เทคโนโลยีและสารสนเทศฯ

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

การร ับรูจ

้ ากระยะไกล (R e m o t e S e n si n g : RS)

การร ับรูจ้ ากระยะไกล หมายถึง


“ระบบการสํารวจเก็บข ้อมูลเกีย่ วกับพืน ่ งรับรู ้ (sensor) ซงึ่ ติดไปกับดาวเทียมหรือเครือ
้ ผิวโลกด ้วยเครือ ่ งบิน
เครือ่ งรับรู ้ตรวจจับคลืน
่ แม่เหล็กไฟฟ้ าทีส ้ มีการแปลงเป็ นข ้อมูลเชงิ เลข
่ ะท ้อนจากวัตถุบนผิวโลกจากนัน
ซงึ่ นํ าไปแสดงเป็ นภาพและทําแผนที่ ”

่ ําคัญ 2 ชนิด ดังนี้


การรับรู ้จากระยะไกลมีผลิตภัณฑ์สารสนเทศทีไ่ ด ้จากการวิเคราะห์ข ้อมูลทีส
รป
ู ถ า่ ยทางอากาศ (aerial photograph) คือ รูปภาพของลักษณะภูมป
ิ ระเทศทีอ
่ ยูบ
่ น
พืน
้ ผิวโลกในบริเวณใดบริเวณหนึง่ ได ้จากการถ่ายด ้วยกล ้องทีต
่ ด
ิ ตัง้ อยูบ
่ นอากาศยาน

รูปถ่ายทางอากาศในแนวตัง้ (vertical photograph)

เป็ นรูปถ่ายทีถ
่ า่ ยในแนวตัง้ ฉากกับพืน
้ ผิวโลก
ใชทํ ้ าแผนที่ และปรับปรุงแผนทีใ่ ห ้ถูกต ้องและ
เป็ นปั จจุบันมากขึน ้
้ หรืออาจใชแทนแผนที ไ่ ด ้

จากภาพ พืน ้ ทีส ่ เี ขียวทีเ่ ป็ นระเบียบแสดงให ้เห็น


ว่าเป็ นพืน
้ ทีเ่ พาะปลูกพืช มีเสนส ้ น ี ํ้ าตาลเป็ น

เสนทางส ําหรับเข ้าไปยังพืน ้ ทีเ่ พาะปลูก
พืน
้ ทีป
่ ลูกชา เมืองกอร์เรียนเตส ประเทศอาร์เจนตินา 135
การร ับรูจ
้ ากระยะไกล (R e m o t e S e n si n g : RS)

รป
ู ถ า่ ยทางอากาศ
รูปถ่ายทางอากาศในแนวเฉียง (oblique photograph) แบ่งเป็ น 2 ชนิด

รูปถ่ายเฉียงตํา ่ (low oblique)


เป็ นรูปถ่ายทีแ
่ กนของกล ้องเอียงทํามุม 30 องศาจากแนวตัง้ ฉาก
คุณสมบัต ิ – ครอบคลุมพืน ้ ทีแ่ คบ – มองไม่เห็นแนวขอบฟ้ า
– ภาพทีไ่ ด ้เป็ นรูปสเี่ หลีย ่ มคางหมู
– มาตราสว่ นของภาพไม่แน่นอน
– เหมาะสําหรับนํ ามาศก ึ ษาลักษณะของสงิ่ ต่าง ๆ
ทีอ่ ยูใ่ นพืน
้ ทีเ่ ท่านั น

รูปถ่ายเฉียงสูง (high oblique)


เป็ นรูปถ่ายทีแ
่ กนของกล ้องเอียงทํามุม 60 องศาจากแนวตัง้ ฉาก
คุณสมบัต ิ – ครอบคลุมพืน ้ ทีก
่ ว ้าง
แม่นํ้าอูซม ี ตา ประเทศกัวเตมาลา
ู าซน – มองเห็นความต่างระดับของพืน ้ ทีแ่ ละแนวขอบฟ้ า
้ าแผนทีท
– นํ ามาใชทํ ่ างการบินได ้

จากภาพ เป็ นรูปถ่ายทางอากาศในแนวเฉียงสูง เพราะเห็นแนวขอบฟ้ า ไม่เห็นความต่างระดับชด ั เจน


เพราะเป็ นทีร่ าบลุม
่ แม่นํ้าเป็ นพืน
้ ทีร่ าบตํา่ ทีม
่ รี ะดับความสูงน ้อย พืน ่ เี ขียวเป็ นป่ าไม ้ทีอ
้ ทีส ่ ด
ุ มสมบูรณ์
แถบสข ี าวคือดินตะกอนทีก ่ ระแสนํ้ าพัดพามาทับถมกัน 136
การร ับรูจ
้ ากระยะไกล (R e m o t e S e n si n g : RS)
ภาพจากดาวเทีย ม (satellite imagery) เป็ นภาพทีเ่ กิดจากบันทึกข ้อมูลเชงิ เลขจากดาวเทียม
วัตถุแต่ละชนิดสะท ้อนพลังงานคลืน ่ ง่ มาจากเครือ
่ แม่เหล็กไฟฟ้ าทีส ่ งมือถ่ายภาพบนดาวเทียม
ได ้ไม่เท่ากัน
ภาพจากดาวเทียมสํารวจทรัพยากรโลกทีน ่ ย ้
ิ มนํ ามาใชในการศกึ ษาข ้อมูลทางภูมศ
ิ าสตร์
่ ําคัญ ได ้แก่
ของทวีปอเมริกาเหนือและอเมริกาใต ้ ทีส
ดาวเทีย มแลนด แ์ ซต (LANDSAT)

เป็ นดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวงแรกของโลก
องค์การนาซาสง่ LANDSAT 1 ขึน ่ วกาศเมือ
้ สูอ ่ ค.ศ.
1972 ดาวเทียมแลนด์แซตได ้รับการออกแบบมาเพือ ่
สํารวจข ้อมูลทางการเกษตร ดิน ป่ าไม ้ แร่ธาตุ
พลังงาน และประเมินความหนาแน่นของประชากร

ดาวเทีย มไอโคนอส (IKONOS)


ภาพจากดาวเทียมแลนด์แซต
ิ ซป
บริเวณแม่นํ้ามิสซส ิ ปี มีภารกิจในการสํารวจทรัพยากรเชงิ พาณิชย์
้ สูว่ งโคจรเมือ
ขึน ่ วันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 1999

แสดงให ้เห็นว่าเสนทางนํ ้ ามีขนาด มีระดับความสูงที่ 680 กิโลเมตร โคจรกลับมาทีเ่ ดิม
กว ้างใหญ่มากขึน ้ หลังจากเหตุการณ์ ทุก 3 วัน แนวภาพกว ้าง 1 กิโลเมตร
นํ้ าท่วมครัง้ ใหญ่ในรัฐอิลลินอย ความละเอียดภาพในแนวดิง่ อยูท ่ ี่ 1–3 เมตร
137
การร ับรูจ
้ ากระยะไกล (R e m o t e S e n si n g : RS)
ภาพจากดาวเทีย ม (satellite imagery)
ดาวเทีย มคว กิ เบ ริ ด
์ (QuickBird)

มีภารกิจเชน ่ เดียวกับดาวเทียมไอโคนอส ขึน


้ สูว่ งโคจร
เมือ
่ วันที่ 18 ตุลาคม ค.ศ. 2001 มีระดับความสูงที่
450 กิโลเมตร โคจรกลับมาทีเ่ ดิมทุก 3–7 วัน
แนวภาพกว ้าง 16.5 กิโลเมตร มีความละเอียด
ของภาพน ้อยกว่า 1 เมตร


จากภาพแสดงให ้เห็นเสนทางนํ ้ าทีไ่ หลมาบรรจบกัน
ของแม่นํ้าเบร์เมโฮและแม่นํ้าแซนแฟรนซส ิ โก

กลายเป็ นแม่นํ้าอีกเสนหนึ ง่

ภาพจากดาวเทียมโนอา
ดาวเทีย มโนอา (NOAA) เมือ
่ ค.ศ. 1992

เป็ นดาวเทียมอุตน
ุ ย
ิ มวิทยาขององค์การสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา
มีภารกิจในการติดตามสภาพอากาศและวัดอุณหภูมผ ้
ิ วิ นํ้ าทะเล ต่อมาใชในการศกึ ษา
พืชพรรณธรรมชาติของโลกรายวัน ขึน้ สูว่ งโคจรโลกใน ค.ศ. 1992 138
ภาพต่อไปนี้ เป็นรูปถ่ายทางอากาศชนิดใด และอธิบายรายละเอียดเพิม
่ เติม

เป็ นรูปถ่ายทางอากาศแบบเฉียงสูงของ
เทือกเขาแอนดีส ในทวีปอเมริกาใต ้
เป็ นเทือกเขาทีม ่ แ
ี นวยาวทีส่ ด
ุ ในโลก และ
เป็ นต ้นกําเนิดของแม่นํ้าแอมะซอน และมี
ยอดเขาสูงทีส ่ ด ื่ อากอนกาวา
ุ ชอ

เทือกเขาแอนดีส ทวีปอเมริกาใต ้

รูปถ่ายทางอากาศในแนวเฉียงตํา่ ของกรุงกีโต
เมืองหลวงของประเทศเอกวาดอร์ เนือ ่ งจาก

ไม่เห็นเสนขอบฟ้ า มีลักษณะภูมอ ิ ากาศแบบ
ทีส
่ งู เขตทีส
่ งู ขึน
้ ไปอุณหภูมแ ิ ละปริมาณฝน
จะลดลง มีปริมาณฝนเฉลีย ่ ต่อปี คอ่ นข ้างตํา่

กรุงกีโต เมืองหลวงของประเทศเอกวาดอร์ 139


3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System–GIS)
มีวิวัฒนาการมาจากการเขียนแผนที่
บริ เวณหนึ่งลงบนแผ่ นใสหลายแผ่ น
โดยแต่ ละแผ่ นมีข้อมูลที่แตกต่ างกัน
แล้ วนํามาวางทับซ้ อนกันบนโต๊ ะแสง
ซึ่ งทําให้ เห็นรายละเอียดของสิ่ งต่ าง ๆ
ที่ปรากฏในพืน้ ที่ได้ ชัดเจนยิ่งขึน้
มีประโยชน์ ต่อการนํามาวิเคราะห์
ข้ อมูลเพื่อการจัดการในด้ านต่ าง ๆ
140
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์
ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ มอี งค์ ประกอบทีส่ ํ าคัญ ได้ แก่

141
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

1. ฮาร์ ดแวร์ (hardware)

ส่ วนประกอบของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการนําเข้าข้อมูล


ประมวลผล และแสดงผล เช่น หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing
Unit–CPU) พล็อตเตอร์ (plotter) เครื่ องพิมพ์ (printer) จอภาพ (monitor)

142
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

2. ซอฟต์ แวร์ (software)

ชุดคําสัง่ หรื อโปรแกรมที่ใช้ร่วมกับฮาร์ ดแวร์ เพื่อให้ระบบสามารถทํางานได้


ซึ่งจะทําให้ได้สารสนเทศที่ตอ้ งการ โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยทัว่ ไป
มีรูปแบบการทํางานที่สาํ คัญ 5 ประการ ได้แก่

143
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

2. ซอฟต์ แวร์ (software)

1) การนําเข้ าข้ อมูลและการตรวจสอบข้ อมูล


เป็ นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลจากแผนที่ตน้ แบบ ข้อมูลดาวเทียม หรื อรู ปถ่าย
ทางอากาศ ให้มาอยูใ่ นรู ปของดิจิทลั
144
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

2. ซอฟต์ แวร์ (software)

2) การเก็บข้ อมูลและการจัดการข้ อมูล


เป็ นการจัดเก็บและจัดการข้อมูลทางภูมิศาสตร์ เกี่ยวกับจุด เส้น หรื อพื้นที่
ให้มีโครงสร้างที่สามารถเรี ยกใช้งานได้สะดวก
145
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

2. ซอฟต์ แวร์ (software)

3) การคํานวณและการวิเคราะห์ ข้อมูล
มีรูปแบบของการคํานวณและการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่หลากหลาย และสามารถ
เปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยูใ่ นรู ปแบบที่เหมาะสมได้
146
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

2. ซอฟต์ แวร์ (software)

4) การรายงานผลข้ อมูล
เป็ นการแสดงผลของข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ในรู ปแบบต่าง ๆ เช่น
แผนที่ ตาราง แผนภูมิ
147
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

2. ซอฟต์ แวร์ (software)

5) ส่ วนสั มพันธ์ กบั ผู้ใช้


โปรแกรมจะต้องให้ความสะดวกแก่ผใู ้ ช้ ไม่ยงุ่ ยาก สามารถสร้างรายการ
ต่าง ๆ ได้ง่าย และนําไปใช้งานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
148
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

3. ข้ อมูล (data)

ข้อมูลที่จะนําเข้าสู่ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ควรเป็ นข้อมูลเฉพาะเรื่ อง


มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็ นปั จจุบนั มากที่สุด ข้อมูลต่าง ๆ ถูกเก็บ
ในรู ปแบบของฐานข้อมูล แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่

149
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

3. ข้ อมูล (data)

1) ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่
เป็ นข้อมูลแสดงตําแหน่งที่ต้ งั ทางภูมิศาสตร์ ของรู ปลักษณ์ของพื้นที่
หรื อข้อมูลสภาพพื้นที่ที่เชื่อมโยงกับข้อมูลลักษณะประจํา แบ่งออกเป็ น
2 ประเภท ได้แก่
150
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

3. ข้ อมูล (data)

1) ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่
ข้ อมูลแบบเวกเตอร์ (vector) เป็ นโครงสร้าง
ข้อมูลที่ใช้ในการจัดเก็บพิกดั ตําแหน่งด้วยจุด
เส้น และอาณาบริ เวณ
151
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

3. ข้ อมูล (data)

1) ข้ อมูลเชิงพืน้ ที่
ข้ อมูลแบบแรสเตอร์ (raster) เป็ นโครงสร้าง
ข้อมูลที่แบ่งออกเป็ นตารางหรื อกริ ด พื้นที่แต่ละ
กริ ดจะมีค่าของจุดภาพ (pixel)
152
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

3. ข้ อมูล (data)

2) ข้ อมูลลักษณะประจําหรื อข้ อมูลเชิงอธิบาย


เป็ นข้อมูลเชิงตัวเลขหรื อตัวอักษร ซึ่งบอกลักษณะของข้อมูลเชิงพื้นที่
ที่สมั พันธ์หรื อเกี่ยวข้องกันโดยตรง อยูใ่ นระบบฐานข้อมูล ในปั จจุบนั นิยม
ใช้ระบบการจัดการข้อมูล เช่น dBase Oracle เพื่อเชื่อมโยงกับข้อมูลเชิงพื้นที่
153
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

4. กระบวนการวิเคราะห์
หรื อขั้นตอนการดําเนินงาน จะต้องทําอย่าง
ละเอียด โดยใช้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง ขั้นตอนเหล่านี้
เกี่ยวข้องกับการนําเข้าข้อมูลต่าง ๆ ที่นาํ มาใช้
ตัดสิ นใจ หรื อเลือกจากเงื่อนไขต่าง ๆ
เพื่อนํามาประมวลผล วิเคราะห์ เพื่อให้ได้
ผลลัพธ์หรื อสารสนเทศที่ตอ้ งการ
154
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

5. บุคลากร

บุคคลที่ทาํ หน้าที่เป็ นผูส้ ร้างกระบวนการวิเคราะห์หรื อขั้นตอนการดําเนินงาน


ซึ่งจะต้องมีความรู ้ความสามารถเชิงพื้นที่ ตลอดจนความสามารถในการเลือก
ข้อมูล การกําหนดเงื่อนไข เทคนิคต่าง ๆ เพื่อให้ได้ขอ้ มูลตามที่ตอ้ งการ
ประกอบด้วยนักวิเคราะห์หรื อผูส้ ร้างระบบและผูใ้ ช้สารสนเทศ
155
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System–GIS)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เป็ นเครื่ องมือที่มปี ระสิ ทธิ ภาพสูง
ที่ช่วยในการวิเคราะห์ คํานวณ และ
แสดงผลในรู ปแบบต่ าง ๆ และเป็ นที่
นิยมในการนํามาวิเคราะห์ งานด้ าน
ต่ าง ๆ ของหน่ วยงานทั้งภาครั ฐและ
เอกชนในปั จจุบัน ตัวอย่ างเช่ น

156
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System–GIS)
• กรมพัฒนาที่ดินได้ มกี ารนําระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้
ในการวางแผนด้ านการเกษตร
การวางผังเมือง
• กรมโยธาธิ การและผังเมืองได้ นาํ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มาใช้
ในการวางผังเมืองและการใช้
ประโยชน์ ที่ดินในอนาคต
157
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.3 ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

ตัวอย่ างการใช้ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ในการสร้ างแบบจําลอง


ภูมิประเทศสามมิติบริ เวณดอยเชียงดาว
ที่มา: จากห้ วงอวกาศสู่พืน้ แผ่ นดินไทย พ.ศ. 2546, 2546, หน้ า 369 158
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.4 ระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลก
ระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลก (Global Positioning System–GPS)
เป็ นการบอกค่ าพิกัดของสิ่ งต่ าง ๆ บนพืน้ ผิวโลก
เกิดจากการส่ งดาวเทียมจํานวน 24 ดวง ขึน้ สู่ห้วง
อวกาศที่ระดับความสูง 20,200 กิโลเมตร แบ่ ง
วงโคจรออกเป็ น 6 วงโคจร วงโคจรละ 4 ดวง
เพื่อส่ งคลื่นสัญญาณมายังสถานีควบคุม
ภาคพืน้ ดินและเครื่ องรั บสัญญาณ โดยจะใช้
สัญญาณจากดาวเทียมอย่ างน้ อย 4 ดวงในการ
คํานวณค่ าพิกัดและตําแหน่ งต่ าง ๆ 159
3. เทคโนโลยีและสารสนเทศทางภูมศิ าสตร์
3.4 ระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลก
องค์ ประกอบ 3 ส่ วนหลักของระบบกําหนดตําแหน่ งบนพืน้ โลก ได้ แก่
ส่ วนอวกาศ (space segment) ส่ วนสถานีควบคมุ (control segment)
ได้แก่ ดาวเทียม ทําหน้าที่ส่งสัญญาณ ได้แก่ สถานีภาคพื้นดิน ทําหน้าที่ติดต่อกับดาวเทียม

ส่ วนผ้ ใู ช้
(user segment)
ได้แก่ เครื่ องรับ
สัญญาณแบบต่าง ๆ
ทําหน้าที่แปลง
สัญญาณและ
คํานวณหาพิกดั
ตําแหน่ง 160

You might also like