Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 2

question 7

มีข้อมูลการวิเคราะห์ PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครมั้ย?


ถ้ามี จะมีจำนวนที่วัดได้ทั้งหมดเท่าไหร่
และมีความถี่การตรวจวัดเท่าไหร่?
research/observation
โครงการวิจัยนี้ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและสัดส่วนแหล่งกำเนิดของฝุ่ นละอองขนาดเล็กในโดยเก็บตัวอย่าง
ฝุ่ นละอองขนาดเล็กในบรรยายกาศสำหรับพื้นที่กรุงเทพมหานคร สถานีตรวจวัดอากาศของกรมควบคุมมลพิษ
3 แห่ง ได้แก่ สถานีกรมประชาสัมพันธ์อารีย์ สถานีการเคหะชุมชนดินแดง และสถานีกรมอุตุนิยมวิทยาบางนา
โดยใช้อุปกรณ์เก็บตัวอย่าง NanoSampler ที่สามารถเก็บและแยกตามขนาดฝุ่ นละอองขนาดเล็กเป็ น 6
ชั้น ดังนี้ PM0.1, PM0.1-0.5, PM0.5-1, PM1-2.5, PM2.5-10 และ PM>10 โดย
ดำเนินการเก็บตัวอย่างในช่วงเดือนมกราคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2564 รวมทั้งหมด 40 ครั้งต่อสถานี
Hypothesis
แหล่งกำเนิดหลักของฝุ่ น PM2.5: ไอเสียรถยนต์ (48%)
ฝุ่ นทุติยภูมิ 1 (21%) การเผาในที่โล่ง (13%)
ฝุ่ นจากโรงงานอุตสาหกรรมและฝุ่ นถนน (8%) ฝุ่ นทุติยภูมิ 2 (7%)
ฝุ่ นจากเกลือทะเล (3%) แหล่งกำเนิดของฝุ่ น PM0.1: ไอเสียรถยนต์ (65%)
ฝุ่ นทุติยภูมิ (17%) ฝุ่ นถนน (14%) ฝุ่ นจากเกลือทะเล (4%)
แหล่งกำเนิดของฝุ่ น PM0.5-2.5: ไอเสียรถยนต์ (41%)
การเผาในที่โล่ง (29%) ฝุ่ นจากเกลือทะเล (13%) ฝุ่ นทุติยภูมิ (7%)
ฝุ่ นจากโรงงานอุตสาหกรรม (7%) ฝุ่ นดิน (3%) แหล่งกำเนิดของฝุ่ น PM2.5-10:
ฝุ่ นจากการก่อสร้าง (50%) ฝุ่ นดิน (23%) ฝุ่ นทุติยภูมิ (14%)
ฝุ่ นจากโรงงานอุตสาหกรรม (13%) สมมติฐานนี้ทำให้เราเข้าใจถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่ นละอองใน
กรุงเทพมหานครตลอดช่วงเวลาการวิจัย และเป็ นพื้นฐานในการตัดสินใจหรือวางแผนในการลดปัญหามลพิษ
ทางอากาศในพื้นที่นั้น ๆ โดยการแก้ไขหรือลดการกระทบจากแหล่งกำเนิดที่สำคัญ.
Experiment

materials
NanoSampler

procedure
การวิจัยที่ได้รับข้อมูลจากสถานีตรวจวัดอากาศของกรมควบคุมมลพิษ 3 แห่งในกรุงเทพมหานคร (สถา
นีกรมประชาสัมพันธ์อารีย์, สถานีการเคหะชุมชนดินแดง, และสถานีกรมอุตุนิยมวิทยาบางนา) ได้มีการ
เก็บตัวอย่างฝุ่ นละอองขนาดเล็ก (PM2.5) ด้วย NanoSampler โดยแบ่งตามขนาดเป็ น 6 ชั้น
(PM0.1, PM0.1-0.5, PM0.5-1, PM1-2.5, PM2.5-10, PM>10) ในระหว่างเดือน
มกราคมถึงธันวาคม พ.ศ. 2564 โดยให้มีทั้งหมด 40 ครั้งต่อสถานี
result
ผลลัพธ์ของการวิเคราะห์พบว่าความเข้มข้นของฝุ่ นมีแนวโน้มที่แตกต่างกันตลอดปี โดยความเข้มข้น
สูงสุดพบในช่วงเดือนมกราคมถึงมีนาคม, ลดลงในช่วงเดือนเมษายนถึงกันยายน, และเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง
ในช่วงเดือนตุลาคมถึงธันวาคม. ความเข้มข้นของสารคาร์บอนทั้งหมด
Conciusions
มันสามารถช่วยให้ฝุ่ นน้อยลงได้แต่มนุษย์ต้องลดการใช้งานอุสหกรรม
new questions/notes for next time
ควรดำเนินการวิเคราะห์และสรุปผลลัพธ์ในแต่ละช่วงเวลาของปี เพื่อเข้าใจความแตกต่างในคุณลักษณะของ
ฝุ่ นละอองในช่วงเวลาต่าง ๆ ของปี การมีส่วนร่วมของมนุษย์มีผลกระทบอย่างไรต่อคุณภาพของฝุ่ นละออง
และมีวิธีการป้ องกันหรือลดมลพิษจากฝุ่ นได้อย่างไรบ้าง การใช้แบบจำลอง PMF เป็ นเครื่องมือในการ
แยกตัวประกอบของฝุ่ นละอองเป็ นส่วนสำคัญของการวิเคราะห์ มีข้อดีและข้อจำกัดอย่างไรบ้าง ความ
สัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของฝุ่ นละอองกับสถานีตรวจวัดที่ต่าง ๆ มีความสำคัญอย่างไร ผลการวิเคราะห์
ธาตุโลหะหนักในฝุ่ นละอองมีความหมายอะไรต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในพื้นที่นั้น หากมี
มาตรการการจัดการที่ควรนำเข้ามาในพื้นที่นี้ เพื่อลดผลกระทบจากฝุ่ นละออง ควรดำเนินการอย่างไร

เว็บที่ใช้ศึกษาโครงงาน TNRR : Thai National Research Repository


ระบบคลังข้อมูลงานวิจัยไทย (nriis.go.th)

You might also like