การบริการสุขภาพที่บ้าน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 68

การสุขภาพที่

บริ บ้
าร า



อ.ราตรี อร่ามศิลป์
อ.กุลธิดา นึกสม
PT ที่บ้านVs Pt ที่รพ
วัตถุประสงค์การพยาบาลผู้ป่วยที่บ้าน
กระบวนการพยาบาลและ
เทคนิคการเยี่ยมบ้าน
•การเยี่ยมบ้านเป็นกิจกรรมแขนงหนึ่งที่สำคัญของการให้
บริการดูแลครอบครัว โดยเข้าไปดูแลประชาชนในด้านการ
ส่งเสริม สุขภาพ การ ป้องกันโรค การฟื้ นฟู สภาพความพิการ
ตลอดจนการรักษาโรค กรณีที่มีสมาชิกในครอบครัวเจ็บป่วย
ภายใต้บริบทของครอบครัว และ สังคม
Let's Work
Together
วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน

1.เพื่อศึกษาปัญหาและความ
ต้องการด้านสุขภาพของบุคคล ครอบครัว
และร่วมกับครอบครัววางแผนแก้ไขปัญหา
และความต้องการได้ถูกต้องเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคม และ
วัฒนธรรม
วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน

2. เพื่อให้การรักษาพยาบาลที่ต้องให้อย่าง
ต่อเนื่องแก่ผู้ป่วย รวมทั้งสอน แนะนำผู้
ป่วยและญาติให้สามารถช่วยเหลือตนเอง
และสมาชิกของครอบครัวได้
วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน

3. เพื่อให้คำแนะนำในการส่งเสริมสุขภาพ
แก่สมาชิกแต่ละวัยของครอบครัว รวมทั้ง
เสริมสร้างเจตคติที่ดีและการมีพฤติกรรม
อนามัยที่ถูกต้อง
วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน

4.เพื่อติดตามผลการรักษาพยาบาลและ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยรับการรักษาพยาบาลอย่าง
ต่อเนื่องในกรณีที่ผู้ป่วยป่วยด้วยโรค
เรื้อรังหรือโรคติดต่อ และเป็นกำลังใจแก่ผู้
ป่วยและญาติ
วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน

5. เพื่อช่วยแนะนำให้ครอบครัวสามารถ
จัดการสภาพแวดล้อมในครอบครัวให้
เหมาะสมกับภาวะสุขภาพและการเจริญ
เติบโตของสมาชิกแต่ละคน
วัตถุประสงค์ของการเยี่ยมบ้าน

6.เพื่อแนะนำประชาชนให้รู้จักและใช้แหล่ง
บริการสาธารณสุขและแหล่งประโยชน์อื่น
ๆ ของชุมชนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับ
ความจำเป็น
Let's Work
Together
Let's Work
Together
Let's Work
Together
Let's Work
Together
Let's Work
Together
Let's Work
Together
Together
Let's Work
Together
หลักในการจัดลำดับครอบครัวที่จะเยี่ยม

1.ความเร่งด่วน ซึ่งหมายถึงความต้องการหรือความ
จำเป็นที่พยาบาลต้องให้การช่วยเหลือโดยเร็ว หากทิ้งไว้
อาจเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยได้

2.การป้องกันการแพร่กระจายของโรค การเยี่ยม
ครอบครัวที่มีผู้ป่วยโรคติดต่อควรเยี่ยมเป็นอันดับสุดท้าย
เพื่อป้องกันเชื้อโรคมิให้แพร่กระจายต่อไป
ขั้นตอนการเยี่ยมบ้าน
1. ก่อนออกเยี่ยมบ้าน
2. ขณะเยี่ยมบ้าน
3. หลังเยี่ยมบ้าน
รเยี่ยม บ้าน
กา
วน 1. การดำเนินการก่อนเยี่ยมบ้าน
ะบ

1.1 การเตรียมข้อมูล
กร

- สภาพของชุมชน
- ข้อมูลเฉพาะตัวผู้ป่วยหรือครอบครัว
- ข้อมูลทางด้านสังคม : สถานภาพทางสังคม
ของสมาชิกในครอบครัว
- ข้อมูลทางด้านสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สถานที่อยู่
อาศัย
รเยี่ยมบ้าน
กา
วน
1.2 การเตรียมตัว ก่อนเข้าเยี่ยมบ้าน
ะบ
กร

- เตรียมตนเอง ได้แก่ การแต่งกายเรียบร้อยและสะอาด


- เตรียมความรู้เตรียมความรู้เกี่ยวกับบุคคลและ
ครอบครัวที่จะเข้าเยี่ยมแล้ว รวมทั้งวางแผนการให้บริการไว้
ล่วงหน้า

1.3 การเตรียมของใช้สำหรับการเยี่ยม
- กระเป๋าเยี่ยม
- สมุดบันทึก
รเยี่ยมบ้าน
กา
วน
2. การดำเนินการขณะเยี่ยมบ้าน
ะบ
กร

2.1 สร้างสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว

2.2 การศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมข้อมูลของบุคคลและ
ครอบครัวย่อมมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ตลอดเวลา
รเยี่ยมบ้าน
กา
วน
ะบ
กร

2.3 การปรับเปลี่ยนแผนที่วางไว้ก่อนเข้าเยี่ยม
เพื่อให้เหมาะสมที่จะใช้

2.4 การดำเนินการช่วยเหลือครอบครัว
หลักปฏิบัติในการเข้าเยี่ยมบ้าน

1.เมื่อเข้าถึงบ้านที่จะเยี่ยมควรแนะนำตนเอง

2.ท่าทีของผู้เยี่ยม ไม่ควรมีอคติ ควรทราบถึง


ขนบธรรมเนียมประเพณีและสังคม
และความเชื่อถือไว้วางใจให้ครอบครัว
หลักปฏิบัติในการเข้าเยี่ยมบ้าน

3.ควรหาโอกาสพูดจาไต่ถาม สังเกตความต้องการ

4.แนะนำทุกสิ่งที่เห็นว่าบกพร่องในครอบครัว

5.ก่อนสนทนาควรดูว่าผู้ฟังพร้อมที่จะรับฟังคำ
แนะนำหรือเปล่า
หลักปฏิบัติในการเข้าเยี่ยมบ้าน

6. ภาษาข้อความที่ใช้ต้องให้เหมาะสมกับพื้นความรู้
ของผู้ฟัง และใช้คำพูดที่เข้าใจง่าย

7. คำแนะนำที่ให้ต้องเหมาะสมกับสภาพครอบครัว

8. ควรมีอุปกรณ์การสอน
หลักปฏิบัติในการเข้าเยี่ยมบ้าน

9. เมื่อลากลับควรสรุปข้อความที่สำคัญตามที่แนะนำ
ไปแล้ว และนัดเวลาเยี่ยมครั้งต่อไป

10. การเยี่ยมครั้งต่อไป เพื่อดูผลการเยี่ยมครั้งก่อน


ว่ามีสิ่งใดบกพร่องควรจะแก้ไขเพิ่มเติม รวมทั้งยังไม่
ได้แนะนำครั้งแรก
หลักปฏิบัติในการเข้าเยี่ยมบ้าน

11. การจดบันทึกควรเขียนเป็นข้อความสั้น ๆ

12. ก่อนสิ้นสุดการเยี่ยม ก่อนเสร็จสิ้นการเยี่ยมแต่ละ


ครั้งควรอธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวทราบถึงการ
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
หลักปฏิบัติหลังการเยี่ยมบ้าน
-การดูแลความสะอาดอุปกรณ์ของใช้
- การทำบันทึกรายงานการเยี่ยม
ประโยชน์ของการเขียนบันทึกรายงาน
1. เพื่อเป็นหลักฐานแสดงถึงผลของการดูแลช่วยเหลือ
2. ใช้เป็นเครื่องมือในการวางแผนการให้บริการอนามัย
ครอบครัว
3. บอกความต่อเนื่องและความก้าวหน้าของการดูแล
4. ใช้เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการศึกษาค้นคว้าวิจัย
5. ใช้เป็นหลักฐานทางกฎหมาย

You might also like