Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 62

สื่อการสอนรายวิชา 314 121 แคลคูลัสสาหรับวิทยาศาสตร์กายภาพ 1

เทอมต้น ปีการศึกษา 2560

บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

จัดทาโดย
อ.ดร.มงคล ตุ้นทัพไทย
สาขาคณิตศาสตร์
คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สารบัญ
บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์ ......................................................................................................................... 1
1.1 ภาคตัดกรวย ........................................................................................................................................ 1
1.1.1 พาราโบลา .................................................................................................................................... 1
1.1.2 วงรี ............................................................................................................................................... 4
1.1.3 ไฮเพอร์โบลา ................................................................................................................................. 7
1.1.4 ความเยื้องของภาคตัดกรวย ........................................................................................................ 10
1.2 การแปลงพิกัด .................................................................................................................................... 11
1.2.1 การวิเคราะห์สมการกาลังสองโดยการเลื่อนแกน ......................................................................... 11
1.2.2 การวิเคราะห์สมการกาลังสองโดยการหมุนแกน .......................................................................... 16
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว ................................................................................................................................ 22
1.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัดฉากและระบบพิกัดเชิงขั้ว.......................................................... 23
1.3.2 กราฟในระบบพิกัดเชิงขั้ว ............................................................................................................ 25
1.3.3 เส้นตรงและวงกลมในระบบพิกัดเชิงขั้ว ....................................................................................... 31
1.3.4 ภาคตัดกรวยในระบบพิกัดเชิงขั้ว ................................................................................................ 36
1.4 เรขาคณิตในปริภูมิสามมิติ .................................................................................................................. 40
1.4.1 เวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติ............................................................................................................. 40
1.4.2 เส้นตรงในปริภูมิสามมิติ .............................................................................................................. 41
1.4.3 มุมระหว่างเส้นตรง...................................................................................................................... 44
1.4.4 ระยะทางระหว่างจุดกับเส้นตรง .................................................................................................. 45
1.4.5 ระนาบในปริภูมิสามมิติ ............................................................................................................... 50
1.4.6 ระยะทางระหว่างจุดและระนาบ ................................................................................................. 52
1.5 ผิวกาลังสองพื้นฐาน ........................................................................................................................... 55
1.5.1 ทรงรี ........................................................................................................................................... 55
1.5.2 ไฮเพอร์โบลอยด์เชื่อมโยงกันเชิงวงรี ............................................................................................ 56
1.5.3 ไฮเพอร์โบลอยด์ไม่เชื่อมโยงกันเชิงวงรี ........................................................................................ 57
1.5.4 พาราโบลอยด์เชิงวงรี .................................................................................................................. 58
1.5.5 พาราโบลอยด์เชิงไฮเพอร์โบลา .................................................................................................... 59
1.5.6 กรวยเชิงวงรี ............................................................................................................................... 60
บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.1 ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย คือ รูปในระนาบที่เกิดจากการตัดกันของระนาบกับกรวย ประกอบด้วย 4 รูป คือ

1.1.1 พาราโบลา
พาราโบลา คือ ทางเดินของจุดบนระนาบซึ่งห่างจากจุดคงที่
และห่างจากเส้นตรงคงที่เป็นระยะทางเท่ากัน
 จุดคงที่ เรียกว่า จุดโฟกัส
 เส้นตรงคงที่ เรียกว่า เส้นไดเรกตริกซ์
ส่วนประกอบสาคัญที่เกี่ยวข้องกับพาราโบลา ได้แก่
แกนพาราโบลา จุดยอด และ ลาตัสเรกตัม

สมการพาราโบลา ( ) ( )
ลักษณะพาราโบลา ตั้งตามแกน
จุดยอด ( )

จุดโฟกัส ( )

สมการเส้นไดเรกตริกซ์
2 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ลักษณะกราฟเป็นดังนี้

ต่อไปพิจารณา
สมการพาราโบลา ( ) ( )
ลักษณะพาราโบลา นอนตามแกน
จุดยอด ( )
จุดโฟกัส ( )

สมการเส้นไดเรกตริกซ์

ลักษณะกราฟเป็นดังนี้
1.1 ภาคตัดกรวย 3

ตัวอย่าง 1.1.1
จงหาจุดยอด จุดโฟกัส และสมการเส้นไดเรกตริกซ์ พร้อมทั้งวาดกราฟของสมการพาราโบลา

ตัวอย่าง 1.1.2
จงหาสมการพาราโบลาที่มีจุดยอดคือจุดกาเนิด และจุดโฟกัสคือ ( )
4 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.1.2 วงรี
วงรี คือ ทางเดินของจุดบนระนาบซึ่งผลบวกของระยะทาง
ระหว่างจุดเหล่านี้และจุดคงที่สองจุดมีค่าเท่ากัน
 จุดคงที่ทั้งสอง เรียกว่า จุดโฟกัส
 จุดกึ่งกลางระหว่างจุดคงที่ทั้งสอง เรียกว่า จุดศูนย์กลาง
 ระยะทางระหว่างจุดศูนย์กลางแกละจุดโฟกัส เรียกว่า
ระยะโฟกัส เขียนแทนด้วย
ส่วนประกอบสาคัญที่เกี่ยวข้องกับวงรี ได้แก่
จุดยอด แกนเอก แกนโท ลาตัสเรกตัม และ เส้นไดเรกตริกซ์

( ) ( )
สมการวงรี
เมื่อ
ลักษณะวงรี แกนเอกขนานกับแกน
จุดศูนย์กลาง ( )

( )
จุดโฟกัส
( )
( )
จุดยอด
( )

สมการค่าคงตัว

ลักษณะกราฟเป็นดังนี้
1.1 ภาคตัดกรวย 5

ต่อไปพิจารณา
( ) ( )
สมการวงรี
เมื่อ
ลักษณะวงรี แกนเอกขนานกับแกน
จุดศูนย์กลาง ( )

( )
จุดโฟกัส
( )
( )
จุดยอด
( )

สมการค่าคงตัว

ลักษณะกราฟเป็นดังนี้

ตัวอย่าง 1.1.3
จงหาจุดศูนย์กลาง จุดยอด จุดโฟกัส ความยาวแกนเอก และความยาวแกนโท พร้อมทั้งวาดกราฟของสมการ
6 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.1.4
จงหาสมการพาราวงรีที่มีจุดยอดคือ ( ) ( ) และจุดโฟกัสคือ ( ) ( )
1.1 ภาคตัดกรวย 7

1.1.3 ไฮเพอร์โบลา
ไฮเพอร์โบลา คือ ทางเดินของจุดบนระนาบซึ่งผลต่างของระยะทาง
ระหว่างจุดเหล่านี้และจุดคงที่สองจุดมีค่าเท่ากัน
 จุดคงที่ทั้งสอง เรียกว่า จุดโฟกัส
 จุดกึ่งกลางระหว่างจุดคงที่ทั้งสอง เรียกว่า จุดศูนย์กลาง
 ระยะทางระหว่างจุดศูนย์กลางแกละจุดโฟกัส เรียกว่า
ระยะโฟกัส เขียนแทนด้วย
ส่วนประกอบสาคัญที่เกี่ยวข้องกับวงรี ได้แก่
จุดยอด แกนตามขวาง แกนสังยุค ลาตัสเรกตัม เส้นกากับ เส้นไดเรกตริกซ์

( ) ( )
สมการไฮเพอร์โบลา
ลักษณะไฮเพอร์โบลา แกนตามขวางขนานกับแกน
จุดศูนย์กลาง ( )

( )
จุดโฟกัส
( )
( )
จุดยอด
( )

สมการเส้นกากับ ( )

สมการค่าคงตัว

ลักษณะกราฟเป็นดังนี้
8 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ต่อไปพิจารณา
( ) ( )
สมการไฮเพอร์โบลา
ลักษณะไฮเพอร์โบลา แกนตามขวางขนานกับแกน
จุดศูนย์กลาง ( )

( )
จุดโฟกัส
( )
( )
จุดยอด
( )

สมการเส้นกากับ ( )

สมการค่าคงตัว

ลักษณะกราฟเป็นดังนี้

ตัวอย่าง 1.1.5
จงหาจุดศูนย์กลาง จุดยอด จุดโฟกัส ความยาวแกนตามขวาง และความยาวแกนสังยุค พร้อมทั้งวาดกราฟของ
1.1 ภาคตัดกรวย 9

ตัวอย่าง 1.1.6
จงหาสมการไฮเพอร์โบลาที่มีจุดยอดคือ ( ) ( ) และจุดโฟกัสคือ ( ) ( )
10 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.1.4 ความเยื้องของภาคตัดกรวย
ค่าความเยื้อง (eccentricity) สัญลักษณ์แทนโดย
คือ สัดส่วนระหว่างระยะทางของจุดบนภาคตัดกรวยและจุดโฟกัส
และระยะทางของจุดบนภาคตัดกรวยและเส้นไดเรกตริกซ์

ภาคตัดกรวย สูตร ค่าความเยื้อง

วงกลม ไม่มี

วงรี

พาราโบลา ไม่มี

ไฮเพอร์โบลา
1.2 การแปลงพิกัด 11

1.2 การแปลงพิกัด
การแปลงพิกัดมี 2 วิธี ได้แก่ การเลื่อนแกน และการหมุนแกน
ใช้ในการวิเคราะห์สมการกาลังสองในรูปทั่วไป

1.2.1 การวิเคราะห์สมการกาลังสองโดยการเลื่อนแกน
พิจารณาสมการกาลังสองในรูป

กรณีที่ 1 เมื่อ
สมการมีกราฟเป็น วงรี หรือ วงกลม หรือ จุด หรือ ไม่มีกราฟ

ตัวอย่าง 1.2.1
จงวิเคราะห์สมการ
วิธีทา เทียบสมการ
เนื่องจาก และ ทาให้ได้ว่า
ดังนั้น สมการมีกราฟเป็น หรือ หรือ หรือ
12 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

จัดรูปสมการโดยใช้กาลังสองสมบูรณ์

สรุปได้ว่ากราฟของสมการ คือ

ค่าคงตัวจากสมการ คือ และ และ

ค่าคงตัวของกราฟ คือ และ

ส่วนประกอบสาคัญมีดังนี้แกนสาคัญ คือ

จุดศูนย์กลาง

จุดโฟกัส และ

จุดยอด และ
1.2 การแปลงพิกัด 13

กรณีที่ 2 เมื่อ
สมการมีกราฟเป็น ไฮเพอร์โบลา หรือ เส้นตรงสองเส้นตัดกัน

ตัวอย่าง 1.2.2
จงวิเคราะห์สมการ
วิธีทา เทียบสมการ
เนื่องจาก และ ทาให้ได้ว่า
ดังนั้น สมการมีกราฟเป็น หรือ
จัดรูปสมการโดยใช้กาลังสองสมบูรณ์

สรุปได้ว่ากราฟของสมการ คือ

ค่าคงตัวจากสมการ คือ และ และ

ค่าคงตัวของกราฟ คือ และ


14 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ส่วนประกอบสาคัญมีดังนี้แกนสาคัญ คือ

จุดศูนย์กลาง

จุดโฟกัส และ

จุดยอด และ

ตัวอย่าง 1.2.3
จงวิเคราะห์สมการ
1.2 การแปลงพิกัด 15

กรณีที่ 3 เมื่อ
สมการมีกราฟเป็น พาราโบลา หรือ เส้นตรงสองเส้นขนานกัน หรือ เส้นตรง หรือ ไม่มีกราฟ

ตัวอย่าง 1.2.4
จงวิเคราะห์สมการ
16 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.2.2 การวิเคราะห์สมการกาลังสองโดยการหมุนแกน

( )

( )

แทน และ ลงในสมการ จะได้

จัดรูปสมการได้เป็น

โดยการหมุนแกนทามุม ในทิศทวนเข็มนาฬิกา จะได้ สมการหมุนแกน คือ


1.2 การแปลงพิกัด 17

ตัวอย่าง 1.2.5
กาหนดพิกัดจุด ( ) ในระนาบ จงหาพิกัดจุด ในระนาบ ซึง่ เกิดจากการหมุนแกน
ทามุม เรเดียน ในทิศทวนเข็มนาฬิกา

ตัวอย่าง 1.2.6
กาหนดสมการ ในระนาบ จงแปลงสมการนี้ให้อยู่ในระนาบ
ซึง่ เกิดจากการหมุนแกน ทามุม เรเดียน ในทิศทวนเข็มนาฬิกา
18 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

พิจารณาสมการกาลังสองในรูป

เมื่อแทนค่า
และ จะได้
( )

( )( )

( )

ทาให้ได้สมการในระนาบ ดังนี้

โดยที่

สมมติว่า นั่นคือ
( ) ( )

( )

ดังนั้น

จากสมการ ในระนาบ โดยการหมุนแกน ทามุม เรเดียน


ทาให้ได้สมการ ในระนาบ เราสามารถสรุปได้ว่า
ก็ต่อเมื่อ
1.2 การแปลงพิกัด 19

ตัวอย่าง 1.2.7
กาหนดสมการ ในระนาบ จงหามุม ที่ทาให้ได้สมการ
ในระนาบ โดยการหมุนแกน ทามุม เรเดียน ในทิศทวนข็มนาฬิกา
วิธีทา เทียบสมการ
สัมประสิทธิ์คือ และ และ
หามุม ที่ใช้ในการหมุนแกน ได้จากสูตร

ขั้นตอนในการวิเคราะห์สมการ มีดังนี้
1) เทียบสัมประสิทธิ์ และแทนค่าลงในสูตรหามุมในการหมุนแกน

2) หาค่า
เมื่อ เมื่อ
| | | |
√( ) √( )

3) หาค่า และ โดยใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ

√ √

4) แทนค่าลงในสูตรการหมุนแกน

5) แปลงสมการให้อยู่ในระนาบ และกาจัดพจน์
6) วิเคราะห์สมการ ในระนาบ
20 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.2.8
จงใช้การหมุนแกนวิเคราะห์สมการ พร้อมทั้งวาดภาพประกอบ
วิธีทา เทียบสมการ
สัมประสิทธิ์คือ และ และ
หามุมที่ใช้ในการหมุนแกน ได้จากสูตรต่อไปนี้
(สูตรที่ )

(สูตรที่ )

(สูตรที่ ) √( )

(สูตรที่ ) √( )

จากสมการหมุนแกน

จะได้ และ

แทนค่าลงในสมการ

สรุปได้ว่ากราฟของสมการ คือ
1.2 การแปลงพิกัด 21

ค่าคงตัวจากสมการ คือ และ และ

ค่าคงตัวของกราฟ คือ และ

ส่วนประกอบสาคัญมีดังนี้แกนสาคัญ คือ

จุดศูนย์กลาง ( )

จุดโฟกัส ( ) และ ( )

จุดยอด ( ) และ ( )

แปลงพิกัดจุดบนระนาบ ให้อยู่ในระนาบ
จากสมการหมุนแกน

จะได้ และ

จุดศูนย์กลาง ( )

จุดโฟกัส ( )

และ ( )

จุดยอด ( )

และ ( )
22 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว
ระบบพิกัดเชิงขั้ว (Polar Coordinate System)
คือ ระบบที่ใช้ในการบอกตาแหน่งของจุดบนระนาบซึ่งถูกกาหนดโดย
 ระยะทางจากจุดตรึง (จุดขั้ว) และ
 มุมแสดงทิศทางเมื่อเทียบกับรังสี (แกนเชิงขั้ว) ที่พุ่งออกจากจุดตรึง

เราจะเรียกจุดในระนาบว่ามีพิกัดเชิงขั้ว ( )

ถ้า จุด ห่างจากจุดขั้ว (ในทิศเดียวกับแกนเชิงขั้ว) เป็นระยะทาง หน่วย


และ ส่วนของเส้นตรงระหว่างจุดนั้นกับจุดขั้วทามุมกับแกนเชิงขั้วเท่ากับ เรเดียน ในทิศทวนเข็มนาฬิกา

ตัวอย่าง 1.3.1
จงหาพิกัดเชิงขั้วของจุด
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 23

การเขียนพิกัดเชิงขั้วในรูปแบบต่างๆ

1.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างระบบพิกัดฉากและระบบพิกัดเชิงขั้ว

จากภาพ จะได้ความสัมพันธ์ คือ


และ
นั่นคือ
และ

ดังนั้น

และ ( )
24 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.3.2
จงหาจุด ( ) ในระบบพิกัดฉากของจุด ( ) ในระบบพิกัดเชิงขั้ว ต่อไปนี้

( ) ( )

( ) ( )

( ) ( )

ตัวอย่าง 1.3.3
จงหาจุด ( ) ในระบบพิกัดเชิงขั้วของจุด ( ) ต่อไปนี้ เมื่อกาหนดให้ และ

( ) ( )

( ) (√ )

( ) ( √ )

( ) ( )
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 25

1.3.2 กราฟในระบบพิกัดเชิงขั้ว
กราฟของสมการเชิงขั้ว
คือ ทางเดินของจุดที่มีพิกัดเชิงขั้วอย่างน้อย 1 รูปแบบซึ่งสอดคล้องกับสมการนั้น
ตัวอย่างเช่น

กราฟของสมการเชิงขั้วในรูปแบบต่างๆ มีดังนี้
26 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

การทดสอบความสมมาตรของกราฟ มี 3 ประเภท ดังนี้


 ความสมมาตรเทียบกับจุดขั้ว
 ความสมมาตรเทียบกับแกนเชิงขั้ว
 ความสมมาตรเทียบกับแกนตั้งฉาก

กราฟของสมการมีความสมมาตรเทียบกับจุดขั้ว
ถ้าสอดคล้องเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้
เมื่อแทนค่า ( ) ลงในสมการ ( ) แล้วสมการไม่เปลี่ยนแปลง หรือ
เมื่อแทนค่า ( ) ลงในสมการ ( ) แล้วสมการไม่เปลี่ยนแปลง

กราฟของสมการมีความสมมาตรเทียบกับแกนเชิงขั้ว
ถ้าสอดคล้องเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้
เมื่อแทนค่า ( ) ลงในสมการ ( ) แล้วสมการไม่เปลี่ยนแปลง หรือ
เมื่อแทนค่า ( ) ลงในสมการ ( ) แล้วสมการไม่เปลี่ยนแปลง

กราฟของสมการมีความสมมาตรเทียบกับแกนตั้งฉาก
ถ้าสอดคล้องเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่ง ต่อไปนี้
เมื่อแทนค่า ( ) ลงในสมการ ( ) แล้วสมการไม่เปลี่ยนแปลง หรือ
เมื่อแทนค่า ( ) ลงในสมการ ( ) แล้วสมการไม่เปลี่ยนแปลง

หมายเหตุ ถ้าตรวจสอบพบว่ากราฟของสมการเชิงขั้วมีความสมมาตร 2 ประเภท


แล้วจะพบความสมมาตรประเภทที่ 3 ในกราฟนั้นเสมอ
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 27

ตัวอย่าง 1.3.4
จงทดสอบความสมมาตรและวาดกราฟของสมการ
จุดบนกราฟ ทดสอบความสมมาตรเทียบกับจุดขั้ว
จุดทดสอบ ( ) ( ) ( )

แทนค่าลง
ในสมการ

ความสัมพันธ์

จุดบนกราฟ ทดสอบความสมมาตรเทียบกับแกนเชิงขั้ว
จุดทดสอบ ( ) ( ) ( )

แทนค่าลง
ในสมการ

ความสัมพันธ์

จุดบนกราฟ ทดสอบความสมมาตรเทียบกับแกนตั้งฉาก
จุดทดสอบ ( ) ( ) ( )

แทนค่าลง
ในสมการ

ความสัมพันธ์
28 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

วาดกราฟของสมการ

2
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 29

ตัวอย่าง 1.3.5
จงทดสอบความสมมาตรและวาดกราฟของสมการ ( )

จุดบนกราฟ ทดสอบความสมมาตรเทียบกับจุดขั้ว
จุดทดสอบ ( ) ( ) ( )

แทนค่าลง
ในสมการ

ความสัมพันธ์ ( )

จุดบนกราฟ ทดสอบความสมมาตรเทียบกับแกนเชิงขั้ว
จุดทดสอบ ( ) ( ) ( )

แทนค่าลง
ในสมการ

ความสัมพันธ์ ( )

จุดบนกราฟ ทดสอบความสมมาตรเทียบกับแกนตั้งฉาก
จุดทดสอบ ( ) ( ) ( )

แทนค่าลง
ในสมการ

ความสัมพันธ์ ( )
30 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

วาดกราฟของสมการ ( )

( )

2
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 31

1.3.3 เส้นตรงและวงกลมในระบบพิกัดเชิงขั้ว
 สมการเส้นตรงที่ผ่านจุดขั้ว
พิจารณาสมการเส้นตรงในระบบพิกัดฉากที่ผ่านจุดกาเนิด

แปลงสมการให้อยู่ในระบบพิกัดเชิงขั้ว จะได้

ดังนั้น สมการเส้นตรงในระบบพิกัดเชิงขั้ว คือ

เมื่อ เป็นค่าคงตัว

ตัวอย่างเช่น กราฟของสมการ คือ เส้นตรงผ่านจุดกาเนิด


32 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

 สมการเส้นตรงเมื่อกาหนดเส้นแนวฉาก
พิจารณาเส้นตรงในระบบพิกัดเชิงขั้วที่ผ่านจุด ( ) และตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรง

กาหนดให้ ( ) เป็นจุดใดๆ บนเส้นตรงนี้ จะได้ความสัมพันธ์ คือ

สมการเส้นตรงในรูปทั่วไป คือ

( )

ตัวอย่างเช่น
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 33

ตัวอย่าง 1.3.6
จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด ( √ ) และตั้งฉากกับเส้นตรงทามุมกับแกนเชิงขั้วเป็นมุม เรเดียน
34 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

 สมการวงกลมที่ผ่านจุดขั้ว
พิจารณาวงกลมในระบบพิกัดเชิงขั้วที่ผ่านจุดขั้ว และจุดศูนย์กลางอยู่ที่ ( )

ให้ ( ) เป็นจุดใดๆ บนวงกลม และ ( ) เป็นจุดบนวงกลมที่ทาให้ ⃡ เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางวงกลม


จะได้ความสัมพันธ์ คือ

จะได้ สมการวงกลม คือ


( )

ตัวอย่างเช่น
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 35

ตัวอย่าง 1.3.7
จงหาสมการวงกลมที่มีจุดศูนย์กลาง ( ) และเส้นรอบวงผ่านจุดขั้ว
36 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.3.4 ภาคตัดกรวยในระบบพิกัดเชิงขั้ว
พิจารณาภาคตัดกรวยมีจุดโฟกัสที่จุดขั้ว และสมการเส้นไดเรกตริกซ์คือ

จากนิยาม ค่าความเยื้องของภาคตัดกรวย
คือ สัดส่วนระหว่างระยะทางของจุดบนภาคตัดกรวยและจุดโฟกัส
และระยะทางของจุดบนภาคตัดกรวยและเส้นไดเรกตริกซ์
จะได้ว่า
| |
| |

ดังนั้น สมการภาคตัดกรวย คือ

ในทานองเดียวกัน เมื่อพิจารณาภาคตัดกรวยมีจุดโฟกัสที่จุดขั้ว และสมการเส้นไดเรกตริกซ์ คือ


จะได้สมการ ดังนี้
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 37

ตัวอย่าง 1.3.8
จงวาดกราฟของสมการเชิงขั้ว
38 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.3.9
จงวาดกราฟของสมการเชิงขั้ว
1.3 ระบบพิกัดเชิงขั้ว 39

สรุปกราฟของสมการเชิงขั้วในรูปแบบต่างๆ
40 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.4 เรขาคณิตในปริภูมิสามมิติ
ปริภูมิสามมิติ ประกอบด้วยเส้นตรงสามเส้นซึ่งตั้งฉากและตัดกันที่จุดคงที่
เราจะเรียกจุดคงที่ว่า จุดกาเนิด
และเรียกเส้นตรงสามเส้นว่า แกน แกน และ แกน ตามลาดับ
โดยใช้ กฎมือขวา เราสามารถกาหนดทิศทางในปริภูมิสามมิติได้ ดังรูป

1.4.1 เวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติ
ให้ เป็นเวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติซึ่งทามุม กับแกน ตามลาดับ

 ( ) เรียกว่า มุมแสดงทิศทาง

 ( ) เรียกว่า โคไซน์แสดงทิศทาง

 ( ) เรียกว่า จานวนแสดงทิศทาง เมื่อ

ตัวอย่าง 1.4.1
จงหาโคไซน์แสดงทิศทางและจานวนแสดงทิศทางของ
1.4 เรขาคณิตในปริภูมสิ ามมิติ 41

เราจะกล่าวว่า ขนานกับ

ถ้ามีจานวนจริง ซึ่งสอดคล้องกับระบบสมการในรูปทั่วไป

หรือสอดคล้องกับสมการอิงตัวแปรเสริม

1.4.2 เส้นตรงในปริภูมิสามมิติ
พิจารณาจุดในปริภูมิสามมิติ ( )

พบว่ามีเส้นตรงหลายเส้นที่ผ่านจุด

พิจารณาเวกเตอร์

พบว่ามีเส้นตรงหลายเส้นที่ขนานกับเวกเตอร์

มีเส้นตรงเส้นเดียวเท่านั้นที่ผ่านจุด และขนานกับเวกเตอร์

กาหนดให้ เป็นเส้นตรงที่ผ่านจุด ( ) และขนานกับเวกเตอร์

 ให้ ( ) เป็นจุดใดๆ บนเส้นตรง

 เวกเตอร์สาหรับจุด บนเส้นตรง คือ

( ) ( ) ( )

จากนิยามการขนานกันของเวกเตอร์ จะได้สมการเส้นตรง ดังนี้

หรือ
42 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.4.2
จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด ( ) และขนานกับเวกเตอร์

ตัวอย่าง 1.4.3
จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด ( ) และขนานกับเวกเตอร์
1.4 เรขาคณิตในปริภูมสิ ามมิติ 43

ตัวอย่าง 1.4.4
จงหาสมการเส้นตรง ที่ผ่านจุด ( ) และขนานกับเส้นตรง
ซึ่งเส้นตรง ผ่านจุด ( ) และ ( )

ตัวอย่าง 1.4.5
จงหาสมการเส้นตรงที่ผ่านจุด ( ) และ ( )
44 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.4.3 มุมระหว่างเส้นตรง
ให้ แทนมุมระหว่างเส้นตรงซึ่งมีเวกเตอร์แสดงทิศทาง คือ และ

จากสูตรผลคูณเชิงสเกลาร์ของเวกเตอร์ | || | ดังนั้น

| || | √ √

ตัวอย่าง 1.4.6
จงหามุมระหว่างเส้นตรง และ
1.4 เรขาคณิตในปริภูมสิ ามมิติ 45

โพรเจกชัน (Projection)

โพรเจกชันของเวกเตอร์ เทียบกับ
สัญกรณ์แทนโดย ( )

คือเวกเตอร์ที่มีทิศทางเดียวกับเวกเตอร์
โดยมีจุดเริ่มต้นที่จุดเริ่มต้นของเวกเตอร์
และมีจุดปลายอยู่ที่จุดตัดระหว่างเส้นตรงที่ผ่านจุดปลายของเวกเตอร์ และตั้งฉากกับ

( ) (| | )
| |
หรือ ( ) (
| |
)

1.4.4 ระยะทางระหว่างจุดกับเส้นตรง
ให้ ( ) เป็นจุดที่ไม่อยู่บนเส้นตรง

 เวกเตอร์แสดงทิศทางของเส้นตรง คือ

 เวกเตอร์มีจุดปลายอยู่ที่จุด และจุด บนเส้นตรง คือ

( ) ( ) ( )

 โพรเจกชันของเวกเตอร์ เทียบกับเส้นตรง คือ

( )

ระยะทางระหว่างจุด และเส้นตรง คือ

√| | | ( )|
46 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.4.7
จงหาระยะทางระหว่างจุด ( ) และเส้นตรง
1.4 เรขาคณิตในปริภูมสิ ามมิติ 47

ตัวอย่าง 1.4.8 (ระยะทางระหว่างเส้นตรงที่ขนานกัน)


จงหาระยะทางระหว่างเส้นตรง และเส้นตรง
48 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.4.9 (ระยะทางระหว่างเส้นไขว้ต่างระดับ)


จงหาระยะทางระหว่างเส้นตรง และเส้นตรง
1.4 เรขาคณิตในปริภูมสิ ามมิติ 49

ตัวอย่าง 1.4.10 (ระยะทางระหว่างเส้นไขว้ต่างระดับ)


จงหาระยะทางระหว่างเส้นตรง และเส้นตรง
50 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.4.5 ระนาบในปริภูมิสามมิติ
พิจารณาจุดในปริภูมิสามมิติ ( )

พบว่ามีหลายระนาบที่ผ่านจุด

พิจารณาเวกเตอร์

พบว่ามีหลายระนาบที่ตั้งฉากกับเวกเตอร์

มีระนาบเดียวเท่านั้นที่ผ่านจุด และตั้งฉากกับเวกเตอร์

กาหนดให้ Plane เป็นระนาบที่ผ่านจุด ( ) และมีเวกเตอร์ตั้งฉาก คือ

 ให้ ( ) เป็นจุดใดๆ บนระนาบ Plane

 เวกเตอร์สาหรับจุด บนระนาบ Plane คือ

( ) ( ) ( )

จากผลคูณเชิงสเกลาร์ของเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกันมีค่าเป็นศูนย์ จะได้สมการระนาบ คือ

( ) ( ) ( )

หรือ
เมื่อ
1.4 เรขาคณิตในปริภูมสิ ามมิติ 51

ตัวอย่าง 1.4.11
จงหาสมการระนาบที่ผ่านจุด ( ) และตั้งฉากกับเวกเตอร์

หมายเหตุ

 ระนาบตัดแกน ที่จุด ( )

 ระนาบตัดแกน ที่จุด ( )

 ระนาบตัดแกน ที่จุด ( )

ตัวอย่าง 1.4.10
จงหาสมการระนาบที่ผ่านจุด ( ) ( ) และ ( )
52 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.4.6 ระยะทางระหว่างจุดและระนาบ
กาหนดให้ ( ) เป็นจุดที่ไม่อยู่บนระนาบ

 ให้ ( ) เป็นจุดบนระนาบ Plane

 เวกเตอร์ตั้งฉากของระนาบ Plane คือ

 เวกเตอร์มีจุดปลายอยู่ที่จุด และจุดเริ่มอยู่ที่ บนระนาบ Plane คือ

( ) ( ) ( )

 ระยะทางระหว่างจุด และระนาบ Plane คือ

| |
| ( )| นั่นคือ

1.4 เรขาคณิตในปริภูมสิ ามมิติ 53

ตัวอย่าง 1.4.11
จงหาระยะทางระหว่างจุด ( ) และระนาบ
54 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

ตัวอย่าง 1.4.12 (ระยะทางระหว่างระนาบที่ขนานกัน)


จงหาระยะทางระหว่างระนาบ และระนาบ
1.5 ผิวกาลังสองพื้นฐาน 55

1.5 ผิวกาลังสองพื้นฐาน
ผิวกาลังสองพื้นฐานมี 6 รูปแบบดังนี้
1.5.1 ทรงรี
ทรงรี (ellipsoid) คือ ผิวกาลังสองที่มีสมการมาตรฐานในรูป

ตัวอย่าง 1.5.1
จงหาวาดกราฟของสมการ พร้อมทั้งหารอยตัดกับระนาบพิกัด
56 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.5.2 ไฮเพอร์โบลอยด์เชื่อมโยงกันเชิงวงรี
ไฮเพอร์โบลอยด์เชื่อมโยงกันเชิงวงรี (elliptic hyperboloid of one sheet) คือ ผิวกาลังสองในรูป

ตัวอย่าง 1.5.2
จงหาวาดกราฟของสมการ พร้อมทั้งหารอยตัดกับระนาบพิกัด
1.5 ผิวกาลังสองพื้นฐาน 57

1.5.3 ไฮเพอร์โบลอยด์ไม่เชื่อมโยงกันเชิงวงรี
ไฮเพอร์โบลอยด์ไม่เชื่อมโยงกันเชิงวงรี (elliptic hyperboloid of two sheets) คือ ผิวกาลังสองในรูป

ตัวอย่าง 1.5.3
จงหาวาดกราฟของสมการ พร้อมทั้งหารอยตัดกับระนาบพิกัด
58 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.5.4 พาราโบลอยด์เชิงวงรี
พาราโบลอยด์เชิงวงรี (elliptic paraboloid) คือ ผิวกาลังสองที่มีสมการมาตรฐานในรูป

ตัวอย่าง 1.5.4
จงหาวาดกราฟของสมการ พร้อมทั้งหารอยตัดกับระนาบพิกัด
1.5 ผิวกาลังสองพื้นฐาน 59

1.5.5 พาราโบลอยด์เชิงไฮเพอร์โบลา
พาราโบลอยด์เชิงไฮเพอร์โบลา (hyperbolic paraboloid) คือ ผิวกาลังสองที่มีสมการมาตรฐานในรูป

ตัวอย่าง 1.5.5
จงหาวาดกราฟของสมการ พร้อมทั้งหารอยตัดกับระนาบพิกัด
60 บทที่ 1 เรขาคณิตวิเคราะห์

1.5.6 กรวยเชิงวงรี
กรวยเชิงวงรี (elliptic cone) คือ ผิวกาลังสองที่มีสมการมาตรฐานในรูป

ตัวอย่าง 1.5.6
จงหาวาดกราฟของสมการ พร้อมทั้งหารอยตัดกับระนาบพิกัด

You might also like