z ซึ่งประกอบด้วย


จุดที่ไม่ใช่จุดภายในของ S ดังภาพที่ 2.7 เรามีจุด z 2 เป็นจุดภายนอกของ S

เช่น ให้ S = { z  z − 3  1.5}


เราจะมีจุด 3 + 2i เป็นจุดภายนอกของ S ซึ่งแสดงได้ดังภาพที่ 2.9
y

z = 3 + 2i

ภาพที่ 2.9 จุด z = 3 + 2i เป็นจุดภายนอกของ S = { z  z − 3  1.5}


บทนิยาม 2.14 จุด z 0 จะเรียกว่าจุดขอบ (boundary point) ของเซต S ถ้าทุกย่านใกล้เคียงของ
จุด z 0 ซึ่งย่านใกล้เคียงของจุด z 0 มีทั้งจุดภายใน S และจุดภายนอก S ขอบ (boundary) ของ
เซต S เป็นเซตที่ประกอบด้วยจุดขอบ (boundary point) ทุกจุดของ S

ดังภาพที่ 2.7 เรามีจุด z3 เป็นจุดขอบของ S

เช่น ให้ S = { z  z − 3  1.5} เราจะมีจุด z = 1.5 , z = 4.5 และทุกจุดที่อยู่บนเส้น


รอบวงของวงกลม z − 3 = 1.5 เป็นจุดขอบของ S

บทนิยาม 2.15 เซต S เรียกว่า เซตปิด (closed set) ถ้าเซต S ประกอบด้วยจุดภายในและจุดขอบ

เช่น ให้ S = {z  z − (1 + i )  1} เป็นเซตปิดซึ่งแสดงให้เห็นดังภาพที่ 2.10


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 42

(1,1)

ภาพที่ 2.10 เซตปิด S = {z  z − (1 + i )  1}

ข้อสังเกต มีเซตบางเซตอาจจะไม่เป็นทัง้ เซตเปิดและเซตปิด


เช่น S = { z  1  z − 2  2} และแสดงเซต S นี้ได้ดังภาพที่ 2.11
y

ภาพที่ 2.11 เซต S = {z  1  z − 2  2}

เซต S ในตัวอย่ างนี้ มีขอบของวงกลม z − 2 = 1 เป็นสมาชิก ดังนั้น S ไม่เป็นเซตเปิด


และในขณะเดียวกันขอบของวงกลม z − 2 = 2 ไม่เป็นสมาชิกของเซต S เพราะฉะนั้นเซต S จึงไม่
เป็นทั้งเซตเปิดและเซตปิด
บทนิยาม 2.16 จุ ด z 0 จะเรียกว่า จุดลิ มิต (limit point) ของเซต S ถ้าทุก ๆ ย่านใกล้ เคียงของ
จุด z 0 ( N ( z0 ,  ) ) มีสมาชิกอย่างน้อยหนึ่งจุดของเซต S ทีแ่ ตกต่างจากจุด z 0
เช่น ให้ S = { z  z − 2  1}
จะได้ว่า ทุก ๆ จุดใน S และจุดบนเส้นรอบวงของวงกลม z − 2 = 1 เป็นจุดลิมิตของ S
แสดงได้ดังภาพที่ 2.12
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 43

ภาพที่ 2.12 จุดลิมิตของ S = {z  z − 2  1}

บทนิยาม 2.17 เซต S จะเรียกว่าเซตมีขอบเขต (bounded set) ถ้ามีจำนวนจริง M  0 ที่ทุกๆ


z ในเซต S แล้ว z  M
ถ้าไม่มีจำนวนจริง M ที่สอดคล้อง เรียกว่า เซตไม่มีขอบเขต (unbounded set)
เช่น (1) ให้ S1 = { z  1  Re( z )  2, 0  Im( z )  2} แสดงเซต S1 ดังภาพที่ 2.13
เลือก M = 3 จะได้ว่า สำหรับทุก ๆ z  S1 เราจะได้ z  3 นั่นคือเซต S1 เป็นเซตที่มีขอบเขต
y

ภาพที่ 2.13 S1 = { z  1  Re( z )  2, 0  Im( z )  2} เป็นเซตมีขอบเขต


(2) ให้ S 2 = { z  − 1  Re( z )  1} ซึ่งแสดงเซต S 2 ได้ดังภาพที่ 2.14
ไม่มีจำนวนจริง M ใดๆ ที่ทำให้ ทุก ๆ z  S 2 แล้ว z  M ดังนั้น S 2 เป็นเซตไม่มีขอบเขต
y

ภาพที่ 2.14 S2 = {z  − 1  Re( z )  1} เป็นเซตไม่มีขอบเขต


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 44

บทนิยาม 2.18 เซต S จะเรียกว่า เซตเชื่อมโยง (connected set) ถ้าเซต S มีสมบัติว่า ทุก ๆ คู่
ของจุดในเซต S สามารถเชื่อมโยงกันได้ด้วยวิถีหลายเหลี่ย ม(polygonal path) หรือเส้นโค้ง โดยที่
ทุกจุดบนวิถีหลายเหลี่ยมหรือเส้นโค้งเป็นสมาชิกของเซต S
บทนิยาม 2.19 เราจะเรียกเซตเชื่อมโยงเปิด ว่า โดเมน (domain) และเรียกเซตซึ่งเป็นโดเมนหรือ
เซตซึ่งประกอบด้วยโดเมนพร้อมทั้งจุดขอบบางจุดหรือทั้งหมดของเซตว่า บริเวณ (region) และ
บริเวณซึ่งประกอบด้วยโดเมนและจุดขอบทั้งหมด เรียกว่า บริเวณปิด (closed region)
เช่น 1) S1 = { z  z − z0  r} ดังภาพที่ 2.15 จะได้ว่า S1 เป็นโดเมน

r
z0

ภาพที่ 2.15 S1 = { z  z − z0  r} เป็นโดเมน

2) S2 = {z  z − z 0  r} ดังภาพที่ 2.16 จะได้ว่า S2 เป็นบริเวณปิด

r
z0

ภาพที่ 2.16 S2 = {z  z − z 0  r} เป็นบริเวณปิด


3) S3 = {z  − 1  Re( z )  3} ดังภาพที่ 2.17 จะได้ว่า S3 เป็นบริเวณ
y

ภาพที่ 2.17 S3 = {z  − 1  Re( z )  3} เป็นบริเวณ


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 45

บทนิยาม 2.20 เส้นโค้ง (curve) C ในระนาบเชิงซ้อน หมายถึง ฟังก์ชันค่าเชิงซ้อนของตัวแปรจริง


ซึ่งกำหนดโดย z : [a, b] → และ เรียกสมการ z (t ) = x (t ) + iy (t ) , t  [a, b] ว่า สมการอิง
ตั ว แปรเสริ ม ของเส้ น โค้ ง C และเรีย ก z (a) ว่ า จุ ด เริ่ม ต้ น (initial point) และเรีย ก z (b ) ว่ า

จุดสิ้นสุด (end point) ของเส้นโค้ง C จะแทนเส้นโค้ง C และสมการด้วย


C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , t  [a, b]

เรียกเส้นโค้ง C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , t  [a, b] ว่า เส้นโค้งปิด (closed curve)


ถ้า z ( a ) = z (b )

เรียกเส้นโค้ง C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , t  [a, b] ว่า เส้นโค้งเรียบ (smooth curve)


ถ้า x (t ) และ y (t ) มีความต่อเนื่องบนช่วง ( a , b )
เรี ย กเส้ น โค้ ง C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , t  [ a , b ] ว่ า เส้ น โค้ ง เรี ย บเป็ น ช่ ว ง (piecewise
smooth curve) ถ้าสามารถแบ่งเส้นโค้ง C ออกเป็นเส้นโค้งย่อย ๆ ได้จำนวนจำกัด โดยที่แต่ละ
เส้นโค้งย่อยเป็นเส้นโค้งเรียบ
เรียกเส้นโค้ง C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , t  [a, b] ว่า เส้นโค้งเชิงเดี่ยว (simple curve) ถ้า
ทุก ๆ t1 , t2  ( a , b ) และ t1  t 2 จะได้ว่า z (t1 )  z (t2 ) หรือในเชิงเรขาคณิต คือเส้นโค้งไม่ตัดตัวเอง
เรียกเส้ นโค้ง C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , t  [ a , b ] ว่า เส้นโค้งปิดเชิงเดี่ ยว (simple closed
curve) ถ้าเส้นโค้ง C เป็นเส้นโค้งปิดที่เรียบเป็นช่วง ๆ และเป็นเส้นโค้งเชิงเดียว
เช่น กำหนดให้เส้นโค้ง C : z (t ) = cos t + i sin t , 0  t  2
จะเห็ น ได้ ว่ า กราฟของเส้ น โค้ ง C เป็ น วงกลม มี รั ศ มี ย าว 1 หน่ ว ย มี จุ ด เริ่ ม ต้ น อยู่ ที่
z (0) = 1 + 0i = (1, 0) แล้ ว เคลื่ อ นที่ ท วนเข็ม นาฬิ กา และจุ ด สิ้ น สุ ด อยู่ ที่ z (2 ) = 1 + 0i = (1, 0)
ซึง่ z (0) = z (2 ) แสดงว่าเส้นโค้งนี้เป็นเส้นโค้งปิด ดังภาพที่ 2.18
y

(1, 0)
x

ภาพที่ 2.18 วงกลม C : z (t ) = cos t + i sin t , 0  t  2

บทนิยาม 2.21 ส่วนภายในของเส้นโค้ง C (interior of C ) หมายถึง บริเวณที่ถูกปิดล้อมด้วยเส้น


โค้งปิดเชิงเดี่ยว C
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 46

บทนิยาม 2.22 เรียกบริเวณ R ว่าเป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว (simple connected region) ถ้า


R มีสมบัติว่า ทุก ๆ เส้นโค้งปิดเชิงเดี่ ยว C ในบริเวณ R ส่วนภายในของ C เป็นเซตย่อยของ R (ดัง
ภาพที่ 2.19)

ภาพที่ 2.19 R เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว


บทนิ ย าม 2.23 บริ เวณ R จะเรี ย กว่ า เป็ น บริ เวณเชื่ อ มโยงหลายเชิ ง (multiply connected
region) ถ้าเราสามารถลากเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ ยว C ใด ๆใน R แล้วจะมีเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ ยว C อย่าง
น้อยหนึ่งวงที่ข้างในประกอบด้วยจุดซึ่งไม่ใช่จุดใน R (ดังภาพที่ 2.20)

C1 C2

ภาพที่ 2.20 R เป็นบริเวณเชื่อมโยงหลายเชิง

หมายเหตุ บริเวณเชื่อมโยงหลายเชิงเราสามารถทำให้เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยวได้โดยใช้เส้นตัด
เชื่อมระหว่างขอบนอก และขอบในของบริเวณเชื่อมโยงหลายเชิงนั้น ดังภาพที่ 2.21

C1

C2

ภาพที่ 2.21 บริเวณเชื่อมโยงหลายเชิง


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 47

ตัวอย่าง 2.20 กำหนดให้เซตของจุดบนระนาบเชิงซ้อนแต่ละข้อต่อไปนี้


1) S1 = { z  z − (2 + i )  1}

2) S2 = {z  1  z − (2 + i )  2}

3) S3 = {z  z − (2 + i )  2}

จงพิจารณาว่าเซตแต่ละข้อต่อไปนี้ เป็นเซตเปิด เซตปิด บริเวณ หรือโดเมน


วิธีทำ 1) จาก S1 = { z  z − (2 + i )  1} ดังภาพที่ 2.22 (ก)
เซต S1 เป็นย่านใกล้เคียงของจุด 2 + i รัศมียาว 1 หรือ N (2 + i,1) ซึ่งหมายถึงเซต
ของจุดภายในวงกลม z − (2 + i ) = 1 จะเห็นว่า เซต S1 เป็นเซตที่มีขอบเขต และเป็นเซตเชื่อมโยง
เชิงเดี่ยว และจุดต่าง ๆ บนเส้นรอบวงของวงกลม z − (2 + i ) = 1 ไม่ได้อยู่ในเซต S1 ดังนั้น
เซต S1 จึงเป็นเซตเปิด และเรียกเซต S1 ว่าเป็นโดเมน หรือเป็นบริเวณ #

ภาพที่ 2.22 (ก) เซตบนระนาบเชิงซ้อน


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 48

2.5 ลิมติ และความต่อเนื่อง


การหาลิมิตของฟังก์ชันเชิงซ้อน f เมื่อ z เข้าใกล้ z0 ต้องพิจารณาเมื่อ z เข้าใกล้
z0 ทุกทิศทาง ดังบทนิยามต่อไปนี้

บทนิยาม 2.24 ให้ f เป็นฟังก์ชันค่าเชิงเดี่ยวที่นิยามได้บนเซต S เป็นจุดลิมิตของ S จะกล่าว


ว่ า ลิ มิ ต ของ f เมื่ อ z เข้ า ใกล้ z 0 ทุ ก z  S ของ f ( z ) คื อ w0 เขี ย นแทนด้ ว ย
lim f ( z ) = w0 ก็ ต่ อ เมื่ อ สำหรั บ ทุ ก ค่ า   0 ใด ๆ จะสามารถหา   0 สำหรั บ ทุ ก ค่ า
z→ z 0

z  z0 ซึง่ 0  z − z0   แล้ว f ( z ) − w0  

iz i
ตัวอย่าง 2.21 จงพิสูจน์ว่า lim
z →1
=
4 4
วิธีทำ ให้  0
เลือก  = 4
สำหรับ z  1 ซึง่ 0  z − 1   − 4
iz i
ทำให้ f (z) − L = −
4 4
i
= z −1
4
1
  4 = 
4
iz i
ดังนั้น lim
z →1
= #
4 4

z +1 4
ตัวอย่าง 2.22 จงพิสูจน์ว่า lim
z →3
=
z 3
วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 48

2.5 ลิมิตและความต่อเนื่อง ( Limit and Continuity )


บทนิยาม 2.24 ให้ f ( z ) เป็นฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน ลิมิตของ f ( z ) เมื่อ z เข้าใกล้ z หาค่า 0

ได้เท่ากับ L เขียนแทนด้วย
lim f ( z ) = L
z → z0

หมายความว่า ฟังก์ชัน f ( z ) สามารถจะมีค่าใกล้เคียงกับค่า L ถ้าเราเลือกจุด z ให้มีค่าใกล้เคียง z0


แต่ z  z0 หรืออธิบายโดยภาษาคณิตศาสตร์ได้ว่า
lim f ( z ) = L
z → z0

หมายความว่า ทุก ๆ ค่าบวกของ  (   0 ) จะมี  ที่เป็นบวก (   0 ) ที่ทำให้ ทุก z  z0 ถ้า


z − z 0   แล้ว f ( z ) − L  
หรือ zlim →z
f (z) = L
0

หมายความว่า ถ้าหากว่าที่ค่า   0 ทุกค่าซึ่งทำให้ f (z) − L   นั้น เราสามารถหาค่า  0 ที่


สอดคล้องกับเงื่อนไข 0  z − z0  

z −1
ตัวอย่าง 2.21 จงแสดงให้เห็นว่า lim =2
z →3 z−2
z −1
วิธีทำ ในที่นี้เราจะต้องแสดงให้เห็นว่า สำหรับทุกค่า   0 จะมี   0 ที่ทำให้ −2 
z−2
เมื่อ 0  z −3 
z −1 ( z − 1) − 2( z − 2) 3− z
เนื่องจาก −2= =
z−2 z−2 z−2
และ 1 = 1 − (3 − z ) + (3 − z )  1 − (3 − z ) + 3 − z  1 − (3 − z ) + 
1  1 − (3 − z ) + 
1−  z − 2
1 1
 , (  1)
1− z−2
ดังนั้นเราได้
z −1 3− z 1 1
−2 = = 3− z 
z−2 z−2 z−2 1− 

นั่นคือ อสมการ  กับ  จะเป็นจริงเมื่อ



=
1−

 =
1+ 
แสดงว่า เมื่อกำหนดค่า  0 มาให้ เราสามารถหาค่า   0 ที่สอดคล้องกับอสมการ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 49

0  z −3  ได้เสมอ
z −1
lim =2 #
z →3 z−2

นอกจากนี้แล้วการเขียนลิมิตเราอาจจะเขียนในรูปอื่น ๆ คือให้ z = x + yi มีค่าเข้าใกล้จุดคงที่


z0 = x0 + y0i นั่นคือ
lim f ( z) = L
x + yi → x0 + y0 i

หมายความว่า x มีค่าเข้าใกล้ x0 และ y มีค่าเข้าใกล้ y0


เช่น z มีค่าเข้าใกล้ 4 + 3i
หมายความว่า x มีค่าเข้าใกล้ 4 และ y มีค่าเข้าใกล้ 3

ตัวอย่าง 2.22 จงหาค่า lim (2 x + yi ) 2


z → 2i

วิธีทำ

ตัวอย่าง 2.23 จงหา lim(2 z + i )


z →i

วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 50

ทฤษฎีบท 2.1 ถ้า lim f ( z ) = A


z → z0
และ lim g ( z ) = B
z → z0
แล้ว
1. lim kf ( z ) = kA
z → z0

2. lim[ f ( z ) + g ( z )] = A + B
z → z0

3. lim[ f ( z ) g ( z )] = AB
z → z0

f (z) A
4. lim
z → z0
= เมื่อ B0
g (z) B
ตัวอย่าง 2.24 จงหา lim ( z 2 + 3 z − 1)
z →1+ 2 i

วิธีทำ

บทนิยาม 2.25 ฟังก์ชัน f (z) จะเรียกว่าต่อเนื่องที่จุด z = z0 ก็ต่อเมื่อ lim f ( z ) = f ( z 0 )


z → z0

ตัวอย่าง 2.25 กำหนดให้ f (z) = 2z + i จงแสดงว่า f (z) ต่อเนื่องที่จุด z=i

บทนิยาม 2.26 ฟังก์ชัน f ( z ) = u ( x , y ) + v ( x + y )i จะเรียกว่าต่อเนื่องที่จุด z0 = x0 + y0i


ถ้า u ( x, y ) และ v ( x, y ) ต่อเนื่องที่จุด ( x0 , y0 )

ตัวอย่าง 2.26 กำหนดให้ f ( z ) = xy 2 (2 x − y )i จงแสดงว่า f (z) ต่อเนื่องทุกจุดบนระนาบเชิงซ้อน


บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 51

1
ตัวอย่าง 2.27 จงพิจารณาที่จุด z=0 ฟังก์ชัน f (z) = เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องหรือไม่
z
วิธีทำ

2.6 อนุพันธ์ของฟังก์ชันเชิงซ้อน ( derivative of complex value function )


บทนิยาม 2.27 ให้ w = f ( z ) เป็นฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน อนุพันธ์ของ ฟังก์ชัน w = f (z)
dw d
จะแทนด้วย หรือ f ( z ) หรือ f ( z ) ซึง่ นิยามด้วย
dz dz
f ( z + z ) − f ( z ) w
lim = lim
z → 0 z z → 0  z

ถ้าลิมิตมีค่าเท่ากันทุกครั้งที่ z → 0 ตามวิถี ( path) ใด ๆ ที่เชื่อมระหว่างจุด z + z และ z

สูตรการหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนเบื้องต้น จะเป็นเช่นเดียวกับฟังก์ชันตัวแปรจริง กล่าวคือ


dz n
1. = nz n −1
dz
de z
2. = ez
dz
d z 1
3. e =
dz z
d
4. sin z = cos z
dz
d
cos z = − sin z
dz
d
tan z = sec z z
dz
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 52

d
5. sinh z = cosh z
dz
d
cosh z = sinh z
dz
6. ถ้า f (z) และ g (z) หาอนุพันธ์ได้ แล้ว
d d d
[ f ( z ) + g ( z )] = f ( z) + g ( z)
dz dz dz
d d d
[ f ( z ) g ( z )] = f ( z ) g ( z ) + g(z) f ( z)
dz dz dz

ตัวอย่าง 2.28 จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f ( z ) = 3z 2 − 2 z + 5


วิธีทำ

ตัวอย่าง 2.29 จงหาอนุพันธ์ของ − 3 z 2 −1)


3
g ( z ) = e(4 z
วิธีทำ

ตัวอย่าง 2.30 จงหาอนุพันธ์ของ f ( z ) = 3e 4 z (1 + z 2 )


วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 53

บทนิยาม 2.28 ให้ f ( z ) เป็นฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อนเราจะกล่าวว่า f (z) มีอนุพันธ์ที่จุด


z = z0 ( f (z) หาอนุพันธ์ได้ที่จุด z = z0 )
f ( z0 + z ) − f ( z0 )
ถ้า lim หาค่าได้
z → 0 z
d d
และเราจะแทนด้วย f ( z0 ) หรือ f ( z0 ) หรือ f ( z) z=z
dz dz 0

ในการหา f ( z0 ) เราอาจหาได้อีกวิธีหนึ่งคือ
f ( z ) − f ( z0 )
f ( z0 ) = lim
z → z0 z − z0
หมายเหตุ การหาอนุพันธ์อันดับสูงของฟังชันตัวแปรเชิงซ้อน นิยามเช่นเดียวกันกับตัวแปรจริง
d
กล่าวคือ f ( z ) = f ( z )
dz
d
f ( z ) = f ( z )
dz

d
f (n) ( z) = f ( n −1) ( z )
dz

ตัวอย่าง 2.31 จงหา f ( z ) และ f ( z ) ของ f ( z ) = 3 z 4 − 4e − z


วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 54

2.7 ฟังก์ชันวิเคราะห์และสมการโคชี - รีมันน์


บทนิยาม 2.29 ให้ เป็นจำนวนเชิงซ้อน ย่านใกล้เคียง (neighborhood) ของ z 0 ที่มีรัศมี
z0
r  0 หมายถึง เซต { z 0  z − z 0  r} ใช้สัญลักษณ์แทนด้วย N ( z0 , r ) ย่านใกล้เคียงของ
z 0 ที่ไม่รวม z 0 (deleted neighborhood) รัศมี r  0 หมายถึง เซต { z 0  z − z 0  r} ใช้
สัญลักษณ์แทนด้วย N  ( z0 , r )

ตัวอย่าง 2.32 N (0,1) = { z 0  z − 0  1} เป็นวงกลมรัศมี 1 รอบจุด 0 บนระนาบเชิงซ้อนที่


ไม่รวมเส้นรอบวงของวงกลม ดังรูป 2.2
y

บทนิยาม 2.30 เป็นฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน


f (z)
จะเรียก f ( z ) ว่าเป็น ฟังก์ชันวิเคราะห์ (analytic function) ที่จุด z 0
ก็ต่อเมื่อมี r  0 ที่ทำให้ f ( z ) หาค่าได้ทุกจุดใน N ( z0 , r )
ในการที่จะบอกว่าฟังก์ชัน f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด z = z0 หรือไม่ จะอาศัยในทฤษฎีต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 2.2 ให้ f (z)เป็นฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน ซึ่ง f ( z ) = u ( x , y ) + v ( x , y )i เมื่อ u ( x, y )

และ v ( x, y ) เป็นฟังก์ชันค่าจริง
u v u v
ถ้า f ( z ) หาค่าได้ แล้ว = และ =−
x y y x
พิสูจน์ สมมุติว่า f ( z ) หาค่าได้
f ( z + z ) − f ( z )
เพราะฉะนั้น lim หาค่าได้ ทุก ๆ ทิศทางที่ z → 0
z → 0 z
จาก f ( z ) = u ( x , y ) + v ( x, y )i = f ( x + yi )
f ( z + z ) − f ( z )
เราพิจารณาค่าลิมิตของ lim เมื่อ z → 0 กรณีต่อไปนี้
z → 0 z
กรณีที่ z → 0 ตามแกนส่วนจริง ซึ่งเราจะได้ z = x เมื่อ z → 0 จะได้ x → 0
f ( z + z ) − f ( z )
ดังนั้น f ( z ) = lim
z → 0 z
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 55

f ( z + x ) − f ( z )
= lim
x → 0 x
u ( x +  x , y ) + v ( x +  x , y )i − u ( x , y ) − v ( x , y )i
= lim
x → 0 x
u ( x + x, y ) − u ( x, y ) v ( x + x, y ) − v ( x, y )
= lim {[ ]+[ ]i}
x → 0 x x
u ( x + x, y ) − u ( x, y ) v ( x + x , y ) − v ( x , y )
= lim [ ] + lim [ ]i
x → 0 x  x → 0 x
u v
= + i ………………………….(1)
x x
กรณีที่ z → 0 ตามแกนส่วนจินตภาพ ซึ่งเราจะได้ z = yi เมื่อ z → 0 จะได้ y → 0
f ( z + z ) − f ( z )
ดังนั้น f ( z ) = lim
z → 0 z
f ( z + yi ) − f ( z )
= lim
y → 0 yi
u ( x , y +  y ) + v ( x , y +  y )i − u ( x , y ) − v ( x , y ) i
= lim
y → 0 yi
u ( x , y + y ) − u ( x , y ) v ( x , y + y ) − v ( x , y )
= lim{[ ]+[ ]i}
y → 0 yi yi
1 u ( x , y + y ) − u ( x , y ) v ( x , y + y ) − v ( x, y )
= lim [ ] + lim [ ]
i y → 0 y y → 0 y
1 u v
= +
i y y
u v
= −i +
y y
v u
f ( z ) = − i …………………………(2)
y y
จากที่เราสมมุติให้ f ( z ) หาค่าได้ เราจะได้สมการ(1) เท่ากับ สมการ(2) นั่นคือ
u v v u
f ( z ) = + i = − i
x x y y
u v u v
เพราะฉะนั้นเราจะได้ = และ =− #
x y y x

บทนิยาม 2.31 ให้ f ( z ) = u ( x , y ) + v ( x , y )i


u v u v
เราเรียกสมการ = และ =− ว่า สมการโคชี – รีมันน์
x y y x
(Cauchy – Remann’s equation)
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 56

ทฤษฎีบท 2.3 ให้ f ( z ) = u ( x , y ) + v ( x , y )i ที่จุด z = z0 = x0 + y0i ซึ่งให้


u u v v
, , และ มีความต่อเนื่องบนย่านจุด z = z0 = x0 + y0i และ
x y x y
   
u ( x0 , y 0 ) = v ( x0 , y 0 ) และ u ( x0 , y 0 ) = − v ( x0 , y 0 ) แล้ว
x y y x
ฟังก์ชัน f ( z ) = u ( x, y ) + v ( x, y )i เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด z = z0 = x0 + y0i
และจะได้ อนุพันธ์ของ f ( z ) ที่จุด z = z0 = x0 + y0i คือ
 
f ( z 0 ) = [ u ( x0 , y 0 )] + [
v ( x0 , y 0 )]i
x x
 
หรือ f ( z0 ) = [ v ( x0 , y0 )] + [ − u ( x0 , y0 )]i
y y
พิสูจน์ ให้ z0 = x0 + y0i และ  z =  x +  yi พิจารณา f ( z ) = u ( x, y ) + v ( x, y )i จะได้
f ( z0 + z ) − f ( z0 ) = u ( x0 + x, y0 + y ) + v ( x0 + x, y0 + y )i − u ( x0 , y0 ) − v ( x0 , y0 )i
= [u ( x0 + x, y0 + y ) − u ( x0 , y0 )] + [v ( x0 + x, y0 + y ) − v ( x0 , y0 )]i
= u + vi ……………………….…(  )
   
เพราะว่า u ( x, y ) , u ( x, y ) , v ( x, y ) และ v ( x , y ) มีความต่อเนื่องบนย่าน
x y x y
จุด z0 = x0 + y0i
เพราะฉะนั้นโดยทฤษฎีบทค่าเฉลี่ย(Mean Value Theorem)จะมี x1 ระหว่าง x0 กับ x0 + x
ที่ทำให้
 u ( x0 +  x , y 0 ) − u ( x0 , y 0 )
u ( x1 , y0 ) =
x x

หรือ u ( x0 +  x , y 0 ) − u ( x0 , y 0 ) = u ( x1 , y0 )  x ………………….(1)
x
ให้ 1 =  u ( x1 , y0 ) −  u ( x0 , y0 )
x x
 
หรือ u ( x1 , y0 ) =  1 + u ( x0 , y 0 ) จะได้สมการ(1)
x x

u ( x0 +  x , y 0 ) − u ( x 0 , y 0 ) = u ( x0 , y 0 )  x +  1  x ……………...(2)
x
และ lim  1 = 0
(  x ,  y ) → (0,0)

และจะมี x2 ระหว่าง x0 กับ x0 + x ที่ทำให้



v ( x0 +  x , y 0 ) − v ( x0 , y 0 ) = v ( x2 , y 0 )  x ………………….(3)
x
 
ให้ 2 = v ( x2 , y 0 ) − v ( x0 , y 0 )
x x
 
หรือ v ( x2 , y 0 ) =  2 + v ( x0 , y 0 ) จะได้สมการ(3)
x x
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 57


v ( x0 +  x , y 0 ) − v ( x 0 , y 0 ) = v ( x0 , y 0 )  x +  2  x ……………...(4)
x
และ lim
( x ,  y ) → (0,0)
2 = 0

ในทำนองเดียวกันจะมี y1 และ y2 ระหว่าง y0 กับ y0 + y ที่ทำให้



u ( x0 + x, y0 + y ) − u ( x0 + x, y0 ) = u ( x0 + x, y1 ) y
y

v ( x0 + x, y0 + y ) − v ( x0 + x, y0 ) = v ( x0 +  x , y 2 )  y
y
 
ให้ 3 = u ( x0 + x , y1 ) − u ( x0 , y 0 )
y y
 
และ 4 = v ( x0 + x, y1 ) − v ( x0 , y 0 ) จะได้
y y

u ( x0 +  x , y 0 +  y ) − u ( x 0 +  x , y 0 ) = u ( x0 , y0 ) y +  3 y …….(5)
y
และ lim
(  x ,  y ) → (0,0)
3 = 0

v ( x0 +  x , y 0 +  y ) − v ( x 0 +  x , y 0 ) = v ( x0 , y0 ) y +  4 y …….(6)
y
และ lim
( x ,  y ) → (0,0)
4 = 0
u 0 u 0  v0 v0
ให้ , , , แทนอนุพันธ์ย่อยของ u ( x , y ) และ v ( x , y ) ที่จุด ( x0 , y0 )
x y x y
จาก(2)และ(5)จะได้
u 0 u 0
 u = u ( x0 +  x , y 0 +  y ) − u ( x 0 , y 0 ) = x +  y +  1 x +  3  y
x y
จากสมการ (4)และ(6)จะได้
v0 v0
v = v ( x0 + x, y0 + y ) − v ( x0 , y0 ) = x + y +  2 x +  4 y
x y
   
เพราะว่า u ( x0 , y 0 ) = v ( x0 , y 0 ) และ u ( x0 , y 0 ) = − v ( x0 , y 0 )
x y y x
u v
 u = 0  x − 0  y +  1 x +  3  y
x x
และ v = v0 x + u0 y +  2  x +  4  y
x x
จากสมการ(  ) จะได้
f ( z0 + z ) − f ( z0 )  u +  vi
=
z z
u 0  v0 v u
[ x −  y +  1 x +  3  y ] + [ 0  x + 0  y +  2  x +  4  y ]i
= x x x x
z
u v x v u y x y
= ( 0 + 0 i) + (− 0 + 0 i) + ( 1 +  2 i ) + ( 3 +  4 i )
x x  z x x  z z z
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 58

u 0  v0 x u 0  v0 y x y
=( + i) +( + i) i + ( 1 +  2 i ) + ( 3 +  4 i )
x zx x x  z z z
u 0  v0
x y x y
=( + i )[ + i ] + ( 1 +  2 i ) + ( 3 +  4 i )
x x z z z z
เมื่อ z → 0 จะได้ (  x ,  y ) → 0
และมี lim
(  x ,  y ) → (0,0)
1 = 0 , lim
( x ,  y ) → (0,0)
2 = 0 , lim
(  x ,  y ) → (0,0)
3 = 0 , lim
( x ,  y ) → (0,0)
4 = 0

x y
และเพราะว่า 1 และ 1
z z
x y
 lim ( 1 +  3i ) =0 และ lim ( 2 +  4 i ) =0
z → 0 z z → 0 z
ดังนั้น
f ( z0 + z ) − f ( z0 ) u 0  v0 x y x y
lim = lim{( + i )[ + i ] + ( 1 +  2 i ) + ( 3 +  4 i ) }
z → 0 z z → 0 x x z z z z
 u 0  v0  x  y
= lim ( + i )[ + i]
( x , y ) → 0 x x z z
u v
= 0+ 0i
x x
f ( z 0 +  z ) − f ( z 0 )  u 0  v0
 f ( z 0 ) = lim = + i
z → 0 z x x
f ( z 0 +  z ) − f ( z 0 ) v0 u 0
และ f ( z0 ) = lim = − i #
z → 0 z y y

ตัวอย่าง 2.33 กำหนดให้ f ( z ) = z 2


จงพิจารณาว่า f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุก ๆ ค่า z หรือไม่ โดยใช้
(1) บทนิยาม 2.30
(2) ทฤษฎีบท 2.2
วิธีทำ (1) จาก f ( z ) = z 2
 f ( z ) = 2 z
เมื่อกำหนดค่าของ z เป็นค่าใด ๆ แล้ว f ( z ) หาได้
แสดงว่า f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์สำหรับทุก ๆ ค่า z

(2) ถ้าพิจารณาโดยใช้ทฤษฎีบท 2.2


แทน z = x + yi จะได้
f ( z ) = ( x + yi ) 2 = ( x 2 − y 2 ) + 2 xyi
แสดงว่า u ( x, y ) = x 2 − y 2
u u
จะได้ = 2x , = −2 y
x y
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 59

และ v ( x , y ) = 2 xy
v v
จะได้ = 2y , = 2x
x y
ซึ่งสอดคล้องกับสมการโคชี – รีมันน์ คือ
u v u v
= และ =− ทุก ๆ ค่า z
x y y x

ดังนั้น f ( z) = z 2 เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุก ๆ ค่า z #

ตัวอย่าง 2.34 กำหนดให้ f ( z ) = zz


จงพิจารณาว่า f (z) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุดใดบ้าง
วิธีทำ

ตัวอย่าง 2.35 กำหนดให้ f ( z ) = ( x3 − 3xy 2 ) + (3x 2 y − y 3 )i


จงหา f ( z ) โดยใช้ทฤษฎี 2.3
วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 60

หมายเหตุ ฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนที่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุกค่า z บนระนาบเชิงซ้อน เราเรียกว่า


ฟังก์ชันทั่ว หรือ ฟังก์ชันเอ็นไทร์ (entire function)

ตัวอย่าง 2.36 จงหาฟังก์ชันวิเคราะห์ f (z) เมื่อมีส่วนจริง


u ( x, y ) = x 2 − y 2 − x
วิธีทำ
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 61

บทนิยาม 2.32 ที่จุด z0 ที่ทำให้ f (z) ไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ เราเรียกจุด z 0 ว่า จุดเอกฐาน


(singular point) ของ f (z)

ตัวอย่าง 2.34 จงพิจารณาจุดเอกฐานของฟังก์ชันต่อไปนี้


1) f ( z ) = zz
2) f ( z) = z 2

z3 − z + 1
3) f (z) =
z2 +1
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 62

แบบฝึกหัดบทที่ 2

1. จงหาส่วนจริง u ( x, y ) และส่วนจินตภาพ v ( x, y ) ของฟังก์ชันแต่ละข้อต่อไปนี้ เมื่อ z = x + yi

1.1 f ( z ) = z 2 + 2iz + 1
1.2 f ( z ) = − z 2 + iz + 2
2 1− i 1+ i
1.3 f (z) = (z 2 + z ) + zz
4 2
1.4 f ( z ) = e (1+ i ) z
1.5
2
f (z) = ez

2. จงหาค่าของฟังก์ชันแต่ละข้อต่อไปนี้ที่ค่าของ z ที่กำหนดให้
2.1 f ( z ) = xy + i ( x 2 − y 2 ) ; z = −1 + 2i
2.2 f ( z ) = z z + z − 2 z + 1 ; z = 4 + 3i
7
2.3 f (z) = ez ; z = − 2 − 3 i , − 1 − i
4
2.4 f ( z ) = sin z ; z = z = 3 + 2i , 3 i , 2 − 4i
2.5 f ( z ) = cos z ; z = 3 + 2i ,  +  i , i
2.6 f ( z ) = sinh z ; z = 4 − 3i

3. จงหาค่ามุขสำคัญของ
3.1 L n( −7) 3.2 L n( 2 + 2i ) 3.3 (1 − i ) 2
i
3.4 i2 3.5 (1 + 3i )i 3.6 ( −5) 2 + 4 i

4. จงหาค่า z ทั้งหมดจากสมการ
4.1 e z = −3 + 4i 4.2 ez = i
2
4.3 e 2 z = −2 4.4 e z = 1
4.5 sinh z = 0 4.6 sin z = cosh z
4.7 cos z = 3i
5. จงบรรยายเซตบนระนาบเชิงซ้อนแต่ละข้อที่กำหนดให้ต่อไปนี้เป็นเซตที่มีขอบเขตหรือไม่มีขอบเขต
เป็นเซตเปิดหรือเซตปิด เป็นโดเมนหรือบริเวณ และเชื่อมโยงเชิงเดียวหรือเชื่อมโยงหลายเชิง
5.1 { z  Im( z )  0} 5.2 { z  2  z  3}
5.3 { z  z − 1  4} 5.4 { z  0  Re( z )  1}
บทที่ 2 ฟังก์ชนั ตัวแปรเชิ งซ้อน 63

3
5.5 {z  z −1  } 5.6 { z  0  Im( z )  Re( z )}
4

6. จงใช้สมการโคชี – รีมันน์ ทดสอบว่าฟังก์ชันแต่ละข้อต่อไปนี้ที่ใดบ้างที่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ และที่


ใดบ้างเป็นจุดเอกฐาน
z
6.1 f (z) = z 2 + 2z 6.2 f (z) =
z +1
1 1
6.3 f ( z) = + ( z − 1) 2 6.4 f ( z) =
z ( z + 1)( z − 1)
i
6.5 f ( z ) = tan z 6.6 f (z) =
z
6.7 f (z) = i z
4
6.8 f ( z ) = (1 + i ) z 2
Re( z )
6.9 f ( z) = 6.10 f ( z ) = ln z + A rg( z )i
Im( z )

7. จงแสดงว่า f ( z ) = x 2 − y 2i ไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่ทุกจุด z และ f ( z ) ไม่มีจุดเอกฐาน


8. จงพิจารณาว่าที่ใดบ้างที่หา f ( z ) ได้ และหา f ( z )
8.1 f ( z ) = x 2 + y 2i
8.2 f ( z ) = ( x 2 − y 2 ) − 2 xyi
8.3 f ( z ) = e − x (cos y − i sin y )
9. จงหา f ( z ) = u ( x, y ) + v ( x, y )i ที่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ เมื่อ
9.1 u ( x, y ) = x 9.4 u ( x, y ) = y 2 − x 2
y
9.2 v ( x , y ) = xy 9.5 v ( x, y ) =
x + y2
2

9.3 u ( x, y ) = e x cos y
บทที่ 3
การหาปริพันธ์บนระนาบเชิงซ้อน

ในบทที่ 2 เราได้กล่าวถึงฟังก์ชันวิเคราะห์ และการหาอนุพันธ์อันดับหนึ่งของฟังก์ชันค่า


เชิงซ้อนแต่ยังไม่ได้กล่าวถึงอนุพันธ์อันดับสูงของฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน สำหรับฟังก์ชันค่าเชิงซ้อนนั้น
อนุพันธ์อันดับสูงจะปรากฏในรูปของปริพันธ์ ซึ่งเป็นรูปแบบที่ไม่ปรากฏในปริพันธ์ของฟังก์ชันตัว
แปรจริง และการหาปริพันธ์ในระนาบเชิงซ้อนยังสามารถหาปริพันธ์ของฟังก์ชันตัวแปรจริงซึ่งไม่
สามารถหาโดยปกติได้ และจากการหาปริพันธ์ฟังก์ชันตัวแปรจริงนั้นเราแยกออกเป็น 2 ประเภท
คือ
1. การหาปริพันธ์แบบกำหนดลิมิต หรือปริพันธ์จำกัดเขต (definite integral) หรือ
ปริพนั ธ์ตามเส้น (line integral)
2. การหาปริพนั ธ์แบบไม่จำกัดลิมิต หรือปริพนั ธ์ไม่จำกัดเขต (indefinite integral)

ในบทนี้เราจะศึกษาการหาปริพนั ธ์แบบกำหนดลิมิต หรือปริพนั ธ์ของฟังก์ชนั ตามเส้นของตัว


แปรเชิงซ้อน f ( z ) เมื่อ z = x + yi เป็นจุดบนเส้นโค้งใด ๆ ในระนาบเชิงซ้อน ก่อนที่จะพิจารณา
ถึงรายละเอียดต่าง ๆ ในการหาปริพันธ์ตามเส้นของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อน เราจะทบทวนเส้นโค้ง
และสมการเส้นโค้งของตัวแปรเชิงซ้อนก่อนดังนี้

3.1 บทนำ
จากบทที่ 2 ได้กล่าวถึงบทนิยามเส้นโค้ง และสมการเส้นโค้งมาแล้ว ซึ่งเขียนในรูป
C : z ( t ) = x (t ) + y (t )i , a  t  b
โดยที่ a , b และ t เป็นจำนวนจริง ตัวอย่างต่อไปพิจารณากราฟเส้นโค้งหรือสมการเส้นโค้งใน
ระนาบเชิงซ้อน ดังนี้

ตัวอย่าง 3.1 จงเขียนกราฟของเส้นโค้ง C : z (t ) = 2t + 3ti , 0t 2

วิธีทำ จาก z (t ) = 2t + 3ti


จะมี x (t ) = 2t และ y (t ) = 3t และพิจารณา 0t 2 จะได้ค่าดังตาราง

t 0 1 2
x (t ) 0 2 4
y (t ) 0 3 6
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 65

เพราะฉะนั้นเส้นโค้ง C มีจุดเริ่มต้นอยู่ที่ 0 + 0i หรือ ( 0,0 ) และจุดสิ้นสุดอยู่ที่ 4 + 6i


3
หรือ (4, 6) และเป็นส่วนของเส้นตรง y= x เขียนกราฟได้ดังภาพ 3.1 #
2

ภาพที่ 3.1 กราฟ C : z (t ) = 2t + 3ti , 0t 2

ตัวอย่าง 3.2 จงเขียนกราฟของเส้นโค้ง C : z (t ) = 2 cos t + i 2 sin t , 0  t  2


บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 66

ตัวอย่าง 3.3 จงหาสมการส่วนของเส้นตรงที่มีจุดปลายที่ z1 = −1 + i และ z2 = 3 − 4i ดังภาพ

ภาพที่ 3.3 ส่วนของเส้นตรงที่มีจุดปลายอยู่ที่ z1 = −1 + i และ z2 = 3 − 4i


วิธีทำ

ตัวอย่าง 3.4 จงหาสมการแทนเส้นโค้ง C ในรูป z (t ) ซึ่งเป็นเส้นรอบวงของวงกลมที่มีจุด


ศูนย์กลางอยู่ที่ z0 = x0 + y0i รัศมีเท่ากับ r ดังภาพ
วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 67

ข้อตกลง ในกรณีเส้นโค้ง C เป็นวงกลมรัศมี r0 รอบจุดศูนย์กลาง z0 จะแทนด้วยสมการ


z − z0 = r หรือ z (t ) = z0 + re it หรือ z (t ) = z0 + r (cos t + i sin t ) เมื่อ 0  t  2

บทนิยาม 3.1 เส้นโค้ง C เรียกว่า เส้นโค้งเรียบ (smooth curve) ก็ต่อเมื่อ C เป็นเส้นโค้งใน


รูป z (t ) = x (t ) + y (t )i , a  t  b และ z (t ) หาค่าได้ และมีความต่อเนื่องในช่วง [ a , b ] และ
z ( t )  0

ตัวอย่าง 3.5 จงแสดงว่าเส้นโค้ง C : z (t ) = t + 2ti , 0  t 1 เป็นเส้นโค้งเรียบ


วิธีทำ เนื่องจาก x (t ) = t และ y (t ) = 2t

dx (t ) dy (t )
เราได้ =1 และ =2 ซึ่งต่อเนื่องทุก ๆ ค่าของ t
dt dt
หรือ อนุพันธ์บนเส้นโค้ง C คือ
z ( t ) = 1 + 2 i ซึง่ ต่อเนื่องทุกๆ ค่าของ t และไม่เป็นศูนย์ที่จุดใด ๆ
ดังนั้น เส้นโค้ง C : z (t ) = t + 2ti , 0  t 1 เป็นเส้นโค้งเรียบ #

3.2 ปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน
บทนิยาม 3.2 กำหนดให้ f : [a, b] → เป็นฟังก์ชันค่าเชิงซ้อน และ u : [a, b] → ,
v : [a, b] → เป็นฟังก์ชันค่าจริง ซึ่ง f (t ) = u (t ) + v (t )i , at b
b b

ถ้า  u (t ) dt และ  v (t ) dt หาค่าได้ แล้ว เรากล่าวว่า ปริพันธ์ของ f (t ) หาค่าได้


a a

b b b

บน [ a , b ] และ  f (t ) dt =  u (t )dt + i  v (t )dt


a a a
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 68

b b

ทฤษฎีบท 3.1 ให้ a , b , c1 และ c2 เป็นค่าคงตัว และถ้า  f (t ) dt และ  g (t )dt หาค่าได้ แล้ว
a a

b b b

1.  [c1 f (t )  c2 g (t )]dt = c1  f (t ) dt  c2  g (t ) dt
a a a

b c b

2.  f (t ) dt =  f (t )dt +  f (t )dt เมื่อ acb


a a c

b a

3.  f (t ) dt = −  f (t ) dt
a b

4.  f (t ) dt = 0
a

พิสูจน์ (การพิสูจน์เช่นเดียวกับปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริงในวิชาแคลคูลัส)

 2
ตัวอย่าง 3.6 กำหนดให้ f (t ) = 2 cos t + i sin t , 0t จงหา  f (t ) dt
2 0

วิธีทำ จากฟังก์ชันค่าเชิงซ้อนที่กำหนดให้ f (t ) = 2 cos t + i sin t


จะมี u (t ) = 2 cos t และ v (t ) = sin t
 
2 2 
พิจารณา  u (t ) dt =  2 cos tdt = 2(sin t ) 02 =2
0 0
 
2 2 
และ  v (t ) dt =  sin tdt = ( − cos t ) 02 = 1
0 0
 
2 2
ดังนั้น  f (t ) dt =  (2 cos t + i sin t )dt
0 0
  
2 2 2

 f (t ) dt =  2 cos tdt + i  sin tdt


0 0 0

= 2+i #

ตัวอย่าง 3.7 จงหาค่าของ  [2t + (2 + t 2 )i ]dt


0

วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 69

3.3 ปริพันธ์ตามเส้นเชิงซ้อน
ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงการหาปริพันธ์ฟังก์ชันเชิงซ้อนจากจำนวนเชิงซ้อนจำนวนหนึ่ง z 0 ไป
ยังจำนวนเชิงซ้อน z1 ซึ่งเรียกว่าปริพันธ์ตามเส้นรอบขอบ เนื่องจากมีวิถีจาก z 0 ไป z1 ในระนาบ
เชิงซ้อนหลายวิถี ดังนั้นจึงจำเป็นจะต้องระบุระบุเส้นโค้งให้ชัดเจน ลักษณะเช่นนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของ
ปริพันธ์เชิงจริงตามเส้นโค้งในระนาบ xy สมบัติของปริพันธ์ตามเส้นเชิงจริง จึงมีส่วนสำคัญในการ
ช่วยคำนวณปริพันธ์ตามเส้นรอบขอบในระนาบเชิงซ้อนที่จะกล่าวในหัวข้อ 3.4 ต่อไป

3.3.1 ทางเดินหรือวิถีของการหาปริพันธ์ (path of integration)


การหาปริพันธ์จำกัดเขตของฟังก์ชันตัวแปรจริงส่วนมากจะหาปริพันธ์อยู่ในช่วงที่อยู่บนแกน
จริ ง (real axis) หรื อ เส้ น จำนวนจริง (real line) ส่ ว นในกรณี ข องการหาปริพั น ธ์แ บบจำกั ด เขต
เชิงซ้อน เราจะหาปริพันธ์ ตามเส้นโค้ง C ในระนาบเชิงซ้อนซึ่งเราจะเรียกว่า ทางเดินของการหา
ปริพันธ์ หรือวิถีของการหาปริพันธ์ ซึ่งเส้นโค้ง C ในระนาบเชิงซ้อนเราสามารถแทนได้ในรูป
C : z (t ) = x (t ) + y (t )i , at b

หรือ z (t ) = x (t ) + iy (t ) , at b

บทนิยาม 3.3 ปริพันธ์ตามเส้นโค้งเชิงซ้อน


ให้ C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , a  t  b เป็ น เส้ น โค้ ง เรี ย บในระนาบเชิ ง ซ้ อ น และ
f ( z ) = u ( x , y ) + iv ( x, y ) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่แต่ละจุดบนเส้นโค้ง C และเราสามารถแบ่งเส้น
โค้ง ดังกล่าวที่อยู่ในช่วง a  t  b ออกเป็น n ช่วงเท่า ๆ กัน โดยที่จุดแบ่งต่าง ๆ ให้ชื่อเป็น
z1 , z2 ,..., zn −1 และ a = z0  z1  z2  ...  zn = b ซึ่งเป็นจุดบนเส้นโค้ง C และ ให้
zm = zm − zm −1 เป็นคอร์ดที่ตัดเส้นโค้งระหว่างจุด zm −1 กับ z m ดังภาพ 3.5
ในแต่ละส่วนโค้งที่เกิดจากการแบ่งเส้นโค้ง C เราสามารถเลือกจุดใด ๆ ได้
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 70

เช่น ระหว่างจุด z0 กับ z1 เลือกจุด 1


ระหว่างจุด z1 กับ z2 เลือกจุด 2


ระหว่างจุด zm −1 กับ zm เลือกจุด m


ระหว่างจุด z n −1 กับ zn เลือกจุด n
 n −1 n

3
2
1

ภาพที่ 3.5 เส้นโค้ง C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) , a  t  b ในระนาบเชิงซ้อน


ทีม่ า (Murray R. S., Seymour L., John J. S. and Dennis S. 2009, pp. 111)
n
ให้ Sn =  f ( m ) z m …………………….(3.1)
m =1

เมื่อ n→ จะได้ z m → 0


n
ถ้า lim  f ( m )z m หาค่าได้ ค่าที่ได้คือ ปริพันธ์ตามเส้น (line integral) ของ f ( z )
n →
m =1

ตามเส้นโค้ง C เขียนแทนด้วย  f ( z ) dz ดังนั้น


C
n

 f ( z ) dz = lim  f ( m )z m ……………………(3.2)


n →
C m =1

หมายเหตุ ในกรณีที่เส้นโค้ง C เป็นเส้นโค้งปิด เราเรียกการหาปริพันธ์ตามเส้นที่ได้ใหม่นี้ว่า


การหาปริพันธ์วงรอบปิด หรือ คอนทัวร์ปริพันธ์ (contour integral) และใช้สัญลักษณ์  f ( z ) dz
C

หรือ  f ( z )dz ทิศทางบวกของการหาปริพันธ์สำหรับคอนทัวร์ปริพันธ์ก็คือทิศทางที่ให้พื้นที่


ภายในวงรอบปิดอยู่ทางซ้ายมือของคนที่เดินไปตามทิศทางดังกล่าวในกรณีที่เส้นรอบวงปิดเป็น
วงกลม ทิศทางบวกของการหาปริพันธ์ ก็คือทิศทวนเข็มนาฬิกานั่นเอง
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 71

ตัวอย่าง 3.8 กำหนดให้ f ( z) = z 2 และ C เป็นเส้นโค้ง z (t ) = 2t + ti เมื่อ 0  t 1

จงหาค่าของ  f ( z ) dz โดยใช้สมการ (3.2)


C

ภาพที่ 3.6 เส้นโค้ง z (t ) = 2t + ti เมื่อ 0  t 1

วิธีทำ จากเส้นโค้ง C : z (t ) = 2t + ti เมือ่ 0  t 1 เขียนแสดงด้วยกราฟดังภาพที่ 3.6


ให้ zm = xm + ym i ดังนั้น xm = 2t และ ym = t

จะได้ xm = 2 ym

ดังนั้น z m = 2 ym + ym i

จากสมการ (3.2) ให้  m = zm เราจะได้


f ( m ) = ( m ) 2 = ( z m ) 2 = (2 ym + ym i ) 2 = 3 y m2 + 4 y m2 i

และ zm = zm − zm −1

= [2 ym + ym i ] − [2 ym −1 + ym −1i ]

zm = 2( ym − ym −1 ) + ( ym − ym −1 )i

= 2 y m + y m i = (2 + i ) ym

จากสมการ (3.2) ได้


 f ( z )dz =  z
2
dz
C C
n

 f ( z ) dz = lim  f ( m )  z m
n →
C m =1
n
= lim  (3 y m2 + 4 y m2 i )(2 + i ) y m
n →
m =1
n

 f ( z ) dz = (3 + 4i )(2 + i ) lim  y m2  y m
n →
C m =1
n
= (2 + 11i )  y m2  y m
m =1
1

 f ( z ) dz = (2 + 11i )  y
2
dy
C 0
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 72

2 + 11i 2 11
= = + i
3 3 3
2 11
ดังนั้น  f ( z ) dz = + i #
C
3 3

3.3.2 การหาปริพันธ์ตามเส้นจริง
ให้ P ( x, y ) และ Q ( x, y ) เป็นฟังก์ชันค่าจริงของตัวแปร x และ y ซึ่งต่อเนื่องทุกจุดบน
เส้นโค้ง C แล้วปริพันธ์ตามเส้นจริงของ P ( x , y ) dx + Q ( x , y ) dy ตามแนวเส้นโค้ง C สามารถหา
ได้ในลักษณะเดียวกับหัวข้อ 3.3.1 และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์

 [ P ( x, y )dx + Q ( x, y )dy ] หรือ  [ Pdx + Qdy ] ……………………(3.3)


C C

ถ้า C เป็นเส้นโค้งเรียบและมีสมการพารามิเตอร์ในรูป x =  (t ) และ y =  (t ) เมื่อ


t1  t  t2 สามารถหาค่าของสมการ (3.3) ได้ดังนี้
t2

 [ P ( x, y ) dx + Q ( x, y )dy ] =   P ( (t ),  (t )) (t ) dt + Q ( (t ),  (t )) (t ) dt  ….(3.4)


C t1

ตัวอย่าง 3.9 จงหาค่าของ  [(2 y + x 2 ) dx + (3 x − y )dy ] เมื่อ C เป็นเส้นโค้ง


C

x = 2t , y = t 2 + 3 จากจุด (0, 3) ถึง (2, 4)

วิธีทำ จุด (0, 3) ถึง (2, 4) เป็นจุดบนพาราโบลา y = t2 + 3 จาก t=0 ถึง t =1 ตามลำดับ
จากสมการ (3.4) จะได้
1

 [(2 y + x ) dx + (3 x − y ) dy ] =  {2(t 2 + 3) + (2t ) 2 }2 dt + {3(2t ) − (t 2 + 3)}2tdt 


2

C 0

 [(2 y + x )dx + (3 x − y )dy ] =  (−2t + 24t − 6t + 12)dt


2 3 2

C 0

33
= #
2

3.3.3 การหาปริพันธ์ตามเส้นเชิงซ้อนในรูปพจน์ของปริพันธ์ตามเส้นจริง
สำหรับวิถี (ทางเดิน) ทั้งหมดของการหาปริพันธ์ ในกรณีของปริพันธ์ตามเส้น โค้ง C เป็น
เส้นโค้งปรับเรียบเป็นช่วง (piecewise smooth) ที่ประกอบไปด้วยเส้นโค้งเรียบมากมายที่ต่อเชื่อม
กัน ดังภาพที่ 3.7
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 73

a
ช่วงที่ 1 c
ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 4

b
ช่วงที่ 3 d ช่วงที่ 5

ภาพที่ 3.7 เส้นโค้งปรับเรียบเป็นช่วง

จากภาพจะเห็นว่า ช่วงที่ 1 เป็นเส้นโค้งต่อเนื่องตลอดและต่อเชื่อมกับช่วงที่ 2 ที่เป็นเส้นตรงที่จุด a


และช่วงที่ 2 ต่อเนื่องกับช่วงที่ 3 ที่เป็นเส้นโค้งที่จุด b …
สมมุติว่า f ( z ) = u ( x , y ) + iv ( x, y ) เป็นฟังก์ชันต่อเนื่อง
และ C : z (t ) = x (t ) + iy (t ) เป็นเส้นโค้งปรับเรียบเป็นช่วง เมื่อเราแบ่งเส้นโค้ง C ออกเป็น
n ช่วง และ zm = zm − zm −1 = xm + iym เป็นคอร์ดที่ตัดเส้นโค้ง C ระหว่างจุด zm −1 กับ
จุด zm เราเลือกจุด  m =  m + im ที่อยู่บนเส้นโค้ง C ระหว่าง zm −1 กับจุด z m ซึ่งจะได้

f ( m ) = u ( m ,m ) + iv( m ,m ) ดังนั้นผลบวกในสมการ (3.1) จะได้


n
S n =  [u ( m ,  m ) + iv ( m ,  m )][ xm +  ym ]
m =1

n n
=  [u ( m ,  m ) xm − v ( m ,  m )y m ] + i  [ v ( m ,  m ) xm + u ( m ,  m )y m ] .(3.5)
m =1 m =1

เนื่องจาก f ต่อเนื่องจึงทำให้ ผลบวกในแต่ละพจน์ทางขวามือของสมการ (3.5) เป็น


ค่าจริง ดังนั้นถ้าเรากำหนดให้ n เข้าสู่ค่าอนันต์ตามที่ได้กล่าวไว้  xm กับ ym จะเข้าสู่ศูนย์
และผลบวกแต่ละพจน์ด้านขวามือจะกลายเป็นปริพันธ์ค่าจริงนั้นคือ

lim S n =  f ( z ) dz =  udx −  vdy + i[  udy +  vdx ]


n →
C C C C C

 f ( z ) dz =  (u + iv )(dx + idy ) ………………….(3.6)


C C

การหาปริพัน ธ์ตามเส้ น ในกรณี ที่ C เป็ นเส้ นโค้งเรียบและ f ต่อเนื่ องบนเส้ นโค้ง C
สามารถหาปริ พั น ธ์ได้จ ากสมการ (3.2) และกรณี ที่ C เป็ น เส้ น โค้ งปรับ เรีย บเป็ น ช่ว งและ f
ต่อเนื่องบนเส้นโค้ง C สามารถหาปริพันธ์ตามเส้นในรูปของสมการ (3.6)
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 74

ตัวอย่าง 3.10 กำหนดให้ f ( z ) = z 2 และจุด A = 0 + 0i จุด B = 4 + 2i ให้ C เป็นเส้นตรง


ที่เชื่อมจุด A กับจุด B ดังภาพ 3.8 จงหา  f ( z ) dz โดยใช้ปริพันธ์ตามเส้นจริงสมการ (3.6)
C

ภาพที่ 3.8 ส่วนของเส้นตรง จากจุด A = 0 + 0i ถึง B = 4 + 2i

วิธีทำ ให้ z = x + yi

จากส่วนของเส้นตรงที่กำหนดให้จะได้ x = 2y ดังนั้น z = 2 y + yi

จาก f ( z) = z 2 = (2 y + yi ) 2

และ dx = 2 dy

โดยสมการ (3.6) จะได้


 f ( z ) dz =  (u + vi )( dx + idy )
C C

=  (2 y + yi ) 2 (2 dy + idy )
C

 f ( z ) dz =  (3 + 4i )(2 + i) y dy
2

C C

 f ( z ) dz = (2 + 11i )  y 2 dy
C C

 f ( z ) dz = (2 + 11i )  y 2 dy
C 0
2
 y3 
= (2 + 11i )  
 3 0
16 + 88i
= #
3
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 75

3.4 การหาปริพันธ์เชิงซ้อน

วิธีการหาปริพันธ์เชิงซ้อนเป็นวิธีที่มีประโยชน์มากสำหรับนำมาใช้คำนวณหาค่าปริพันธ์
ทั่วไป ซึ่งในเอกสารเล่มนี้จะกล่าวถึงวิธีการหาปริพันธ์เชิงซ้อน 4 วิธี คือ
1. การหาปริพันธ์โดยใช้วิธีการแทนเส้นวิถีหาปริพันธ์
2. การหาปริพันธ์โดยใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
3. การหาปริพันธ์โดยทฤษฎีปริพันธ์ของโคชี
4. การหาปริพันธ์โดยใช้ส่วนตกค้าง
ซึ่งในแต่ละวิธีในการหาปริพันธ์เชิงซ้อน ฟังก์ชัน f จะต้องมีเงื่อนไขที่จำเป็นของแต่ละวิธี โดยใน
บทนี้เราจะได้ศึกษาวิธีการหาปริพันธ์ 3 วิธีแรก สำหรับวิธีที่ 4 จะกล่าวในบทที่ 5 ต่อไป

3.4.1 การหาปริพันธ์โดยใช้วิธีการแทนเส้นวิถีหาปริพันธ์
วิธีการนี้ใช้กับฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนที่ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 3.2 ถ้า C เป็นวิถีการหาปริพันธ์ โดยที่ C เป็นเส้นโค้งปรับเรียบเป็นช่วง ที่แทนด้วย
z = z (t ) เมื่อ a  t  b และให้ f เป็นฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนที่ต่อเนื่องบน C แล้ว
b

 f ( z )dz =  f [ z (t )]z (t )dt ……………………….(3.7)


C a

dz
เมื่อ z ( t ) =
dt

พิสูจน์ จากสมการ (3.6)


 f ( z )dz =  (u + vi ) ( dx + idy ) ………………………..(ก)
C C

ให้ z = x (t ) + y (t )i เมื่อ at b

dz dx dy
จะได้ = + i หรือ z  = x + iy  ………………………..(ข)
dt dt dt
และ f [ z (t )] = u[ x (t ), y (t )] + v[ x (t ), y (t )]i หรือ f [ z (t )] = u + iv

พิจารณาด้านขวามือของสมการ (3.7) จะได้


b b

 f [ z (t )] z (t ) dt =  (u + iv )( x  + iy ) dt
a a

 f [ z ]dz =  (ux  + ivx  + iuy  − vy ) dt


C a

b
dx dx dy dy
=  (u + iv + iu −v ) dt
a
dt dt dt dt
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 76

 f [ z ]dz =  (udx + ivdx + iudy − vdy )


C a

=  (u + iv )( dx + idy ) ………………………..(ค)
a

จะได้สมการ (ก) เท่ากับสมการ (ค)


b

ดังนั้น  f ( z )dz =  f [ z (t )]z (t )dt 


C a

ผลของทฤษฎีบท 3.2 เราสรุปขั้นตอนในการหาปริพันธ์ได้ดังนี้


1. เขียนสมการเส้นโค้ง C ในรูป z (t ) , at b

dz
2. หา z ( t ) =
dt
3. แทน z (t ) จากข้อ 1) ลงใน f (z)
b

4. หา  f ( z ) dz =  f [ z (t )] z (t ) dt
C a

ตัวอย่าง 3.11 จงหา  1 dz เมื่อ C : z (t ) = cos t + i sin t , 0  t  2 


z C

1
วิธีทำ จาก f (z) = และเส้นโค้ง C คือ z (t ) = cos t + i sin t , 0  t  2
z
ดังนั้นหาปริพันธ์ตามขั้นตอนได้ดังนี้
1. เขียนเส้นโค้ง C ในรูป z (t ) = cos t + i sin t , 0  t  2

2. หาอนุพันธ์ของ z (t ) เทียบกับ t ได้ z (t ) = − sin t + i cos t

1
3. แทน z (t ) ลงใน f (z) ได้ f [ z (t )] =
cos t + i sin t
4. แทนค่าในสมการ (3.7) จะได้
b
1
 f ( z ) dz =  z dz =  f [ z (t )]z (t )dt
C C a

2
1 1
 z dz =  cos t + i sin t (− sin t + i cos t ) dt
C 0
2
1 ( − sin t + i cos t ) (cos t − i sin t )
 z dz =  (cos t + i sin t ) (cos t − i sin t )
dt
C 0
2

= i  dt
0
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 77

= i (t ) 02

= 2 i

ดังนั้น 1
 z dz = 2 i #
C

ตัวอย่าง 3.12 จงหา  1 dz เมื่อ C: z−a = b เมื่อ a, b เป็นค่าคงตัวใดๆ


z−a C

วิธีทำ

ตัวอย่าง 3.13 กำหนดให้ f ( z ) = Re( z ) = x ซึ่งไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์


จงหา  f ( z )dz จาก 0 ถึง 1 + i ตามแนววิถีต่อไปนี้
C
1) ตามวิถี C1 ดังภาพ 3.9
2) ตามวิถี C ซึ่งประกอบด้วย C2 และ C3 ดังภาพที่ 3.9

ภาพที่ 3.9 ภาพประกอบตัวอย่าง 3.13


บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 78
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 79

ข้อสังเกต จากตัวอย่ าง 3.13 จะเห็ นว่า f ไม่เป็นฟั งก์ชันวิเคราะห์ และการหาปริพั นธ์ของ


ฟังก์ชัน ที่ไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ จากจุด z 0 ไปยังจุด z1 ตามวิถีการหาปริพันธ์ที่แตกต่างกันแล้ว
จะให้ผลลัพธ์แตกต่างกัน

ตัวอย่าง 3.14 จงหา  (5 z 4 − z 3 + 2) dz เมื่อ C : z =1 , 0  t  2


C

วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 80

3.4.2 การหาปริพันธ์โดยใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
จากวิชาแคลคูลัสของฟังก์ชันตัวแปรจริงนั้นสำหรับฟังก์ชัน f ที่กำหนดให้ ถ้าเราทราบ
ฟังก์ชัน F ( x) โดยที่ F ( x ) = f ( x )

d
หรือ [ F ( x )] = f ( x )
dx
ดังนั้น  d [ F ( x )] =  f ( x ) dx
F ( x) =  f ( x ) dx
หรือ  f ( x ) dx = F ( x )
เมื่อจำกัดเขตให้กับปริพันธ์ทางซ้ายมือของสมการข้างบนจะได้
b

 f ( x)dx = F ( x )
b
a
a

ดังนั้น  f ( x )dx = F (b ) − F (a )
a

จากวิธีการข้างบนนี้ เราสามารถนำไปใช้กับฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนได้ซึ่งเราจะเห็นว่า เป็ น


วิธีที่ง่ายกว่าวิธีที่กล่ าวใน 3.4.1 แต่มีเงื่อนไขว่าต้องหาฟั งก์ชัน F ( z ) ที่ มีสมบั ติ F ( z ) = f ( z )
และนอกจากนี้สมบัติต่างๆของปริพันธ์ไม่จำกัดเขตในฟังก์ชันค่าจริงสามารถใช้ ได้กับฟังก์ชันตัวแปร
เชิงซ้อนด้วย
ทฤษฎีบท 3.3 (การหาปริพันธ์โดยใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตของฟังก์ชันวิเคราะห์ )
ให้ R เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว z0 , z1  R และ f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ภายใน
บริเวณ R ถ้า F ( z ) เป็นปฏิยานุพันธ์ของ f ( z ) แล้วจะได้
z1
 f ( z ) dz = F ( z1 ) − F ( z 0 ) ……………….(3.8)
z0

พิสูจน์ ให้ C เป็นเส้นโค้งเรียบใด ๆ จาก z0 ถึง z1 แทนด้วย z = z (t ) , at b


dz
และ z ( t ) =
dt
เนื่องจาก f ( z ) = F ( z ) จะได้
z1
 f ( z ) dz =  f ( z ) dz =  F ( z ) dz
z0 C C

b
d  F ( z )  dz
= dt
a
dz dt
b

=  d  F ( z (t )) 
a
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 81

z1
 = F ( z (t )) b
f ( z ) dz a
z0

= F ( z1 ) − F ( z0 ) 

เราสามารถเขียน z0 และ z1 แทนที่ C ได้ เพราะว่าได้ค่าปริพันธ์เหมือนกันสำหรับ


z1
เส้น C ทุกเส้นจาก z0 ถึง z1 นั่นคือ  f ( z ) dz =  f ( z ) dz
z0 C

ถ้าเส้นโค้ง C เป็นส่วนโค้งปรับเรียบเป็นช่วง เราจะพิจารณาปริพันธ์แต่ละส่วนของ C ที่


เป็นเส้นโค้งเรียบ

1+ i
ตัวอย่าง 3.15 จงใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตหา
 4z dz
3

0
n +1
u
วิธีทำ จาก u
n
du = +c
n +1
1+ i
1+ i
ดังนั้น  4 z dz = z
3 4

0
0

= (1 + i ) 4 − (0) 2 = −4 #
i
ตัวอย่าง 3.16 จงใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตหา
 sin zdz
− i

วิธีทำ

3 + 3 i z

ตัวอย่าง 3.17 จงใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตหา  2ie 2 dz


3+ i

วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 82

ในการหาค่าปริ พัน ธ์ซึ่งเราได้ศึกษามาแล้ วตามหั ว ข้อ 3.4.1 และ 3.4.2 ในบางครั้งเรา


อาจจะต้องการประมาณค่า ค่าสัมบูรณ์ของปริพันธ์ตามเส้นเชิงซ้อน ซึ่งเราจะมีสูตรพื้นฐานในการ
ประมาณค่าดังทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 3.4 ให้ f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนเส้นโค้ง C ซึ่งเป็นเส้นโค้งปรับเรียบเป็นช่วง ถ้า M


เป็นค่าคงตัวที่ f ( z )  M ทุก ๆ ค่า z บน C และ L เป็นความยาวของเส้นโค้ง C แล้ว

 f ( z ) dz  ML ………………………..(3.9)
C

อสมการ (3.9) เราเรียกว่าอสมการ ML (ML - inequality)


n
พิสูจน์ จากสมการ (3.2)  f ( z )dz = lim
n →
 f ( m ) z m
Cm =1
n
พิจารณา S n =  f ( m ). z m ดังกำหนดในสมการ (3.1) และจากอสมการอิงรูปสามเหลี่ยม
m =1

(triangle inequality ) คือ


z1 + z 2 + z3 + ... + z n  z1 + z 2 + z3 + ... + z n
n n n
เราจะได้ Sn =  f ( m ).z m   f ( m ) z m  M  z m
m =1 m =1 m =1

เนื่องจาก zm คือความยาวของคอร์ดระหว่างจุด zm −1 และ zm (ดูภาพที่ 3.5 )


n
ดังนั้นผลบวกทางขวามือ (  zm ) จะแทนความยาว L ของเส้นหักซึ่งประกอบด้วยคอร์ดที่มี
m =1

จุดปลายอยู่ที่ a = z0 , z1 , z 2 , z3 , … , zn = b ถ้า n เข้าใกล้อนันต์โดยที่ค่าสูงสุดของ


 z m เข้าใกล้ 0 แล้ว L จะมีค่าใกล้ความยาว L ของเส้นโค้ง C นั้นคือ
n
lim S n = lim S n  M lim   z m  ML
n → n → n →
m =1

ดังนั้น  f ( z ) dz  ML 
C

ตัวอย่าง 3.18 จงหาขอบเขตของค่าสัมบูรณ์  z 2 dz เมื่อ C เป็นส่วนของเส้นตรงจากจุด 0 ถึง 1 + i


C

วิธีทำ ความยาวของส่วนของเส้นตรงจากจุด 0 ถึงจุด 1 + i คือ L = 2


และ f ( z ) = z 2  2 = M ดังนั้นจากสมการ (3.9) จะได้

z dz  2 2  2.8284
2

ถ้าเราหา  z 2 dz โดยใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขตได้
C
1+ i

 z dz = z
2 2
dz
C 0
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 83

1+ i
z3 2 2i
z = =− +
2
dz
C
3 0
3 3
2 2
ดังนั้น z
2
dz = − + i
C
3 3
2 2
= (− )2 + ( )2
3 3
2 2
= = 0.9428
3

ดังนั้นจะได้ว่า z
2
dz = 0.9428  2.8284 = ML #
C

3.4.3 การหาปริพันธ์โดยใช้ทฤษฎีบทปริพันธ์ของโคชี (Cauchy’s Theorem)


ทฤษฎีบทปริพันธ์ของโคชีมีความสำคัญมากในการวิเคราะห์เชิงซ้อนซึ่งมีประโยชน์ทั้งในทฤษฎี
และการประยุกต์ใช้ ก่อนที่จะกล่าวถึงทฤษฎี บทนี้เราจะต้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับแนวความคิดและ
ความจำเป็นดังต่อไปนี้

1. เส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว (simple closed curve )


จะเรียกเส้นโค้งปิด C ว่าเป็น เส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว ( simple closed curve) ถ้าเส้นโค้ง
C ไม่ตัดหรือสัมผัสตัวเอง เช่น ภาพที่ 3.10

ภาพที่ 3.10 เส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว

และที่ไม่เป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยวคือ เส้นโค้งที่ตัดหรือสัมผัสตัวเอง ได้แก่เส้นโค้งที่มลี ักษณะ


เลขแปด ดังภาพที่ 3.11

ภาพที่ 3.11 ไม่เป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว


บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 84

2. บริเวณหรือโดเมน (domain)
บริเวณ R หรือโดเมน R ที่อยู่ในระนาบเชิงซ้อนจะเรียกว่า บริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว
หรือโดเมนเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว (simple connected domain) ถ้าเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยวทุกเส้นใน R
ล้ อมรอบจุ ดต่างๆ ที่อ ยู่ใน R เท่ านั้ น ส่ ว นข้างในเส้ นโค้งปิด เชิงเดี่ยวเรียกว่า บริเวณเชื่อมโยง
เชิงเดี่ยวเช่น ส่วนข้างในวงกลม วงรี สี่เหลี่ยม เป็นต้น ดังภาพ 3.12

ภาพที่ 3.12 บริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว

บริเวณที่ไม่ใช่บริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว จะเรียกว่า บริเวณเชื่อมโยงหลายเชิง เช่น

รูป 3.13 บริเวณเชื่อมโยงสองเชิง รูป 3.14 บริเวณเชื่อมโยงสามเชิง

ทฤษฎีบท 3.5 ทฤษฎีบทของกรีน (Green ,s theorem)


ถ้า R เป็นบริเวณที่ล้อมรอบด้วยเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว หรือบริเวณที่เชื่อมโยงหลายเชิงที่เส้นขอบ
 P ( x , y ) P ( x , y )
C เป็นแบบปรับเรียบเป็นช่วง P ( x , y ), Q ( x , y ) เป็นฟังก์ชันค่าจริง ถ้า , ,
x y
Q ( x , y ) Q ( x , y )
และ เป็นฟังก์ชันที่มีความต่อเนื่องทั้งในบริเวณ R และบนเส้นโค้ง C แล้ว
x y
Q ( x , y ) P ( x , y )
  P ( x, y ) dx + Q ( x, y ) dy  =  [ x

y
]dxdy ……..(3.10)
C R

พิสูจน์ ให้ c เป็นจำนวนจริงที่มีค่ามากที่สุดที่ทำให้ c  x ทุกค่า x และ ( x, y )  R


d เป็นจำนวนจริงที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้ x  d ทุกค่า x และ ( x , y )  R
จุด A มีพิกัดเป็น z (c ) และจุด B มีพิกัดเป็น z ( d )
C1 เป็นเส้นโค้ง y = f ( x ) จาก A ไป B บนระนาบ xy
C2 เป็นเส้นโค้ง y = g ( x ) จาก A ไป B บนระนาบ xy (ดังภาพที่ 3.15)
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 85

y
y = g ( x)

A = z (c ) R B = z (d )

y = f ( x)

x
c d

ภาพที่ 3.15 ภาพประกอบทฤษฎีบทของกรีน


ที่มา (Murray R. S., Seymour L., John J. S. and Dennis S. 2009, pp. 121)

x=d y=g ( x)
P ( x , y ) P ( x , y )
จะได้  [ ]dxdy =  [  dy ]dx
R
y x =c y= f (x)
y
x=d
y=g ( x)
=  [ P ( x, y )] y= f (x)
dx
x=c

x=d

=   P ( x, g ( x)) − P ( x, f ( x))  dx
x =c

x=d x=d

= −  P ( x, f ( x )) dx +  P ( x, g ( x))dx
x =c x =c
x=d x =c

=−  P ( x, f ( x )) dx −  P ( x, g ( x))dx
x =c x=d

= −[  P ( x, y ) dx +  P ( x , y ) dx ]
C1 C2
= −  P ( x , y ) dx
C

P ( x , y )
ดังนั้น −  [ ]dxdy =  P ( x, y )d x ...………………..(1)
R
y C

ให้ s เป็นจำนวนจริงที่มีค่ามากที่สุดที่ทำให้ s y ทุกค่า y และ ( x, y )  R

t เป็นจำนวนจริงที่มีค่าน้อยที่สุดที่ทำให้ yt ทุกค่า y และ ( x, y )  R

จุด T มีพิกัดเป็น z (t ) และจุด S มีพิกัดเป็น z(s)

C1 เป็นเส้นโค้ง x = m( y) จาก T ไป S

C2 เป็นเส้นโค้ง x = n( y ) จาก S ไป T (ดังภาพที่ 3.16)


บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 86

y
T = z (t )
t

x = m( y) R x = n( y )

s
S = z(s)

ภาพที่ 3.16 ภาพประกอบทฤษฎีบทของกรีน

y =t x=n ( y )

จะได้ว่า  [ Q ( x , y ) ]dxdy =  [ 
Q ( x , y )
dx ]dy
R
x y=s x=m ( y )
x
y =t
x=n( y )
=  [Q ( x , y )]
x=m( y )
dy
y=s
y =t

=  Q (n( y ), y ) − Q (m ( y ), y )dy
y=s
y =t y =t

=  Q ( n ( y ), y ) dy −  Q (m ( y ), y )dy
y=s y=s
y =t y=s

=  Q ( n ( y ), y ) dy +  Q (m ( y ), y )dy
y=s y =t

=  Q ( x, y )dy +  Q ( x, y )dy
C2 C1
=  Q ( x, y ) dy
C

Q ( x , y )
ดังนั้น  dxdy =  Q ( x, y ) dy ….……………..(2)
R
x C

จาก (1) และ (2) ได้


P ( x , y ) Q ( x , y )
 P ( x, y ) dx +  Q ( x, y ) dy = −  [ y
]dxdy +  [
x
]dxdy
C C R R

Q ( x , y ) P ( x , y )
=  [ − ]dxdy
R
x y

แต่  P ( x, y )dx +  Q ( x, y )dy =   P ( x, y )dx + Q ( x, y )dy 


C C C

Q ( x , y ) P ( x , y )
ดังนั้น   P ( x, y ) dx + Q ( x, y ) dy  =  [ − ]dxdy 
C R
x y
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 87

ทฤษฎีบท 3.6 ทฤษฎีบทปริพันธ์ของโคชีสำหรับบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว


ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บนบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว D และสำหรับเส้นโค้งปิด
เชิงเดี่ยว C ทุก ๆ เส้นใน D ที่มี R เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว หรือบริเวณที่เชื่อมโยงหลาย
เชิง (ดังภาพที่ 3.17) แล้วจะได้ว่า

 f ( z ) dz = 0 …………….(3.11)
C

พิสูจน์ ให้ R เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว

บริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว
C R
เส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว
D

ภาพที่ 3.17 ภาพประกอบทฤษฎีบท 3.6

จากรูปของปริพันธ์ในรูปพจน์ของปริพันธ์ตามเส้นจริงในสมการ (3.6)
 f ( z )dz =  (u + iv)(dx + idy )
C C

หรือ  f ( z ) dz =  (udx − vdy ) + i  (vdx + udy )


C C C

ทางด้านขวามือของสมการ เมื่อนำทฤษฎีบท 3.5 มาใช้จะได้


v u u v
 f ( z )dz =  [− x − y ]dxdy + i  [ x − y ]dxdy
C R R

แต่ f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ และจากสมการโคชี-รีมันต์


u v u v
= , =−
x y y x

ดังนั้น  f ( z ) dz =   0  dxdy + i   0  dxdy = 0


C R R

 f ( z ) dz = 0 
C
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 88

ตัวอย่าง 3.19 จงใช้ทฤษฎีปริพันธ์ของโคชีพิจารณาปริพันธ์ต่อไปนี้


1)  e 2 z dz เมื่อ C เป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยวใด ๆ บนระนาบเชิงซ้อน
C

2)  2i sin zdz เมื่อ C เป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยวใด ๆ บนระนาบเชิงซ้อน


C

3)  z n dz , ( n = 0,1, 2, 3,...) เมือ่ C เป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยวใด ๆ บนระนาบเชิงซ้อน


C

4)  2 sec zdz เมื่อ C เป็นวงกลมหนึ่งหน่วย ( z = 1)


C

1
5)  dz เมื่อ C เป็นวงกลมหนึ่งหน่วย ( z = 1)
C
z +9
2

วิธีทำ 1) เนื่องจาก f ( z ) = e 2 z เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุก ๆ จุดบนระนาบเชิงซ้อน หรือ เป็น


ฟังก์ชันทั่ว (entire function) และ C เป็นเส้นโค้งปิดใด ๆ
ดังนั้นโดยทฤษฎีบทปริพันธ์ของโคชี จะได้
 e dz = 0
2z
#
C
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 89

ตัวอย่าง 3.20 จงหา  7 z − 6 dz เมื่อ C เป็นวงกลมหนึ่งหน่วย และมีจุดศูนย์กลางที่จุด (0, 0)


z−2 C

วิธีทำ

ทฤษฎีบท 3.7 (หลักการของการเปลี่ยนรูปร่างของวิถี)


ให้ D เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว z1 , z2  D และ f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บน D
จะได้ว่า  f ( z ) dz มีค่าเท่ากันทุกเส้นโค้งเชิงเดี่ยวเรียบจาก z1 ไป z 2 ใน D
C

พิสูจน์ ให้ C1 และ C2 เป็นเส้นโค้งเรียบเชิงเดี่ยว จาก z1 ไป z 2 ใน D


เพราะฉะนั้น C1 − C2 จะเป็นเส้นโค้งเรียบปิดเชิงเดี่ยว ดังภาพที่ 3.18
ดังนั้น  f ( z ) dz = 0 จากทฤษฎีบท 3.6
C 2 − C1

 f ( z ) dz +  f ( z ) dz = 0
C2 − C1

 f ( z ) dz −  f ( z ) dz = 0
C2 C1

นั่นคือ  f ( z ) dz =  f ( z ) dz 
C2 C1

z2

C1 D
C2
z1
ภาพที่ 3.18 ภาพประกอบทฤษฎีบท 3.7
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 90

ในการหาปริพันธ์สำหรับบริเวณเชื่อมโยงหลายเชิงนั้น เมื่อ D เป็นบริเวณเชื่อมโยงหลาย


เชิง เราสามารถตัดทำให้เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยวได้ ( D  ต้องไม่รวมจุดของแนวเส้นที่เกิดจาก
การตัด)
สำหรับบริเวณเชื่อมโยงหลายเชิง D  ที่เป็นบริเวณเชื่อมโยงสองเชิง หรือ D  เป็นวงแหวน
เราจะตัดเพียงครั้งเดียวโดยเส้น C ซึ่งจะทำให้เส้นโค้งปิด C1 และ C2 ร่วมกันเป็นเส้นโค้งล้อมรอบ
บริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว C

ทฤษฎีบท 3.8 ทฤษฎีบทปริพันธ์ของโคชีสำหรับบริเวณเชื่อมโยงสองเชิง


ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บนวงแหวน R ที่ปิดล้อมด้วยเส้นปิดเชิงเดี่ยว C1 และ C2 แล้ว
 f ( z ) dz =  f ( z ) dz …………….(3.12)
C1 C2

พิสูจน์ จากภาพที่ 3.19 ให้จุด z1 , z2 เป็นจุดบน C1 และ C2 ตามลำดับ


C เป็นเส้นโค้งปรับเรียบที่เชื่อม z1 กับ z2 ในวงแหวน R

C3 เป็นเส้นโค้งบน C จาก z1 ไป z2

จะได้ −C3 เป็นเส้นโค้งบน C จาก z2 ไป z1

ดังนั้น เส้นโค้ง C1 + C3 + (−C2 ) + (−C3 ) เป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยวใน R

z1 C1

C z2
C2

ภาพที่ 3.19 ภาพประกอบทฤษฎีบท 3.8


ที่มา (Murray R. S., Seymour L., John J. S. and Dennis S. 2009, pp. 123)

จากทฤษฎีบท 3.6 จะได้


0=  f ( z ) dz =  f ( z ) dz
C C1 + C3 + ( − C 2 ) + ( − C3 )

0 =  f ( z ) dz
C1 + ( − C 2 )
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 91

0 =  f ( z ) dz +  f ( z ) dz
C1 − C2

=  f ( z ) dz −  f ( z ) dz
C1 C2

 f ( z ) dz =  f ( z ) dz 
C1 C2

หมายเหตุ โดยอาศัยผลของทฤษฎีบท 3.8 ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บนวงแหวน R ที่ปิดล้อม


ด้วยเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว C1 และ C2
ถ้า C1 และ C2 มีทิศทางเดียวกัน จะได้
 f ( z ) dz −  f ( z ) dz = 0
C1 C2

ถ้า C1 และ C2 มีทิศทางตรงกันข้าม จะได้


 f ( z ) dz +  f ( z ) dz = 0
C1 C2

ตัวอย่าง 3.21 ให้ R เป็นบริเวณรูปวงแหวนที่ปิดล้อมด้วยวงกลม z = 1 และ z = 2 ดังภาพที่ 3.20

ภาพที่ 3.20 ภาพประกอบตัวอย่าง 3.21


วิธีทำ 1) กำหนดให้ f ( z) = z3 + z 2 + 1 ซึ่งเป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุก ๆ จุดบนระนาบ เชิงซ้อน
เราจะได้
 ( z 3 + z 2 + 1) dz =  ( z 3 + z 2 + 1) dz #
z =1 z =2

1
2) กำหนดให้ f (z) = ซึ่งเป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุกๆจุดยกเว้นที่ z=0 แต่จุด
2z
1
z=0 อยู่ภายนอกบริเวณ R ดังนั้น f (z) = เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุก ๆ จุดบนบริเวณ R
2z
เราจะได้
1 1
 dz =  dz #
z =1
2z z =2
2z
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 92

1
ตัวอย่าง 3.22 จงหา  dz เมื่อ C เป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว เมื่อกำหนดเงื่อนไข
C
z−3
1) จุด z=3 อยู่นอกวง C
2) จุด z=3 อยู่ภายในวง C
วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 93

ทฤษฎีบท 3.9 ทฤษฎีบทปริพันธ์ของโคชีสำหรับบริเวณเชื่อมโยงหลายเชิง


ให้ R เป็นบริเวณวงแหวนที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้งปิดเรียบเชิงเดี่ยว C และ
C1 , C2 , C3 , … , Cn เป็นเส้นโค้งปิดเรียบเชิงเดี่ยวใน R ที่ไม่ตัดกัน (ดังภาพ 3.23)
ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บน R แล้ว
 f ( z ) dz =  f ( z )dz +  f ( z )dz + +  f ( z )dz …….…………(3.13)
C C1 C2 Cn

พิสูจน์ (การพิสูจน์ใช้หลักการเดียวกับทฤษฎีบท 3.8)

C 
z3
z1
z 4
z 2

C z n

z 0
ภาพที่ 3.22 ภาพประกอบทฤษฎีบท 3.9
ที่มา (Murray R. S., Seymour L., John J. S. and Dennis S. 2009, pp. 118)

z+3
ตัวอย่าง 3.23 จงกระจาย  dz โดยใช้ทฤษฎีบท 3.9 เมื่อกำหนด C คือ
C
z ( z − 2)( z + 2)
z = 3 และ C1 คือ z + 2 = 0.5 , C2 คือ z = 0.5 และ C3 คือ z − 2 = 0.5 ดังภาพที่ 3.23
z+3
วิธีทำ จากโจทย์จะได้ว่า f ( z) = ไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด z = 0, 2, −2
z ( z − 2)( z + 2)
ดังนั้นจากทฤษฎีบท 3.9 เราจะได้
z+3 z+3 z+3 z+3
 dz =  dz +  dz +  dz #
C
z ( z − 1)( z + 1) C1
z ( z − 2)( z + 2) C2
z ( z − 2)( z + 2) C3
z ( z − 2)( z + 2)

ภาพที่ 3.23 ภาพประกอบตัวอย่าง 3.23


บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 94

3.4.4 สูตรปริพันธ์ของโคชี (Cauchy’s integral formulas)

ผลลัพธ์ที่สำคัญที่สุดของทฤษฎีบทของโคชีก็คือ สูตรการหาปริพันธ์ของโคชี ซึ่งสูตรนี้จะมี


ประโยชน์มากในการคำนวนหาค่าปริพันธ์และนอกจากนี้แล้วยังมีความสำคัญในการนำไปพิสูจน์ว่า
ฟังก์ชันวิเคราะห์มีอนุพันธ์ทุกๆ อันดับ และช่วยสร้างอนุกรมเทเลอร์สำหรับฟังก์ชันวิเคราะห์ ซึ่งเรา
จะกล่าวถึงในบทต่อไป
ทฤษฎีบท 3.10 สูตรปริพันธ์ของโคชี
ให้ R เป็นบริเวณเชื่อมโยงปิดเชิงเดีย่ วที่มีขอบเป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว C ถ้า f ( z )
ต่อเนื่องภายใน R และบนเส้นขอบของเส้นโค้งของ R และ f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ภายใน
R แล้วสำหรับ z 0 ซึง่ เป็นจุดใด ๆ ภายใน R (ดังภาพที่ 3.24) แล้วจะได้ว่า
1
 f ( z ) dz = 2 if ( z 0 ) ………………………..(3.14)
C
z − z0
1 1
หรือ
2 i 
f ( z0 ) = f ( z ) dz
C
z − z0

ภาพที่ 3.24 ภาพประกอบทฤษฎีบท 3.10


ที่มา (Murray R. S., Seymour L., John J. S. and Dennis S. 2009, pp. 144)
1
พิสูจน์ โดยหลักการเดียวกันกับตัวอย่าง 3.22 (2) เราได้  dz = 2 i
C
z − z0

1 1
ดังนั้น  f ( z ) dz =  [ f ( z ) − f ( z 0 )]dz + 2 if ( z 0 ) ……………….(ก)
C
z − z0 C
z − z0

1
ต่อไปพิจารณา  [ f ( z ) − f ( z 0 )]dz
C
z − z0

เนื่องจาก f ต่อเนื่องที่จุด z0 เพราะฉะนั้นสำหรับ 0 จะมี 0 ซึง่



f ( z ) − ( z0 )  เมื่อ z − z0  
2
ให้ C0 เป็นวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ z 0 มีสมการเป็น z − z0 =  โดยที่  มีค่าน้อยกว่า 
ที่ทำให้วงกลม C0 อยู่ภายใน R ดังภาพที่ 3.25 ดังนั้นโดยทฤษฎีบท 3.8 จะได้
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 95

1 f ( z ) − f ( z0 )
 [ f ( z ) − f ( z0 )]dz =  dz ..………..(ข)
C
z − z0 C0
z − z0
f ( z ) − f ( z0 ) f ( z ) − f ( z0 ) 
ดังนั้นทุกๆ z บน C0 จะได้ = 
z − z0 z − z0 2

ภาพที่ 3.25 ภาพประกอบทฤษฎีบท 3.10


ที่มา (James W. B. and Ruel V. C. ,2009, pp. 164)

f ( z ) − f ( z0 ) f ( z ) − f ( z0 ) 
เพราะฉะนั้น  dz   dz   dz
C0
z − z0 C0
z − z0 C0
2


=
2  dz
C0


= 2 =
2

f ( z ) − f ( z0 )
นั่นคือ  dz  
C0
z − z0

เนื่องจากค่าสมบูรณ์ทางซ้ายมือไม่ขึ้นกับค่า  ซึ่งสามารถทำให้เล็กเพียงใดก็ได้
ดังนั้นค่าสมบูรณ์ของปริพันธ์ และตัวปริพันธ์ต้องมีค่าเป็น 0
1
นั้นคือ  [ f ( z ) − f ( z 0 )]dz = 0
C
z − z0
เพราะฉะนั้นจากสมการ (ก) และ (ข) ได้
1
 z − z0
f ( z ) dz = 2 if ( z 0 )
C

หรือ 1 1

2 i 
f ( z0 ) = f ( z ) dz
C
z − z0
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 96

1
ตัวอย่าง 3.24 จงหาค่าของ  dz เมื่อ C : z =1
C
z ( z − 4)
2

1
วิธีทำ จากที่กำหนดให้เรามี f ( z) =
z −4 2

เมื่อ C เป็นเส้นรอบวงของวงกลมที่มีจุดศูนย์กลางที่ z = 0 รัศมีเท่ากับ 1


ดังนั้น f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุกๆจุดภายในวงกลม C ที่มีเส้นรอบวงของ z = 1 เป็นขอบ
และ จุด z = 0 เป็นจุดภายในวงกลม C โดยสูตรปริพันธ์ของโคชี
1
 z−0
f ( z ) dz = 2 if (0)
C

1 1  1 
นั่นคือ  dz = 2 i  2 
C
z z −4
2
0 −4
i
=−
2
1 i
ดังนัน้  dz = − #
C
z ( z − 4)
2
2

z+2
ตัวอย่าง 3.25 จงหาค่าของ  dz เมื่อ C: z =2
C
z ( z − i)
วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 97

z+3
ตัวอย่าง 3.26 จงหาค่าของ  dz เมื่อ C เป็นวงกลม z =3
C
z ( z − 2)( z + 2)
วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 98

3.5 อนุพันธ์ของฟังก์ชันวิเคราะห์
สำหรับ ฟั งก์ ชัน ตั วแปรจริงที่เราเคยได้ศึ กษามาแล้ ว ในวิช าแคลคูลั ส นั้ น บางฟั งก์ชัน เรา
สามารถหาอนุพันธ์อันดับหนึ่ง อันดับสองได้ แต่ไม่สามารถหาอนุพันธ์อันดับสูง ๆ ได้ และสำหรับ
ฟังก์ชัน ตัวแปรเชิงซ้อนนั้ น ถ้าฟังก์ชันใดเราสามารถหาอนุ พันธ์อันดับหนึ่งภายในบริเวณ R ได้
ฟังก์ชันนั้นยังคงสามารถหาอนุพันธ์ทุก ๆ อันดับภายในบริเวณ R ได้ด้วย ดังทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 3.11 (อนุพันธ์ของฟังก์ชันวิเคราะห์)
ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ภายในบริเวณ R แล้ว f ( z ) สามารถหาอนุพันธ์ได้ทุก ๆ
อันดับภายในบริเวณ R และค่าอนุพันธ์ที่จุด z 0 ที่อยู่ภายในบริเวณ R แล้วจะได้
n! 1
…………………(3.15)
2 i 
f ( n ) ( z0 ) = f ( z )dz ; n = 0,1, 2,...
C
( z − z 0 ) n +1

เมื่อ C เป็นวิถีปริพันธ์ปิดเชิงเดี่ยวที่อยู่ภายในบริเวณ R และล้อมรอบจุด z0 ดังภาพที่ 3.27

z0

R C

ภาพที่ 3.27 ภาพประกอบทฤษฎีบท 3.11


ที่มา (Murray R. S., Seymour L., John J. S. and Dennis S. 2009, pp. 148)

พิสูจน์ (การพิสูจน์โดยวิธีอุปนัยทางคณิตศาสตร์ สามารถศึกษาได้จากเอกสารอ้างอิง)

ตัวอย่าง 3.27 กำหนด C คือ z =3 จงหาค่าของ


sin( z ) + cos( z )
2 2
1)  dz
C
( z − 1)( z − 2)
e2 z
2)  dz
C
( z + 1) 4

sin( z 2 ) + cos( z 2 )
วิธีทำ 1) เนื่องจาก g ( z) = มีจุดเอกฐานที่ z=2 และ z =1
( z − 1)( z − 2)
1 1 1
พิจารณา = −
( z − 1)( z − 2) z − 2 z − 1
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 99

sin( z 2 ) + cos( z 2 ) 1 1
 dz =  ( z − 2 − z − 1) sin( z ) + cos( z 2 ) dz
2

C
( z − 1)( z − 2) C

เราสามารถเขียน C1 และ C2 มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ z = 2 และ z = 1 ตามลำดับ


โดยที่ C1 และ C2 ไม่ตัดกันและไม่ตัดกับ C ด้วย จะได้ว่า f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุกจุดใน
บริเวณภายใน C ทีอ่ ยู่นอก C1 และ C2 โดยทฤษฎีบท 3.9 จะได้
sin( z 2 ) + cos( z 2 )
 ( z − 1)( z − 2)
dz
C

1 1
=  sin( z 2 ) + cos( z 2 )  dz −
z−2  sin( z 2 ) + cos( z 2 )  dz
z −1 
C1 C2

พิจารณาเส้นโค้ง C1 ให้ f ( z ) = sin( z 2 ) + cos( z 2 ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุกจุด


ภายในเส้นโค้ง C1 โดยสูตรปริพันธ์ของโคชี
1
 z−2
f ( z ) dz = 2 if (2)
C1

= 2 i  sin(4 ) + cos(4 )  = 2 i

พิจารณาเส้นโค้ง C2 ให้ f ( z ) = sin( z 2 ) + cos( z 2 ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุกจุด


ภายในเส้นโค้ง C2 โดยสูตรปริพันธ์ของโคชี
1
 z −1
f ( z ) dz = 2 if (1)
C2

= 2 i  sin( ) + cos( )  = −2 i

sin( z 2 ) + cos( z 2 )
ดังนั้น  dz = (2 i ) − ( −2 i ) = 4 i #
C
( z − 1)( z − 2)

2)
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 100

e3 z
ตัวอย่าง 3.28 จงหาค่าของ  dz เมื่อ C คือวงกลม z = 1.5
C
( z − 1) 2 ( z 2 + 4)
วิธีทำ
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 101

3.6 สรุป
ในบทนี้กล่าวถึงการหาปริพันธ์ตามเส้นเชิงซ้อน 3 วิธี คือ
1. การหาปริพันธ์โดยวิธีการแทนเส้นวิถีหาปริพันธ์ โดยให้ C เป็นเส้นโค้งเรียบเป็นช่วง เขียนในรูป
C : z (t ) = x (t ) + y (t )i เมื่อ a  t  b และ f เป็นฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนที่ต่อเนื่องบน C แล้ว
b

จะได้  f ( z ) dz =  f [ z (t )] z (t ) dt
C a

2. การหาปริพันธ์โดยใช้ปริพันธ์ไม่จำกัดเขต ให้ f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ภายในบริเวณ R แล้วจะมี


ปริพนั ธ์แบบไม่จำกัดเขตของ f ( z ) เกิดขึ้นภายในบริเวณ R ซึ่งเป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ เมื่อ
z1
F ( z ) = f ( z ) ที่เชื่อมระหว่างจุด z0 และ z1 ภายใน R แล้ว  f ( z ) dz = F ( z1 ) − F ( z 0 )
z0
3. การหาปริพันธ์โดยทฤษฎีบทของโคชี มีดังนี้
3.1 ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บนบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว D แล้วสำหรับเส้นโค้งปิด
เชิงเดี่ยว C ทุก ๆ เส้นใน D ที่มี R เป็นบริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว หรือบริเวณที่เชื่อมโยงหลาย
เชิง แล้วจะได้ว่า  f ( z ) dz = 0
C

3.2 ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บนวงแหวน R ที่ปิดล้อมด้วยเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว C1


และ C2 (ทิศทางเดียวกัน) แล้ว  f ( z ) dz =  f ( z ) dz
C1 C2

3.3 ให้ R เป็นบริเวณเชื่อมโยงปิดเชิงเดี่ยวที่มีขอบเป็นเส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว C ถ้า f


ต่อเนื่องภายใน R และบนเส้นขอบของเส้นโค้งของ R และ f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ภายใน R
1
แล้วสำหรับ z0 ซึ่งเป็นจุดใดๆภายใน R แล้วจะได้ว่า  f ( z ) dz = 2 if ( z 0 )
C
z − z0
n! 1
และ
2 i 
f ( n ) ( z0 ) = f ( z )dz
C
( z − z 0 ) n +1
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 102

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
1. จงหาสมการของส่วนของเส้นตรง C ในรูปของ z (t ) ที่มีจุดปลายดังนี้
1.1 z1 = −2 + i เมื่อ z2 = −2 + 4i 1.2 z1 = 0 เมื่อ z 2 = 1 + 2i
1.3 z1 = 1 + 2i เมื่อ z2 = 3 + 4i

2. จงหาสมการที่แทนเส้นโค้งในรูปของ z (t ) ซึง่ แต่ละเส้นกำหนดสมการดังต่อไปนี้


2.1 z − 1 + 2i = 3
1 1
2.2 y= จากจุด (1,1) ถึงจุด (4, )
x 4
3
2.3 y = −1 + จากจุด (1, 2) ถึงจุด (3, 0)
x
2.4 x2 + 9 y2 = 9
2.5 4( x − 1) 2 + 9( y + 2) 2 = 36

3. จงบอกว่าเส้นโค้ง C ที่กำหนดให้ในรูป z (t ) แต่ละข้อข้างล่างนี้เป็นรูปเส้นโค้งอะไร และ


เขียนกราฟของเส้นโค้ง
3.1 z (t ) = 3i + 3(cos t + i sin t ) , 0  t  2 

3.2 z (t ) = t + 3t 2i , -1  t  2
3.3 z (t ) = cos t + 2i sin t , -  t  

4. จงคำนวณหา  f ( z ) dz เมื่อกำหนด f (z) และ C ให้ดังแต่ละข้อต่อไปนี้


C

3
4.1 f (z) = , C เป็นเส้นโค้งวงกลมจาก 2 ถึง −2i ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
2
4.2 f ( z) = z
2
, C เป็นวงกลมหนึ่งหน่วย ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
1
4.3 f (z) = z + , C เป็นวงกลมหนึ่งหน่วย ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
2
1
4.4 f (z) = , C เป็นวงกลม z −i = 2 ในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
z−i
4.5 f ( z ) = Re( z ) , C เป็นวงกลม z =3 ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

5. จงแสดงวิธีหา  f ( z ) dz
C

ก. โดยใช้วิธีการแทนเส้นวิถีหาปริพันธ์
ข. โดยใช้วิธีปริพันธ์ไม่จำกัดเขต
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 103

เมื่อกำหนด f (z) และ C ให้ดังแต่ละข้อต่อไปนี้



5.1 f (z) = ez , C เป็นส่วนของเส้นตรงจาก 0 ถึง 1+ i
2
5.2 f ( z) = z3 , C เป็นครึ่งวงกลม z =2 จาก −2i ถึง 2i ในครึ่งระนาบด้านขวา
5.3 f ( z) = z 2 , C เป็นขอบเขตของสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดอยู่ที่ 0 , 1 , i ใน
ทิศทางตามเข็มนาฬิกา

6. จงคำนวณหา  Im( z
2
) dz จากจุด 0 ถึง 2 + 4i ตามวิถีต่อไปนี้
C

6.1 ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมจุด 0 ถึง 2 + 4i

6.2 แกน x ไปยังจุด 2 + 0i แล้วตรงดิ่งขึ้นไปยังจุด 2 + 4i

6.3 พาราโบลา y = x2

7. จงคำนวณหา  z dz จากจุด A : z = −i ถึงจุด B:z =i ตามวิถีต่อไปนี้


C

7.1 ส่วนของเส้นตรง AB

7.2 วงกลมรัศมีหนึ่งหน่วยในครึ่งระนาบด้านซ้าย
7.3 วงกลมรัศมีหนึ่งหน่วยในครึ่งระนาบด้านขวา

8. จงใช้อสมการ ML หาขอบเขตของปริพันธ์ต่อไปนี้ เมื่อ C เป็นส่วนของเส้นตรงจากจุด 0 ถึง


3 + 4i
8.1  z 2 dz 8.2  1 dz
C
z +1 C

9. จงหา  zdz เมื่อ C เป็นพาราโบลา y = x2 จาก 0 ถึง 1 + i


C

10. จงหา  z.cos z 2 dz เมื่อ C เป็นวิถีใดๆ จาก 0 ถึง i


C

11. จงหา  sin 2 zdz เมื่อ C เป็นครึ่งวงกลม z = จาก − i ถึง  i ในครึ่งระนาบด้านขวา


C

12. จงหาค่าปริพันธ์ต่อไปนี้
2+i 1+ i

12.1  zdz 12.2  e z dz


i 1
i 2i

12.3  sin 2 zdz 12.4  (z


2
− 1) 3 dz
− i i
บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 104

2 i z i

12.5  e 2 dz 12.6  z.cosh z 2 dz
− 2 i −i
2
z
13. จงหา  dz เมื่อกำหนดให้
C
z +12

13.1 C เป็นวงกลม z +i =1 13.2 C เป็นวงกลม z =2

z2
14. จงหา  dz เมื่อกำหนดให้
C
z4 −1
1
14.1 C เป็นวงกลม z −i =1 14.2 C เป็นวงกลม z−i =
2

15. เมื่อกำหนด C เป็นวงกลม z =1 จงหา


2
1 ez
15.1  dz 15.2  dz
C
4z + i C
2z − i
sin z
15.3  dz
C
z

z2
16. จงหาค่า  dz เมื่อ C เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีจุดยอดมุมอยู่ที่ z = 2 , 2 + 4i
C
z2 + 4
1
17. จงหาค่า  dz เมื่อ C เป็นวงรี x 2 + 4( y − 2) 2 = 4
C
z +42

sin 3 z
18. จงหาค่า  
dz เมื่อ C เป็นวงกลม z =5
C z+
2
cos  z
19. จงหาค่า  dz เมื่อ C เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าที่มีจุดยอดมุมอยู่ที่
C
z2 −1
19.1 z = 2i , −2  i 19.2 z = −i , 2−i , 2+i , i
4 − 3z 3
20. จงหาค่า  dz เมื่อ C เป็นวงกลม z =
C
z ( z − 1)( z − 2) 2

21. เมื่อ C เป็นวงกลม z =1 จงหา


z2 z3
21.1  dz 21.2  dz
C
(2 z − 1) 2 C
(2 z + i ) 3
2
ez 2e z
21.3  dz 21.4  dz
C
z3 C
(4 z +  i ) 2

sin z cos 2 3 z
21.5  dz 21.6  dz
C
z2 C
z3

z +1
22. จงหาค่า  dz เมื่อ
C
z − 2z2
3

22.1 C เป็นวงกลม z =1 22.2 C เป็นวงกลม z −2−i = 2


บทที่ 3 การหาปริ พันธ์บนระนาบเชิ งซ้อน 105

22.3 C เป็นวงกลม z − 1 − 2i = 2

e2 z
23. จงหาค่า  dz เมื่อ C เป็นวงรี x2 + 4 y2 = 4
C
( z − 1) 2 ( z 2 + 4)

e2 z
24. จงหาค่าของ  dz เมื่อ C เป็นวงกลม z =3
C
( z + 1) 4
บทที่ 4
ลำดับและอนุกรมในระนาบเชิงซ้อน

ในบทนี้จะศึกษาถึงลำดับและอนุกรมของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนในหลาย ๆ รูปแบบ เพื่อ


นำไปใช้ในการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนอีกวิธีหนึ่งที่จะกล่าวในบทที่ 5 ซึ่งจะเป็นวิธีที่ทำ
ให้การหาปริพันธ์ง่ายและสะดวกมากขึ้น ในการศึกษาลำดับและอนุกรมของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนนี้
ก็มีแนวคิดทำนองเดียวกันกับลำดับและอนุกรมของค่าคงตัวที่เราเคยได้ศึกษามาแล้ว

4.1 ลำดับของฟังก์ชัน
บทนิยาม 4.1 ลำดับของจำนวนเชิงซ้อน หมายถึงฟังก์ชันจากเซตของจำนวนนับไปยังสับเซตของ
จำนวนเชิงซ้อน จะเขียนแทนลำดับ ของจำนวนเชิงซ้อนด้วย  zn  เรียก z n ว่า พจน์ที่ n เมื่อ
n = 1, 2, 3,...

ตัวอย่าง 4.1
1) ลำดับของจำนวนเชิงซ้อน i , −1 , −i ,1,i , −1 , −i ,1,
จะแทนด้วย {i n } และมีพจน์ที่ n คือ
zn = i n

1+ i (1 + i ) 2 (1 + i ) 3
2) ลำดับของจำนวนเชิงซ้อน , , ,
1! 2! 3!

จะแทนด้วย { (1 + i )
n
} และมีพจน์ที่ n คือ
n!
(1 + i ) n
zn = #
n!

บทนิยาม 4.2 ให้ {zn } เป็ นลำดับของจำนวนเชิงซ้อน l เป็นจำนวนเชิงซ้อน จะกล่าวว่า ลำดับ


{ zn } ลู่ เข้ า (converge) สู่ l เขีย นแทนด้ ว ย lim z n = l ก็ต่ อเมื่อ สำหรั บ ทุ กค่า   0 จะต้ องมี
n →

จำนวนนับ N  ที่ทุก ๆ จำนวนนับ n ที่ n  N แล้ว z n − l  


ถ้า {zn } ไม่เป็นลำดับที่ลู่เข้า เราจะเรียกลำดับนี้ว่า ลำดับลู่ออก (divergent)

ทฤษฎีบท 4.1 ถ้าลำดับ  zn  เป็นลำดับลู่เข้าแล้ว ค่าที่ zn ลู่เข้านั้นจะมีเพียงค่าเดียว


พิสูจน์ สมมุติให้ lim zn = l1
n →
และ lim z n = l2
n →
และ l1  l2
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 107

l1 − l2
ให้ = 0
2
มีจำนวนเต็มบวก n1 ซึ่งทุกๆจำนวนเต็มบวก n ที่ n  n1 แล้ว z n − l1  

และมีจำนวนเต็มบวก n 2 ซึ่งทุกๆจำนวนเต็มบวก n ที่ n  n 2 แล้ว z n − l2  

เลือก n = max{n1 , n 2 }

สำหรับทุกๆจำนวนเต็มบวก n ที่ n  n แล้ว z n − l1   และ z n − l2  

พิจารณา l1 − l2 = l1 − z n + z n − l2  z n − l1 + z n − l2
l1 − l2
  +  = 2 = 2 = l1 − l2
2
นั่นคือ l1 − l2  l1 − l2 ซึง่ เกิดข้อขัดแย้ง
ดังนั้น l1 = l2 

ในการหาลิมิตของลำดับของจำนวนเชิงซ้อนเราจะหาโดยใช้ลิมิตของลำดับของจำนวนจริง
โดยหาลิมิตของลำดับของส่วนจริง และลิมิตของลำดับของส่วนจินตภาพ ซึ่งอาศัยทฤษฎีบทดังนี้
ทฤษฎีบท 4.2 ให้ z n = xn + y n i
lim z n = lim( xn + yn i ) = a + bi
n → n →
ก็ต่อเมื่อ lim xn = a
n →
และ lim yn = b
n →

พิสูจน์ (  ) สมมุติให้ lim(


n →
xn + yn i ) = a + bi

กำหนดให้   0 จะมี n ซึ่งทุกๆจำนวนเต็มบวก n ที่ n  n แล้ว

( xn + y n i ) − ( a + bi )  

( x n − a ) + ( y n − b )i  

เนื่องจาก Re( z )  z และ Im( z )  z

ดังนั้น xn − a  ( xn − a ) + ( y n − b )i  

และ y n − b  ( xn − a ) + ( y n − b )i  

นั่นคือ สำหรับ  0 จะมี n ซึ่งทุกๆจำนวนเต็มบวก n ที่ n  n แล้ว

xn − a   และ yn − b  

ดังนั้น lim xn = a
n →
และ lim yn = b
n →

(  ) สมมุติให้ lim xn = a
n →
และ lim yn = b
n →

กำหนดให้  0

มีจำนวนเต็มบวก n1 ซึ่งทุกๆจำนวนเต็มบวก n ที่ n  n1 แล้ว xn − a 
2

และมีจำนวนเต็มบวก n 2 ซึ่งทุกๆจำนวนเต็มบวก n ที่ n  n 2 แล้ว y n − b 
2
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 108

เลือก n = max{n1 , n 2 }
จะได้ว่า สำหรับทุกๆ จำนวนเต็มบวก n ที่ n  n แล้วจะได้
( xn + y n i ) − ( a + bi ) = ( xn − a ) + ( y n − b )i

 
 xn − a + y n − b  + =
2 2

ดังนั้น lim( xn + yn i ) = a + bi
n →

2n + i
ตัวอย่าง 4.2 จงหา lim( )
n→ n + 3i

2n + i 2 n + i n − 3i
วิธีทำ จาก =( )( )
n + 3i n + 3i n − 3i
2 n 2 − 5ni + 3
=
n2 + 9
2n 2 + 3 5n
= − i
n +9
2
n +9
2

2n + i 2n 2 + 3 5n
ดังนั้น lim( ) = lim( − i)
n→ n + 3i n → n +9
2
n +9
2

2n 2 + 3 5n
= lim( ) − i lim( )
n → n +9
2 n → n +9
2

3
2+
2n + 3 2
n2 ) = 2
พิจารณา lim( 2
n → n + 9
) = lim(
n → 9
1+ 2
n
5
5n
และ lim( ) = lim( n )=0
n → n +9
2 n → 9
1+ 2
n
2n + i
ดังนั้น lim( ) = 2 − i (0) = 2 #
n→ n + 3i

n 2 + ni
ตัวอย่าง 4.3 จงแสดงว่า lim( ) หาค่าไม่ได้ หรือ ลู่ออก
n → 1 + ni

วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 109

4.2 อนุกรมของฟังก์ชัน
บทนิยาม 4.3 ให้  zn  เป็นลำดับของจำนวนเชิงซ้อน และ
S1 ( z ) = z1
S 2 ( z ) = z1 + z 2
S3 ( z ) = z1 + z 2 + z3

S n ( z ) = z1 + z2 + + zn

จะเรียก S n ( z ) ว่าผลบวกย่อย (partial sum) ที่ n ซึ่งเป็นผลบวกของ zn n เทอม และ


 S n ( z ) เรียกว่า ลำดับของผลบวกย่อย (sequence of partial sum)

ให้ z1 + z2 + z3 + = z n
n =1

จะเรียกว่าอนุกรมอนันต์ (infinite series)

ถ้ า lim S n ( z ) = l
n →
หาค่ า ได้ จะกล่ าวว่ า อนุ ก รมลู่ เข้ า (convergent) และเรี ย ก l ว่ า

ผลบวกของอนุกรมอนันต์ เขียนแทนด้วย  z n = l ถ้าอนุกรมไม่ลู่เข้า จะกล่าวว่า อนุกรมลู่ออก
n =1

(divergent)

หมายเหตุ การเขียนอนุกรม บางครั้งอาจจะเริ่มต้นที่ n=0 ก็ได้ แล้วแต่ความเหมาะสม เช่น


 

 (2 z − 3) n =  (2 z − 3) n +1
n =1 n=0
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 110


ตัวอย่าง 4.4 กำหนด  ( 2n ) จงหาผลบวกของอนุกรม
3 i n =1

 
2 2
วิธีทำ จาก ( n
3 i
) =  (−
3n
i)
n =1 n =1

2 2 2 2
=− i− 2
i− 3
i− i−
3 3 3 34
1 1 1 1
= − 2i ( + 2 + 3 + 4 + )
3 3 3 3
1 1 1 1 1
เนื่องจาก + 2
+ 3
+ 4
+ เป็นอนุกรมเรขาคณิต โดยมี r=
3 3 3 3 3
1
1 1 1 1 1
จะได้ + 2
+ 3
+ 4
+ = 3
1
=
3 3 3 3 2
1−
3

2 1
ดังนั้น  (3 n
i
) = − 2i ( ) = − i
2
#
n =1


ทฤษฎีบท 4.3 ถ้าอนุกรม  z n เป็นอนุกรมลู่เข้า แล้ว lim z n = 0
n →
n =1

พิสูจน์ ให้  z n เป็นอนุกรมลู่เข้า
n =1

ดังนั้น lim n →
S n = l และ lim S n −1 = l
n →

พิจารณา lim(n →
S n − S n −1 ) = lim S n − lim S n −1 = l − l = 0
n → n →

แต่ Sn − Sn −1 = ( z1 + z2 + + zn ) − ( z1 + z2 + + zn −1 ) = zn
ดังนั้น lim(
n →
S n − S n −1 ) = lim z n = 0
n →

ข้อสังเกต จากทฤษฎีบท 4.3 สามารถนำมาตรวจสอบการลู่ออกของอนุกรมได้ นั่นคือ



ถ้า lim z n  0
n →
แล้ว  z n เป็นอนุกรมลู่ออก
n =1


บทนิยาม 4.4 อนุกรม  z n ลู่เข้าอย่างสมบูรณ์ (absolutely convergent)
n =1

ก็ต่อเมื่อ  zn ลู่เข้า
n =1
  
ถ้าอนุกรม  z n ลู่เข้า แต่  zn ลู่ออก เราเรียกอนุกรม  z n นี้ว่าเป็นอนุกรมลู่เข้า
n =1 n =1 n =1

อย่างมีเงื่อนไข (conditionally convergent)


บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 111

บทนิยาม 4.5 อนุกรมพี (P-series) คืออนุกรมที่เขียนในรูป



1 1 1 1 1
n p
=
1 p
+
2 p
+
3 p
+
4p
+ ... เมื่อ p เป็นจำนวนจริงใดๆ
n =1

ในกรณีที่ p =1 เรียกว่าอนุกรมฮาร์โมนิค (Harmonic series) เขียนในรูป



1 1 1 1 1
 n = 1 + 2 + 3 + 4 + ...
n =1

หมายเหตุ อนุกรมที่นิยมนำมาใช้เปรียบเทียบที่สำคัญ คือ อนุกรมพี นั้นคือ



1 1 1 1 1
n p
=
1 p
+
2 p
+
3 p
+
4p
+ ... อนุกรมนี้จะลู่เข้า เมื่อ p 1
n =1


( − 1) n
ตัวอย่าง 4.5 กำหนดให้  n2
i จงพิจารณาการลู่เข้า
n =1


( − 1) n 1 1 1 1
วิธีทำ เนื่องจาก  2
i = 1+ + + + +
n =1 n 4 9 16 25
1 1 1 1
= 1+ 2
+ 2
+ 2
+ +
2 3 4 52

1
= เป็นอนุกรมลู่เข้า
n =1 n2

( − 1) n
ดังนั้น  i ลู่เข้าอย่างสมบูรณ์ #
n =1 n2


( − 1) n +1
ตัวอย่าง 4.6 กำหนดให้  n
จงพิจารณาการลู่เข้า
n =1

วิธีทำ


z n +1
บทตั้ง 4.4 ถ้า zn  0 ทุกค่า n และ = c 1 ซึง่ n  n0 สำหรับบางค่า n0 แล้ว  z n
zn n =1

ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 112

พิสูจน์ เนื่องจาก zn0 +1 = L z n0


zn0 + 2  L zn0 +1  L2 zn0
โดยทั่วไป zn + n0  Ln0 z n
เพราะว่า z n0 + L z n0 + L2 z n0 + ลู่เข้า
ดังนั้น z n0 + z n0 +1 + z n0 + 2 + ลู่เข้า

นั้นคือ  z n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ 
n =1


z n +1
บทตั้ง 4.5 ถ้า zn  0 ทุกค่า n และ 1 ซึง่ n  n0 สำหรับบางค่า n0 แล้ว  z n ลู่ออก
zn n =1

z n +1
พิสูจน์ ให้ 1
zn
ดังนั้น zn0 +1  zn0 , zn0 + 2  zn0 ,
จะได้ว่า lim z n  0
n →

ดังนั้น  z n ลู่ออก 
n =1

ทฤษฎีบท 4.6 (การทดสอบการลู่เข้าของอนุกรม)


(1) การทดสอบโดยการเปรียบเทียบ (comparison test)
 
1. ถ้า  wn ลู่เข้า และ z n  wn แล้ว  z n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์
n =1 n =1

 
2. ถ้า  wn ลู่ออกและ z n  wn แล้ว  zn ลู่ออก
n =1 n =1


แต่  z n อาจจะลู่เข้าหรืออาจจะลู่ออก
n =1

(2) การทดสอบโดยอัตราส่วน (Ratio test)



z n +1
ถ้า zn  0 ทุกค่า n และ lim
n→
=L แล้ว  z n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์
zn n =1

ถ้า L 1

และ  z n ลู่ออก ถ้า L 1
n =1

(3) การทดสอบโดยรากที่ n ( n th root test)



ถ้า lim
n→
n zn = L แล้ว  z n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ ถ้า L 1
n =1

และ  z n ลู่ออก ถ้า L 1
n =1
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 113

(4) การทดสอบของราเบ (Raabe’s test)



z n +1
ถ้า zn  0 ทุกค่า n และ lim n (1 −
n →
)=L แล้ว  z n ลู่เข้าอย่าง
zn n =1

สัมบูรณ์ ถ้า L 1

และ  z n ลู่ออกหรือลู่เข้าอย่างมีเงื่อนไข ถ้า L  1
n =1

พิสูจน์ (การพิสูจน์ข้อ 1,3 และ 4 สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารอ้างอิง)


(2) กรณี L  1
1− L
ให้ = ดังนั้น  0
2
z n +1
เลือก n0 ซึ่งทุกค่า n ที่ n  n0 แล้ว −L 
zn
สำหรับทุกค่า n ถ้า n  n0 จะได้
z n +1
−L
zn
z n +1 1− L 1+ L
 +L = +L= 1
zn 2 2

โดยบทตั้ง 4.4 จะได้ว่า  z n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์
n =1

กรณี L 1
L −1
ให้ = ดังนั้น  0
2
z n +1
เลือก n0 ซึ่งทุกค่า n ที่ n  n0 แล้ว −L 
zn
z n +1
 L −
zn
L −1 L +1
= L− = 1
2 2

โดยบทตั้ง 4.5 จะได้ว่า  z n ลู่ออก 
n =1

บทนิยาม 4.6 อนุกรมกำลัง (power series) ของตัวแปรเชิงซ้อนรอบจุด a เขียนในรูป


c n ( z − a ) n = c0 + c1 ( z − a ) + c2 ( z − a ) 2 + ...
n=0

เมื่อ c0 , c1 , c2 ,... เป็นค่าคงตัวเชิงซ้อน a เรียกว่า ศูนย์กลาง (centre) ของอนุกรมกำลัง


c0 , c1 , c2 ,... เรียกว่า สัมประสิทธิ์ (coefficients) ของอนุกรมกำลัง
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 114

 

 cn ( z − a ) n ลู่เข้าที่จุด b (convergent at b ) ก็ต่อเมื่อ  cn (b − a ) n ลู่เข้า


n=0 n=0
 

c n ( z − a)n ลู่ออกที่จุด b (divergent at b ) ก็ต่อเมื่อ  cn (b − a ) n ลู่ออก


n=0 n=0
 

c n ( z − a)n ลู่เข้าบนเซต S ก็ต่อเมื่อ  cn (b − a ) n ลู่เข้าทุกจุด b ใน S


n=0 n=0

 n
z2 z3 z4
ตัวอย่าง 4.7 จงแสดงว่า  z 2 = z+ + + + ... ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ที่จุด z = −1
n n =1 22 32 42

วิธีทำ พิจารณาที่จุด z = −1 จะได้



( − 1) n 1 1 1 1
 n 2
= −1 +
2 2

3 2
+
4 2

52
+ ...
n =1


( −1) n 1 1 1 1
เนื่องจาก  n 2
= 1+
2 2
+
3 2
+
4 2
+
52
+ ... เป็นอนุกรม p และ p=2
n =1


( − 1) n
ดังนั้น  ลู่เข้า
n =1 n2

zn
นั่นคือ  n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ที่จุด
2
z = −1 #
n =1


cn +1
ทฤษฎีบท 4.7 ถ้า lim
n →
=L แล้ว  cn ( z − a ) n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ที่ทุกๆ จุดภายในของ
cn n=0

1
วงกลม z−a = ลู่ออกทุก ๆ จุดที่อยู่ภายนอกวงกลม และอาจจะลู่เข้าสัมบูรณ์ หรือลู่เข้าอย่าง
L
มีเงื่อนไข หรือลู่ออกที่จุดบนเส้นรอบวงของวงกลม

cn +1
พิสูจน์ สมมุติให้ lim
n →
=L และโดยทฤษฎีบท 4.6 การทดสอบโดยอัตราส่วน จะได้ว่า
cn

cn +1 ( z − a ) n +1 cn +1
r ( z ) = lim = lim ( z − a)
n → cn ( z − a ) n n → cn

cn +1
= lim z−a
n→ cn

= L z−a

1
ดังนั้นอนุกรมลู่เข้าสัมบูรณ์ เมื่อ L z −a 1 หรือ z−a <
L

และ อนุกรมลู่ออก เมื่อ L z −a 1 หรือ z−a >1


L
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 115

และโดยทฤษฎีบท 4.6 ใช้ตรวจสอบไม่ได้เมื่อ


L z −a =1 หรือ z−a =1 
L


cn +1 1
บทนิยาม 4.7 กำหนด  cn ( z − a ) n และ lim
n →
=L ให้ r= > 0 จะเรียก r ว่า
n=0 cn L
รัศมีของการลู่เข้า (radius of convergence) ของอนุกรมกำลัง เรียกวงกลม z−a =r ว่า
วงกลมของการลู่เข้า (circle of convergence)

ถ้า  cn ( z − a ) n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ที่ z = a เท่านั้นเรากล่าวว่ารัศมีของการลู่เข้าเป็น 0
n=0

ถ้า  cn ( z − a ) n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ทุก ๆ ค่า z เรากล่าวว่ารัศมีของการลู่เข้าเป็น 
n=0

ทฤษฎีบท 4.8 กำหนดให้  cn ( z − a ) n
n=0

cn
ถ้า lim
n →
=r0 แล้ว r เป็นรัศมีการลู่เข้าของอนุกรมกำลัง
cn +1

cn
พิสูจน์ สมมุติให้ lim
n→
= r> 0
c n +1

จากทฤษฎีบท 4.6 การทดสอบโดยอัตราส่วน จะได้ว่า


cn +1 ( z − a ) n +1 cn +1
lim = lim ( z − a)
n → cn ( z − a ) n n → cn

cn +1
= lim z−a
n→ cn

1 z−a
= z−a =
cn r
lim
n → cn +1

z−a
c n ( z − a)n ลู่เข้า เมื่อ
r
< 1 หรือ z−a <r
n=0


z−a
c n ( z − a)n ลู่ออก เมื่อ
r
> 1 หรือ z−a >r
n=0

cn +1 ( z − a ) n +1 c n +1
พิจารณาที่จุด z=a พบว่า lim = lim z−a =0
n → cn ( z − a ) n n→ cn

cn +1 ( z − a ) n +1 c n +1
ถ้า r=0 แล้ว lim = lim z−a = 
n → cn ( z − a ) n n→ cn

นั่นคือ r เป็นรัศมีของการลู่เข้าของ  cn ( z − a ) n 
n=0
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 116


ทฤษฎีบท 4.9 กำหนดให้  cn ( z − a ) n
n=0

1
ถ้า lim
n → 1
=r0 แล้ว r เป็นรัศมีการลู่เข้าของอนุกรมกำลัง
cn n

1
พิสูจน์ สมมุติให้ lim
n → 1
=r0
cn n

1 1
เพราะว่า lim cn ( z − a )
n→
n n
= lim cn
n →
n z−a
1
1
lim cn ( z − a ) n n
= lim z−a
n → n → 1
1
cn n

1
= z−a
1
lim 1
n →
cn n

1 z−a
= z−a =
r r
จากทฤษฎีบท 4.6 การทดสอบโดยรากที่ n ของอนุกรมกำลังของจำนวนจริงจะได้ว่า

z−a
c n ( z − a)n ลู่เข้าอย่างสัมบูรณ์ เมื่อ
r
< 1 หรือ z−a <r
n=0


z−a
c n ( z − a)n ลู่ออก เมื่อ
r
> 1 หรือ z−a >r
n=0

พิจารณาที่จุด z = a พบว่า lim cn ( z − a ) n


n→
n
=0

1 1
ถ้า r=0 แล้ว lim cn ( z − a ) n
n→
n
= lim cn
n →
n z−a = 

นั่นคือ r เป็นรัศมีของการลู่เข้าของอนุกรม  cn ( z − a ) n 
n=0

 n

ตัวอย่าง 4.8 จงหารัศมีของการลู่เข้าของ  z


2n n =1

1 1
วิธีทำ จากอนุกรมที่กำหนดให้เป็นอนุกรมรอบจุด z=0 ซึง่ มี cn = และ cn +1 =
2n 2( n + 1)
จากทฤษฎีบท 4.8 จะได้ว่า
1
cn 2n
r = lim = lim
n → cn +1 n → 1
2( n + 1)
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 117

n +1
= lim
n → n
1
= lim 1 + =1
n → n

เพราะฉะนั้นรัศมีของการลู่เข้าเท่ากับ 1
 n

นั่นคือ  z ลู่เข้าทุกค่า z ที่อยู่ภายในวงกลม z =1 หรือ ทุก ๆ ค่า z ที่ z 1 #


2n
n =1

ตัวอย่าง 4.9 จงหารัศมีการลู่เข้าและวงกลมของการลู่เข้าของ  1 3 n ( z − 2) n −1
( n + 1) 4n =1

วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 118


ตัวอย่าง 4.10 จงหารัศมีการลู่เข้าของอนุกรม  1 n ! z n
2n =1

วิธีทำ

จงหารัศมีการลู่เข้าและบริเวณการลู่เข้าของอนุกรม  ( −1) z 2 n +1
 n

ตัวอย่าง 4.11
(2 n + 1)!
n=0

วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 119

4.3 อนุกรมกำลังของฟังก์ชันพื้นฐาน
อนุกรมกำลังของฟังก์ชันพื้นฐานเราสามารถหาได้โดยใช้อนุกรมเทย์เลอร์ หรืออนุกรมแมค-
ลอริน ซึ่งเรามีวิธีพิจารณาได้เช่นเดียวกันกับกรณีของอนุกรมเทย์เลอร์ หรือแมคลอรินในฟังก์ชันตัว
แปรจริงที่เราเคยศึกษามาแล้วในวิชาแคลคูลัสเพียงแต่เราแทนตัวแปร x ด้วย z ดังนี้
ทฤษฎีบท 4.10 ทฤษฎีบทของเทย์เลอร์ (Taylor’s Theorem)
กำหนด f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ในวงกลม C ที่มีจุดศูนย์กลางที่ z0 รัศมี r0 สำหรับแต่
ละค่า z ใน Int C จะได้

f ( n ) ( z0 )
f (z) =  ( z − z0 ) n
n=0 n!

นั่นคือ อนุกรมกำลังลู่เข้าสู่ f (z) เมื่อ z − z 0  r0

พิสูจน์ (การพิสูจน์สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารอ้างอิง)
หมายเหตุ จากทฤษฎีบทของเทเลอร์

f ( n ) ( z0 )
f (z) =  ( z − z0 ) n , z − z 0  r0
n=0 n!

เรียกว่า อนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor series)


ถ้า z0 = 0 อนุกรมนี้คือ

f ( n ) (0)
f ( z ) = f (0) +  zn , z  r0
n =1 n!

จะเรียกว่า อนุกรมแมคคลอรีน (Maclaurin Series)


ในการกระจายฟังก์ชัน f ( z ) เป็นอนุกรมเทย์เลอร์ ถ้าทราบว่า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์
บนบริเวณภายในวงกลมจุดศูนย์กลาง z 0 แล้วโดยทฤษฎีบทของเทเลอร์จะได้ว่า อนุกรมเทย์เลอร์
รอบจุด z 0 ลู่เข้าสู่ f ( z ) สำหรับแต่ละค่า z ในวงกลม ถ้าต้องการหารัศมีการลู่เข้าของอนุกรม
เมื่อทราบจุดเอกฐานของ f ที่อยู่ใกล้จุด z 0 มากที่สุด ดังบทแทรกต่อไปนี้

บทแทรก 4.11 ถ้า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ในบริเวณ D และ



f ( n ) ( z0 )
f ( z ) = f ( z0 ) +  ( z − z0 ) n มีรัศมีการลู่เข้า r และ z1 เป็นจุดเอกฐานของ f ( z ) ที่
n =1 n!
อยู่ใกล้ z0 มากที่สุด จะได้ว่า r = z1 − z 0

พิสูจน์ (การพิสูจน์สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารอ้างอิง)

หมายเหตุ ฟังก์ชันเอ็นไทร์เมื่อกระจายเป็นอนุกรมเทย์เลอร์จะมีรัศมีการลู่เข้าเป็น 
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 120

ตัวอย่าง 4.12 จงหารัศมีของการลู่เข้าของอนุกรมเทย์เลอร์รอบจุด z0


1
1. f (z) = , z0 = i
1− z
z
2. f (z) = , z0 = 1
(z − 2)(z − i)
1
วิธีทำ 1) f (z) = ไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด z =1
1− z

ดังนั้น r = z1 − z 0 = 1 − i = 12 + ( −1) 2 = 2

นั้นคือ รัศมีการลู่เข้าคือ 2

ตัวอย่าง 4.13 จงหาอนุกรมแมคลอรินของ f (z) = ez


วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 121


ตัวอย่าง 4.14 1) จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ของ f ( z ) = sin z รอบจุด z=
4
1
2) จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ของ f (z) = รอบจุด z =1
z
  2
วิธีทำ 1) จาก f ( z ) = sin z จะได้ f ( ) = sin =
4 4 2
d   2
จะได้ f ( z ) = sin z = cos z และ f ( ) = cos =
dz 4 4 2
d   2
f ( z ) = ( cos ) = − sin z และ f ( ) = − sin = −
dz 4 4 2
d   2
f ( z ) = ( − sin z ) = − cos z และ f ( ) = − cos = −
dz 4 4 2
d   2
f ( 4) ( z ) = ( − cos z ) = sin z และ f ( 4) ( ) = sin =
dz 4 4 2


จากทฤษฎีบทของเทย์เลอร์ ที่จุด z= คือ
4
   1   1  
f ( z ) = f ( ) + f ( )( z − ) + f ( )( z − ) 2 + f ( )( z − ) 3 +
4 4 4 2! 4 4 3! 4 4
2 2  2  2 
ดังนั้น sin z = + (z − )− (z − )2 − (z − )3 +
2 2 4 2  2! 4 2  3! 4
2  1  2 1  3 
= 1 + ( z − ) − ( z − ) − ( z − ) +  #
2  4 2! 4 3! 4 
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 122

1
ตัวอย่าง 4.15 จงหาอนุกรมแมคลอรินของฟังก์ชัน f (z) = พร้อมทั้งหาบริเวณของการลู่เข้า
1+ z
วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 123

ตัวอย่าง 4.16 กำหนดให้ f ( z ) = ln(1 + z ) จงหาอนุกรมแมคลอรินของ f (z) พร้อมทั้งหา


บริเวณการลู่เข้า
วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 124

สรุปอนุกรมแมคลอรินของฟังก์ชันพื้นฐานที่สำคัญมีดังนี้
1. 1
= 1 − ( z − 1)1 + ( z − 1) 2 − ( z − 1) 3 + เมื่อ 0  z 1
z
1
2. = 1 + z + z 2 + z 3 + ... เมื่อ z 1
1− z
1
3. = 1 − z + z 2 − z 3 + ... เมื่อ z 1
1+ z
z2 z3 z4
4. ln(1 + z ) = z − + − + ... เมื่อ z 1
2 3 4
z z2 z3
5. ez = 1 + + + + ... เมื่อ z 
1! 2! 3!
z3 z5 z7
6. sin z = z − + − + ... เมื่อ z 
3! 5! 7!
z2 z4 z6
7. cos z = 1 − + − + ... เมื่อ z 
2! 4! 6!
z3 2z5 
8. tan z = z + + + ... เมื่อ z 
3 15 2
3
1 z z
9. cot z = − − − ... เมื่อ z 
z 3 45
z2 5z 4 
10. sec z = 1 + + + ... เมื่อ z 
2 24 2
1 z 7 z3
11. csc z = + + + ... เมือ่ 0  z 
z 6 360
z3 z5 z7
12. tan −1 z = z − + − + ... เมื่อ z 1
3 5 7
z3 z5
13. sinh z = z + + + ... เมื่อ z 
3! 5!
z2 z4
14. cosh z = 1 + + + ... เมื่อ z 
2! 4!
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 125

4.4 การหาอนุกรมกำลังของฟังก์ชันอื่นๆ
ถ้าฟังก์ชัน f ( z ) ที่กำหนดให้อยู่ในภาพที่ซับซ้อน ในการคำนวณหาสัมประสิทธิ์ของอนุกรม
เทย์เลอร์หรือสัมประสิทธิ์ของอนุกรมแมคลอรินโดยวิธีที่ได้จากสูตรดัง บทนิยาม 4.8 นั้น เป็นวิธีที่
ค่อนข้างยุ่งยาก และเสียเวลา ดังนั้นในหัวข้อนี้จะแสดงวิธีที่ใช้ในการคำนวณหาอนุกรมที่ซับซ้อนซึ่ง
เป็นวิธีที่ง่ายกว่าดังตัวอย่างต่อไปนี้
4.4.1 โดยการแทนในฟังก์ชันพื้นฐาน
1
ตัวอย่าง 4.17 กำหนดให้ f ( z) = จงหาอนุกรมแมคลอริน
1+ z2
วิธีทำ จากอนุกรมแมคลอรินของ
1
= 1 + z + z 2 + z 3 + ... เมื่อ z 1
1− z
แทน z ด้วย −z2 จะได้
1
= 1 + ( − z 2 ) + ( z 2 ) 2 + ( − z 2 ) 3 + ...
1 − (− z )
2

1
ดังนั้น = 1 − z 2 + z 4 − z 6 + ... เมื่อ z 1 #
1+ z2

1
ตัวอย่าง 4.18 กำหนดให้ f (z) = จงหาอนุกรมกำลังรอบจุด z = 0 ที่มีกำลังของ z เป็นลบ
1− z
วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 126

4.4.2 ใช้ทฤษฎีบททวินามและเศษส่วนย่อย
จากทฤษฎีบททวินาม คือ
n n ( n − 1) n
( x + y)n = x n + x n −1 y 1 + x n−2 y 2 + + x1 y n −1 + y n
1! 2! 1!
แทนค่า x =1 , y=z และ n=m ในทฤษฎีบททวินามจะได้
m ( m − 1) m ( m − 1)( m − 2)
(1 + z ) m = 1 + mz + z2 + z3 + ................(4.1)
2! 3!
และเมื่อแทน m ด้วย −m จะได้
1 m ( m + 1) m ( m + 1)( m + 2)
(1 + z ) − m = = 1 − mz + z2 − z3 + ..............(4.2)
(1 + z ) m
2! 3!

z 2 + 3z − 1
ตัวอย่าง 4.19 จงหาอนุกรมเทย์เลอร์ของ f ( z ) = รอบจุด z =1
z3 − 3z − 2
z 2 + 3z − 1
วิธีทำ จาก f ( z) = เขียนให้อยู่ในรูปของเศษส่วนย่อย จะได้
z3 − 3z − 2
1 1
f (z) = 2 +
z + 2z +1 z − 2
และเขียนให้อยู่ในรูปของเทอม z − 1 ได้ดังนี้
1 1
f (z) = +
z + 2z +1
2
( z − 1) − 1
1 1 1 1 1
= − = −
[( z − 1) + 2] 1 − ( z − 1)
2
4 1 1 − ( z − 1)
[1 + ( z − 1)]2
2
1 z −1 1
= [1 + ( )]−2 −
4 2 1 − ( z − 1)
z −1
พิจารณา [1 + ( )]−2 แทนค่าในสมการ (4.2) จะได้
2
z −1 z −1 2(2 + 1) z − 1 2 2(2 + 1)(2 + 2) z − 1 3
[1 + ( )]−2 = 1 − 2( )+ ( ) − ( ) +
2 2 2! 2 3! 2
1
และ = 1 + ( z − 1) + ( z − 1) 2 + ( z − 1) 3 +
1 − ( z − 1)
z 2 + 3z − 1 1 3 1
ดังนั้น = [1 − ( z − 1) + ( z − 1) 2 − ( z − 1) 3 + ]
z − 3z − 2
3
4 2 2
−[1 + ( z − 1) + ( z − 1) 2 + ( z − 1)3 + ]
3 5 5 9
f ( z ) = − − ( z − 1) − ( z − 1) 2 − ( z − 1) 3 −
4 4 8 8
เนื่องจาก f ( z ) มีจุดเอกฐานที่ z = −1, 2 และ จุด z = 2 เป็นจุดเอกฐานที่ใกล้ที่สุด
กับจุดศูนย์กลาง z =1 ดังนั้น อนุกรมนี้จะลู่เข้าภายในวงกลม z −1  1 #
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 127

4.5 อนุกรมโลรองต์
ในหั วข้อ 4.3 และทฤษฎีบทของเทย์เลอร์ เราได้กล่าวถึงอนุกรมของเทย์เลอร์ โดยที่
f ( z ) เป็ น ฟั ง ก์ชั น วิเคราะห์ ภ ายในบริ เวณ R รอบจุ ด z = z 0 เป็ น จุ ด อยู่ ภ ายในบริ เวณ R
แต่ในการประยุกต์ใช้งานหลาย ๆ อย่าง บางครั้งจำเป็นจะต้องกระจายฟังก์ชัน f ( z ) รอบ ๆ จุด
z = z 0 ซึ่งเป็นจุดเอกฐานของ f ( z ) ด้วย ซึ่งทฤษฎีของเทย์เลอร์ไม่สามารถนำมาประยุกต์ใช้ใน
กรณี นี้ ได้ ดังนั้ น อนุ กรมอีกรู ป แบบหนึ่ งที่กระจาย f ( z ) รอบจุ ดเอกฐาน ซึ่งเรียกอนุกรมนี้ว่า
อนุกรมโลรองต์ โดยเริ่มต้นจากการพิจารณารูปวงแหวนที่ถูกล้อมรอบด้วยวงกลม C1 และ C2 ดัง
ภาพที่ 4.2 โดยที่ f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ทุกจุดภายในวงแหวนและจุดบน C1 กับ C2 ของวงแหวน
C1

C2

c
r
z

ภาพที่ 4.2 วงแหวนที่ถูกล้อมรอบด้วยวงกลม C1 และ C2


ที่มา (Murray R. S., Seymour L., John J. S. and Dennis S. 2009, pp. 187)

ทฤษฎีบท 4.12 ทฤษฎีบทของโลรองต์ (Laurent’s Theorem)


ถ้า f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บนบริเวณวงแหวนที่เกิดจากวงกลมสองวง คือ C1 : z − c =  และ
C 2 : z − c = r เมื่อ 0  r   และมีทิศทางเป็นบวก (ดังภาพที่ 4.2)
สำหรับแต่ละ z บนบริเวณวงแหวน f ( z ) สามารถเขียนได้ดังนี้
 
bn
f ( z ) =  an ( z − c ) n + 
n=0 n =1 ( z − c)n
1 1
โดยที่ , n = 0 ,1 , 2 ,
2 i  (t − c)
an = n +1
f (t)dt
C1

1 1
และ , n = 0 ,1 , 2 ,
2 i  (t − c)
bn = n +1
f (t)dt
C2

เรีย กอนุ กรมนี้ ว่า อนุ กรมโลรองต์ (Laurent series) ของ f ( z ) ที่จุด z = c และ เรียก
เซต { z r  z − c   } ว่า วงแหวนของการลู่เข้า (annulus of convergence)

พิสูจน์ (การพิสูจน์สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารอ้างอิง)
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 128

หมายเหตุ ถ้าเราใช้สัญลักษณ์แทน bn ด้วย a −n เราจะได้


   
bn
 an ( w − c ) n +  ( z − c)n
=  an ( z − c ) n +  a− n ( z − c ) − n
n =0 n =1 n =0 n =1

= a n ( z − c)n
n =−

ต่อไปเราจะใช้สัญลักษณ์แทนอนุกรมโลรองต์ของ f (z) ที่ z=c คือ f ( z) =  An ( z − c ) n
n =−

1 f (z)
เมื่อ An =  ( z − c) dz , n = 0,1, 2,..
2 i K
n +1

และ K เป็นเส้นโค้งเรียบปิดเชิงเดี่ยวที่อยู่ในวงแหวนของการลู่เข้า และวงกลม C2 อยู่


ภายในบริเวณที่ล้อมรอบด้วย K หรือ int( K )
วิธีการเขียนฟังก์ชันที่กำหนดให้ให้อยู่ในรูปอนุกรมโลรองต์นั้น เราจะอาศัยอนุกรมกำลัง
ของฟังก์ชัน ดังที่กล่าวมาแล้วในหัวข้อ 4.3 และ 4.4 ดังตัวอย่างต่อไปนี้

1
ตัวอย่าง 4.20 จงหาอนุกรมโลรองต์ของ f (z) = บน 0  z −1  1
z(z − 1)
1
วิธีทำ ให้ f (z) = ซึง่ f ไม่เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่ z = 0,1 ซึ่งอยู่ในแผ่น
z(z − 1)
วงกลม z −1  1
จะต้องกระจายให้อยู่ในรูป (z − c) n ในที่นี้ c = 1 และบริเวณของการลู่เข้าคือ z − 1  1
จะเห็นว่าตัวประกอบของ f (z) ตัวหนึ่งอยู่ในรูป z − 1 อยู่แล้ว ดังนั้นจะพิจารณาเฉพาะตัว
ประกอบที่เหลือ
1 1
= , z −1  1
z 1 + (z − 1)
= 1 − (z − 1) + (z − 1) 2 − (z − 1) 3 +

( )
1 1
ดังนั้น = 1 − (z − 1) + (z − 1) 2 − (z − 1) 3 +
z(z − 1) z − 1
1
= − 1 + (z − 1) − (z − 1) 2 + #
z −1

1
ตัวอย่าง 4.21 จงหาอนุกรมโลรองต์ของ f (z) = เมือ่ 1  z −1  
z(z − 1)
วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 129

ตัวอย่าง 4.22 จงหาอนุกรมโลรองต์ของ f ( z) =


cos z ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ z=0
5
z
วิธีทำ

ตัวอย่าง 4.23 จงหาอนุกรมโลรองต์ของ f (z) =


e2 z ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ z =1
( z − 1) 3
วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 130

ตัวอย่าง 4.24 จงหาอนุกรมโลรองต์ f ( z) =


z สำหรับบริเวณการลู่เข้าต่อไปนี้
( z − 1)(2 − z )

1) z 2 2) z −1  1
−z 1 2
วิธีทำ f (z) = = −
(z − 1)(z − 2) z −1 z−2

1) ต้องการบริเวณการลู่เข้าเป็น z 2

พิจารณาเมื่อ z 1 หรือ 1
1
z
จะได้ 1 1 1 1 1 
= = 1 + + 2 + 
z −1  1 z z z 
z 1 − 
 z
1 1 1
= + 2+ 3+
z z z
เมื่อ z 2 หรือ 2
1
z
2 2 2 2 4 8 
= = 1 + + 2 + 3 + 
z−2  2 z z z z 
z 1 − 
 z
2 4 8
= + 2
+ +
z z z3

ดังนั้นอนุกรมโลรองต์เมื่อ z 2 คือ
 1 2  1 4   1 8  1 3 7
 − + 2 − 2 + 3 − 3 + =− − − −
 z z z  z 
2
z z z z z3

1  2 2 2 
f ( z) = − + + + 
z − 1  ( z − 1) ( z − 1) 2
( z − 1)3 
1 2 2
=− − − − #
( z − 1) ( z − 1) 2
( z − 1) 3

1
ตัวอย่าง 4.25 จงหาอนุกรมโลรองต์ของ f ( z) = ซึ่งลู่เข้าภายในวงแหวน
1− z2
1 1
 z −1  พร้อมทั้งกำหนดบริเวณที่ถูกต้องของการลู่เข้า
4 2
วิธีทำ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 131

4.6 สรุป
ในบทนี้ได้กล่าวถึงลำดับและอนุกรมของฟังก์ชันตัวแปรเชิงซ้อนในหลาย ๆ รูปแบบ การ
ทดสอบการลู่เข้าของอนุกรม การหารั ศมีของการลู่เข้าของอนุกรม นอกจากนี้ยังนำอนุกรมเทเลอร์
หรืออนุกรมแมคลอรินมาหาอนุกรมของฟังก์ชันอื่นๆ ได้ และถ้าฟังก์ชันมีความซับซ้อนมากๆสามารถ
นำเศษส่ ว นย่ อยมาช่ว ยในการหาอนุกรมกำลั งของฟังก์ชันนั้น จะทำให้ ห าอนุกรมกำลัง ได้ง่ายขึ้น
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำอนุกรมเทย์เลอร์มาช่วยในการหาอนุกรมโลรองต์
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 132

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4
1. จากอนุกรมแมคลอรินของฟังก์ชันพื้นฐาน จงแสดงว่า
1.1 e iz = cos z + i sin z 1.2 e − iz = cos z − i sin z

2. จงกระจายฟังก์ชันแต่ละข้อที่กำหนดให้ต่อไปนี้อยู่ในรูปอนุกรมเทย์เลอร์รอบจุดที่กำหนดให้
และหาบริเวณของการลู่เข้า
2.1 f ( z ) = ln z , z = 1 2.2 f ( z ) = tan z , z = 0

2.3 f ( z ) = e −2 z , z=0 2.4 f ( z ) = sin z 2 , z=0

3. จงหาอนุกรมแมคลอรินของฟังก์ชันแต่ละข้อต่อไปนี้
3.1 f ( z ) = sin z 3.2 f ( z ) = csc z

3.3 f ( z ) = arctan z 3.4 f ( z ) = ln(1 + z )

4. จงคำนวนหาอนุกรมแมคลอรินจากฟังก์ชันที่กำหนดให้แต่ละข้อและหารัศมีของการลู่เข้า
1 z
4.1 f (z) = 4.2 f (z) =
(1 − z ) 3
1+ z
4
1 ez −1
4.3 f ( z) = 4.4 f ( z) =
(1 + z 2 ) 2 z3
1
1
4.5 f ( z ) = e 1− 2 z 4.6 f (z) =
( z + 3 − 4i ) 2

4.7
2
f ( z ) = e z sin z 2

5. จงคำนวณหาอนุกรมเทย์เลอย์จากฟังก์ชันแต่ละข้อที่กำหนดจุดศูนย์กลางที่กำหนดให้
1
5.1 f ( z) = , z = 1+ i 5.2 f ( z ) = ln(3 − iz ) , z = 2i
4 − 3z

6. จงหาอนุกรมโลรองต์ของฟังก์ชันแต่ละข้อต่อไปนี้ และวงแหวนของการลู่เข้า
ez 1
6.1 f ( z) = 6.2 f (z) =
z 2
z ( z − 3)
2

1 8 − 2z
6.3 f ( z) = 6.4 f ( z) =
z 2 (1 + z ) 2 4z − z3

1
7. กำหนดให้ f (z) = จงหาอนุกรมโลรองต์ และบริเวณการลู่เข้า เมื่อ
z −3
7.1 กำลังของ z เป็นบวก
7.2 กำลังของ z เป็นลบ
บทที่ 4 ลำดับและอนุ กรมในระนำบเชิ งซ้อน 133

1
8. กำหนดให้ f ( z) = จงหาอนุกรมโลรองต์ซึ่งลู่เข้าเมื่อ 0  z −i  r พร้อมทั้ง
z +1
2

กำหนดบริเวณที่ถูกต้องของการลู่เข้า
z
9. กำหนด f ( z) = จงหาอนุกรมโลรองต์สำหรับบริเวณการลู่เข้าแต่ละข้อต่อไปนี้
( z − 1)( 2 − z )
9.1 z 1 9.2 1 z  2

9.3 z 2 9.4 z −1  1

9.5 0  z − 2 1
บทที่ 5
วิธีหาปริพันธ์โดยใช้ส่วนตกค้าง

ก่อนที่เราจะศึกษาถึงวิธีการหาปริพันธ์อีกวิธีหนึ่งคือ การหาโดยใช้ทฤษฎี บทของส่วนตกค้าง


(Residue Theorem) เราจะต้องรู้ความหมายของศัพท์บางคำที่จะนำไปใช้ในการอธิบายทฤษฎี บท
ของส่วนตกค้างดังต่อไปนี้

5.1 ส่วนตกค้าง
ในบทที่ 2 ได้กล่าวถึงบทนิยามของจุดเอกฐานมาแล้ว ต่อไปจะพิจารณาชนิดของจุดเอกฐาน
เหล่านี้

บทนิ ย าม 5.1 ถ้ า z 0 เรี ย กว่ า จุ ด เอกฐานของ f ( z ) และมี r  0 ซึ่ งทำให้ f เป็ น ฟั งก์ ชั น
วิ เคราะห์ ในเซต z 0  z − z 0  r จะเรี ย ก z 0 ว่ า เป็ น จุ ด เอกฐานแบบเอกเทศ (isolated
singular point) ของ f ( z )

1
ตัวอย่าง 5.1 กำหนด f (z) = จงบอกชนิดของจุดเอกฐาน
z −1
วิธีทำ มีจุดเอกฐานที่ z = 1 และเป็นจุดเอกฐานแบบเอกเทศ เพราะว่า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์
ที่จุดอื่นยกเว้นที่ z = 1 จุดเดียว
ถ้าให้ r = 1 จะได้ว่า f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ในเซต z 0  z − 1  1 #

บทนิยาม 5.2 ถ้า z0 เป็นจุดเอกฐานแบบเอกเทศของ f (z) และ lim f (z)


z → z0
หาค่าได้ จะกล่าวว่า
z0 เป็นจุดเอกฐานที่ขจัดได้ (removable singularity)

ตัวอย่าง 5.2 กำหนดฟังก์ชัน f ( z) =


sin z จงบอกชนิดของจุดเอกฐาน
z
วิธีทำ พบว่า z=0 เป็นจุดเอกฐานแบบเอกเทศของ f (z)

แต่ lim
sin z
=1
z →0 z
ดังนั้นจุด z = 0 เป็นจุดเอกฐานแบบขจัดได้
sin z
ถ้าเขียน ในรูปอนุกรม ดังนี้
z
sin z 1 z3 z5 
=  z − + − 
z z 3! 5! 
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 135

z2 z4
= 1− + −
3! 5!
จะเห็นว่าอนุกรมที่ได้ไม่มีเทอม z ยกกำลังลบเลย
ดังนั้น z=0 จึงเป็นจุดเอกฐานแบบขจัดได้ #
1
ตัวอย่าง 5.3 กำหนดฟังก์ชัน f ( z ) = z sin จงบอกชนิดของจุดเอกฐาน
z
วิธีทำ

บทนิยาม 5.3 ถ้า z 0 เป็นจุดเอกฐานของ f (z) และ f (z) เขียนเป็นอนุกรมโลรองต์ในบริเวณ


0  z − z 0  r นั่นคือ

f (z) = A n (z − z 0 ) n ซึง่ An = 0 ทุกค่า n  − m(m  0) และ A−m  0
n =−

จะกล่าวว่า f (z) มีโพลอันดับ m ที่ z 0 (pole of order m)


นั่นคือ จาก f (z) =  A (z − z ) ถ้า
n 0
n
An = 0 ทุกค่า n  −m และ A−m  0
n =−

จะได้ f ( z ) มีโพลอันดับ m ที่ z เขียนได้ในรูป


0

A −m A −1
f (z) = + + + A 0 + A 1 (z − z 0 ) + A 2 (z − z 0 ) 2 +
(z − z 0 ) z m
(z − z 0 )
(z − z 0 ) m f (z) = A − m + + A −1 (z − z 0 ) m −1 + A 0 (z − z 0 ) m + A 1 (z − z 0 ) m +1 +
lim (z − z 0 ) m f (z) = A − m  0
z → z0
.......(5.1)
ดังนั้นในการตรวจสอบว่าฟังก์ชันมีโพลอันดับที่ m ที่ z 0 สามารถดูได้จากสมการ (5.1)
ถ้า m = 1 จะกล่าวว่า f ( z ) มีโพลเชิงเดียว (simple pole) ที่ z 0

ตัวอย่าง 5.4 จงหาโพลของฟังก์ชันต่อไปนี้


z 2 − 2z + 3
1. f (z) =
z−2
z +1
2. f (z) = 2
z +9
1
3. f (z) =
(z − 2) 3
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 136

z 2 − 2z + 3
วิธีทำ 1) จาก f (z) =
z−2
3
= 2 + (z − 2) +
z−2
ดังนั้น f (z) มีโพลเชิงเดี่ยวที่ z = 2

บทนิยาม 5.4 ถ้า z0 เป็นจุดเอกฐานของ f (z) และอนุกรมโลรองต์ของ f ( z ) รอบจุด z0 คือ



f (z) =  A (z − z ) ซึง่ A  0 สำหรับค่า
n 0
n
n n0 จำนวนอนันต์ จะกล่าวว่า
n =−

f (z) มีจุดเอกฐานเอซเซนเซียล (essential singularity)

เช่น
1
f (z) = e z−2

1 1 1
= 1+ + + +
z−2 z!(z − 2) 2
3!(z − 2) 3
ดังนั้น f (z) มีจุดเอกฐานเอซเซนเซียลที่ z=2

บทนิยาม 5.5 ให้ z 0 เป็นจุดเอกฐานแบบเอกเทศของ f ( z ) เราเรียกสัมประสิทธิ์ a −1 ในอนุกรม


โลรองต์ ข อง f ( z ) รอบจุ ด z 0 ว่ า เป็ น ส่ ว นตกค้ า ง (residue) ของ f ( z ) ที่ จุ ด z 0 และใช้
สัญลักษณ์ แทนด้วย Re s[ f , z0 ]
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 137

ตัวอย่าง 5.5 กำหนดให้ 5z + 2 จงพิจารณาว่า z=0 และ z =1 เป็นจุดเอกฐาน


f ( z) =
z ( z − 1)
แบบใดและจงหาส่วนตกค้างของ f ( z ) ที่จุดทั้งสอง
วิธีทำ เนื่องจาก f ( z ) = 5 z + 2 มีจุด z = 0 และ z =1 เป็นจุดเอกฐานแบบเอกเทศ
z ( z − 1)
พิจารณาจุด z=0
5z + 2 5z + 2 1
= 
z ( z − 1) z z −1
2 1
= − (5 + ) 
z 1− z
2
= − (5 + )(1 + z + z 2 + ...) , 0  z 1
z
2
= − − 7 − 7 z − 7 z 2 − ...
z
ดังนั้นที่จุด z = 0 เป็นโพลเชิงเดี่ยวของ f (z)
และจะได้ว่า Re s[ f , 0] = −2
พิจารณาจุด z = 1
5z + 2 5z + 2 1
= 
z ( z − 1) z −1 z
 7  1
= 5 + 
 z − 1  1 + ( z − 1)

) ,0<  z − 1  <1
7 
= 5 +  (1 − ( z − 1) + ( z − 1) − ( z − 1) −
2 3

 z −1
7
= − 2 + 2( z − 1) − 2( z − 1) 2 +
z −1
ดังนั้นที่จุด z =1 เป็นโพลเชิงเดี่ยวของ f (z) และจะได้ว่า Re s[ f ,1] = 7 #

sin z
ตัวอย่าง 5.6 กำหนดให้ f (z) = จงพิจารณาว่า z=0 เป็นจุดเอกฐานแบบใดและจงหา
z5
ส่วนตกค้างของ f (z) ที่จุด z = 0
วิธีทำ
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 138

ทฤษฎี บท 5.1 ถ้ า z 0 เป็ นจุ ดเอกฐานแบบเอกเทศของ f ( z ) แล้ วจะได้ ว่ า z 0 เป็ นโพลอั นอั บ m
ของ f ( z ) ก็ต่อเมื่อ z 0 เป็นจุดเอกฐานที่ขจัดได้ของ ( z − z 0 ) m f ( z ) และ lim
z→ z
( z − z0 ) m f ( z )  0
0

พิสูจน์ (  ) สมมติว่า z0 เป็นโพลอันดับ m ของ f (z)

ดังนั้น จะมี r0 ซึ่งทุก ๆ z ซึ่ง 0  z − z0  r อนุกรมโลรองต์ของ f (z) เขียนได้ในรูป



a −m a −1
f (z) = ++ +  an (z − z0 ) n , a −m  0
(z − z0 ) m z − z0 n=0

ฉะนั้น ( z − z 0 ) m f ( z ) = a − m +  + a −1 ( z − z 0 ) m −1 +  a n ( z − z 0 ) n + m , a − m  0
n=0

จะเห็นว่าไม่มีพจน์ ( z − z 0 ) ยกกำลังจำนวนลบในอนุกรมโลรองต์สำหรับ ( z − z 0 ) m f ( z ) รอบจุด


z0 ดังนั้น z0 เป็นจุดเอกฐานแบบเอกเทศที่ขจัดได้ของ ( z − z0 ) m f ( z) และ
lim ( z − z 0 ) m f ( z ) = a − m  0
z → z0

(  ) สมมติว่า z 0 เป็นจุดเอกฐานที่ขจัดได้ของ ( z − z 0 ) m f ( z ) และ


lim ( z − z 0 ) m f ( z )  0
z → z0

ดังนั้น ( z − z0 ) m f ( z) สามารถหาอนุกรมโลรองต์ได้ในรูป

( z − z0 ) m f ( z ) =  an ( z − z0 ) n และ a0  0
n =0

เพราะฉะนั้นอนุกรมโลรองต์ของ f (z) คือ



a0 am −1
f ( z) = + + +  a m + n ( z − z 0 ) n , a0  0
( z − z0 ) m
z − z0 n =0

ดังนั้น z0 เป็นโพลอันดับ m ของ f (z) 

ทฤษฎีบท 5.2 ถ้า z0 เป็นโพลอันดับ m ของ f (z) แล้ว


d m −1
Re s[ f , z 0 ] =
1
lim m −1
( z − z ) m f (z)  ...................(5.2)
( m − 1)!
0
z → z0 dz

พิสูจน์ สมมุติ z0 เป็นโพลอันดับ m ของ f (z) ดังนั้นอนุกรมโลรองต์ของ f (z) คือ



a− m a −1
f (z) = + + +  an ( z − z0 ) n , a− m  0
( z − z0 ) m
z − z0 n =0

นำ ( z − z0 ) m คูณทั้งสองข้างสมการ จะได้

( z − z 0 ) m f ( z ) = a − m +  + a −1 ( z − z 0 ) m −1 +  a n ( z − z 0 ) n + m
n=0

หาอนุพันธ์อันดับที่ m −1 เทียบกับ z ทั้งสองข้าง จะได้


d m −1 
( n + m )!
m −1
( z − z 0)
m

f ( z ) = ( m − 1)! a −1 +  a n ( z − z 0 ) n+m
dz n = 0 ( m + 1)
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 139


( n + m )!
แต่เนื่องจาก lim
z → z0
 (m + 1)! a n ( z − z 0 ) n+m = 0
n =0

d m −1
ดังนั้น lim ( m − 1)!a −1 = lim
z → z0 z → z0 dz m −1 ( z − z ) 0
m
f ( z )

d m −1
( m − 1)! a −1 = lim
z → z0 m −1
( z − z 0 ) m f ( z) 
dz
d m −1
( z − z ) f ( z )
1
a −1 = lim m −1
m

( m − 1)!
0
z → z0 dz
d m −1
ดังนั้น Re s[ f , z 0 ] =
1
lim m −1
( z − z ) m f (z)  
( m − 1)!
0
z → z0 dz

หมายเหตุ
1. ถ้า z0 เป็นโพลเชิงเดี่ยวของ f (z) แล้ว Re s[ f , z 0 ] = lim ( z − z 0 ) f ( z )
z → z0

2. จากทฤษฎีบท 5.1 และ 5.2 เราสามารถสรุปได้ว่า


ถ้า ( z ) = ( z − z 0 ) m f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด z = z0 และ lim ( z )  0
z → z0

แล้วจะได้ว่า f (z) มีโพลอันดับ m ที่ z = z0 และส่วนตกค้างหาได้โดย


1 d m −1  ( z )
Re s[ f , z 0 ] = lim
( m − 1)! z → z 0 dz m −1

ตัวอย่าง 5.7 จงหาส่วนตกค้างของ 5z + 2 ที่จุด z=0 และ z =1


f ( z) =
z ( z − 1)
วิธีทำ เนื่องจาก 5z + 2
f ( z) =
z ( z − 1)
พิจารณา จุด z = 0
ดังนั้น  ( z ) = z  f ( z ) = 5 z + 2 เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด z=0
z −1
และ lim  ( z ) =  (0)  0 เพราะฉะนั้น f (z) มีโพลเชิงเดี่ยวที่ z=0
z→0

ส่วนตกค้างของ f (z) ที่จุด z=0 คือ


Re s[ f , 0] = lim  ( z )
z→0

5z + 2
= lim
z −1
z →0

5(0) + 2
= = −2
0 −1
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 140

พิจารณา จุด z = 1
ดังนั้น  ( z ) = ( z − 1)  f ( z ) = 5 z + 2 เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ที่จุด z =1
z
และ lim  ( z ) =  (1)  0 เพราะฉะนั้น f (z) มีโพลเชิงเดี่ยวที่ z =1
z →1

ส่วนตกค้างของ f (z) ทีจ่ ุด z =1 คือ


Re s[ f ,1] = lim  ( z )
z →1

5z + 2
= lim
z →1 z

=
5(1) + 2
=7 #
1

ตัวอย่าง 5.8 กำหนดให้ f ( z) =


50 z จงหา
( z − 4)( z + 1) 2

1) Re s[ f , 4] 2) Re s[ f , −1]
วิธีทำ จากฟังก์ชัน f ( z ) ที่กำหนดให้ มีจุดเอกฐานแบบเอกเทศคือ z = 4 และ z = −1
1) พิจารณา  ( z ) = ( z − 4)  f ( z ) = 50 z และ lim  ( z ) =  (4)  0
( z + 1) 2 z→4

จะได้ว่า f (z) มีโพลเชิงเดี่ยวที่ z=4

จะได้ Re s[ f , 4] = lim 50 z
=
50(4) =8
z→4 ( z + 1) 2
(4 + 1) 2
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 141

sin z
ตัวอย่าง 5.9 จงหาค่าส่วนตกค้างของ f (z) = ที่จุด z=0
z5
วิธีทำ

z2 + 2z
ตัวอย่าง 5.10 จงหาส่วนตกค้างของ f (z) = ที่โพลทั้งหมดของฟังก์ชัน
( z + 1) 2 ( z 2 + 4)
วิธีทำ
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 142
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 143

5.2 ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง
จากบทนิยาม 5.5 เป็นบทนิยามของส่วนตกค้างที่ได้จากทฤษฎีบทของอนุกรมโลรองต์ ซึ่งได้
1 .............(5.3)
2 i 
a−1 = Re s[ f , z 0 ] = f ( z ) dz
C

ทำให้ได้ผลตามมาคือ
 f ( z ) dz = 2 ia −1
C

หรือ  f ( z )dz = 2i Re s[ f , z 0 ] .............(5.4)


C

นั่นคือ การหาปริพันธ์ของฟังก์ชัน f ( z ) บนบริเวณที่ล้อมรอบด้วยเส้นโค้งปิด C คือค่าของส่วน


ตกค้างของฟังก์ชัน f ( z ) ที่จุด z 0 หรือ Re s[f , z 0 ] คูณกับ 2 i

สรุปได้ว่า การหา  f ( z ) dz นั้น จะต้องหาส่วนตกค้างของ f (z) ที่จุดเอกฐาน z0


C

ที่อยู่ภายในเส้นโค้ง C แล้วนำมาแทนใน  f ( z ) dz = 2 i Re s[ f , z 0 ] จะได้ปริพันธ์ตามต้องการ


C

ตัวอย่าง 5.11 จงหาค่าของ  cos5 z dz เมื่อ C เป็นวงกลม z =1


z C

cos z
วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน f (z) = มีจุดเอกฐานแบบเอกเทศที่ z=0
z5
และให้  ( z ) = z 5  f ( z ) = cos z และ lim  ( z ) =  (0)  0
z →0

ดังนั้น f (z) ที่จุด z=0 มีโพลอันดับ 5


1  d (5−1) 
Re s[ f , 0] = lim  (5−1) ( cos z ) 
(5 − 1)! z → 0  dz 
1
= lim ( cos z )
4! z →0
1 1
= ( cos 0 ) =
4! 24
cos z
ดังนั้น  5
dz = 2 i Re s[ cos z , 0]
C
z 5
z
1 i #
= 2 i ( )=
24 12
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 144

50 z
ตัวอย่าง 5.12 จงหา  dz เมื่อ C เป็นวงกลม z =2
C
( z − 4)( z + 1) 2

วิธีทำ

หมายเหตุ การหาส่วนตกค้างของ f ( z ) ที่จุดเอกฐาน z 0 เรามีวิธีหาหลายวิธีดังกล่าวมาแล้วใน


หัวข้อ 5.1 ซึ่งเราจะใช้วิธีการใดก็ได้แล้วแต่ความเหมาะสมหรือความสะดวก
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 145

ทฤษฎีบท 5.3 ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง (The Residue Theorem)


ให้ C เป็นเส้นโค้งเรียบปิดเชิงเดี่ยว และ z1 , z2 , z3 ,..., zn เป็นจุดอยู่ภายใน C

f เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์ภายในและบนเส้นโค้ง C ยกเว้นที่จุด z1 , z2 , z3 ,..., zn ซึ่งเป็นจุดเอก


ฐานแบบเอกเทศของ f (z) จะได้ว่า
 f ( z ) dz = 2 i ( Re s[ f , z1 ] + Res[ f , z 2 ] + ... + Res[ f , z n ] ) .............(5.5)
C

พิสูจน์ เนื่องจากจุด z1 , z2 , z3 ,..., zn เป็นจุดเอกฐานแบบเอกเทศของ f ( z ) ที่อยู่ภายใน C

เพราะฉะนั้นต้องมี ri , i = 1, 2, 3,..., n ที่ Ci เป็นวงกลม z − z i = ri ที่อยู่ภายใน C และ


f ( z ) เป็นฟังก์ชันวิเคราะห์บน Ci และภายใน Ci ยกเว้นที่จุด zi ดังภาพ 5.2
 f ( z )dz = 2 i Re s[ f , z i ] , i = 1, 2, 3,..., n
Ci

เพราะว่า Ci เป็นเส้นโค้งเรียบปิดเชิงเดี่ยวภายใน C

 f ( z ) dz =  f ( z ) dz +  f ( z ) dz + ... +  f ( z ) dz
C C1 C2 Cn

= 2 i Re s[ f , z1 ] + 2 iRes[ f , z 2 ] + ... + 2 i Re s[ f , z n ]

= 2 i ( Re s[ f , z1 ] + Res[ f , z 2 ] + ... + Re s[ f , z n ] ) 

ภาพที่ 5.2 เส้นโค้ง C เป็นเส้นโค้งเรียบปิดเชิงเดี่ยวที่มีจุด z1 , z2 , z3 ,..., zn เป็นจุดอยู่ภายใน C


ที่มา (James W. B. and Ruel V. C., (2009), pp.235)
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 146

ตัวอย่าง 5.13 จงหา  z 2+ 22z dz เมื่อ


2

C เป็นวงกลม z =3
( z + 1) ( z + 4)
C

z2 + 2z z2 + 2z
วิธีทำ f (z) = = มีจุดเอกฐานแบบเอกเทศที่
( z + 1) 2 ( z 2 + 4) ( z + 1) 2 ( z + 2i )( z − 2i )

จุด z = − 1, 2i , − 2i

พิจารณาจุด z = − 1 มีโพลอันดับ 2 จะได้


1 d  z 2 + 2 z 
Re s[ f , −1] = lim   
(2 − 1)! z →−1  dz  z 2 + 4  

 ( z 2 + 4)(2 z + 2) − ( z 2 + 2 z )(2 z ) 
= lim  
z → −1
 ( z 2 + 4) 2 
2
=−
25
จุด z = 2i มีโพลเชิงเดี่ยว
 z2 + 2z  1 − 7i
Re s[ f , 2i ] = lim  =
z → 2 i ( z + 1) ( z + 2i )
2
  25
จุด z = −2i มีโพลเชิงเดี่ยว
 z2 + 2z  1 + 7i
Re s[ f , −2i ] = lim  =
z → − 2 i ( z + 1) 2 ( z − 2i )
  25
จากสมการ (5.4) จะได้
z2 + 2z  2 1 − 7i 1 + 7i 
 ( z + 1) 2
( z + 4)
2
dz = 2 i  ( − ) + (
 25 25
)+( )
25 
C

= 2 i[0]
#
=0

3 ze z
ตัวอย่าง 5.14 จงหา  dz เมื่อ C เป็นวงรี 9x2 + y2 = 9
C
z − 16
4

วิธีทำ
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 147

5.3 การหาค่าปริพันธ์จำกัดเขต
ในหัวข้อนี้เราจะแสดงให้เห็นว่า การหาปริพันธ์ของตัวแปรเชิงซ้อนโดยใช้ทฤษฎี บทของส่วน
ตกค้างนั้นเป็นวิธีที่เหมาะสมและง่าย ที่จะนำไปใช้ในการหาค่าปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริงที่มีความ
ยุ่งยากซับซ้อน
พิจารณาการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริงที่อยู่ในรูป
2

 F (sin  , cos  ) d
0

เมื่อ F (sin  , cos  ) เป็นฟังก์ชันตรรกยะค่าจริงของ sin  และ cos


วิธีการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันค่าจริงในรูปแบบดังกล่าวนี้ สามารถหาได้โดยการเปลี่ยนตัวแปรให้เป็น
ตัวแปรเชิงซ้อน ดังนี้
ให้ z = e i เมื่อ 0    2

ได้ dz = de i

= ie i d
dz
d =
ie i
−i
= dz
e i
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 148

−i
ดังนั้น d = dz …………………………(ก)
z
1
และ cos  = ( e i + e − i )
2
1 1
= ( e i + )
2 e i
1 1
ดังนั้น cos  = (z + ) …………………………..(ข)
2 z
1
และ sin  = ( e i − e − i )
2i
1 1
= ( e i − )
2i e i
1 1
ดังนั้น sin  = (z − ) …………………………(ค)
2i z
เมื่อนำค่าในสมการ (ก) , (ข) และ (ค) แทนในปริพันธ์ที่กำหนดให้ แล้วปริพันธ์จะเปลี่ยนรูป
เป็นรูปปริพันธ์ของฟังก์ชันตรรกยะตัวแปรเชิงซ้อน z สำหรับช่วงของการหาปริพันธ์เดิมอยู่ในช่วง
0 ถึง 2 ดังนั้นตัวแปร z จะอยู่ในช่วงดังกล่าวด้วย
เพราะฉะนั้นเราจึงหาปริพันธ์รอบวงกลม C รัศมีหนึ่งหน่วย ในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา คือ
2
1 1 1 1  −i
 F (sin  , cos  )d =  F  ( z − ), ( z + )  ( dz ) ............(5.6)
0 z =1  2i z 2 z  z

2

ตัวอย่าง 5.15 จงหาค่าของ  1 d


2 + sin  0

1 1 −i
วิธีทำ จาก sin  = (z − ) และ d = dz
2i z z
และช่วงปริพันธ์ 0 ถึง 2 เปลี่ยนเป็นปริพันธ์ตามเส้นรอบวงของวงกลม z =1
2
1 1 −i
จะได้  2 + sin  d =  1 1 z
( dz )
0 z =1 2+ (z − )
2i z
2
1 2 zi −i
 2 + sin  d =  z + 4 zi − 1 z
2
( dz )
0 z =1

2
1 1
 2 + sin  d = 2  dz …………………(ก)
0 z =1
z + 4 zi − 1
2

1
หา  dz
z =1
z + 4 zi − 1
2

1 1
จาก f ( z) = = มีจุดเอกฐานอยู่ที่
z + 4 zi − 1
2
[ z + (2 − 3)i ][ z + (2 + 3)i ]
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 149

จุด z = − (2 − 3)i , − (2 + 3)i และมีเพียงจุด z = − (2 + 3)i เท่านั้นที่อยู่ภายใน


วงกลม z =1 ดังภาพที่ 5.4

− (2 − 3)i

− (2 + 3)i

ภาพที่ 5.4 ภาพประกอบตัวอย่าง 5.15

1 1
ฟังก์ชัน f ( z) = =
z + 4 zi − 1
2
[ z + (2 − 3)i ][ z + (2 + 3)i ]

มีโพลอันดับ 1 ที่จุด z = − (2 − 3)i

1
ดังนั้น Re s[ f , − (2 − 3)i ] = lim
z → − ( 2− 3 )i z + (2 − 3)i
1
=
− (2 − 3)i + (2 + 3)i
i
=−
2 3
จากสมการ (5.4) จะได้
1
 z + 4 zi − 1
2
dz = 2 i Re s[ f , − (2 − 3)i ]
z =1

i
= 2 i ( − )
2 3

= …………………(ข)
3
นำสมการ (ข) แทนในสมการ (ก) จะได้
2
1 2
 2 + sin  d = #
0 3
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 150

2
1
ตัวอย่าง 5.16 จงหาค่าของ  d
5 − 4 cos  0

1 1 −i
วิธีทำ จาก cos  = (z + ) และ d = dz
2 z z
และช่วงปริพันธ์ 0 ถึง 2 เปลี่ยนเป็นปริพันธ์ตามเส้นรอบวงของวงกลม z =1 จะได้
2
1 1 −i
 5 − 4 cos  d =  1 1 z
( dz )
0 z =1 5 − 4 (z + )
2 z
z −i
=  −2 z + 5 z − 2 z
2
( dz )
z =1

1
=i  2z − 5z + 2
2
dz
z =1

2
1 1
 5 − 4 cos  d =i  dz ………………..(ก)
0 z =1
2z − 5z + 2
2

1 1
เนื่องจาก f (z) = มีจุดเอกฐานแบบเอกเทศ 2 จุด คือ z = 2,
2z − 5z + 2
2
2
1
และ มีจดุ เอกฐาน z= เท่านั้น ที่อยู่ภายในวงกลม z =1 ดังภาพที่ 5.5
2

1
2 2

ภาพที่ 5.5 ภาพประกอบตัวอย่าง 5.16


1 1
จาก f (z) =
1
มีโพลอันดับหนึ่ง ที่จุด z=
2
( z − 2)( z − )
2
1  1 
Re s[ f , ] = lim  
z→  z − 2 
1
2
2

1 1 2
Re s[ f , ] = =−
2 1 3
−2
2
1 1
ดังนั้น  dz = 2 i Re s[ f , ]
z =1
2z − 5z + 2
2
2

2 4 i
= 2 i ( − ) =− …………….(ข)
3 3
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 151

แทนสมการ (ข) ในสมการ (ก) ได้


2
1 4 i 4
 5 − 4 cos  d = i ( − )= #
0
3 3

2
3i
ตัวอย่าง 5.17 จงหาค่าของ  d
3 − 2 cos  + sin 
0

1 1 1 1
วิธีทำ จาก cos  = (z + ) , sin  = (z − ) และ
2 z 2i z
−i
d = dz และช่วงปริพันธ์ 0 ถึง 2 เปลี่ยนเป็นปริพันธ์ตามเส้นรอบวงของวงกลม z =1
z
2
3i 3i −i
จะได้  3 − 2 cos  + sin  d =  1 1 1 1 z
( dz )
0 z =1 3 − 2( ( z + )) + ( z − )
2 z 2i z
6i
=  dz …………(ก)
z =1
(1 − 2i ) z + 6iz − 1 − 2i
2

6i
จาก f (z) = เราหาจุดเอกฐานได้ดังนี้
(1 − 2i ) z + 6iz − 1 − 2i
2

จากสมการ (1 − 2i ) z 2 + 6iz − 1 − 2i = 0

− 6i  (6i ) 2 − 4(1 − 2i )( −1 − 2i )
ได้ z=
2(1 − 2i )
− 6i  4i
=
2(1 − 2i )
− 6i + 4i − 6i − 4i
= ,
2 − 4i 2 − 4i
2 i
z= − ,2−i
5 5
2 1 2 1
และจุดเอกฐานทั้ง 2 จุด คือ z = 2−i , − i และมีจุด z= − i เท่านัน้
5 5 5 5
ทีภ่ ายในวงกลม z =1 ดังภาพที่ 5.6

2 1
− i
5 5
2−i

ภาพที่ 5.6 ภาพประกอบตัวอย่าง 5.17


บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 152

6i 6i
เนื่องจาก f ( z) = = มีโพลอันดับ 1 ที่
(1 − 2i ) z + 6iz − 1 − 2i
2
2 i
( z − 2 − i )( z − + )
5 5
2 1
จุด z= − i จะได้
5 5
2 1  6i 
Re s[ f , − i ] = lim  
z→ − i  z − 2 + i 
2 1
5 5
5 5

6i 3
= = − 3i
2 i 2
− −2+i
5 5
6i 3
 (1 − 2i ) z 2 + 6iz − 1 − 2i dz = 2 i ( 2 − 3i ) = 6 + 3 i …………………(ข)
z =1

แทนสมการ (ข) ในสมการ(ก) ได้

2
3i
 3 − 2 cos  + sin  d = 6 + 3 i #
0

2

ตัวอย่าง 5.18 จงหาค่าของ  cos 3 d


5 − 4 cos  0

1 1 −i
วิธีทำ จาก cos  = (z + ) และ d = dz
2 z z
1 1 z 3 + z −3
cos 3 = (z + 3
)=
2 z3 2
และช่วงปริพันธ์ 0 ถึง 2 เปลี่ยนเป็นปริพันธ์ตามเส้นรอบวงของวงกลม z =1 จะได้
2
cos 3 ( z 3 + z −3 ) / 2 −i
 5 − 4 cos  d =  −1
5 − 4( z + z ) / 2 z
( dz )
0 z =1

2
cos 3 i z6 +1
 5 − 4 cos  d =
2  z 3 (2 z − 1)( z − 2)
dz
0 C

1 1
และจุดเอกฐานทั้ง 3 จุด คือ z = 0, , 2 และมีจุด z = 0, เท่านั้นที่ภายในวงกลม
2 2
z =1

z6 +1
เนื่องจาก f ( z) = มีโพลอันดับ 3 ที่จุด z=0 จะได้
z 3 (2 z − 1)( z − 2)
1 d2  z6 +1 
Re s[ f , 0] = lim   
(3 − 1)! z → 0  dz 2  (2 z − 1)( z − 2)  
1 21 21
= ( )=
2 4 8
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 153

z6 +1 1
เนื่องจาก f ( z) = มีโพลอันดับ 1 ที่จุด z= จะได้
z (2 z − 1)( z − 2)
3
2
z6 +1
Re s[ f , 0] = lim
z→
1
2 z 3 ( z − 2)
2

65
=−
24
i z +1 6
i  21 65 
ดังนั้น  dz = (2 i )  − 
2 C
z (2 z − 1)( z − 2)
3
2  8 24 

=
12
2

นั้นคือ  cos 3 d =  #
5 − 4 cos 
0
12

5.3.2 การหาปริพันธ์ไม่ตรงแบบของฟังก์ชันตรรกยะ
ในหัวข้อนี้เราจะพิจารณาการหาปริพันธ์ไม่ตรงแบบของฟังก์ชันตรรกยะของฟังก์ชันตัวแปร
จริงที่อยู่ในรูป

f ( x)
 g ( x)
dx
−

โดยที่ f ( x ) และ g ( x ) เป็นฟังก์ชันพหุนามของตัวแปรจริง x ปริพันธ์ในรูปนี้เราสามารถ


หาค่าได้โดยใช้วิธีการหาปริพันธ์โดยใช้ส่วนตกค้าง สำหรับช่วงการหาปริพันธ์ที่กำหนด − ถึง 
เราจึงเรียกปริพันธ์นี้ว่า ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ (improper integrals) และมีหมายความว่า
 0 R
f ( x) f ( x) f ( x)
 g ( x)
dx = lim
R →−  g ( x) dx + lim 
R → g ( x)
dx
− R 0

ลิมิตของปริพันธ์ด้านขวามือจะลู่เข้า ก็ต่อเมื่อ g ( x ) = 0 ไม่มีรากที่เป็นจำนวนจริง และมี


ระดับขั้นสูงกว่า f ( x ) อย่างน้อย 2 ซึ่งเราจะเห็นได้จากการพิสูจน์ทฤษฎีบท 5.4
เมื่อลิมิตด้านขวามือทั้ง 2 เทอมเกิดขึ้น ดังนั้นเราสามารถรวมช่วงการหาปริพันธ์ที่กำหนด
จาก − ถึง  และเขียนใหม่ได้
 R
f ( x) f ( x)
 g ( x)
dx = lim
R →  g ( x)
dx
− −R

พิจารณาฟังก์ชันตรรกยะตัวแปรเชิงซ้อน
f (z)
F ( z) =
g ( z)
 
f ( z)
จะเห็นได้ชัดเจนว่า ในการหาปริพันธ์  F ( z )dz หรือ  dz จะมีค่าเหมือนกันกับ
− −
g ( z)

f ( x)
การหาปริ พั น ธ์  dx ดั ง กล่ า ว เมื่ อ z อยู่ บ นแกนจริ ง และจากสมมุ ติ ฐ านที่ ว่ า สมการ
−
g ( x)
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 154

ไม่มีรากซึ่งเป็นจำนวนจริง นั่นคือฟังก์ชัน
g ( z) = 0 F (z) ไม่มีโพลอยู่บนแกนจริง ดังนั้นเราจะ
พิจารณาปริพันธ์
f (z)
 F ( z ) dz =  g ( z ) dz
C C

เมื่อเส้นโค้ง C เป็นขอบของครึ่งวงกลมซึ่งอยู่ในครึ่งบนของระนาบ z ดังภาพที่ 5.7

• จุดโพล

• จุดโพล
• จุดโพล

x
−R • จุดโพล R

• จุดโพล

ภาพที่ 5.7 เส้นโค้ง C เป็นขอบของครึ่งวงกลม z =R ซึ่งอยู่ในครึ่งบนของระนาบ z

เนื่องจากรากทั้งหมดของ g ( z ) = 0 อยู่ห่างจากจุดกำเนิดเป็นระยะทางจำกัด
ดังนั้ น เราสามารถเลื อกรัศมี R ของครึ่งวงกลม C ให้ ยาวมากพอ ( R →  ) ที่จะทำให้ จุดโพล
f (z)
ทั้งหมดของ F ( z) = ที่อยู่ในซีกบนของระนาบ z อยู่ภายในครึ่งวงกลมนี้
g ( z)

และให้  ( r ) เป็นผลรวมของส่วนตกค้างของ f ( z ) ที่จุดโพลทั้งหมดที่อยู่ในซีกบนของ


g ( z)
ระนาบ z แล้วโดยทฤษฎีบทของส่วนตกค้าง เราจะได้
R
f (z) f ( x)
 F ( z ) dz =  g ( z ) dz = lim  dx = 2 i  ( r )
R → g ( x)
C C −R

และผลการสรุปดังกล่าวนี้เราแสดงให้เห็นจริงดังทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 5.4 ถ้า F ( z) =


f (z)
เป็นฟังก์ชันตรรกยะที่ไม่มีโพลอยู่บนแกนจริง x ตลอดทั้ง
g ( z)
M
แกนในระนาบเชิงซ้อน z และ z เป็นจุดภายในครึ่งวงกลม z =R และถ้า F (z)  เมื่อ
Rk
f (z)
z = R(ei ) สำหรับ z ใน F ( z) = โดยที่ M เป็นค่าคงตัว และ k 1 แล้ว
g ( z)

 F ( x)dx = 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่ทุกจุดโพลที่อยู่ซีกบนของระนาบเชิงซ้อน z ]


−
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 155

พิสูจน์ ใช้เส้นโค้งปิดรูปครึ่งวงกลมที่ประกอบด้วย C1 + C2 ตามภาพที่ 5.8 โดยที่รัศมี R ของครึ่ง


f (z)
วงกลมยาวมากพอ( R →  )ที่จะทำให้จุดโพลทั้งหมดของ F ( z) = ที่อยู่ในซีกบนของระนาบ
g ( z)
z อยู่ภายในครึ่งวงกลมนี้
y

R
C2

−R C1
R x

ภาพที่ 5.8 ภาพประกอบทฤษฎีบท 5.4


ที่มา (Murray R.S., Seymour L., John J.S. and Dennis S. 2009, pp.214)

จากภาพที่ 5.8 เราจะได้


 F ( z ) dz =  F ( z ) dz +  F ( z )dz
C1 + C 2 C1 C2

และจากทฤษฎีบทของส่วนตกค้าง เราได้
 F ( z ) dz = 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่จุดโพลภายใน C1 + C2 ]
C1 + C 2

ดังนั้น  F ( z ) dz +  F ( z ) dz = 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่จุดโพลภายใน C1 + C2 ]


C1 C2

หรือ  F ( z ) dz − 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่จุดโพลภายใน C1 + C2 ] = −  F ( z ) dz


C1 C2

หรือ  F ( z ) dz − 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่จุดโพลภายใน C1 + C2 ] = −  F ( z ) dz ..(ก)


C1 C2

เนื่องจาก  F ( z ) dz เป็นการหาปริพันธ์ตามเส้น z ( x ) = x + 0i , −R  x  R โดยวิธีหา


C1

ปริพันธ์โดยการแทนวิถีปริพันธ์ ได้
R R

 F ( z ) dz =  F ( x + 0i )(1) dx =  F ( x )dx …………………(ข)


C1 −R −R

พิจารณา −  F ( z ) dz โดยทฤษฎีบท 3.4 (อสมการ ML ) เราได้


C2

−  F ( z ) dz   F ( z ) dz
C2 C2
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 156

M M
−  F ( z ) dz  R k
dz =  dz
C2 C2
Rk C2

เนื่องจาก  dz คือความยาวของเส้นโค้ง C2 =  R
C2

M M
ดังนั้น −  F ( z ) dz  ( R ) =
C2
R k
R k −1

เมื่อ k 1 เราได้
M
lim −  F ( z ) dz  lim =0 …………………..(ค)
R→
C2
R → R k −1
จากสมการ(ก) เราจะได้ว่า
lim
R→  F ( z ) dz − 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ทีจ่ ุดโพลายใน C1 + C2 ] = lim −  F ( z ) dz R→
C1 C2

จากสมการ(ก)และสมการ(ข) แทนในสมการข้างบนนี้ได้
R

lim
R→  F ( z )dz − 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่จุดโพลภายใน C 1 + C2 ] = 0
−R

นั่นคือ
R

lim
R →  F ( z )dz = 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่จุดโพลในซีกบนของระนาบ z ]
−R

ดังนั้น  F ( z )dz = 2 i  [ ส่วนตกค้างของ F ( z ) ที่จุดโพลในซีกบนของระนาบ z ] 


−

จากวิธีการพิสูจน์ทฤษฎีบท 5.4 เราสรุปเป็นวิธีการหาปริพันธ์ไม่ตรงแบบของฟังก์ชันค่าจริง


โดยใช้ส่วนตกค้าง จะมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้
f ( x)
1. F ( x) ต้องเป็นฟังก์ชันตรรกยะในรูป โดยที่ f ( x) และ g ( x) เป็นฟังก์ชันพหุ
g ( x)
นามซึง่ g ( x ) มีระดับขั้นสูงกว่า f ( x ) อย่างน้อย 2 และสมการ g ( x ) = 0 ต้องไม่มีรากค่าจริงเลย
2. เมื่ออยู่ในเงื่อนไขข้อ 1 แล้วเราเปลี่ยนตัวแปร x เป็นตัวแปร z แล้วหาจุดโพลของ
F ( z ) ทั้งหมด และหาส่วนตกค้างเฉพาะจุดโพลที่อยู่ในซีกบนของระนาบเชิงซ้อน z


1
ตัวอย่าง 5.19 จงหาค่า  dx
−
x +1
2

1 f ( x)
วิธีทำ จากปริพันธ์ที่กำหนดให้ มี F ( x) = =
x +1
2
g ( x)
แสดงว่า f ( x) = 1 และ g ( x) = x + 12
ซึ่งระดับขั้นของ g ( x) เป็น 2 และระดับขั้น
ของ
f ( x ) เป็น 0 แสดงว่าระดับขั้นของ g ( x) มากกว่าระดับขั้นของ f ( x ) เท่ากับ 2 และราก
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 157

ของสมการ g ( x) = x 2 + 1 = 0 คือ x=i , −i ซึ่งไม่มีรากเป็นจำนวนจริงเลย และเปลี่ยนตัว


แปร x เป็นตัวแปร z ได้
1 1
F ( z) = =
z +1
2
( z − i )( z + i )
ดังนั้น F ( z ) มีจุดเอกฐาน 2 จุด คือ z=i , −i ซึ่งทั้ง 2 จุดไม่ได้อยู่บนแกนส่วนจริง
ของระนาบเชิงซ้อน ซึ่งแสดงได้ดังภาพที่ 5.9

z=i
x
z = −i

ภาพที่ 5.9 ภาพประกอบตัวอย่าง 5.19


จากภาพที่ 5.9 เราจะพบว่ามีเฉพาะที่จุด z=i เท่านั้นที่อยู่ซีกบนของระนาบเชิงซ้อน
1 1
และ F ( z) = = มีโพลอันดับ 1 ที่จุด z=i
z +12
( z − i )( z + i )
1
ดังนั้น Re s[ 2 , i ] = lim( z − i ) F ( z )
z +1 z →i

1
= lim( z − i )
z →i ( z − i )( z + i )
1
= lim
z →i z+i
1
=
i+i
1 1
= =− i
2i 2
ดังนั้นจากทฤษฎีบท 5.4 เราได้

1 1
 dx = 2 i ( − i ) =  #
−
x +12
2

ตัวอย่าง 5.20 จงหาค่าของ  2 1 2 dx


( x + 9) −

1 f ( x)
วิธีทำ จากปริพันธ์ที่กำหนดให้ มี F ( x) = =
( x + 4)
2 2
g ( x)
เปลี่ยนตัวแปร x เป็น ตัวแปร z ได้
1 1 f ( z)
F ( z) = = =
( z + 9)
2 2
( z − 3i ) ( z + 3i ) 2 2
g ( z)
หารากของสมการ g ( z ) = ( z + 9) = 0 2 2
ดังนี้
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 158

( z 2 + 9) 2 = 0
( z − 3i ) 2 ( z + 3i ) 2 = 0
z = 3i , −3i
เราได้ F ( z ) มีจุดเอกฐานอยู่ที่จุด z = 3i , −3i และมีเฉพาะจุด z = 3i เท่านั้นที่อยู่ซีก
บนของระนาบเชิงซ้อน และพิจารณา
1 1 1 1
lim( z − 3i ) 2 = lim = =− 0
z → 3i ( z + 9)
2 2 z → 3i ( z + 3i ) 2
(3i + 3i ) 2
36
1
แสดงว่าฟังก์ชัน F (z) = มีโพลอันดับ 2 ที่จุด z = 3i และเราจะได้
( z + 9) 2
2

1 1 d 2 −1
Re s[ , 3i ] = lim 2 −1
( z − 3i ) 2 F ( z )
( z + 9)
2
(2 − 1)!
2
dz z → 3i

1 1 d 1
Re s[ 2 , 3i ] = lim ( )
( z + 9) 2
1! z → 3i dz ( z + 3i ) 2
2
= lim( − )
z → 3i ( z + 3i ) 3
2
=− i
196
1 2
ดังนั้น Re s[ 2 , 3i ] = − i
( z + 9) 2
196

1 1
นั่นคือ  (x dx = 2 i Re s[ , 3i ]
−
2
+ 9) 2
( z + 9) 2
2

2
= 2 i ( − i)
196

= #
49

 

5.3.3 การหาปริพันธ์ที่อยู่ในรูป  F ( x ) sin mxdx และ  F ( x ) cos mxdx


− −

การหาปริพันธ์ที่อยู่ในรูปดังกล่าวข้างต้นนี้เราจะอาศัยทฤษฎีบทต่อไปนี้

ทฤษฎีบท 5.5 ถ้า F ( z) =


f (z)
เป็นฟังก์ชันตรรกยะที่ไม่มีจุดโพลอยู่บนแกนส่วนจริง x ตลอด
g ( z)
M
ทั้งแกนในระนาบเชิงซ้อน z เป็นจุดภายในครึ่งวงกลม z =R และถ้า F (z)  เมื่อ
Rk
f (z)
z = R (ei ) สำหรับ z ใน F ( z ) = โดยที่ M เป็นค่าคงตัว และ k 0 , m0 แล้ว
g ( z)

 F ( x ) sin mxdx = 2  Re[ ส่วนตกค้างของ F ( z )e ที่โพลทุกจุดที่อยู่ในซีก


mzi

−

บนของระนาบเชิงซ้อน z ] และ
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 159

 F ( x ) cos mxdx = −2  Im[ ส่วนตกค้างของ F ( z )e ที่โพลทุกจุดที่อยู่ในซีก


mzi

−

บนของระนาบเชิงซ้อน z ]

พิสูจน์ (การพิสูจน์สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากเอกสารอ้างอิง)

ตัวอย่าง 5.21 จงหาค่าของ  cos2 2 x dx


x +1 0

1 1
วิธีทำ จากปริพันธ์ที่กำหนดให้เรามี F ( x ) e mix = cos 2 x = e 2 xi เมื่อเปลี่ยนตัวแปร
x +1
2
x +1
2

1 1
x เป็นตัวแปร z เราจะได้ F ( z ) e miz = cos 2 z = e 2 zi
z +1
2
z +1
2

หาจุดเอกฐานจากสมการ z2 +1 = 0
z=i , −i
1
แต่มีจุด z=i เท่านั้นที่อยู่ซีกบนของระนาบเชิงซ้อน z ซึ่งฟังก์ชัน e 2 zi มีโพล
z +1
2

อันดับ 1 ที่จุด z=i


1 1
ดังนั้น Re s[ e 2 zi , i ] = lim( z − i ) e 2 zi
z +1
2 z →i z +12

2 zi
e
= lim
z →i z+i
e 2( i ) i
e −2
= =
i+i 2i
e −2
= 0− i
2
ซึ่งเราจะได้ว่า
1 1
Re(Re s[ e 2 zi , i ]) คือส่วนจริงของส่วนตกค้างของ e 2 zi ที่จุดโพลเท่ากับ 0
z +1
2
z +12

1 1 e −2
Im(Re s[ e 2 zi , i ]) คือส่วนจินตภาพของส่วนตกค้างของ e 2 zi ที่จุดโพลเท่ากับ −
z2 +1 z2 +1 2
นั่นคือ โดยทฤษฎีบท 5.5 เราจะได้ว่า

 F ( x ) cos mxdx = −2  Im[ ส่วนตกค้างของ F ( z )e ที่โพลทุกจุดที่อยู่ในซีก


mzi

−

บนของระนาบเชิงซ้อน z ]

cos 2 x e −2
ดังนั้น  dx = −2 ( −
) =  e −2
−
x 2
+ 1 2

เนื่องจาก cos 2x และ 21 เป็นฟังก์ชันคู่ เพราะฉะนั้น 21 cos 2 x เป็นฟังก์ชันคู่


x +1 x +1
 
cos 2 x cos 2 x
นั่นคือ  x 2 + 1 dx = 2  x 2 + 1 dx
− 0
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 160


cos 2 x
ดังนั้น 2 dx =  e −2
0
x2 + 1

cos 2 x  e −2 
 dx = = #
0
x +1
2
2 2e 2


x sin  x
ตัวอย่าง 5.22 จงหาค่าของ  dx
−
x + 2x + 5
2

z
วิธีทำ จากปริพันธ์ที่กำหนดให้ เราหาส่วนตกค้างของ e zi ที่จุดโพลที่อยู่ในส่วนซีก
z + 2z + 5
2

บนของระนาบเชิงซ้อน
z f ( z)
จาก F ( z )e mzi = e zi =
z + 2z + 5
2
g ( z)
z
หาจุดเอกฐานของฟังก์ชัน e zi โดยพิจารณาจากสมการ
z + 2z + 5
2

z2 + 2z + 5 = 0
−2 + (2) 2 − 4(1)(5) −2 − (2) 2 − 4(1)(5)
z= ,
2 2
z = −1 + 2i , −1 − 2i
z
แสดงว่าฟังก์ชัน e zi มีจุดเอกฐาน คือ z = −1 + 2i , −1 − 2i
z + 2z + 5
2

z
แต่จุดที่อยู่ซีกบนของระนาบเชิงซ้อน คือ z = −1 + 2i ซึ่งฟังก์ชัน e zi
z + 2z + 5
2

มีโพลอันดับ 1 ที่จุด z = −1 + 2i
z z
ดังนั้น Re s[ e zi , − 1 + 2i ] = lim ( z + 1 − 2i ) e zi
z + 2z + 5
2 z → − 1+ 2 i z + 2z + 5
2

z
= lim e zi
z →−1+ 2 i ( z + 1 + 2i )
( − 1 + 2 i ) e  ( − 1+ 2 i ) i
=
( − 1 + 2i ) + 1 + 2i
e − 2 − i
= ( − 1 + 2i )
4i
i
= ( − 1 + 2i )( − e −2 e −  i )
4
−2  −2 
ie 2e
=( + )( e −  i )
4 4
−2 
ie 2 e −2
=( + )(cos( − ) + i sin( − ))
4 4
2 e −2  e −2 
=− − i
4 4
z 2 e −2 e −2
นั่นคือ Re s[ 2 e zi , − 1 + 2i ] = − − i
z + 2z + 5 4 4
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 161

แสดงว่า
z 2 e −2
Re(Re s[ e zi , −1 + 2i ]) = −
z2 + 2z + 5 4
− 2
z e
Im(Re s[ e zi , −1 + 2i ]) = −
z + 2z + 5
2
4
โดยทฤษฎีบท 5.5 เราได้ว่า

 F ( x ) sin mxdx = 2  Re[ ส่วนตกค้างของ F ( z )e ที่โพลทุกจุดที่อยู่ในซีก


mzi

−

บนของระนาบเชิงซ้อน z ]

x sin  x 2 e −2
ดังนั้น  dx = 2 ( − )
−
x2 + 2x + 5 4

= − e −2

=− #
e 2

5.4 สรุป

จากบทที่ 4 ได้นิยามอนุกรมโลรองต์ของ f (z) ทีจ่ ุด z = z0 คือ



1 f ( z)
f (z) = a n ( z − z0 ) n เมื่อ
2 i  ( z − z )
an = dz , n = 0,1, 2,.. n +1
n =− K 0

เราเรียกสัมประสิทธิ์ a ในอนุกรมโลรองต์ของ f ( z ) รอบจุด z ว่าเป็นส่วนตกค้าง (residue)


−1 0

ของ f ( z ) ที่จุด z และใช้สัญลักษณ์แทนด้วย Re s[ f , z0 ] การหาปริพันธ์ของฟังก์ชัน f ( z ) บน


0

บริเวณที่ล้อมรอบด้วยเส้นโค้งปิด C คือค่าของส่วนตกค้างของฟังก์ชัน f ( z ) ที่จุด z 0

ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า  f ( z ) dz = 2 i Re s[ f , z ] 0
C

และถ้า C เป็นเส้นโค้งเรียบปิดเชิงเดี่ยว และ z1 , z2 , z3 ,..., zn เป็นจุดอยู่ภายใน C และ f ( z ) เป็น


ฟังก์ชันวิเคราะห์ภายในและบนเส้นโค้ง C ยกเว้นที่จุด z1 , z2 , z3 ,..., zn ซึ่งเป็นจุดเอกฐานแบบ
เอกเทศของ f ( z ) แล้วจะได้ว่า
 f ( z ) dz = 2 i ( Re s[ f , z1 ] + Res[ f , z 2 ] + ... + Res[ f , z n ] )
C

นอกจากนี้ยังสามารถนำทฤษฎีบทของส่วนตกค้างไปใช้ในการหาค่าปริพันธ์ของฟังก์ชันค่า
จริงที่มคี วามยุ่งยากซับซ้อน
ให้ C เป็ น วงกลมรัศมีห นึ่งหน่วย และมีทิศทางทวนเข็มนาฬิ กา โดยที่ฟั งก์ชันอยู่ในรูป
F (sin  , cos  ) เป็นฟังก์ชันค่าจริงของ sin  หรือ cos  จะได้
2
1 1 1 1  −i
 F (sin  , cos  )d =  F  ( z − ), ( z + )  ( dz )
 2i z 2 z  z
0 z =1
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 162

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5
1. จงหาอนุกรมโลรองต์ในย่านใกล้เคียงของจุดเอกฐานของฟังก์ชันต่อไปนี้ และหาส่วนตกค้าง
e2z 1
1.1 f (z) = 3
1.2 f ( z ) = z cos( )
z z
1 1
1.3 f (z) = 1.4 f (z) =
z ( z − 3)
2
z (1 + z ) 2
2

8 − 2z
1.5 f (z) =
4z − z 3

2. ถ้าเป็นไปได้จงหาส่วนตกค้างที่โพลของฟังก์ชันในข้อ 1 โดยใช้ทฤษฎีบทที่ 5.2


 
1 1 1 1
3. สังเกตว่า f ( z) =
2−z
+
z −1
มีการกระจายโลรองต์ f ( z) = 2 n +1
zn + 
zn
n =0 n =1

1
ซึ่งใช้ได้ในวงแหวน 1  z 2 การกระจายนี้มีพจน์ เราสามารถสรุปได้หรือไม่ว่า z=0
z
เป็นจุดเอกฐานของ f (z) และมีส่วนตกค้างเท่ากับ 1
4. จงหาค่าส่วนตกค้างของฟังก์ชันต่อไปนี้ที่จุดเอกฐาน
6 z+3
4.1 f (z) = 4.2 f (z) =
1− z z +1
1
4.3 f (z) = 4.4 f ( z ) = sin z
( z − 1) 2
2
z2

5. จงหาค่าส่วนตกค้างที่จุดเอกฐานซึ่งอยู่ภายในวงกลม z = 1 .5
1
z−
6 − 4z
5.1 f (z) = 4 5.2 f (z) =
z + 3z + 2
2
z 3 + 3z 2
8 − 22 z − z 2
5.3 f (z) =
z 3 − 5z 2 + 4z

6. เมื่อ C เป็นวงกลม z =1 จงหาปริพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้


6.1  tan zdz 6.2  cot zdz
C C

6.3  5 z dz 6.4  sin 4 z dz


2z + i
C
z C

1 z2 +1
6.5  dz 6.6  dz
1− ez
C C
z2 − 2z

7. เมื่อ C เป็นวงกลม z =2 จงหาปริพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้


1 1
7.1  dz 7.2  2
dz
C
z sin z C
z sin z
บทที่ 5 วิ ธีหาปริ พันธ์โดยใช้สว่ นตกค้าง 163

−z 1

7.3  e 2 dz 7.4  ze z dz
z C C

4 − 3z
8. จงหา  dz เมื่อ C เป็นวงกลม z = 1.5
C
z − 3z 2 + 2 z
3

1 e zt
9. จงหา z dz เมื่อ C เป็นวงกลม z =3
2 i C
2
( z 2 + 2 z + 2)

10. จงหา  3 + 5 z3 dz เมื่อ


9z − zC

10.1 C เป็นวงกลม z −1 = 3

10.2 C เป็นวงรี x2 + 4 y2 = 4

11. เมื่อ C เป็นวงกลม z =1 จงหาปริพันธ์แต่ละข้อต่อไปนี้


11.1  tan  zdz 11.2  tan 3 z dz
C
z C

11.3  6 z − 4 z + 12 dz
2
11.4  cot z dz
( z − 2)(1 + 4 z )
C
z C


( z −i )
2
11.5  z 2 dz 11.6  e dz
1+ 9z C
sin z
C

12. จงหาปริพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
2 2
1 1
12.1  d 12.2  d
3 − 2 cos  + sin 
0
5 + 4 sin 
0

2 2
1
12.3  d 12.4  1 d
(5 − 3sin  ) 2
0
2 + cos 0

2 2

12.5  sin 3 d 12.6  1


d
5 − 3 cos  0
a + b cos 
0

 

12.7  2 x dx 12.8  (x
1
dx
( x − 2 x + 2) 2
− −
2
+ 1) 3

 
x2 x sin x
11.9  dx 11.10  dx
−
x +1
6
−
x2 + 4

 
1
11.11  dx 11.12  cos2 mx dx
−
x + x +1
4 2
x +1 −
เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบท

แบบฝึกหัดบทที่ 1

1. 1.1) 24 3i 1.2) 1  2i


1.3) 10  2 3i 1.4) 14  2 15

2. 2.1) x3 , y  7 2.2) x6 ,y0


2.3) x0 , y  7 2.4) x  2 , y  0

3. 3.1) 9  3i 3.2) 4  i
3.3) 3  9i 3.4) 17  14i
3.5) 4  8i 3.6) 21  i
3.7) 3  4i 3.8) 46  9i
5 9 9 12
3.9)  i 3.10)  i
2 2 5 5
82 39
3.11) 3i 3.12)  i
85 85

4. 4.1) 3  3i 4.2) 8i

5. 5.1) 5 5.2) 10
5.3) 5 5.4) 1
5.5) 65 5.6) 2 5

   1  
6. 6.1) z  4 cos  i sin  6.2) z  cos  i sin 
 4 4 3 6 6
  
6.3) z  7 cos   i sin   6.4) z  4 cos  i sin 
 4 4

7. 7.1) 6  6 3i 7.2) 3
7.3) 2 7.4) 4 2  4 2i
7.5) 3 i 7.6)  2  2i

8. 8.1) 1 8.2) 4
8.3) 1 8.4) 1 i
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 208

2 2 2 2 2 2 2 2
9. 9.1)  i,   i,   i,  i
2 2 2 2 2 2 2 2
9.2) 3  i, 2i,  3  i
 
9.3) cos  i sin , 3 , 5 , 7 , 9 , 11 , 13 , 15
8 8 8 8 8 8 8 8 8
  7  12k   7  12k  
9.4) zk  2 cos    i sin    , k  0,1, 2,3
  24   24 

1 3 1 3
10. 10.1) {  i,  i, 1}
2 2 2 2
10.2) {2, 2i}
10.3) { 2,  2, 4 5,  4 5, 4 5i,  4 5i}
10.4) {2  3i,1  i}

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2
1. 1.1) f ( z)  ( x2  y 2  2 y  1)  2( xy  x)i
1.2) f ( z)  ( x2  y 2  y  2)  ( x  2 xy)i
1.3) f ( z )  x 2  y 2i
1.4) f ( z)  ex y cos( x  y)  e x y sin( x  y)i
1.5) f ( z )  (e x  y2
cos 2 xy)  (e x  y2
2 2
sin 2xy )i

2. 2.1) 2  3i 2.2) 22  9i
2.3) 0.540  0.841i , 1 2.4) 0.260  0.260i , 0.368
1 1
2.5) 3.725  0.512i , 0.531  3.591i , ( e  e)
2
2.6) 27.017  3.854i


3. 3.1) 1.946  3.142i 3.2) ln 2  i หรือ 0.693  0.785i
4
1 1
3.3) 0.693  1.571i 3.4)  i
2 2
3.5) 0.117  0.262i 3.6) 7,083,319  1,103,646i

1
4. 4.1) 1.609  (2.214  2n )i 4.2) (  2n) i
2
1
4.3) ln 2  2n i 4.4)  n (1  i)
2

ตัวแปรเชิ งซ้อน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 209

1
4.5) n i , n เป็นจำนวนเต็ม 4.6) (1  4n)  2i , n 0 ,1, 2 ,
2

5. 5.1) เป็นเซตไม่มีขอบเขต เป็นเซตเปิด และเป็นเซตเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว


5.2) เป็นเซตมีขอบเขต เป็นเซตปิด และเป็นเซตเชื่อมโยงหลำยเชิง
5.3) เป็นเซตไม่มีขอบเขต เป็นเซตเปิด และเป็นเซตเชื่อมโยงหลำยเชิง
5.4) เป็นเซตไม่มีขอบเขต เป็นเซตปิด และเป็นเซตเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว
5.5) เป็นเซตมีขอบเขต เป็นเซตปิด และเป็นเซตเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว
5.6) เป็นเซตไม่มีขอบเขต ไม่เป็นเซตเปิดและไม่เป็นเซตปิด และเป็นเซตเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว
28 36
6. 6.1) 2  11i 6.2)  i
13 13
1 64
6.3)  i 6.4) 16 12
 i
57358 57358 25 25
6.5) 
1 6.6) 1
4 6

7. 7.1) 3z 2 ,6 z 7.2)  ez , ez


7.3) i , 0 7.4) i
,
2i
( z  i) 2
( z  i )3
7.5) 8z  4i ,  8 7.6) 
3i
,
12
(iz  1) 4
(iz  1)5
7.7) 4 z csc2 z 2 , 4csc2 z 2  16 z 2 csc2 z 2 cot 2 z 2
7.8) 1  ln z  ln 2 z
1
 , 2
z 1  ln 2 z z (1  ln z )
2 3/ 2

7.9) 6sin(4 z  2  2i) , 24cos(4 z  2  2i)


7.10) 2( z  1)cosh( z  1)2 , 2cosh( z  1)2  4( z  1)2 sinh( z  1)2

8. 8.1) 1  6i 8.2) 2  6i
8.3) 1  2  i

9. 9.1) เป็นฟังก์ชันวิเครำะห์ทุกค่ำ z 9.2) ที่ z  1 เป็นจุดเอกฐำน


9.3) ที่ z  0 เป็นจุดเอกฐำน 9.4) ที่ z  1 เป็นจุดเอกฐำน

9.5) ที่ z  (2n  1) , n 0 , 1 , 2 , … เป็นจุดเอกฐำน
2
9.6) ที่ z  0 เป็นจุดเอกฐำน 9.7) ไม่เป็นฟังก์ชันวิเครำะห์
9.8) เป็นฟังก์ชันวิเครำะห์ทุกค่ำ z 9.9) ไม่เป็นฟังก์ชันวิเครำะห์
9.10) ที่ z  0 และจุดบนแกน y ทำงลบ เป็นจุดเอกฐำน

ตัวแปรเชิ งซ้อน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 210

11. 11.1) หำ f ( z ) ได้เฉพำะบนเส้นตรง y  x ซึ่ง f ( z)  2 x


11.2) หำ f ( z ) ได้ ยกเว้นที่ z  0 ซึ่ง f ( z)  2x  2 yi
11.3) หำ f ( z ) ไม่ได้
1
12. 12.1) v  yc 12.2) u  ( x2  y 2 )  c
2
12.3) v  e x sin y  c 12.4) f ( z)   z 2
1
12.5) f ( z)   12.6) v( x, y)  2 y  x 2  y 2
z

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 3
1. 1.1) z(t )  2  (1  t )i , 0  t  3 1.2) z(t )  t  2t i , 0  t  1
1.3) z(t )  (1  t )  (2  t )i , 0  t  2

2. 2.1) z(t )  1  2i  3(cos t  i sin t ) , 0  t  2


1 3
2.2) z (t )  t  i, 1  t  4 2.3) z (t )  t  i  i, 1  t  3
t t
2.4) z(t )  3cos t  i sin t , 0  t  2
2.5) z(t )  1  3cos t  2i  2i sin t , 0  t  2

3. 3.1) วงกลม , x2  ( y  3)2  9


3.2) พำรำโบลำ , y  3x2 จำกจุด (1,3) ถึงจุด (2,12)
3.3) วงรี , 4 x2  y 2  4
3
4. 4.1)  i 4.2) 0
2
4.3) 2 i 4.4) 2 i
4.5) 9 i

5. 5.1) 1  ei 5.2) 0
5.3) 0

32 64
6. 6.1)  i 6.2) 32i
3 3
128
6.3) 8 i
5

ตัวแปรเชิ งซ้อน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 211

7. 7.1) i 7.2) 2i
7.3) 2i

8. 8.1) 5e3 8.2) 5

1
9. 1 i
3

1
10.  sin( 2 )
2

1
11. (  sinh 2 )i
2

12. 12.1) 2  2i 12.2) 2e


1566
12.3) 130.7i 12.4)  i
35
12.5) 0 12.6) 0

13. 13.1)  13.2) 0

 
14. 14.1) i 14.2)
2 2

 
1
15. 15.1) i 15.2)  ie 4
2
15.3) 0

16. 2


17.
2

18. 2 i

19. 19.1) 0 19.2)  i

20. 2 i

 3
21. 21.1) i 21.2)
2 8
 (  4i )(1  i )
21.3) 2 i 21.4)
32 2

ตัวแปรเชิ งซ้อน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 212

21.5) 2 i 21.6) 18 i

3 3
22. 22.1)  i 22.2) i
2 2
22.3) 0

16 2
23. e i
25

8 i
24.
3e 2

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4
1 1 1
2. 2.1) ( z  1)  ( z  1)2  ( z  1)3  ( z  1)4  ..., z  1  1
2 3 4
3
z 2z 5

2.2) z   ..., z 
3 15 2
(2 z ) (2 z ) (2 z )3
2
2.3) 1    ..., z  
1! 2! 3!
z 6 z10 z14
2.4) z2     ..., z  
3! 5! 7!

z3 z5 z7 z 2 n1
3. 3.1) z    ...  (1)n1 
3! 5! 7! (2n  1)!
1 z 7 z3
3.2)    ...
z 6 360
z3 z5 z7 z 2 n1
3.3) z     ...  (1)n1 
3 5 7 2n  1
z 2 z3 z 4 zn
3.4) z     ...  (1)n1 
2 3 4 n

4. 4.1) z  z4  z7  , r 1
4.2) 1  3z  6 z 2  10 z 3  , r 1
4.3) 1  2 z 2  3z 4  4 z 6  , r 1
z5 z9
4.4) z   , r 
2! 3!
5z 3 1
4.5) e(1  2 z  6 z 2 z  ) , r
3 2
3  4i 2 3  4i 3 3  4i 4 2 3  4i 5 3
4.6) ( )  2( ) z  3( ) z  4( ) z  , r 5
25 25 25 25

ตัวแปรเชิ งซ้อน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 213

1
4.7) z 2  z 4  z 6  ... , r 
3

1  3i 1  3i 2 1  3i 3
5. 5.1) ( )  3( ) ( z  1  i)  32 ( ) ( z  1  i)2  , r  1 10
10 10 10 3
i 1 i 1
5.2) ln 5  ( z  2i)  2
( z  2i) 2  3 ( z  2i)3  4 ( z  2i) 4  , r  5
5 2.5 3.5 4.5

1 1 1 1 11 1 z
6. 6.1) 2
   z  ...,0  z  6.2)  2

  ...,0  z  3
z z z 6 3z 9 z 27 81
1 2 2 1 1 1
6.3)   3  4 z  ...,0  z  1 6.4)   z  z 2  ...,0  z  2
z2 z z 2 2 8

1 1 1 2 1 3
7. 7.1)   z z  z  ..., z  3
3 9 27 81
1 3 9 27
7.2)  2 3  ..., z  3
2 z z 24

i i i
8.  ( z  i) 1  ( ) 2 ( z  i)  ( ) 3 ( z  i) 2  ...,0  z  i  2
2 2 2

1 3 7 15
9. 9.1)  z  z 2  z 3  z 4  ...
2 4 8 16
1 1 1 1 1
9.2) ...  2   1  z  z 2  z 3  ...
z z 2 4 8
1 3 7 15
9.3)   2  3  4  ...
z z z z
9.4)  ( z  1) 1  2( z  1) 2  2( z  1) 3  ...
9.5) 1  2( z  2) 1  ( z  2)  ( z  2) 2  ( z  2)3  ( z  2) 4  ...

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5
1 2 2 4 2
1. 1.1) 3
 2    z   , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 2
z z z 3 3
1 1 1
1.2) z  3
   , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 
2 z 24 z 2
1 1 1 z 1
1.3)  2      , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 
3z 9 z 27 81 9
1 2
1.4)   3  4 z   , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ  2
z2 z
2 1 1 1
1.5)   z  z 2    , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 2
z 2 2 8

ตัวแปรเชิ งซ้อน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 214

4. 4.1) ที่ z 1 , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ  6


4.2) ที่ z  1 , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 2
1 1
4.3) ที่ z 1 , 1 ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ  , ตำมลำดับ
4 4
4.4) ที่ z0 , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 1
(2n  1)
4.5) ที่ z , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 1
2

5
5. 5.1) ที่ z  1 , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 
4
5.2) ที่ z0 , ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 2
5.3) ที่ z  0,1 ส่วนตกค้ำงเท่ำกับ 2 , 5 ตำมลำดับ
6. 6.1) 0 6.2) 2 i
5 4
6.3) 6.4)  i
2 3
6.5) 2 i  6.6)  i


7. 7.1) 0 7.2) i
3
7.3) 2 i 7.4) i
7.5) 2 2i

8. 2 i

t 1 1 t
9.  e cos t
2 2

4 2
10. 10.1)  i 10.2) i
3 3

11. 11.1) 4i 11.2) 0


11.3) i 11.4) 0
2
11.5) i 11.6) 2
9
2
12. 12.1)  12.2)
3
5 2
12.3) 12.4)
32 3

ตัวแปรเชิ งซ้อน
เฉลยแบบฝึ กหัดท้ายบท 215

2
12.5) 0 12.6)
a 2  b2
 3
12.7) 12.8)
2 8
  e 6
12.9) 12.10)
6 2
 3 
12.11) 12.12) e m
6 2

แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 6
(3  8i )  (1  4i ) z (16  16i )  (7  13i ) z
1. 1.1) w 1.2) w
(4  7i )  (2  3i ) z (4  8i )  (1  2i ) z
z 1 (13  24i ) z  (39  112i )
1.3) w 1.4) w
z 1 5 z  (33  16i )

7 3
2. 2.1) วงกลม ( x  )2  v2  ( )2
2 2
2.2) เส้นตรง v  Im(w)  10
11 2 1 208
2.3) วงกลม (u  )  (v  ) 2 
21 63 3969

3. 3.1) z  i 3.2) z  n i, n  0,1, 2,


3.3) z  1 3.4) z  1, i
a 
3.5) z 3.6) z  (2n  1) , n  0,1, 2....
2 2

4. 4.1) 3i 4.2) 2


1 1
4.3) (  i)  i 4.4) 0,1, i
2 4

2z
5. w , อื่นๆ
z 1

ตัวแปรเชิ งซ้อน
ดรรชนี 200

ภาคผนวก

ตัวแปรเชิ งซ้อน
ดรรชนี 201

ดรรชนี


การทดสอบของราเบ (Raabe’s test) 118
การทดสอบโดยการเปรียบเทียบ (comparison test) 118,123
การทดสอบโดยรากที่ n ( nth root test) 118,122
การทดสอบโดยอัตราส่วน (Ratio test) 38,173,181
การแปลง (transformation) 181
การแปลงเชิงเส้นคู่ (bilinear transformation) 181
การแปลงเมอบิอุส (Mobius transformation) 181
การส่ง (mapping) 37,173,176,181
การส่งคงแบบ (conformal mapping) 173,181
การส่งชวาร์ซ - คริสไดฟเฟล ( sehwarz-christoffel mapping) 193
การส่งเชิงเส้นคู่ (bilinear mapping) 181
แกนจริง (real axis) 2
แกนจินตภาพ (imaginary axis) 2

คอนทัวร์ปริพันธ์ (contour integral) 74
ค่าสาคัญของอาร์กิวเมนต์ (principal value of arg(z)) 7
ค่าสัมบูรณ์ (absolute value) 6

จาโคเบียน (Jacobian) 176
จานวนจินตภาพแท้ (pure imaginary number) 1
จานวนเชิงซ้อน (complex number) 1
จานวนเชิงซ้อนสังยุค (conjugate complex number) 2
จุดขอบ (boundary point) 42
จุดตรึง (fixed point) 193

ตัวแปรเชิ งซ้อน
ดรรชนี 202

จุดภายนอก (exterior point) 41


จุดภายใน (interior point) 40
จุดเริ่มต้น (initial point) 45
จุดลิมิต (limit point) 49
จุดวิกฤต (critical point) 176
จุดสิ้นสุด (end point) 45
จุดเอกฐาน (singular point) 63,141,143
จุดเอกฐานที่ขจัดได้ (removable point) 141
จุดเอกฐานแบบเอกเทศ (isolated singular point) 141
จุดเอกฐานเอซเซนเซียล (essential singularity) 143

เซตเชื่อมโยง (connected set) 44
เซตปิด (closed set) 42
เซตเปิด (open set) 41
เซตมีขอบเขต (bounded set) 43
เซตไม่มีขอบเขต (unbounded set) 43

โดเมน (domain) 44
โดเมนเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว (simple connected domain) 88

ต่อเนื่อง (continuous) 53
ตัวแปรจริง (real variable) 21
ตัวแปรเชิงซ้อน (complex variable) 21

ทฤษฎีบทของกรีน (Green ,s theorem) 88
ทฤษฎีบทของเดอมัวว์ (De Moivre’s Theorem) 10
ทฤษฎีบทของเทย์เลอร์ (Taylor’s Theorem) 125
ทฤษฎีบทของโลรองต์ (Laurent’s Theorem) 133

ตัวแปรเชิ งซ้อน
ดรรชนี 203

ทฤษฎีบทปริพันธ์ของโคชี (Cauchy’s theorem) 87, 91, 94, 97


ทฤษฎีบทส่วนตกค้าง (The residue theorem) 149, 151

บริเวณ (region) 44
บริเวณเชื่อมโยงเชิงเดี่ยว (simple connected region) 46, 47
บริเวณเชื่อมโยงหลายเชิง (multiply connected region) 47
บริเวณปิด (closed region) 44

ปริพันธ์จากัดเขต (definite integral) 67
ปริพันธ์ตามเส้น (line integral) 67, 72, 73, 106
ปริพันธ์ตามเส้นจริง (Real line integrals) 75, 76
ปริพันธ์ไม่จากัดเขต (indefinite integral) 67

ผลบวกย่อย (partial sum) 114

โพลเชิงเดี่ยว (simple pole) 142
โพลอันดับ m (pole of order m) 142

ฟังก์ชัน (function) 21
ฟังก์ชันการแปลง (transformation) 173
ฟังก์ชันการส่ง (mapping function) 173
ฟังก์ชันค่าเชิงเดี่ยว (single valued function) 22, 25
ฟังก์ชันค่าพหุคูณ (multiple valued function) 22
ฟังก์ชันตรีโกณมิติ (Trigonometric function) 32
ฟังก์ชันพหุนาม (Polynomial function) 26, 62
ฟังก์ชันพีชคณิตตรรกยะ (rational algebraic function) 26
ฟังก์ชันลอการิทึม (Logarithms function) 30

ตัวแปรเชิ งซ้อน
ดรรชนี 204

ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง (exponential function) 26


ฟังก์ชันวิเคราะห์ (analytic function) 58
ฟังก์ชันเอ็นไทร์ (entire function) 61
ฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิก (Hyperbolic function) 34

มอดูลัส (modulus) 6

ย่านใกล้เคียงของจุด (neighborhood of a point ) 39

ระดับขั้น (degree) 26
ระนาบเชิงซ้อน (complex plane) 2,39,67,191
ระนาบเชิงซ้อนทีม่ ีการขยาย (extended complex plane) 191
ระบบพิกัดเชิงขั้ว (polar coordinates) 6
รัศมีของการลู่เข้า (radius of convergence) 120
รากที่ m (mth roots) 14
รูปแบบเชิงขั้ว (polar form) 6,7

ลอการิทึมธรรมชาติ (natural logarithms) 30
ลาดับของผลบวกย่อย (sequence of partial sum) 114
ลาดับของฟังก์ชัน (Sequences of functions) 111
ลิมิต (limit) 49
ลู่เข้า (converge) 111
ลู่เข้าอย่างสมบูรณ์ (absolutely convergent) 116
ลู่ออก (divergent) 111

วงกลมของการลู่เข้า (circle of convergence) 120
วงแหวนของการลู่เข้า (annulus of convergence) 133

ตัวแปรเชิ งซ้อน
ดรรชนี 205

วิถีหลายเหลี่ยม(polygonal path) 44

ศูนย์กลาง (centre) 119

สมการโคชี – รีมันน์ (Cauchy – Remann’s equation) 59
ส่วนจริง (real part) 1
ส่วนจินตภาพ (imaginary part) 1
ส่วนตกค้าง (Residue) 145
สัมประสิทธิ์ (coefficients) 119
สูตรของออยเลอร์ (Euler’s formula) 27
สูตรปริพันธ์ของโคชี (Cauchy’s integral formulas) 99
เส้นโค้ง (curve) 45
เส้นโค้งเชิงเดี่ยว (simple curve) 46
เส้นโค้งปิด (closed curve) 45
เส้นโค้งปิดเชิงเดี่ยว (simple closed curve) 46, 87
เส้นโค้งเรียบ (smooth curve) 45
เส้นโค้งเรียบเป็นช่วง (piecewise smooth curve) 46

อนุกรมกาลัง (power series) 119
อนุกรมของฟังก์ชัน (Series of functions) 114
อนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor series) 125
อนุกรมพี (P-series) 116
อนุกรมแมคลอริน (Maclaurin series) 125
อนุกรมโลรองต์ (Laurent series) 133
อนุกรมอนันต์ (finite series) 114
อนุกรมฮาร์โมนิค (Harmonic series) 116
อนุพันธ์ (derivative) 55

ตัวแปรเชิ งซ้อน
ดรรชนี 206

อสมการ ML (ML - inequality) 86


อัตราส่วนไขว้ (cross ratio) 190
อาร์กิวเมนต์ (argument) 7

ตัวแปรเชิ งซ้อน
บรรณานุ กรม 198

บรรณานุกรม

ก่อสุข วีระถาวร. (2542). ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน. พิมพ์ครั้งที่ 4. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.


กรุงเทพมหานคร.
คณาจารย์ภาควิชาคณิตศาสตร์. 2541. แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
กรุงเทพมหานคร.
นิรันดร์ คาประเสริฐ. (2545). คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 1 อนุกรมฟูเรียร์และฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์ม.
พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร.
นิรันดร คาประเสริฐ. (2537). คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า 3 การวิเคราะห์เชิงซ้อน. เล่ม 1. กรุงเทพฯ
: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
พัชรา ไชยะสุริยา. (2544). ฟังก์ชันของตัวแปรเชิงซ้อน. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
กรุงเทพมหานคร.
ชาญชัย สุกใส. (2546). การวิเคราะห์ตัวแปรเชิงซ้อน. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. อุบลราชธานี.
Ahlfors J. V. (1979). Complex Analysis. (3rd Ed.). International Student Edition. McGraw-
Hill Kogakusha.
Bak J. and D. J. Newman. (1997). Complex analysis. (2nd Ed.). Springer-Verlag. New-York.
Churchill R.V., Brown J.W. and Verhey R. F. (1990). Complex Variables and
Applications. (5th Ed.). USA: McGraw-Hill.
Copson E. T. (1962). Throry of Functions of a Complex Variable. Oxford University
Press. London.
James Ward Brown and Ruel V. Churchill. (2008). Complex Variables and
Applications. (8th Ed.). McGraw Hill. New York.
Kaplan W. (2003). Advance Calculus. (5th Ed.). Addison-Wesley Higher Mathematics.
Boston. MA.
Lang. S.. (1993). Complex Analysis. (3nd Ed.). Springer-Verlay. New York.
Stewart I. and Tall D.( 1987). Complex Analysis. (4th Ed.). Cambridge University Press.

ตัวแปรเชิ งซ้อน
บรรณานุ กรม 199

Silverman H. (1975). Complex Variables. Houghton Mifflin Company. Boston.


Mark J. Ablowitz and Athanassios S. Fokas. (2003). Complex Variables Introduction
and Applications. (2nd Ed.). Cambridge University Press. New York.
Mathews J. E. and R. W. Howell. (2006). Complex Analysis for Mathematics and
Engineering. (5th Ed.). Jones and Bartlett Publishers. Sudbury. MA.
Murray R. Spiegel, Seymour Lipschutz, John J. Schiller and Dennis Spellman. (2009).
Complex Variables with an Introduction to Conformal Mapping and its
Application. (2nd Ed.). McGraw Hill. New York.
Pennisi L. L. (1976). Elements of Complex Variables. (2nd Ed.). Holt. Rinehart &
Winston. Inc. Austin. TX.
Robert W. and Murray R. S. (2002). Advanced Calculus. (2nd Ed.). McGraw-Hill. New
York.
Rubenfeld L. A. (1985). A First Course in Applied Complex Variables. John Wiley &
Sons. Inc. New-York.
Saff E. B. and A. D. Snider. (2003). Fundamentals of Complex Analysis. (3nd Ed.).
Prentice-Hall PTR. Paramus. NJ.
Spiegel M.R. (2003). Complex Variables. (2nd Ed.). McGraw-Hill. USA.
Silverman R.A. (1974). Complex Analysis with Applications. Prentice-Hall. Englewood
Cliffs. N.J.

ตัวแปรเชิ งซ้อน

You might also like