Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 49

ระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม : เครื่ องมือช่ วยการตัดสิ นใจ

(Activity-Based Costing : A Tool to Aid Decision Making)


รองศาสตราจารย์ ดร.ชื่นจิตร อังวราวงศ์
ระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing) (ABC)
ABC คือส่วน
ABC ถูกออกแบบในการให้ เสริมทีด่ ตี อ่ ระบบ
ข้ อมูลต้ นทุนกับผู้บริหารเพื่อ ต้นทุนดัง้ เดิม ฉันเห็นด้วย
การตัดสิ นใจทางกลยุทธ์ และ
อื่นๆ ที่อาจกระทบต่ อกาลัง
การผลิต และอาจกระทบต่ อ
ต้ นทุนคงทีเ่ หมือนกับต้ นทุน
ผันแปร

2
ลักษณะของความสาเร็จในการใช้ ABC

ฝ่ ายบริหารระดับสู งทีม่ ี
บทบาทสู งให้ การสนับสนุน เชื่ อมโยงไปการประเมินผล
และการให้ รางวัล

เกีย่ วข้ องกับหลาย


หน้ าที่
3
องค์ ประกอบการปันส่ วนต้ นทุน

กลุม่ ต้นทุนทางอ้อม ฐานที่ใช้ในการปั นส่ วน สิ่งที่ตอ้ งการหาต้นทุน


(Indirect Cost Pool) (Allocation Base) (Cost Objective)

4
เข้าใจระบบต้นทุนฐานกิจกรรม
และข้อแตกต่างระหว่างระบบ
ต้นทุนฐานกิจกรรม กับระบบ
ต้นทุนดั้งเดิม

5
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)
ABC แตกต่างจากการบัญชีตน้ ทุนดั้งเดิม 3 ทางคือ
ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้อง
ต้นทุนการผลิต กับการผลิต

ระบบต้นทุนสิ นค้า ระบบต้นทุนสิ นค้า


แบบดั้งเดิม แบบ ABC
 ABC กาหนดต้นทุนสิ นค้าทั้งสองประเภท
6
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)
ABC แตกต่างจากการบัญชีตน้ ทุนดั้งเดิม 3 ทางคือ
ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้อง
ต้นทุนการผลิต กับการผลิต
ทั้งหมด

บางส่ วน
ระบบต้นทุนสินค้า ระบบต้นทุนสินค้า
แบบดัง้ เดิม แบบ ABC

 ABC ไม่ได้กาหนดต้นทุนการผลิตทั้งหมดให้สินค้า
7
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)
ABC แตกต่างจากการบัญชีตน้ ทุนดั้งเดิม 3 ทางคือ

ระบบต้นทุน
ระดับของความซับซ้ อน

ฐานกิจกรรม
อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต
จัดสรรแยกตามแผนก
อัตราค่าใช้จ่ายการผลิต
จัดสรรทัง้ โรงงาน

จานวนของกลุ่มต้ นทุน
 ABC ใช้รวมกลุ่มต้นทุนได้มากกว่า
8
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)
ABC แตกต่ างจากการบัญชีต้นทุนดั้งเดิม 3 ทางคือ
แต่ ละกลุ่มต้ นทุนทีร่ วมของ ABC
จะมีหน่ วยวัดกิจกรรมของกลุ่มเอง

ระบบต้ นทุนแบบดั้งเดิมอาศัยปริมาณเป็ นเครื่ องวัด เช่ น


ชั่วโมงแรงงานทางตรง และ/หรื อชั่วโมงเครื่ องจักร
เพื่อปันส่ วนค่ าใช้ จ่ายการผลิตทั้งหมดเข้ าสิ นค้ า (ผลิตภัณฑ์ )

 ABC ใช้กลุ่มต้นทุนที่รวมได้มากกว่า
9
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)
กิจกรรม เหตุการณ์ใด ๆ ที่ก่อให้เกิดการใช้
(Activity) ทรัพยากร (overhead resources.)

กลุ่มต้ นทุนกิจกรรม “ถังต้นทุน” เป็ นที่ซง่ึ ใช้สะสมหรือ


(Activity Cost Pool) รวบรวมต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับ
กิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง

หน่ วยวัดกิจกรรม $$
(activity measure) $$$

10
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)
หน่ วยวัด ตัวผลักดันต้ นทุน(cost driver)
กิจกรรม จะถูกใช้ เป็ นหน่ วยวัดกิจกรรม

ใช้ เป็ นฐานในการปันส่ วน


(Allocation Base)
ในระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม

11
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)
หน่วยวัดกิจกรรมทั่วๆ ไปมี 2 ชนิด

ตัวผลักดันตามรายการ ตัวผลักดันตามระยะเวลา
(Transaction driver) (Duration driver)

นับจานวนครั้งของ วัดระยะเวลาที่ต้องการ
กิจกรรมที่เกิดขึน้ ใช้ ในการทากิจกรรม

12
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)

ABC ระบุ 5 ระดับกิจกรรม


ทีส่ ่วนใหญ่ไม่ได้เกีย่ วข้องกับ
ปริมาณหน่วยทีผ่ ลิต
ระบบต้ นทุนแบบดั้งเดิมอาศัยปริมาณเป็ นเครื่ องวัด เช่ น
ชั่วโมงแรงงานทางตรง และ/หรื อชั่วโมงเครื่ องจักร
เพื่อปันส่ วนค่ าใช้ จ่ายการผลิตทั้งหมดเข้ าสิ นค้ า (ผลิตภัณฑ์ )
13
การจัดการต้ นทุนตามระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
(Activity–Based Costing)(ต่ อ)
กิจกรรมในระดับหน่ วยผลิต กิจกรรมในระดับชุดสิ นค้ า
(Unit-Level Activity) (Batch-Level Activity)

กิจการการผลิตจาแนก
กิจกรรมได้ 5 ประเภท

กิจกรรมในระดับผลิตภัณฑ์ กิจกรรมในระดับลูกค้า
(Product-Level Activity) กิจกรรมในระดับองค์กร (Customer-Level Activity)
(Organization-sustaining Activity)

14
ขั้นที่ 1 ระบุกิจกรรม(Activities) กลุ่มต้นทุนกิจกรรม(Activity
Cost Pools) และหน่วยวัดกิจกรรม(Activity Measures)

การจัดการต้นทุนตาม
ระบบต้นทุนฐาน ขั้นที่ 2 รวบรวมค่าใช้จ่ายการผลิตของกลุ่มกิจกรรมแต่ละกลุ่ม

กิจกรรม
(Activity–Based ขั้นที่ 3 คานวณอัตราต้นทุนกิจกรรม(Activity Rate)
Costing)
(ต่อ)
ขั้นที่ 4 ปั นส่ วนต้นทุนให้กบั สิ่ งที่ตอ้ งการคานวณต้นทุน(Cost
Objects)

ขั้นที่ 5 จัดทารายงานสาหรับผูบ้ ริ หาร(Management Reports)

15
ตัวอย่ าง ระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม – บริษัท Classic Brass

ค่าใช้จ่ายการผลิตถูกปันส่ วนให้สินค้า/ ผลิตภัณฑ์ โดยใช้อตั ราค่าใช้จ่าย


การผลิตจัดสรรทั้งโรงงาน (plantwide overhead rate)
16
ระบุกจิ กรรม ( Activities) กลุ่มต้ นทุนกิจกรรม (Activity Cost Pools)
และหน่ วยวัดกิจกรรม (Activity Measures)
ที่บริษัท Classic Brass ทีมงาน ABC ได้ เลือกกลุ่มต้ นทุนกิจกรรม
(activity cost pools) และหน่ วยวัดกิจกรรม (activity measures)

17
ระบุกจิ กรรม ( Activities)กลุ่มต้ นทุนกิจกรรม (Activity Cost Pools)
และหน่ วยวัดกิจกรรม (Activity Measures)
คาสั่งซือ้ ลูกค้า (Customer Orders) กาหนดต้นทุนของทรัพยากร
ทัง้ หมดที่ได้ใช้ไปด้วยการนาใบสั่งซือ้ ของลูกค้าที่ได้รบั มา และประมวลผล

การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Designs) กาหนดต้นทุนของ


ทรัพยากรทัง้ หมดที่ใช้ไปด้วยการออกแบบผลิตภัณฑ์

ขนาดคาสั่งซือ้ (Order Size) กาหนดต้นทุนของทรัพยากรทัง้ หมดที่ใช้


ไปตามจานวนหน่วยผลิต

ลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relations) กาหนดต้นทุนทัง้ หมดที่


เกี่ยวข้องกับการดูแลรักษาความสัมพันธ์กบั ลูกค้า

อืน่ ๆ (Other) กาหนดต้นทุนที่เป็ นค่าใช้จ่ายการผลิตทัง้ หมดที่ไม่เกี่ยวข้อง


กับกลุม่ ต้นทุนอื่น
18
กาหนดต้ นทุนให้ กลุ่มต้ นทุน
ตามการปันส่ วน

19
 กาหนดต้ นทุนของค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ กลุ่มต้ นทุนกิจกรรม
(Assign Overhead Costs to Activity Cost Pools)

20
 กาหนดต้ นทุนของค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ กลุ่ม
(Assign Overhead Costs to Activity Cost Pools) (ต่ อ)
วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงทางตรง และค่าขนส่ งสิ นค้าไม่ได้รวมด้วย เพราะกิจการใช้
ระบบต้นทุนที่สามารถติดตามต้นทุนได้โดยตรงกับผลิตภัณฑ์หรื อคาสัง่ ของลูกค้า

21
 กาหนดต้ นทุนของค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ กลุ่ม
(Assign Overhead Costs to Activity Cost Pools) (ต่ อ)
บริ ษทั Classic Brass มีการปั นส่ วนการใช้ทรัพยากรข้ามกลุ่มต้นทุนกิจกรรม ดังนี้

22
 กาหนดต้ นทุนของค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ กลุ่ม
(Assign Overhead Costs to Activity Cost Pools) (ต่ อ)

ค่าแรงงานทางอ้อม 500,000
อัตราร้อยละปันส่ วนด้วยคาสัง่ ซื้ อของลูกค้า 25%
125,000

23
 กาหนดต้ นทุนของค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ กลุ่ม
(Assign Overhead Costs to Activity Cost Pools) (ต่ อ)

ค่าเสื่ อมราคาเครื่ องจักรอุปกรณ์ 300,000


อัตราร้อยละปันส่ วนด้วยคาสัง่ ซื้อของลูกค้า 20%
60,000

24
 กาหนดต้ นทุนของค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ กลุ่ม
(Assign Overhead Costs to Activity Cost Pools) (ต่ อ)

25
คานวณอัตรา
กิจกรรม
สาหรับกล่ มุ
ต้ นทุน

26
 คานวณอัตราต้ นทุนกิจกรรม (Calculate Activity Rates)
ทีมงาน ABC กาหนดว่าบริ ษทั Classic Brass
จะมีกิจกรรมรวมสาหรับแต่ละกลุ่มต้นทุนกิจกรรม
◦1,000 คาสัง่ ซื้อของลูกค้า
◦400 แบบผลิตภัณฑ์ใหม่
◦20,000 ชัว่ โมงเครื่ องจักร
◦250 กิจกรรมลูกค้าสัมพันธ์
ขณะนีท้ มี งานสามารถคานวณอัตราต้ นทุนกิจกรรมเฉพาะราย
โดยการหารต้ นทุนรวมของแต่ ละกิจกรรมด้ วยระดับกิจกรรมรวม
27
 คานวณอัตราต้ นทุนกิจกรรม (Calculate Activity Rates) (ต่ อ)
หน่วย : บาท

28
ระบบต้ นทุนฐานกิจกรรมของ บริษทั Classic Brass
วัตถุดบิ ทางตรง ค่าแรงทางตรง ต้นทุนการจัดส่งสินค้า ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต

ระบุโดยตรง ระบุโดยตรง ระบุโดยตรง

สิ่งที่ตอ้ งการคานวณต้นทุน : สินค้า คาสั่งซือ้ ของลูกค้า ลูกค้า

29
ระบบต้ นทุนฐานกิจกรรมของ บริษทั Classic Brass
วัตถุดบิ ทางตรง ค่าแรงทางตรง ต้นทุนการจัดส่งสินค้า ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต
การปันส่ วนต้ นทุน

ขนาดคาสั่งซือ้ คาสั่งซือ้ ของลูกค้า การออกแบบผลิตภัณฑ์ ลูกค้าสัมพันธ์ อื่นๆ

สิ่ งทีต่ ้ องการคานวณต้ นทุน : สิ นค้ า คาสั่ งซื้อของลูกค้ า ลูกค้ า

30
คานวณอัตราต้ นทุนกิจกรรม (Calculate Activity Rates)
วัตถุดบิ ทางตรง ค่าแรงทางตรง ต้นทุนการจัดส่งสินค้า ต้นทุนค่าใช้จ่ายการผลิต
การปันส่ วน

การออกแบบ
คาสั่งซือ้ ของลูกค้า ขนาดคาสั่งซือ้ ลูกค้าสัมพันธ์ อื่นๆ
ผลิตภัณฑ์

การคานวณหาอัตราต้นทุนกิจกรรม
บาทต่อชั่วโมง
บาทต่อคาสั่งซือ้ บาทต่อแบบ บาทต่อลูกค้า
เครือ่ งจักร
ไม่ปันส่วน
สิ่งที่ตอ้ งคานวณต้นทุน : สินค้า คาสั่งซือ้ ของลูกค้า ลูกค้า
31
การคานวณต้นทุนให้กบั
สิ่ งที่ตอ้ งการคานวณต้นทุน
(ต้นทุนสิ นค้า)

32
4 การจัดสรรค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ สินค้ า / ผลิตภัณฑ์
ข้ อมูลของบริษทั Classic Brass จากัด
สิ นค้ า ก.
1. ไม่ตอ้ งออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่
2. 30,000 หน่วยถูกสัง่ แยกเป็ น 600 คาสัง่
3. สิ นค้าแต่ละชิ้นต้องใช้เวลาเครื่ องจักร 35 นาทีรวม 17,500 ชัว่ โมงเครื่ องจักร

สิ นค้ า ข.
1. ต้องการออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่
2. แยกเป็ น 400 คาสัง่ ซื้อ
3. เตรี ยมออกแบบผลิตภัณฑ์ 400 แบบ
4. สิ นค้า 1,250 หน่วยถูกผลิตและต้องใช้ 2ชัว่ โมงเครื่ องจักรสาหรับสิ นค้าแต่ละ
หน่วย รวมใช้ 2,500 ชัว่ โมงเครื่ องจักร
33
4 การจัดสรรค่ าใช้ จ่ายการผลิตให้ สินค้ า / ผลิตภัณฑ์ (ต่ อ)

34
ใช้ ระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม
คานวณสิ นค้ าและกาไร
(การจัดทารายงาน)

35
 จัดทารายงานสาหรับฝ่ ายบริหาร
การคานวณกาไรของสิ นค้ า
ขั้นแรกในการคานวณกาไรของสิ นค้ าเป็ นการรวบรวม
ยอดขายสิ นค้ าแต่ ละชนิดและข้ อมูลต้ นทุนทางตรง

36
 จัดทารายงานสาหรับฝ่ ายบริหาร
การคานวณกาไรของสิ นค้ า
ขั้นที่ 2 ในการคานวณกาไรของสิ นค้ าเป็ นการรวมเข้ ากับการคานวณต้ นทุน
ตามฐานกิจกรรมก่ อนนี้ ปันส่ วนเข้ ากับแต่ ละสิ นค้ า

37
 จัดทารายงานสาหรับฝ่ ายบริหาร
การคานวณกาไรของสิ นค้ า
ขั้นที่ 3 ในการคานวณกาไรของสิ นค้ า เป็ นการหักต้ นทุน
ทางตรงและทางอ้ อมของแต่ ละสิ นค้ าออกจากยอดขาย

38
 จัดทารายงานสาหรับฝ่ ายบริหาร
การคานวณกาไรของสิ นค้ า
กาไรของสิ นค้ าสามารถพิสูจน์ ยอดกับกาไรดาเนินงานของบริษทั ได้ ดงั นี้

39
 จัดทารายงานสาหรับฝ่ ายบริหาร
การคานวณกาไรของสิ นค้ า
ขั้นที่ 3 ในการคานวณกาไรของสิ นค้ า เป็ นการหักต้ นทุน
ทางตรงและทางอ้ อมของแต่ ละสิ นค้ าออกจากยอดขาย

40
กาไรของสิ นค้ าคานวณตามระบบบัญชีต้นทุนแบบดั้งเดิม
ขั้นแรกในการคานวณกาไรของสิ นค้าเป็ นการรวบรวมข้อมูลการขาย
และต้นทุนทางตรงของแต่ละสิ นค้า

41
กาไรของสิ นค้ าคานวณตามระบบบัญชีต้นทุนแบบดั้งเดิม (ต่ อ)
ขั้นที่ 2 ในการคานวณกาไรของสิ นค้าเป็ นการคานวณ
อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งโรงงาน (the plantwide overhead rate)

อัตราค่ าใช้ จ่ายการผลิตทั้งโรงงาน =


1,000,000
= 50 ต่ อชั่วโมงเครื่ องจักร
20,000 MH

42
กาไรของสิ นค้ าคานวณตามระบบบัญชีต้นทุนแบบดั้งเดิม (ต่ อ)
ขั้นที่ 3 ในการคานวณกาไรของสิ นค้าคือ ปั นส่ วนค่าใช้จ่ายการผลิตให้แต่ละสิ นค้า

17,500 ชัว่ โมง × 50 ต่อชัว่ โมง= 875,000 บาท

43
กาไรของสิ นค้ าคานวณตามระบบบัญชีต้นทุนแบบดั้งเดิม (ต่ อ)

ขั้นที่ 4 เป็ นการคานวณกาไรของสิ นค้าที่เกิดขึ้นจริ ง

44
ความแตกต่ างระหว่ างระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม (ABC)
กับระบบต้ นทุนแบบดั้งเดิม

ิ า ก.
สนค้ ิ า ข.
สนค้
ิ า- แบบดงเดิม
กาไรของสนค้ ั้ 615,750 258,000 บาท
ิ า-ABC
กาไรของสนค้ 906,250 (49,500)
การเปลียนแปลงของก
่ าไรทีรายงาน
่ 290,500 (307,500) บาท

ระบบต้นทุนแบบดั้งเดิมมี ระบบต้นทุนแบบดั้งเดิม
ต้นทุนสู งในสิ นค้า ก. สิ นค้า ข. มีตน้ ทุนต่ากว่า
และรายงานกาไรของ และรายงานกาไรใน
สิ นค้าต่ากว่า สิ นค้าสู งกว่า

ข้อสังเกต ทั้งสองระบบเสนอผลที่ตรงข้ามกัน
45
ความแตกต่ างระหว่ างระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม (ABC) กับระบบ
ต้ นทุนแบบดั้งเดิม (ต่ อ)

มีเหตุผล 3 ประการ ที่ทาให้กาไรของสิ นค้าถูกรายงานแตกต่างกัน


ตามระบบต้นทุนทั้งสองแบบ

 ระบบต้นทุนแบบดังเดิมปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งหมดเข้าสินค้าทุก
ประเภท แต่ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (ABC) จะปั นส่ วนค่าใช้จ่ายการผลิต
ให้กบั สิ นค้าที่ได้ใช้ค่าใช้จ่ายการผลิตนั้น ๆ เท่านั้น

46
ความแตกต่ างระหว่ างระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม (ABC) กับระบบ
ต้ นทุนแบบดั้งเดิม (ต่ อ)
มีเหตุผล 3 ประการ ที่ทาให้กาไรของสิ นค้าถูกรายงานแตกต่างกัน
ตามระบบต้นทุนทั้งสองแบบ

ระบบต้นทุนแบบดั้งเดิมปันส่วนค่าใช้จ่ายการผลิตทั้งหมด ด้วยการใช้เกณฑ์
การปั นส่ วนตามปริ มาณการผลิต ส่ วนระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (ABC)
ใช้เกณฑ์ในการปั นส่ วนตามหน่วยวัดกิจกรรมของแต่ละกลุ่มกิจกรรม

47
ความแตกต่ างระหว่ างระบบต้ นทุนฐานกิจกรรม (ABC) กับระบบ
ต้ นทุนแบบดั้งเดิม(ต่ อ)
มีเหตุผล 3 ประการ ที่ทาให้กาไรของสิ นค้าถูกรายงานแตกต่างกัน
ตามระบบต้นทุนทั้งสองแบบ

ระบบต้นทุนแบบดั้งเดิมไม่สนใจค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร เพราะเป็ น


ค่าใช้จ่ายประจางวด แต่ ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (ABC) จะนาค่าใช้จ่ายในการ
ขายและบริ หารมารวมคิดเป็ นต้นทุนสิ นค้าในกลุ่มต้นทุนกิจกรรมที่ปันส่ วนให้
สิ นค้าด้วย
48
End of Chapter 8

49

You might also like