Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 50

การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

โดย
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
2

บทที่ 1
แนวคิดการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

สาระที่
1.1 แนวคิดนวัตกรรมทางการศึกษา
1.2 แนวคิดการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
1.2 ขอบข่ายการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
1.3 บทบาทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

สารสรุป
1) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เป็ นการวิจยั เพื่อหาคาตอบเกี่ยวกับ
คุณภาพและประสิ ทธิ ภาพต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรมที่พฒั นาขึ้นใหม่ เพื่อให้ได้สารสรุ ป ระบบ
กระบวนการวิธีการ แนวปฏิบตั ิและสิ่ งประดิษฐ์ที่จะขยายองค์ความรู ้ใหม่ทางการศึกษา ก่อนนา
นวัตกรรมไปใช้ในการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรี ยน นอกระบบโรงเรี ยน และการศึกษาตาม
อัธยาศัย
2) ขอบข่ายการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาครอบคลุมการวิจยั เชิงวิจยั
และพัฒนาตามขอบข่ายด้านสาระเทคโนโลยีการศึกษา ตามขอบข่ายด้านบริ บทการนาไปใช้ ตาม
การเปลี่ยนแปลงสารสรุ ป และตามความต้องการเฉพาะด้านเฉพาะกาล.

3) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษามีบทบาทในการทดลองหรื อทดสอบ


หลักการทฤษฎีเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาความรู ้ใหม่ การสื บค้นหาคาตอบของการวิจยั เพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้ในโครงการ การสร้างนวัตกรรมการศึกษาใหม่ การปรับปรุ งการศึกษา

วัตถุประสงค์
๑) หลังจากศึกษา เรื่ อง “แนวคิดการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา” แล้ว
นักศึกษาสามารถอธิบายลักษณะ และความหมาย การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทาง
การศึกษาได้ถูกต้อง
๒) หลังจากศึกษาเรื่ อง “ขอบข่ายการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา” แล้ว
นักศึกษาสามารถอธิบายขั้นตอนวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาประเภทต่างๆได้
ถูกต้อง
3

๓) หลังจากศึกษาเรื่ อง “บทบาทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา” แล้ว นักศึกษาสามารถอธิบาย


บทบาทการงวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาได้ถูกต้อง

1.1 แนวคิดการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเป็ นรู ปแบบงานวิจยั ที่มีความสาคัญสาหรับการพัฒนานวัตกรรม


และการปรับปรุ งการศึกษาให้มีคุณภาพสนองความต้องการจัดการศึกษา ผูท้ ี่อยูใ่ นวิชาชีพการศึกษา
จึงต้องพัฒนาความสามารถในการวิจยั ประเภทนี้ให้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้

1. ลักษณะการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา
การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา (Research and Development-R&D) ทางการศึกษา เกิดจาก
ความต้องการพัฒนานวัตกรรมในรู ปสารสรุ ป ระบบ กระบวนการวิธีการ แนวปฏิบตั ิและ
สิ่ งประดิษฐ์ที่จะขยายองค์ความรู ้ใหม่ทางการศึกษา ก่อนนานวัตกรรมไปใช้ในการจัดการศึกษาทั้ง
ในระบบโรงเรี ยน นอกระบบโรงเรี ยน และการศึกษาตามอัธยาศัย
การวิจยั ที่จะนับเป็ น R&D จะต้องเกี่ยวข้องกับ “ของใหม่” และต้องจัดอยูใ่ นลักษณะ
ดังต่อไปนี้ (NIFU Nordic Institute for Studies in Innovation, Research and Education, 2008)

1) การรวบรวมข้อมูลที่ดาเนินการโดยภาครัฐเพื่อบันทึกปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ทาง
ชีววิทยาและทางสังคมเพื่อประโยชน์สาธารณะที่รัฐมีทรัพยากรและมีอานาจใน ดาเนินการ
อาทิ การรังวัดแผนที่ ภูมิอากาศ สมุทรศาสตร์ และการสารวจดาวตก ฯลฯ การรวบรวมและ
วิเคราะห์ขอ้ มูลที่เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการ R&D เช่นการปลิวของฝุ่ น
กัมมันตภาพรังสี ของโรงงานปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การดาเนินการและการตีความข้อมูล การ
สารวจและบันทึกข้อมูลประชากร การรวบรวมและวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อการวิจยั ทาง
วิทยาศาสตร์ เป็ นถือเป็ น R&D แต่ การวิจัยเพื่อวัตถุประสงค์ ทั่วไป เช่ น การสุ่มตัวอย่ างผู้
ว่ างงาน หรื อการวิจัยการตลาด ไม่ เป็ น ถือเป็ น R&D
2) การศึกษาทฤษฎีใหม่หรื อตัวแปรใหม่ที่มีผลกระทบหรื อมีอิทธิ พลต่อการเจริ ญเติบโตของ
องค์กรในระดับต่างๆ เช่น ทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและระดับชาติ การพัฒนาแบบจาลอง
(Model) เพื่อพัฒนาหรื อปรับปรุ งนโยบายสาธารณะ ถือเป็ น R&D แต่ การวิจัยที่เกี่ยว
นโยบายหรื อการประเมินโครงการ การดาเนินงานของกระทรวง ทบวง กรม และ
สถาบันการศึกษาไม่ ถือเป็ น R&D
3) การวิจยั ของนักศึกษาปริ ญญาเอกที่มุ่งพัฒนาระบบ แบบจาลองใหม่ๆ ถือเป็ นส่ วนของ
R&D แต่ กิจกรรมการศึกษาและการฝึ กอบรมบุคลากรไม่ ถือเป็ น ถือเป็ น R&D
4

4) การบริ หารและการจัดการ ถือเป็ น R&D ถือเป็ น ถือเป็ นกิจกรรม R&D


5) กิจกรรมนิ เทศโครงการหรื อกิจกรรมใดๆ ถือเป็ น R&D หากเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการ
R&D
6) กิจกรรมหรื อโครงการวิจยั ของสถาบันหรื อองค์กรที่มีหน้าที่ดาเนินการ R&D ถือเป็ น R&D
กิจกรรมนอกนั้นไม่ถือเป็ น R&D เช่น การเก็บข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ หรื อทางเทคนิค การ
ทดสอบ การคบคุมคุณภาพ การวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ไม่เป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการหรื อ
กิจกรรม R&D
7) การทดสอบหรื อตรวจสอบทางการแพทย์ที่กระทาเป็ นปรกติ เช่น การตรวจเลือดไม่เป็ น
R&D แต่การตรวจเลือดเพื่อทดสอบยาเป็ น R&D

2. ความหมายของการวิจัยเชิ งวิจัยและพัฒนา
ในหน่วยที่ 1 นักศึกษาได้ศึกษาความหมายของการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนามาแล้ว โดยพอ
สรุ ปได้ดงั นี้
๑) เป็ นงานสร้างสรรค์ที่พฒั นาขึ้นอย่างมีระบบ เพื่อเพิ่มคลังแห่งองค์ความรู ้ที่ครอบคลุม
ความรู้ของมนุษย์ วัฒนธรรมและสังคม และการใช้คลังความรู ้เหล่านี้ เพื่อสร้างแนวทางใหม่ในการ
จาองค์ความรู้ไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์
๒) เป็ นกิจกรรมเสาะแสวงหาความรู ้ใหม่ที่ธุรกิจและอุตสาหกรรมใช้สาหรับค้นหาข้อ
ค้นพบใหม่ เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่หรื อกระบวนการใหม่ หรื อเพื่อการปรับปรุ ง
ผลิตภัณฑ์หรื อกระบวนการที่มีอยูแ่ ล้วให้ดีข้ ึน ถือเป็ นวิธีการที่ธุรกิจใช้ในการสร้างความเจริ ญด้วย
การสร้างผลิตภัณฑ์และกระบวนการใหม่เพื่อขยายงานให้กว้างขวางขึ้น
๒) เป็ นกิจกรรมการค้นคว้าเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ หรื อกระบวนการ หรื อเพื่อ
ปรับปรุ งผลิตภัณฑ์หรื อขั้นบทที่มีอยูแ่ ล้วให้ดีข้ ึน เพื่อพัฒนาองค์กรให้เติบโตขั้นด้วนการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์หรื อบริ การใหม่เพื่อปรับปรุ งหรื อขยายการดาเนิ นงาน
โดยสรุ ป การวิจัยเชิ งวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา เป็ นการวิจัยเพือ่ หาคาตอบ
เกีย่ วกับคุณภาพและประสิ ทธิภาพต้ นแบบชิ้นงานนวัตกรรมทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ใหม่ เพือ่ ให้ ได้ สารสรุ ป
ระบบ กระบวนการวิธีการ แนวปฏิบัติและสิ่ งประดิษฐ์ ทจี่ ะขยายองค์ ความรู้ ใหม่ ทางการศึกษา ก่อน
นานวัตกรรมไปใช้ ในการจัดการศึกษาทั้งในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และการศึกษาตาม
อัธยาศัย
5

1.2 ขอบข่ ายการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา


ขอบข่ายการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาครอบคลุมการวิจยั เชิงวิจยั และ
พัฒนาตาม การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาตามขอบข่ายด้านสาระเทคโนโลยีการศึกษา การวิจยั เชิงวิจยั
และพัฒนาตามขอบข่ายด้านบริ บทการนาไปใช้ วิจยั ตามการเปลี่ยนแปลงสารสรุ ป และการวิจยั เชิง
วิจยั และพัฒนาตามความต้องการเฉพาะด้านเฉพาะกาล

1. การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาตามขอบข่ ายด้ านสาระเทคโนโลยีการศึกษาและสื่ อสารการศึกษา

การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาตามขอบข่ายด้านสาระเทคโนโลยีการศึกษา เป็ นการวิจยั ขอบข่ายที่


เป็ นสากล(Universal scope of ET) ที่มีองค์กรและสมาคมรองรับ

มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิราชจาแนกสาระการศึกษา เป็ น 7 ขอบข่ายประกอบด้วยการ


จัดระบบ พฤติกรรม วิธีการ สื่ อสาร สภาพแวดล้อม การจัดการ และการประเมิน

ประเด็นวิจยั ที่นกั เทคโนโลยี ต้องทาการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาได้แก่ พัฒนาระบบ รู ปแบบ


พฤติกรรม เทคนิค วิธีการ กระบวนการสื่ อสาร การจัดสภาพแวดล้อม การจัดการ และการประเมิน
ที่เหมาะสมสาหรับการศึกษาในระดับต่างๆ
1) ด้านการจัดระบบ (Systems Approach)-ดาเนินการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับการ
พัฒนาระบบการศึกษาเป็ นการเฉพาะให้เหมาะสมกับเขตพื้นที่การศึกษา อาทิ
(1) การพัฒนาระบบการสอน (Instructional System Development) ใหม่ โดยต้องวิจยั
และพัฒนาระบบการเรี ยนการสอนทั้งระบบรวมที่ใช้โรงเรี ยน
(2) การออกแบบระบบการสอน (Instructional System Design) ใหม่ โดย พัฒนาทั้ง
ระบบรวมที่ใช้ได้ทุกสาระวิชา หรื อระบบเฉพาะที่ใช้ได้กบั เฉพาะกลุ่มสาระ
(3) การออกแบบการสอน (Instructional Design) โดยออกแบบการสอนใหม่ประจาแต่
ละกลุ่มสาระหรื อมาตรฐาน

2) ด้านพฤติกรรม (Behavior) - เป็ นการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนารู ปแบบพฤติกรรมหรื อการ


แสดงออกของครู และนักเรี ยนใหม่ที่เหมาะสมกับการนาระบบการสอนมาใช้ในสถานการณ์ต่างๆ
ประกอบด้วย
(1) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับการแสดงออก/ผลงานใหม่ของครู และนักเรี ยน
6

(2) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับทัศนคติใหม่ที่เป็ นบวกหรื อลบของครู และนักเรี ยน


(3) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับพฤติกรรมใหม่ตามขนบธรรมเนียมประเพณี และ
วัฒนธรรมของครู และนักเรี ยน และสมาชิกในชุมชน
ทั้งนี้วตั ถุประสงค์ของการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับพฤติกรรมก็เพื่อหาแบบจาลอง
หรื อระบบพฤติกรรมที่จะได้ผลการวิจยั ไปสร้างคุณลักษณะที่พึงประสงค์ประจาตัวประชาชนตาม
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ อาทิ
SIFOS Model สาหรับกากับพฤติกรรมครู ก่อนเข้าห้องเรี ยน คือ ยืนนิ่ง สู ดลมหายใจให้เต็ม
ปอด ตั้งสมาธิ มุ่งมัน่ และยิม้ (S-Standing, I-Inhaling, F-Focusing, O-On-going, and S-Smiling)
โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
MAPS Model สาหรับพัฒนานักเรี ยนให้มีหวั ใจดนตรี ศิลปะ เล่นกิจกรรม และมีจิต
วิญญาณ โดย ศ.สุ มน อมรวิวฒั น์

3) ด้านวิธีการและเทคนิค (Methods and Techniques) เป็ นการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา


วิธีการและเทคนิคใหม่ ที่ยงั ไม่มีผพู้ ฒั นา อาทิ
(1) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาวิธีการเรี ยนการสอนใหม่ในกลุ่มสาระหรื อมาตรฐานต่างๆ
เช่น วิธีการนาเข้าบทเรี ยน วิธีการเร้าความสนใจผูเ้ รี ยน ฯลฯ
(2) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเทคนิคใหม่ที่ประกอบเป็ นวิธีการ เช่น การนาเข้าสู่ บทเรี ยน
ด้วยการเล่านิทาน ฯลฯ

4) ด้านการสื่ อสาร (Communication) เป็ นการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเกี่ยวกับแบบจาลอง


การสื่ อสารใหม่ ด้วยการกาหนดองค์ประกอบของกระบวนการสื่ อสารที่แตกต่างจากที่มีผกู ้ าหนดไว้
แล้ว โดยไม่จากัดเพียงแค่ SMCR (ได้แก่ ผูส้ ่ งสาร (Sender) คือครู ตัวสาร (Message) คือเนื้ อหา
สาระและประสบการณ์ ผ่านสื่ อและช่องทางทาง (Media and Channel)ไปยังผูร้ ับสาร (นักเรี ยน)
เท่านั้น) เพื่อให้ได้แบบจาลองการสื่ อสารที่ดีกว่าสาหรับการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผูร้ ับสารให้
เป็ นไปตามที่ผสู ้ ่ งสารคาดหวัง

2. การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาตามขอบข่ ายภารกิจการศึกษา

การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาตามขอบข่ายด้านภารกิจที่จะนานวัตกรรมการศึกษาไปใช้


(Applications by Mission) ได้แก่ การบริ หาร วิชาการ และบริ การ

ประเด็นที่นกั การศึกษาต้องวิจยั คือ


7

1) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาแบบจาลองหรื อระบบการนา การศึกษา

การศึกษา ในการบริ หารการศึกษา ระดับต่างๆ

2) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาแบบจาลองหรื อระบบการนา การศึกษา

การศึกษาในการการเพิม่ คุณภาพการพัฒนาหลักสู ตร การเรี ยนการสอน และการประเมิน

3) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาแบบจาลองหรื อระบบการนา การศึกษา

การศึกษาเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพงานบริ การการศึกษา

3. การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาตามขอบข่ ายด้ านบริบทการศึกษา

ตามขอบข่ายด้านบริ บท การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนามุ่งการพัฒนาแบบจาลองหรื อระบบการ


นานวัตกรรมการศึกษาไปใช้ ในการศึกษาในโรงเรี ยน การศึกษานอกโรงเรี ยน การเผยแพร่
ฝึ กอบรม และการศึกษาทางไกล

ประเด็นที่นกั การศึกษาต้องวิจยั คือ การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาระบบการนานวัตกรรม


การศึกษาสาหรับการศึกษาในโรงเรี ยน การศึกษานอกโรงเรี ยน การเผยแพร่ ฝึ กอบรม และ
การศึกษาทางไกล

4. การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาเพือ่ แสวงหาการเปลีย่ นแปลงสารสรุ ปทางการศึกษา

มนุษย์ตอ้ งแสวงหาการเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ปัญหาหรื อปรับปรุ งระบบที่มีอยูแ่ ล้วให้ดี การวิจยั


เชิงวิจยั และพัฒนาจึงสามารถนามาใช้เพื่อแสดงหาการเปลี่ยนแปลงสารสรุ ปทางการศึกษา และ
ตรวจสอบสารสรุ ปก่อนที่จะนาไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง

สารสรุ ปสาคัญที่ตอ้ งใช้การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนามาใช้ อาจอยูใ่ นรู ปต่อไปนี้

1) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาวิธีการจัดการศึกษาในระบบโรงเรี ยน (Formal Education) จากที่มุ่งให้


ประกาศนียบัตรและปริ ญญาจากการเรี ยนในห้องเรี ยน เป็ นปริ ญญาในระบบโรงเรี ยนไปสู่ การให้
ความสาคัญการศึกษาตามอัธยาศัย โดยการประเมินและเทียบโอนประสบการณ์จากกรดาเนินชีวติ
และการประกอบอาชีพเป็ นหน่วยกิตในหลักสู ตรแบบอิงประสบการณ์ เพื่อนาไปสู่ ปริ ญญา
การศึกษาตามอัธยาศัย
8

2) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนารู ปแบบการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้ความรู้และประสบการณ์


แก่ชาวนา ชาวสวนและผูป้ ระกอบการเพื่อให้รู้เท่าทันเล่ห์เหลี่ยมพ่อค้าคนกลาง นักธุ รกิจ และ
นักการเมืองที่มุ่งเอารัดเอาเปรี ยบราคาและแรงงาน

4. การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาการศึกษาตามความต้ องการเฉพาะ

เพื่อให้ตามทันการเปลี่ยนแปลงการศึกษา และนาไปใช้ในการพัฒนาการศึกษาและการ
ฝึ กอบรมให้มีประสิ ทธิภาพ จาเป็ นต้องมีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ โดยใช้วจิ ยั เชิงวิจยั และพัฒนา
เป็ นเครื่ องมือ

4.1 วิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาความต้ องการเฉพาะด้ านทางการศึกษา ได้แก่

1) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวกับช่องทาง/โครงสร้างพื้นฐาน

2) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมด้านประเภท ระบบและกระบวนการผลิตและการใช้


สื่ อ วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาระบบการพัฒนาบุคลากรการผลิตและการใช้สื่อเดี่ยวสื่ อประสม

3) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนารู ปแบบพฤติกรรมผูเ้ รี ยนในการใช้สื่อการศึกษา การทางานเป็ น


ทีม การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

4) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาต้นแบบชิ้นงาน ในด้านการระดมทุนและการจัดตั้งกองทุน และ


การจัดทาโครงการจัดตั้งหรื อพัฒนาองค์กร/หน่วยงานทาง เทคโนโลยีการศึกษา

5) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาการจัดหาและพัฒนาช่องทางการสื่ อสาร เพื่อถ่ายทอดความรู ้ไป


ยังผูเ้ รี ยนตามประเภทของสื่ อได้แก่ สื่ อโสตทัศน์ สื่ อสารมวลชน สื่ อโทรคมนาคมและ
อิเล็กทรอนิกส์ และสื่ อพื้นบ้านและชุมชน

6) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาระบบการผลิตนวัตกรรม และปรับปรุ งการศึกษา


การศึกษา และสื่ อการเรี ยนการสอนตามประเภทของสื่ อและระดับผูเ้ รี ยน
7) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาระบบการพัฒนาบุคลากรด้านผูผ้ ลิตและผูใ้ ช้นวัตกรรมตาม
ประเภทและระดับการศึกษาที่เน้นการเป็ นนักออกแบบการผลิตสื่ อและการฝึ กอบรมให้ผเู้ รี ยน
สามารถใช้สื่อการสอนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
8) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาระบบการพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีความพร้อมในการนานวัตกรรมไปใช้
9

การศึกษาหาความรู้ดว้ ยการพัฒนาพฤติกรรมที่เหมาะสม พัฒนาเทคนิ คและวิธีการเรี ยน ในสาม


รู ปแบบคือ
(1) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาวิธีการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเองเพื่อให้มีทกั ษะการ
กากับตนเอง (Self directed learning-SDL)
(2) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาวิธีการหรื อกระบวนการเรี ยนจากกลุ่มที่มีเพื่อนกากับ
(Peer directed learning-PDL)
(3) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาวิธีการหรื อกระบวนการการเรี ยนกับครู ดว้ ยเป็ นผูร้ ับฟัง
ที่ดีจากการสอนของครู (Teacher directed learning-TDL) โดยมีการพัฒนาระบบการเรี ยน
รายบุคคล เป็ นกลุ่ม และกลุ่มใหญ่

9) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาระบบการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินนวัตกรรม ที่


ครอบคลุมสารสรุ ป ระเบียบ ระบบ กระบวนการ วิธีการ แนวปฏิบตั ิและสิ่ งประดิษฐ์ที่ใช้
กระบวนการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา ที่เน้นการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินการศึกษา
10) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาระบบการจัดตั้ง บริ หาร และประเมินกองทุน ระบบการจัดหา
แหล่งกองทุน การจัดสรร การกากับดูแล และการประเมินประสิ ทธิภาพและผลกระทบของกองทุน
ต่อ การศึกษา
11) วิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาการจัดตั้งหน่วยงานกลาง ในด้านระบบ รู ปแบบ การวางแผน
การจัดองค์กร การกากับดูแล การสื่ อสาร ประสานงาน และความร่ วมมือ การจัดหา
และจัดสรรทรัพยากร การรายงาน และการประเมินการดาเนินงานขององค์กร
4.2 การวิจัยความต้ องการเฉพาะกาลทางการศึกษา เป็ นวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อสร้าง
ระบบ แบบจาลอง หรื อโครงการปฏิรูปการศึกษา ระบบการจัดการ การจัดการเรี ยนการสอน เป็ น
ต้น

โดยสรุ ป ขอบข่ายการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาครอบคลุมการวิจยั เชิง


วิจยั และพัฒนาตามขอบข่ายด้านสาระเทคโนโลยีการศึกษา การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาตามขอบข่าย
ด้านบริ บทการนาไปใช้ วิจยั ตามการเปลี่ยนแปลงสารสรุ ป และการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาตาม
ความต้องการเฉพาะด้านเฉพาะกาล.
10

1.3 บทบาทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา


การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษามีบทบาท 4 ประการ คือ

1) บทบาทในการทดลองหรื อทดสอบหลักการทฤษฎีเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาความรู ้ใหม่


เกี่ยวกับพื้นฐานของปรากฏการณ์ ข้อเท็จจริ งสังเกตได้ โดยมิได้มีเป้ าหมายในการ
ประยุกต์ใช้ในอนาคต
2) การทดลองหรื อทดสอบหลักการทฤษฎีเพื่อนาไปสู่ การพัฒนาความรู ้ใหม่บทบาทใน
การสื บค้นหาคาตอบของการวิจยั เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในโครงการใดโครงการหนึ่งที่
มีการตั้งจุดมุ่งหมายไว้เป็ นการเฉพาะ
3) บทบาทในการออกแบบ พัฒนาและสร้างนวัตกรรมการศึกษาใหม่เพื่อพัฒนาต้นแบบ
ชิ้นงานนวัตกรรม (Innovative Prototype) สารสรุ ป ระเบียบ ระบบ กระบวนการ
วิธีการและสิ่ งประดิษฐ์ เพื่อนามาใช้ทางการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น
4) บทบาทในการออกแบบ พัฒนาและปรับปรุ งการศึกษาที่ใช้มาระยะหนึ่งหรื อที่มีมาแต่
เดิมที่เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการตรวจสอบ อนุรักษ์และยืน่ ยันเทคนิ คและทักษะ
ความชานาญในแต่ละขอบข่ายของ การศึกษา เพือ่ รักษา อนุรักษ์ พัฒนา ปรับปรุ งและ
เผยแพร่ เทคโนโลยี ที่มีอยูแ่ ล้วพัฒนาขึ้นไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะมี เทคโนโลยี ที่ดีกว่ามา
ทดแทน

โดยสรุ ป การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษามีบทบาทในการทดลองหรือ
ทดสอบหลักการทฤษฎีเพือ่ นาไปสู่ การพัฒนาความรู้ ใหม่ การสื บค้ นหาคาตอบของการวิจัยเพือ่
นาไปประยุกต์ ใช้ ในโครงการ การออกแบบ พัฒนาและการสร้ างนวัตกรรมการศึกษาใหม่ และ
ปรับปรุ งการศึกษา การตรวจสอบ อนุรักษ์ และยืน่ ยันเทคนิคและทักษะความชานาญในแต่ ละ
ขอบข่ ายของ การศึกษา
11

บทที่ 2
ประเภทการวิจยั เชิงวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

สาระที่
2.1 การจาแนกประเภทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา
2.2 ประเภทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

สารสรุ ป
1) การจาแนกประเภท การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา จาแนกได้ตามระดับการวิจยั และการนา
ผลการวิจยั ไปใช้
2) ประเภท การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา ที่พบกันมากได้แก่ การวิจยั เพื่อทดลองหรื อ
ทดสอบหลักการทฤษฎีเพื่อพัฒนาความรู ้ใหม่ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนา
นวัตกรรม และเพื่อปรับปรุ งเทคโนโลยีการศึกษา

วัตถุประสงค์
1) หลังจากศึกษา เรื่ อง “การจาแนกประเภทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทาง
การศึกษา” แล้ว นักศึกษาสามารถอธิบายแนวทางการจาแนกประเภทการวิจยั เชิงวิจยั
และพัฒนาได้ถูกต้อง
2) หลังจากศึกษาเรื่ อง “ประเภทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา” แล้ว
นักศึกษาสามารถอธิบายสารสรุ ปและคุณลักษณะการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาประเภท
ต่างๆได้ถูกต้อง
12

2.1 การจาแนกประเภทการวิจัยและพัฒนาการศึกษา

การจาแนกประเภท การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา จาแนกได้ตามระดับการวิจยั และตาม


ลักษณะการนาผลการวิจยั ไปใช้
การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา ทางเทคโนโลยีการศึกษา ก็อาจจาแนกประเภท R&D ในแนว
เดียวกัน

1. การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาจาแนกประเภทตามระดับการวิจัย
ประเภท การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา ตามระดับการวัยจาแนกเป็ น 3 ระดับ ได้แก่ การวิจยั
เชิงวิจยั และพัฒนา พื้นฐาน การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อนาไปประยุกต์และ การวิจยั เชิงวิจยั และ
พัฒนา เพื่อพัฒนาการทดลอง
1.1 การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาพืน้ ฐาน (Basic R&D) เป็ นการวิจยั ทดลองหรื อทดสอบ
หลักการและทฤษฎีใหม่ เพื่อพัฒนาองค์ความรู ้ใหม่ทางการศึกษา เพื่อเป็ นพื้นฐานอธิ บาย
ปรากฏการณ์ ข้อเท็จจริ งสังเกตได้ โดยมิได้มีเป้ าหมายในการประยุกต์ใช้ในอนาคต
ตัวอย่ าง
-การวิจยั เพื่อหาความสัมพันธ์ของระยะทางและขนาดตัวอักษรที่ปรากฏบนกระดานดา ป้ าย
นิเทศ หรื อจอภาพ
-การวิจยั เพื่อกาหนดรู ปแบบพฤติกรรมสาหรับการทางานเป็ นกลุ่มของนักเรี ยน
-การวิจยั เพื่อกาหนดองค์ประกอบการเรี ยนการสอนแบบภควันตภาพ(Ubiquitous
Learning)

1.2 การวิจัยเชิ งวิจัยและพัฒนาเพือ่ นาไปประยุกต์ (Applied R&D) เป็ นการวิจยั หาคาตอบ


จากการทดลองหรื อทดสอบหลักการและทฤษฎีเพื่อให้ได้องค์ความรู ้ใหม่ที่จะนาไป
ประยุกต์ในโครงการที่จะพัฒนาขึ้น
ตัวอย่ าง
-การจัดทาโครงการสร้างศูนย์ความรู้ชุมชน ต้องทาการวิจยั เพื่อหาคาตอบที่จาเป็ น
สาหรับดาเนินโครงการที่มีประสิ ทธิภาพ อาทิ (1) สัดส่ วนและขนาดห้องสาหรับเก็บชุด
การเรี ยนการสอน คูหารายบุคคล (Individual Booth) และจานวนหิ้งหรื อชั้นหนังสื อหรื อ
เอกสารที่จาเป็ นต่อผูใ้ ช้ (2) จานวนหนังสื อ ชุดการเรี ยนการสอน สื่ อเดี่ยว และอุปกรณ์ที่จะ
เป็ นสาหรับให้บริ การตามสัดส่ วนกับจานวนนักเรี ยน (3) สภาพแวดล้อมทางกายภาพและ
การจัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการศึกษาด้วยตนเอง เป็ นต้น
13

1.3 การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา เพือ่ พัฒนาการทดลอง (Experimental R&D) เป็ นการวิจยั


เพื่อการออกแบบ พัฒนาและสร้างหรื อปรับปรุ งนวัตกรรมการศึกษาใหม่เพื่อให้ได้ตน้ แบบชิ้นงาน
นวัตกรรม (Innovative Prototype) สารสรุ ป ระเบียบ ระบบ กระบวนการ วิธีการและสิ่ งประดิษฐ์
เพื่อนามาใช้ทางการศึกษาให้มีประสิ ทธิ ภาพสู งขึ้น

2. การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาจาแนกประเภทตามการนาผลไปใช้
เมื่อจาแนกประเภทตามลักษณะการนาผลไปใช้ Darius Mahdjoubi นักวิจยั แห่ง IC²
Institute, Austin, Texas จาแนกการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา ออกเป็ น 4 ประเภท คือ R&Dใน
ฐานะกิจกรรม กระบวนทัศน์นวัตกรรม เครื่ องมือร่ วมในการออกแบบและพัฒนา และ
ในฐานะแหล่งความคิด
2.1 การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาในฐานะชุ ดกิจกรรม (R&D as a Set of Activities) ตามสาร
สรุ ปนี้ R&D เป็ นวิธีการสื บหาความรู ้ใหม่โดยผ่านกระบวนการที่เรี ยกว่า ชุดกิจกรรม (Set of
Activities) สามขั้นตอน คือ (1) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาพื้นฐาน (2) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา
นวัตกรรมใหม่ (3) การวิจยั ประยุกต์เพื่อพัฒนานวัตกรรมใหม่ และ (4) การผลิตสิ นค้าและ
ผลิตภัณฑ์เพื่อจาหน่ายหรื อเผยแพร่ เป็ นจานวนมาก

ภาพที่ 1 ชุดกิจกรรมการวิจยั และพัฒนาเพื่อนาไปสู่ การเผยแพร่ จานวนมาก


ที่มา: Darius Mahdjoubi, IC2 Institute, Austin, Texas.

2.2 การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา ในฐานะกระบวนทัศน์ นวัตกรรม (R&D as a Paradigm of


Innovation) เป็ น การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา เพื่อสร้างนวัตกรรมตามกระบวนทัศน์ที่ได้พฒั นาและ
ปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย ขึ้นอยูก่ บั ความเจริ ญทางวิทยาการDr. Darius Mahdjoubi จาแนกกระบวน
ทัศน์นวัตกรรมออกเป็ น 5 กระบวนทัศน์จากอดีตถึงปัจจุบนั คือ
2.2.1. ยุคประดิษฐ์ แบบลองผิดลองถูก (Trial and Error-Semi-Systematic) เป็ นยุด
ประดิษฐ์ เครื่องจักร์ ขนาดใหญ่ อาทิ เครื่องจักรไอนา้
14

2.2.2 ยุคประดิษฐ์ แบบเป็ นระบบ (Systematic invention): เป็ นยุคที่มีการจัดระบบในการ


ประดิษฐ์ ได้แก่ การประดิษฐ์ไฟฟ้ าและหลอดไฟ
2.2.3 ยุคประดิษฐ์ โดยใช้ วจิ ัยและพัฒนา (Research and Development - R&D): เป็ นยุดที่
การประดิษฐ์คิดค้นต้องผ่านกระบวนการวิจยั เต็มรู ปแบบ โดยมีการทดสอบทดลองก่อนนาไปใช้
จริ ง อาทิ การพัฒนาระเบิดปรมาณู จรวด และคอมพิวเตอร์
2.2.4 ยุคประดิษฐ์ เทคโนโลยีและพัฒนาการตลาด (Technology and Market
Development – T&C): เป็ นยุคพัฒนาเทคโนโลยีและนามาใช้ทางการค้าและมีการพัฒนาการตลาด
อย่างเป็ นระบบ ได้แก่ การประดิษฐ์คอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคล

2.2.5 ยุคประดิษฐ์ เทคโนโลยีทผี่ ้ ใู ช้ เป็ นผู้สร้ างเนือ้ หาสาระเอง (User-Created Contents):


เป็ นยุดที่เกิดโปรแกรมสาธารณะที่ผใู ้ ช้สามารถนามาใช้ได้โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าลิขสิ ทธิ์ ได้แก่ Linux,
Wikipedia, You-Tube และ Face-book.
จากการจาแนกการพัฒนานวัตกรรมตามกระบวนทัศน์ท้ งั 5 ยุค จะเห็นว่า การวิจยั เชิงวิจยั
และพัฒนาเป็ นกระบวนทัศน์หนึ่งที่เกิดขึ้นหลังจากการปฏิวตั ิทางอุดสาหกรรม ดังนั้นการพัฒนา
นวัตกรรมจึงเกิดได้หลายระบบหรื อกระบวนทัศน์ ทุกระบบล้วนได้รับอิทธิพลจากการพัฒนา
นวัตกรรมที่เกิดขึ้นก่อนและนวัตกรรมที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน

2.3 การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาในฐานะเครื่องมือร่ วมการออกแบบและการพัฒนา


การเป็ นเครื่ องเมื่อร่ วมในการออกแบบและพัฒนา (R&D as a Counterpart for Design and
Development: D&D) เป็ นการนา R&D มาทาให้การออกแบบ (Design) และการพัฒนา
(Development) มีคุณภาพยิง่ ขึ้น เพราะ R&D มีข้ นั ตอนตรวจสอบคุณภาพของการออกแบบและ
พัฒนาที่มีประสิ ทธิ ภาพมากกว่าการออกแบบและพัฒนาเพียงอย่างเดียว
การเปรี ยบเทียบ R&D กับ D&D อาจพิจารณาตัวอย่างดังต่อไปนี้ (Darius Mahdjoubi,
2008) คือ การประดิษฐ์ระเบิดปรมาณู เครื่ องบิน และหลอดไฟฟ้ า
1) ระเบิดปรมาณู เป็ นตัวอย่างที่ดีที่สุดของสิ่ งประดิษฐ์ที่ใช้ R&D โดยไอสไตน์ (Albert
Einstein) ทาการกวิจยั พื้นฐานก่อน เพื่อหาความจริ งเกี่ยวกับปฏิกริ ยาลูกโซ่ โดยไม่นึก
ถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการนาผลการวิจยั ไปใช้ คือ การพัฒนาระเบิดปรมาณู นัน่ คือ ทา
การวิจยั ก่อนแล้วนาผลการวิจยั มาพัฒนาเป็ นนวัตกรรม
15

ภาพที่ 2 ไอน์สไตน์ผวู ้ จิ ยั ปฏิกิริยาลูกโซ่ที่นาไปสู่การพัฒนาระเบิดปรมาณุ


2) การประดิษฐ์เครื่ องบิน เป็ นตัวอย่างที่ดีของการออกแบบและพัฒนา พี่นอ้ งตระกูลไรท์
(The Wright Brothers)ตั้งเป้ าหมายที่จะสร้างอากาศยานที่หนักกว่าอากาศตั้งแต่วนั แรก
ที่เกิดความคิดประดิษฐ์เครื่ องบิน พวกเขาได้ออกแบบและพัฒนาจนสามารถประดิษฐ์
เครื่ องบินที่บินได้จริ งๆ

ภาพที่ 3 เครื่ องบินปี กคู่ลาแรกของพี่นอ้ งตระกูลไรท์

3) การประดิษฐ์หลอดไฟฟ้ าเป็ นอีกตัวอย่างของการออกแบบและพัฒนา เมื่อเอดิสัน


(Thomas Alva Edison) เกิดความคิดที่จะประดิษฐ์แหล่งทาความสว่างจากไฟฟ้ า
(หลอดไฟ) ขึ้นเพื่อแทนแหล่งสว่างจากน้ ามัน (ตะเกียง) จนประสบความสาเร็ จ

ภาพที่ 4โทมัส เอดิสันกับหลอดไฟดวงแรก


16

จะเห็นได้วา่ D&D มักจะเริ่ มจากความคิดที่จะสร้างผลิตภัณฑ์ข้ ึนมาหนึ่งชิ้น แล้ว


ดาเนินการออกแบบและพัฒนาเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์น้ นั ขึ้นมา เช่น การสร้างเครื่ องวัดความ
สู งของท้องฟ้ า หรื อความลึกของทะเล เป็ นต้น.

2.4 การวิจัยและพัฒนาในฐานะแหล่งจุดประกายความคิดพัฒนานวัตกรรม
การเกิดธุ รกิจมักจะมีรูปแบบการพัฒนาจากจุดเริ่ มคิดที่มีที่มาจากหลายแหล่ง คือเป็ นแหล่ง
จุดประกายความคิด (R&D as a Source of Idea) ที่นาไปสู่ การสร้างนวัตกรรมโดยพอจะจาแนก
แหล่งจุดประกายความคิดในการพัฒนานวัตกรรมได้ 12 ความคิดดังนี้
1) การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา (Research and Development-R&D)
2) การประดิษฐ์และจดสิ ทธิบตั ร (Invention and Patent) เป็ นการพัฒนาแนวคิดการ
ประดิษฐ์นวัตกรรมใหม่เพื่อนาไปสู่ การจดสิ ทธิ บตั ร
3) การออกแบบและการพัฒนา (Design and Development-D&D) แบบเดินหน้า (Forward
Design) เป็ นความคิดการออกแบบและพัฒนา
4) การออกแบบและพัฒนาแบบย้อนรอย (Reverse Design) ด้วยการคัดลอก เลียนแบบและ
ปรับเปลี่ยน เช่น นโยบายของบริ ษทั Matsushita ที่ผลิตสิ นค้ายีห่ อ้ National, Panasonic ที่ไม่มี
นโยบายคิดค้นหรื อประดิษฐ์นวัตกรรมเอง แต่จะนาสิ่ งที่มีผปู ้ ระดิษฐ์แล้ว มาวิจยั และพัฒนาให้ดีข้ ึน
5) การวิจยั ตลาด (Extensive Market Research) เพื่อเสาะแสวงหาลู่ทางใหม่ของการดาเนิน
ธุ รกิจ หรื อการเปลี่ยนแปลงสังคมและประชากรเป็ นต้น
6) การรับผลย้อนกลับ (Feedbacks) เป็ นการสารวจความคิดเห็นและความพึงพอใจจาก
ลูกค้า พนักงาน ผูข้ ายส่ ง ผูข้ ายปลัก เพื่อค้นหาความต้องการของผูบ้ ริ โภคที่ฝังลึกหรื อยังไม่
แสดงออก
7) ประสบการณ์เดิม (Previous Experience) ได้แก่ประสบการณ์การทางาน การศึกษา งาน
อดิเรกของผูป้ ระกอบการ
1. Incep8) ความคิดสร้างสรรค์รายบุคคล กลุ่มหรื อองค์กร (Individual, Group and Organizational
Creativity) ได้แก่ ความคิดริ เริ่ มสิ่ งใหม่ อาทิ การคิดแบบแยบยล แผนผังสารสรุ ป การอุปมาอุปมัย
และการระดมความคิด
9) ความคิดเชิงสัญลักษณ์ (Symbiotic Ideas) ได้แก่การรวมความคิดสองอย่างหรื อมากกว่า
เพื่อพัฒนาสารสรุ ปใหม่
10) แรงจรรโลงใจจากธรรมชาติ (Innovation Inspired by Nature) เน้นความคิดธุ รกิจใหม่
ด้วยการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น สิ นค้าทางชี วภาพ อาหารและยา
11) กฎระเบียนใหม่ (New regulations) ได้แก่ การนากฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้องมาสร้างดล
บันดาลใจสร้างสารสรุ ปใหม่
17

12. ความคิดบังเอิญ (Eureka and Serendipity) เป็ นความคิดนวัตกรรมที่เกิดจากเหตุการณ์ที่


ไม่คาดฝันหรื อเทวดาบอก
จะเห็นว่า R&D เป็ นแหล่งความคิดหนึ่งก็จริ ง แต่เป็ นแหล่งความคิดที่สนับสนุนและ
ส่ งเสริ มสารสรุ ปอื่นที่กล่าวมาข้างต้น
1.
โดยสรุ ป การจาแนกประเภท การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา จาแนก (๑) ตามระดับการวิจัยที่
ครอบคลุม 3 ระดับ ได้ แก่ การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา พืน้ ฐาน การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาเพือ่ นาไป
ประยุกต์ และ การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา เพือ่ พัฒนาการทดลอง และ (๒) จาแนกตามลักษณะการ
นาผลการวิจัยไปใช้ 4 ประเภท คือ R&Dในฐานะกิจกรรม กระบวนทัศน์ นวัตกรรม เครื่องมือร่ วม
ในการออกแบบและพัฒนา และในฐานะแหล่งความคิด

2.2 ประเภทการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

ประเภทการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา ที่พบกันมากได้แก่ การวิจยั เพื่อทดลองหรื อทดสอบ


หลักการทฤษฎีเพื่อพัฒนาความรู ้ใหม่ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ เพื่อพัฒนานวัตกรรม และเพื่อปรับปรุ ง
เทคโนโลยีการศึกษา

1. การวิจัยเพือ่ พัฒนาและประยุกต์ นวัตกรรม


การวิจยั เพื่อพัฒนานวัตกรรม เป็ นการศึกษาหาข้อมูล วิเคราะห์และสรุ ปคาตอบต่อคาถาม
วิจยั เพื่อนามาใช้ในการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม ด้วยการศึกษาองค์ความรู้จากการทบทวน
วรรณกรรม การสัมภาษณ์ ผูเ้ ชี่ยวชาญ และการดูงาน ศึกษาความต้องการ ทาการกาหนดกรอบ
แนวคิด (Conceptual framework) แล้วทาการออกแบบและพัฒนาตามกรอบแนวคิดที่ผา่ นการ
กลัน่ กรองแล้ง
การออกแบบ เป็ นการกาหนดรายละเอียดของสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งอย่างมีเหตุผลเป็ นขั้นตอน
สร้างสรรค์ (สวยงาม และใช้งานได้) และมีคุณภาพเพื่อให้สิ่งนั้นสามารถแก้ปัญหาหรื อใช้งานได้
ตามวัตถุประสงค์ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ขณะเดียวกันก็สร้างสุ นทรี ยภาพเพื่อจรรโลงผูใ้ ช้
ส่ วนการพัฒนาหมายถึง การทาให้เกิดขึ้นใหม่ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Development
แปลว่า การทาสิ่ งไม่มีอยูใ่ ห้เกิดมีข้ ึน ถือเป็ นความหมายที่หนึ่งของคาว่า การพัฒนาในภาษาไทย
กล่าวคือ เป็ นการนาผลจากการออกแบบ มาสร้างสิ่ งใหม่ให้เป็ นรู ปร่ างตามแบบที่ได้วางแผนไว้แล้ว
เมื่อนาการออกแบบและพัฒนา (D&D) มาดาเนินการอย่างต่อเนื่องกัน โดยใช้ผลของ
การศึกษาองค์ความรู ้และการศึกษาความต้องการ เป็ นแนวทาง ก็จะได้นวัตกรรมที่พร้อมจะนาไปสู่
18

การวิจยั หาประสิ ทธิภาพตามขั้นตอนการทดสอบประสิ ทธิ ภาพ ด้วยการทดลองใช้เบื้องต้น (Tryout)


หรื อทดลองใช้จริ ง (Trial Run) ทาการปรับปรุ งเพื่อให้นวัตกรรมมีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ที่
กาหนดไว้
หลังจากทาการทดลองหรื อทดสอบนวัตกรรมและประยุกต์นวัตกรรม ปรับปรุ งและ
เผยแพร่ นวัตกรรมให้แพร่ หลาย
หลังจากการเผยแพร่ จนนวัตกรรมเป็ นที่ยอมรับและใช้กนั แพร่ หลายแล้ว นวัตกรรมก็จะ
สิ้ นสภาพความเป็ นนวัตกรรมและกลายเป็ นเทคโนโลยีการศึกษาต่อไป

2. การวิจัยเพือ่ ปรับปรุ ง เทคโนโลยีการศึกษา


เทคโนโลยีการศึกษาใดๆ เมื่อนามาใช้ระยะเวลาหนึ่งอาจเสื่ อมประสิ ทธิ ภาพหรื อหย่อน
ประสิ ทธิภาพด้วยเหตุผลใดก็ตามจาเป็ นที่จะต้องนามาปรับปรุ งให้ดีข้ ึน การปรับปรุ งหมายถึงการ
ทาให้ดีข้ ึน ถือเป็ นความหมายที่สองของการพัฒนาในบริ บทภาษาไทย
การวิจยั เพื่อปรับปรุ ง เทคโนโลยีการศึกษา เป็ นนาเทคโนโลยีน้ นั มา “ปัดฝุ่ น” เพื่อ
ปรับเปลี่ยนและปรับปรุ งองค์ประกอบและขั้นตอนให้ดีข้ ึนด้วยการวิเคราะห์ระบบ สังเคราะห์ และ
สร้างแบบจาลอง แล้วนานวัตกรรมที่ได้ปรับปรุ งแล้ว ไปผ่านกระบวนการเหมือนกับการออกแบบ
และพัฒนานวัตกรรมขึ้นมาใหม่ ด้วยการศึกษาองค์ความรู้จากการทบทวนวรรณกรรมเพื่อให้ได้
ข้อมูลที่ทนั สมัย ทาการสัมภาษณ์ ผูเ้ ชี่ยวชาญและการดูงาน ทาการศึกษาความต้องการ ทาการ
กาหนดกรอบแนวคิดนวัตกรรมที่จะปรับปรุ ง แล้วทาการออกแบบและพัฒนาตามกรอบแนวคิดที่
ผ่านการกลัน่ กรองแล้ว
รายละเอียดขั้นตอนการพัฒนาและปรับปรุ งนวัตกรรมโดยใช้กระบวนการ R&D จะได้
นาเสนอโดยละเอียดในบทที่ 3
โดยสรุ ปประเภท การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา ทีพ่ บกันมากได้ แก่ การวิจัยเพือ่ ทดลองหรือ
ทดสอบหลักการทฤษฎีเพือ่ พัฒนาความรู้ ใหม่ เพือ่ นาไปประยุกต์ ใช้ เพือ่ พัฒนานวัตกรรม และเพือ่
ปรับปรุ งเทคโนโลยีการศึกษา
19

บทที่ 3
ขั้นตอนและโครงสร้ างการวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา

สาระที่
3.1 ขั้นตอนการวิจยั และพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมการศึกษา
3.2 ขั้นตอนการวิจยั และพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยนการศึกษา
3.3 โครงสร้างรายงานการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา
สารสรุ ป
1) ขั้นตอนการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อพัฒนานวัตกรรมใหม่ มี 7 ขั้นตอน ได้แก่ (1)
ศึกษาองค์ความรู ้เกี่ยวกับนวัตกรรม (2) สารวจความต้องการเกี่ยวกับนวัตกรรม (3) ร่ างกรอบ
แนวคิดเกี่ยวกับนวัตกรรม (4) สอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ (5) ยกร่ างต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม
(6) ทดสอบประสิ ทธิ ภาพและหรื อรับรองต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม และ (7) ปรับปรุ งและเขียน
รายงานการวิจยั
2) ขั้นตอนการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยนการศึกษา มี 9 ขั้นตอน ได้แก่ (1)
สารวจสถานภาพการศึกษา (2) วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีการศึกษา (3) ศึกษาองค์ความรู ้ใหม่
เกี่ยวกับการศึกษา (4) สารวจปัญหาการศึกษา (5) พัฒนากรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนการศึกษา (6)
สอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ (7) ยกร่ างต้นแบบชิ้นงานการศึกษา (8) ทดสอบประสิ ทธิภาพและ
หรื อรับรองต้นแบบชิ้นงานการศึกษา และ (9) ปรับปรุ งและเขียนรายงานการวิจยั การปรับเปลี่ยน
การศึกษา
3) โครงสร้างรายงานการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเป็ นรายงาน 6 บท ประกอบด้วยปกนอก
ปกใน บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ เนื้ อหางานวิจยั
หนังสื ออ้างอิง และภาคผนวก ส่ วนองค์ประกอบเนื้ อหางานวิจยั ประกอบเป็ นแบบหกบท

วัตถุประสงค์
1) หลังจากศึกษา เรื่ อง “ขั้นตอนหลักการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อพัฒนานวัตกรรม
การศึกษา” แล้ว นักศึกษาสามารถอธิบายขั้นตอนหลักในการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อ
พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาได้ถูกต้อง
2) หลังจากศึกษาเรื่ อง “ขั้นตอนการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยน การศึกษา” แล้ว
นักศึกษาสามารถอธิบาย 7 ขั้นตอนในการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยน การศึกษาได้
ถูกต้อง
20

2) หลังจากศึกษาเรื่ อง “โครงสร้างรายงานการวิจยั เชิงวิจยั การศึกษา” แล้ว นักศึกษา


สามารถอธิบายองค์ประกอบรายงานการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาการศึกษาได้ถูกต้อง

3.1 ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาเพือ่ สร้ างนวัตกรรมทางการศึกษา


ขั้นตอนการวิจยั และพัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ มี 7 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาองค์
ความรู ้เกี่ยวกับนวัตกรรม (2) สารวจความต้องการเกี่ยวกับนวัตกรรม (3) ร่ างกรอบแนวคิดเกี่ยวกับ
นวัตกรรม (4) สอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ (5) ยกร่ างต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม (6) ทดสอบ
ประสิ ทธิ ภาพและหรื อรับรองต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม และ (7) ปรับปรุ งและเขียนรายงานการวิจยั

1. เงื่อนไขการสร้ างนวัตกรรม
หลังจากกาหนดนวัตกรรมที่ประสงค์จะทาการวิจยั และพัฒนาแล้ว ผูว้ ิจยั ต้องสร้าง
นวัตกรรมที่ครอบคลุมสองขั้นตอนคือการออกแบบและการพัฒนา โดยมีเงื่อนไขสาคัญ ประการ
คือ
๑) ต้องมีกรอบในการพัฒนานวัตกรรมโดยอิงระบบ อาทิ CIPOF Model (C-Context, I-
Input, P-Process, O-Output, and F-Feedback) โดยทาการวิเคราะห์สถานการณ์ กาหนด
องค์ประกอบด้านปัจจัยนาเข้า องค์ประกอบด้านกระบวนการ องค์ประกอบด้านผลลัพธ์ และ
องค์ประกอบด้านผลย้อนกลับ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์ 2554) หรื อ ADDIE Model (A-Analysis, D-
Design, D-Development, I-Implementation, E-Evaluation) ด้วยการวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา
นาไปใช้ และประเมิน (Dick and Carey, 1996)
๒) ต้องทบทวนวรรณกรรมอย่างทะลุปรุ โปร่ งเพื่อให้แน่ใจว่า สิ่ งที่ผวู ้ จิ ยั จะทาการวิจยั และ
พัฒนานวัตกรรมหรื อสิ่ งใหม่น้ นั ต้องเป็ นนวัตกรรมที่ไม่ได้มีใครพัฒนาขึ้นมาก่อน เพื่อที่จะได้ไม่
แอบอ้างว่า ตนเป็ นคนแรกที่พฒั นานวัตกรรมนี้ข้ ึน หากพบว่า เป็ นนวัตกรรมที่มีอยูแ่ ล้วและ
ประสงค์จะปรับเปลี่ยนให้ดีข้ ึน ต้องดาเนิ นการตามขั้นตอนการปรับเปลี่ยนนวัตกรรม (ดูสาระที่
3.2)
๓) ต้องดาเนินการพัฒนานวัตกรรมตามขั้นบทที่เหมาะสมเพื่อให้ได้นวัตกรรมที่มีคุณภาพ
การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา ต้องยึดขั้นตอนนี้ในการวิจยั และทดสอบคุณภาพของนวัตกรรมด้วย แต่
ต้องขอความเห็นชอบจากเจ้าของนวัตกรรม ยกเว้นนวัตกรรมนั้นพ้นเขตลิขสิ ทธิ์ ที่กฎหมายกาหนด
แต่ตอ้ งอ้างอิงเจ้าของนวัตกรรม ไม่แบบอ้างนาเป็ นของตนเอง
21

๔) เมื่อพัฒนานวัตกรรมและผ่านการวิจยั และพัฒนาแล้ว ต้องทาการเผยแพร่ นวัตกรรม


หากต้องการจดสิ ทธิ บตั รต้องดาเนินการก่อนที่จะมีการเผยแพร่

2. ขั้นตอนสร้ างนวัตกรรมการศึกษาด้ วยการวิจัยและพัฒนา


ขั้นตอนการวิจยั และพัฒนา เพื่อสร้างนวัตกรรมประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่
ขั้นที่ 1ศึกษาองค์ ความรู้ หรือเนือ้ หาสาระเกี่ยวกับต้ นแบบชิ้นงาน (Study the Body of
Content) โดยวิจยั เอกสารจากการทบทวนวรรณกรรม การสัมภาษณ์ผรู้ ู้/ผูท้ รงคุณวุฒิและการศึกษาดู
งาน
ขั้นที่ 2 ประเมินความต้ องการต้ นแบบชิ้นงาน (Assess needs for the innovative
prototypes) เพื่อหาองค์ประกอบ (Components) ปัจจัยนาเข้า กระบวนการ (Procedure) ขั้นตอน
(Logical Steps) และรายละเอียด (Specifications)
ขั้นที่ 3 พัฒนากรอบแนวคิดต้ นแบบชิ้นงาน (Develop Conceptual Framework) โดย
เขียนกรอบแนวคิดที่ประกอบด้วยทฤษฎีและหลักการ (Theories and Principles) องค์ประกอบ
(Components) ของนวัตกรรม กระบวนการ (Process) การทางานของนวัตกรรม ขั้นตอนตามลาดับ
(Logical Steps) และรายละเอียด (Specification) ของนวัตกรรม
ขั้นที่ 4: ถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ (Seek Experts’ Opinions) เป็ นการนากรอบแนวคิด
นวัตกรรมไปขอความเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญ โดยใช้วธิ ี ส่งแบบสอบสอบถาม (Via questionnaire) ใช้
เทคนิกเดลฟาย (Delphi Technique) หรื อกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ (Focus Group)
ขั้นที่ 5: ร่ างต้ นแบบชิ้นงาน (Draft the Innovative Prototype) เป็ นการพัฒนาต้นแบบ
ชิ้นงานของนวัตกรรมตามลาดับขั้นคือ การออกแบบชิ้นงาน (Design and develop the Prototype)
และเขียนรายละเอียดนวัตกรรม (Write the Details of the Prototype)
ขั้นที่ 6: รับรองและทดสอบต้ นแบบชิ้นงาน (Verify or Test the Prototype) เป็ นการนา
ร่ างนวัตกรรมไปทดลองใช้เพื่อหาประสิ ทธิ ภาพตาม 2 ขั้นตอน คือ (1) การทดลองใช้เบื้องค้น
(Tryout) และทดลองใช้จริ ง (Trial Run)
ในกรณี ที่เป็ นนวัตกรรมขนาดใหญ่ที่ตอ้ งใช้เวลาพัฒนาหรื อลงทุนสู ง ก็อาจให้ผทู ้ รงคุณวุฒิ
3-5 คนรับรอง (Verification by Experts)
หลังจากการทดลองใช้หรื อรับรองจากผูท้ รงคุณวุฒิแล้ว ก็ตอ้ งเขียนรายงานผลการทดสอบ
ประสิ ทธิภาพของนวัตกรรม
ขั้นที่ 7: ปรับปรุ งและเขียนรายงาน (Finalize the Prototype and Write Final Reports)
เป็ นการเขียนรายงานผลการวิจยั ให้เป็ นไปตามรู ปแบบ (Stylebook) ขนาดและรู ปแบบอักษร
22

โครงสร้างรายงานที่ตอ้ งเป็ นแบบหกบท (Six chapter format) เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม และ


ภาคผนวก

3.2 ขั้นตอนปรับเปลีย่ นนวัตกรรมการศึกษาด้ วยการวิจัยและพัฒนา

หลังจากใช้เทคโนโลยีการศึกษาไประยะหนึ่ง แต่ยงั ไม่จาเป็ นต้องสร้างนวัตกรรมใหม่ จึง


ต้องปรับเปลี่ยน การศึกษา ให้มีคุณภาพดีเหมือนเดิมหรื อดีข้ ึน
ขั้นตอนการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเพื่อปรับเปลี่ยนการศึกษา มี 9 ขั้นตอน ได้แก่(1) สารวจ
สถานภาพการศึกษา (2) วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีการศึกษา (3) ศึกษาองค์ความรู ้ใหม่เกี่ยวกับ
การศึกษา (4) สารวจปัญหาการศึกษา (5) พัฒนากรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนการศึกษา (6)
สอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ (7) ยกร่ างต้นแบบชิ้นงานการศึกษา (8) ทดสอบประสิ ทธิภาพและ
หรื อรับรองต้นแบบชิ้นงานการศึกษา และ (9) ปรับปรุ งและเขียนรายงานการวิจยั การปรับเปลี่ยน
การศึกษา
1. เงื่อนไขการปรับเปลีย่ นการศึกษา
การที่จะปรับเปลี่ยนชิ้นงานเปลี่ยนการศึกษาที่ได้ใช้มาในระยะเวลาหนึ่งนั้น ไม่ใช้ทาได้
ง่ายเพราะความเคยชินของบุคลากรและงบประมาณที่ได้ใช้จ่ายไปกับการพัฒนานวัตกรรมนั้นจนใช้
เป็ นส่ วนหนึ่งของระบบงานในปั จจุบนั ดังนั้นการตัดสิ นใจปรับเปลี่ยนจึงต้องอยูภ่ ายใต้เงื่อนไขดังนี้
๑) ต้องมีสิ่งบอกเหตุวา่ ชิ้นงานการศึกษา ที่ใช้อยูห่ ย่อนประสิ ทธิ ภาพในตัวมันเอง ไม่ใช่
การหย่อนยานประสิ ทธิ ภาพของคน โดยพิจารณาจากผลผลิตด้อยคุณภาพ หากเป็ น
ชิ้นงานการศึกษาที่เกี่ยวกับบริ การ ให้พิจารณาจากจานวนผูข้ อใช้บริ การลดลง หรื อ
ผลงานที่ผลิตได้จากชิ้นงานนั้นคุณภาพเสื่ อมลง
๒) มีนวัตกรรมและการศึกษาเกิดขึ้นใหม่ที่มีคุณภาพดีกว่า ทาให้เราจาเป็ นจะต้อง
ปรับเปลี่ยนชิ้นงานฯ ของเราให้ดีข้ ึน เงื่อนไขนี้ถือเป็ นปรากฏการณ์ปรกติ เพื่อให้
ชิ้นงานฯ ครองตัวอยูใ่ นตลาดกับคู่แข่งได้
๓) ต้องมีกรอบในการปรับเปลี่ยนโดยอิงระบบ เช่นเดียวกับการพัฒนานวัตกรรมใหม่
อาทิ CIPOF Model (C-Context, I-Input, P-Process, O-Output, and F-Feedback) โดย
ทาการวิเคราะห์สถานการณ์ กาหนดองค์ประกอบด้านปั จจัยนาเข้า องค์ประกอบด้าน
กระบวนการ องค์ประกอบด้านผลลัพธ์ และองค์ประกอบด้านผลย้อนกลับ (ชัยยงค์
พรหมวงศ์ 2554) หรื อ ADDIE Model (A-Analysis, D-Design, D-Development, I-
23

Implementation, E-Evaluation) ด้วยการวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา นาไปใช้ และ


ประเมิน (Dick and Carey, 1996)
๔) ต้องทบทวนวรรณกรรมอย่างทะลุปรุ โปร่ งเพื่อให้แน่ใจว่า การปรับเปลี่ยนชิ้นงาน
เทคโนโลยีการศึกษา เป็ นความจาเป็ นและมีแนวทางการปรับเปลี่ยนที่เป็ นรู ปธรร
๕) ต้องดาเนินการปรับเปลี่ยนชิ้นงาน เทคโนโลยีการศึกษา ตามขั้นบทที่เหมาะสมเพื่อให้
ได้ชิ้นงานที่มีคุณภาพกว่าเดิม หากปรับเปลี่ยนแล้วไม่ดีกว่าเดิมก็ไม่ควรปรับเปลี่ยน
๖) ชิ้นงานเทคโนโลยีการศึกษา ที่ปรับเปลี่ยนต้องถือเป็ นนวัตกรรม จึงต้องผ่านการวิจยั
และพัฒนา และทาการเผยแพร่ นวัตกรรมหากผลการวิจยั หากต้องการจดสิ ทธิบตั รต้อง
ดาเนินการก่อนที่จะมีการเผยแพร่

2. ขั้นตอน การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนา เพือ่ สร้ างปรับเปลีย่ นชิ้นงาน เทคโนโลยีการศึกษา


การปรับเปลี่ยนชิ้นงาน เทคโนโลยีการศึกษา ต้องดาเนิ นการตาม 9 ขั้นตอน ดังนิ

ขั้นที่ 1 สำรวจสถำนภำพกำรศึกษำ เป็ นการสารวจสถานภาพของชิ้นงานการศึกษาต้องการ


ปรับเปลี่ยนด้วยการรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม สัมภาษณ์ผเู ้ กี่ยวข้อง และรายผลงานการใช้ใน
ช่วงเวลาที่ผา่ นมา
ขั้นที่ 2 วิเครำะห์ ระบบเทคโนโลยีกำรศึกษำ เป็ นการนาผลการสารวจหรื อการประเมินมา
วิเคราะห์เพื่อข้อสรุ ปว่าจะปรับปรุ งระดับใด มากหรื อน้อย
เมื่อได้ขอ้ สรุ ปว่า จะต้องปรับเปลี่ยนระดับใด ให้ดาเนินการตาม 7 ขั้นตอนสาหรับการ
พัฒนานวัตกรรม คือดาเนิ นการตั้งแต่ข้ นั ที่ 3-9
ขั้นที่ 3 ศึกษำองค์ ควำมรู้ใหม่ เกีย่ วกับกำรศึกษำ
ขั้นที่ 4 สำรวจปัญหำกำรศึกษำ
ขั้นที่ 5 พัฒนำกรอบแนวคิดกำรปรับเปลี่ยนกำรศึกษำ
ขั้นที่ 6 สอบถำมควำมเห็นผู้เชี่ ยวชำญ
ขั้นที่ 7 ยกร่ ำงต้ นแบบชิ้นงำนกำรศึกษำ
ขั้นที่ 8 ทดสอบประสิ ทธิภำพและหรือรับรองต้ นแบบชิ้นงำนกำรศึกษำ
ขั้นที่ 9 ปรั บปรุงและเขียนรำยงำนกำรวิจัยกำรปรั บเปลี่ยนกำรศึกษำ
โปรดศึกษาแนวทางตามขั้นตอน 7 ขั้นตามที่กล่าวไว้ในสาระที่ 3.2

โดยสรุ ป ขั้นตอนการวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาเพือ่ ปรับเปลี่ยนการศึกษา มี 9 ขั้นตอน ได้ แก่


(1) สารวจสถานภาพการศึกษา (2) วิเคราะห์ ระบบเทคโนโลยีการศึกษา (3) ศึกษาองค์ ความรู้ ใหม่
24

เกีย่ วกับการศึกษา (4) สารวจปัญหาการศึกษา (5) พัฒนากรอบแนวคิดการปรับเปลีย่ นการศึกษา (6)


สอบถามความเห็นผู้เชี่ ยวชาญ (7) ยกร่ างต้ นแบบชิ้นงานการศึกษา (8) ทดสอบประสิ ทธิภาพและ
หรือรับรองต้ นแบบชิ้นงานการศึกษา และ (9) ปรับปรุ งและเขียนรายงานการวิจัยการปรับเปลีย่ น
การศึกษา

สาระที่ 3.3 โครงสร้ างรายงาน การวิจัยเชิงวิจัยและพัฒนาการศึกษา

โครงสร้างรายงานการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาเป็ นรายงาน 6 บท ประกอบด้วยปกนอก ปก


ใน บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ เนื้อหางานวิจยั (บทที่
1-6) หนังสื ออ้างอิง และภาคผนวก
ส่ วนองค์ประกอบเนื้ อหางานวิจยั ประกอบเป็ นแบบหกบทดังนี้

บทที่ 1 บทนา
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั
บทที่ 4 วิเคราะห์ขอ้ มูลและผลการวิจยั
บทที่ 5 รายละเอียดต้นแบบชิ้นงาน
บทที่ 6 สรุ ปการวิจยั ผลการวิจยั อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
25

บทที่ 1
บทนา

1. ความเป็ นมาของปัญหา (IPESA)


1.1 สภำพทีพ่ งึ ประสงค์ (Ideal Situation-I)
1.2 สภำพทีเ่ ป็ นอยู่ในปัจจุบัน (Present Situation-P)
I – P=E
1.3 ปัญหำทีเ่ ป็ นอยู่ (Existing problems)
1.4 แนวทำงแก้ไขทีไ่ ด้ ดำเนินมำแล้ ว (Solution-S)
E – S=A
1.5 ทำงเลือกเพือ่ แก้ ปัญหำให้ สมบูรณ์ (Alternative Approach-A)

2. วัตถุประสงค์ การวิจัย
2.1 วัตถุประสงค์ทวั่ ไป (ให้นาหัวข้อวิจยั มาตัดคาว่า “การ” และเติมคาว่า “เพื่อ”)
2.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ ทาได้สองกรณี คือ
ก. ตั้งตำมขั้นตอนกำรพัฒนำนวัตกรรม ในกรณี เป็ นการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาให้
ประกอบด้วย 7 ข้อ คือ
1) เพื่อศึกษาองค์ความรู ้เกี่ยวกับนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
2) เพื่อประเมินความต้องการเกี่ยวกับนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
3) เพื่อพัฒนากรอบสารแนวคิดนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
4) เพื่อสอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญด้วยวิธีการ (ระบุวธิ ีการ)
5) เพื่อยกร่ างต้นแบบชิ้นงาน (Prototype) นวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
6) เพื่อทดสอบนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม) ด้วยการ (อธิ บายวิธีการทดสอบ เช่น ผลิต
เป็ นชุดการสอนแล้วนาไปทดลองสอน) หรื อรับรองนวัตกรรม (อธิ บายว่า ทาไมใช้วธิ ี การ
รับรองโดยผูท้ รงคุณวุฒิหรื อผูเ้ ชี่ ยวชาญอย่างยิง่ เป็ นใคร มีความเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญยิง่ อย่างไร
ระดับอธิ บดีหรื อเทียบเท่า)
7) เพื่อปรับปรุ งนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม) และจัดทารายงานผลการพัฒนานวัตกรรม
(บทที่ 5)
26

ข. ตั้งตำมคำถำมวิจัย/สมมติฐำน
1) เพื่อศึกษาความก้าวหน้าสัมฤทธิ ผลทางเรี ยนของนักเรี ยนที่เรี ยนจากนวัตกรรม
2) เพื่อหาประสิ ทธิภาพของนวัตกรรมด้านกระบวนและและผลลัพธ์
3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของครู และนักเรี ยนที่ใช้และเรี ยนจากนวัตกรรม

3. คาถามวิจัย
ให้ต้ งั คาถามตามวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อให้ได้คาตอบตามวัตถุประสงค์เฉพาะและนามา
สรุ ปเป็ นคาตอบวัตถุประสงค์ทวั่ ไป

4. สมมติฐานการวิจัย

5. ขอบเขตการวิจัย
5.1 รู ปแบบการวิจยั (ให้ระบุรูปแบบการวิจยั เพื่อจะได้ไม่ให้ผอู ้ ่านงานวิจยั สับสนว่า
งานวิจยั ชั้นนี้ เป็ นงานวิจยั ประเภทใด)
5.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
5.3 เครื่ องมือวิจยั (PACIS) จาแนกเครื่ องมือวิจยั เป็ น 5 ประเภท คือ
5.3.1 เครื่ องมือวิจยั ที่เป็ นต้นแบบชิ้นงาน (P-PROTOTYPE)
5.3.1 เครื่ องมือวิจยั ที่ใช้จาแนกคุณลักษณะของประชากรและกล่มตัวอย่าง (A-
ATTRIBUTE TEST) ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์
5.3.1 เครื่ องมือวิจยั ที่ใช้ประเมินบริ บท (C-CONTEXT) ได้แก่ แบบประเมิน
ห้องเรี ยน เครื่ องมือและสิ่ งอานวยความสะดวก)
5.3.1 เครื่ องมือวิจยั ที่ประเมินผลกระทบ (I-IMPACT) ได้แก่ แบบสอบถาม แบบ
สัมภาษณ์ แบบประเมินก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน แบบประเมินความพึงพอใจ
5.3.1 เครื่ องมือวิจยั ทางสถิติ (S-STATISTICAL INSTRUMENTS) ได้แก่ สู ตร
ทางสถิติ เช่น ค่าเฉลี่ย ร้อยละ t-test, E1/E2

5.4 วิธีการรวบรวมข้อมูล ให้ระบุวธิ ีการรวบรวมข้อมูล

5.5 วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล ให้ระบุวธิ ี วเิ คราะห์ขอ้ มูลตามลาดับขั้น

6. ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (7 Step Model) ให้ อธิบายขั้นตอนการวิจัยตาม 7 ขั้นตอนโดย


ละเอียด
27

6.1 ศึกษาองค์ความรู้
6.2 สาประเมินความต้องการ
6.3 พัฒนากรอบแนวคิดต้นแบบชิ้นงาน
6.4 สอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญ
6.5 พัฒนาร่ างต้นแบบชิ้นงาน
6.6 ทดสอบประสิ ทธิ ภาพหรื อรับรองต้นแบบชิ้นงาน
6.7 ปรับปรุ งต้นแบบชิ้นงาน

7. ตัวแปรและบริบทการวิจัย
7.1 ตัวแปรต้ นหรือตัวแปรอิสระ (independent Variables-IV) หมายถึงปัจจัยนาเข้า (Input)
ที่มีส่วนทาให้เกิดการแปรผันของตัวแปรตาม และเป็ นปั จจัยที่ไม่สาเร็ จสมบูรณ์ในตัวเองแต่
ต้องผ่านการะบวนการวิเคราะห์หรื อพัฒนาเพื่อให้ได้ตวั แปรตาม มี 3 กลุ่ม ได้แก่
7.1.1 ลักษณะประชากร
7.1.2 ตัวแปรรู ปธรรม-คน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ วิธีการ (4M)
7.1.3 ตัวแปรนามธรรม-อุดมการณ์ ทัศนคติ ค่านิยมคุณธรรม คุณภาพ

7.2 ตัวแปรกลำง (Intermediate Variables) หมายถึงตัวแปรที่เกิดซ้อนขึ้นระหว่างวิถีหรื อ


เส้นทางของกระบวนการหรื อการกระทาที่ทาให้เกิดแปรปรวนของตัวแปรต้นหรื อตัวแปร
อิสระ และตัวมันเองก็ถูกตัวแปรต้นหรื อตัวแปรอิสระทาให้แปรปรวนตามไปด้วย ได้แก่
ขั้นตอนและกระบวนกระทาต่อตัวแปรต้นเพื่อให้มาซึ่งตัวแปรตาม

7.3 ตัวแปรตาม (Dependent Variables-DV)–ผลการวิจยั ได้แก่ ระบบ แบบจาลอง โมเดล


โครงการ ฯลฯ ที่พฒั นาได้จากกระบวนการวิจยั
7.4 บริ บทการวิจยั -สภาพแวดล้อม สถานที่และสถานการณ์ที่ทาการวิจยั
8. ข้อจากัดการวิจยั
8.1 ข้อจากัดด้านกลุ่มตัวอย่าง
8.2 ข้อจากัดด้านเครื่ องมือ การรวบรวมและการวิเคราะห์ขอ้ มูล
8.3 ข้อจากัดด้านเวลาและสถานที่
9. นิยามศัพท์
1) หมายถึงคาจัดความของคาที่นามาใช้
2) ให้นิยามที่เป็ นสากลตามด้วย นิยามปฏิบตั ิการ
28

3) ให้นิยามเฉพาะศัพท์ที่มีความพิเศษ มีความหมายเฉพาะ หรื อ ที่อาจเข้าใจไม่ตรงกัน


ระหว่างผูท้ าวิจยั และผูอ้ ่านงานวิจยั
4) หากเป็ นศัพท์บญั ญัติจากภาษาต่างเทศให้วงเล็บคาภาษาต่างประเทศไว้ดว้ ย
5) คาศัพท์ให้พิมพ์ตวั หนาหรื อตัวเอน หรื อทั้งสองอย่าง
ตัวอย่าง
ประสิ ทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง คุณภาพของการดาเนิ นการ อัตราส่ วนของงานที่ได้
จากสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งที่พฒั นาขึ้นและความสาเร็ จของงานที่ได้อย่างประหยัดและคุม้ ค่า ในที่น้ ี
หมายถึงประสิ ทธิภาพของกระบวนการและประสิ ทธิภาพของผลลัพธ์และที่ได้จากการคานวณ
ความสัมพันธ์ของประสิ ทธิภาพกระบวนการ (Efficiency of Process) (Efficiency of Products)
โปรดสังเกตว่า ส่ วนแรกเป็ นนิยามสากลของคาว่า “ประสิ ทธิภาพ” ส่ วนหลัง เป็ นนิยาม
ปฏิบตั ิการ หรื อนิยามที่ใช้ในการวิจยั ครั้งนี้

10. ผลทีค่ าดว่าจะได้ รับ

11. กรอบแนวคิดการวิจยั ประกอบด้วย 5 ส่ วน ได้แก่


11.1 สารสรุ ป หลักการและทฤษฎี เป็ นการสรุ ปหลักการและทฤษฎีที่ได้จากการทบทวน
วรรณกรรมในบทที่ 2 เฉพาะที่เกี่ยวข้องกับการกาหนดตัวแปรต้นหรื อตัวแปรอิสระ ตัวแปร
กลาง และการประเมินตัวแปรตาม
11.2 ตัวแปรต้นหรื อตัวแปรอิสระ (Independent Variables) หมายถึงปัจจัยนาเข้าที่กระทบ
ต่อการได้ตวั แปรตาม ประกอบด้วย ตัวแปรรู ปธรรมได้แก่ คน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์
วิธีการ (4M) และตัวแปรนามธรรม ได้แก่ อุดมการณ์ ทัศนคติ ค่านิยมคุณธรรม คุณภาพ
โดยทัว่ ไป จะประกอบด้วยลักษณะประชากรและตัวแปรต้นหรื อตัวแปรอิสระที่เกี่ยวกับ
ความพึงพอใจ ความต้องการ โครงสร้าง/องค์ประกอบ คุณค่า/ประโยชน์และคุณภาพทาง
เทคนิคที่มีผลต่อการพัฒนาหรื อการได้มาซึ่งตัวแปรตาม)

11.3 ตัวแปรกลาง (Intermediate Variables) หมายถึงขั้นตอนและกระบวนกระทาต่อตัว


แปรต้นหรื อตัวแปรอิสระเพื่อให้มาซึ่งตัวแปรตาม และการประเมินคุณภาพร่ างต้นแบบชิ้นงาน
ที่เป็ นตัวแปรตาม
11.4 ตัวแปรตาม (ต้นแบบชิ้นงาน) หมายถึง ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจยั หากเป็ นการวิจยั
เชิงสารวจหมายถึงปั จจัยที่มีส่วนให้เกิดปรากฎการณ์บางอย่าง หากเป็ นการวิจยั เชิงวิจยั และ
พัฒนาหมายถึงต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม เช่น ระบบ แบบจาลอง (ห้ามใช้คาว่า “รู ปแบบ”
เพราะความหมายไม่ตรงกับคาว่า Model) โครงการ สารสรุ ป แนวปฏิบตั ิ หริ อสิ่ งประดิษฐ์
29

11.5 บริ บท (Context/Settings) หมายสถานการณ์ที่ทาการวิจยั ได้แก่ วิจยั กับใคร


(ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง เครื่ องมือวิจยั (รวมเครื่ องมือทางสถิติ) การวิเคราะห์ขอ้ มูลและผลการ
วิเคราะห์)

แผนผังแสดงกรอบแนวคิดการวิจยั
30

หลักการ/ทฤษฎี (จากบทที่ ๒)
) เกี่ยวกับการกาหนดตัวแปรต้น/ตัวแปรกลาง การพัฒนาและประเมินตัวปรกตาม(

ตัวแปรต้น ตัวแปรกลาง ตัวแปรตาม


(Independent Variables) (Intermediate Variables) (Dependent Variables)

ลักษณะประชากร
ขั้นตอน/กระบวนการพัฒนาให้ได้ตวั แปรตาม

ตัวแปรที่ ๑ 1.0

2.0
ตัวแปรที่ ๒

3.0 ต้นแบบชิ้นงาย
นวัตกรรม
ตัวแปรที่ ๓
4.0

ตัวแปรที่ ๔
5.0

ตัวแปรที่ N
6.0

บริ บท
ทาการวิจยั กับใคร ใช้เครื่ องอะไร ที่ไหน เมื่อไร
31

บทที่ 2
ทบทวนวรรณกรรม

การทบทวนวรรณกรรมให้นาเสนอตามคาหลักที่ปรากฏในหัวข้อวิจยั และตัวแปรต้นหรื อ
ตัวแปรอิสระเป็ นหัวข้อทบทวน โดยดาเนิ นการดังนี้
1) ให้นาเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมโดยสรุ ปมาจากผลการวิจยั เอกสาร (Documentary
Research)
2) เรี ยงตามคาหลักในหัวข้อวิทยานิพนธ์/งานวิจยั
3) เขียนแบบสรุ ป ห้ามลอกจากแหล่งอื่น
4) สาหรับแต่ละคาหลักให้ถือเป็ นบทย่อย เขียนกลาหน้ากระดาษ จาแนกหัวข้อย่อยชิดซ้าย
5) หัวข้อย่อยประกอบของคาหลัก ควรประกอบด้วย
(1) สารสรุ ป (ความหมาย ความเป็ นมา ความสาคัญ)
(2) รู ปแบบ/ประเภท
(3) ขั้นตอน/วิธีการ
(4) จุดดี จุดด้อย
(5) ผลกระทบต่อการศึกษาและการเรี ยนการสอน หรื อ
(6) ปัญหาและอุปสรรคการดาเนินการ

บทที่ ๓
วิธีดาเนินการวิจัย

บทที่ 3 เป็ นการนาสาระในบทที่ 1 มาขยายความให้ชดั เจนขึ้น โดยให้เขียนบทที่ 3


เพื่ออธิ บายขั้นตอนกระบวนการวิจยั โดยให้ครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้

1. วัตถุประสงค์ การวิจัย
2.1 วัตถุประสงค์ทวั่ ไป (ให้นาหัวข้อวิจยั มาตัดคาว่า “การ” และเติมคาว่า “เพื่อ”)
2.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ ในกรณี เป็ นการวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนาอาตั้งวัตถุประสงค์ได้สอง
แนวทางคือ
2.2.1 อิงผลการวิจยั ที่ตอ้ งการศึกษา อาทิ
32

1) เพื่อศึกษาความก้าวหน้าทางการเรี ยน (ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน) จากการเรี ยนจาก


นวัตกรรมที่พฒั นาขึ้น
2) เพื่อศึกษาประสิ ทธิภาพจากชุดการสอนฯ ตามเกณฑ์ที่กาหนด (ให้ระบุเกณฑ์
ประสิ ทธิภาพ)
3) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของครู และนักเรี ยนที่เรี ยนจากชุดการสอน

2.2.2 อิงขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรมการ ประกอบด้วย 7 ข้อ คือ


1) เพื่อศึกษาองค์ความรู ้เกี่ยวกับนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
2) เพื่อประเมินความต้องการเกี่ยวกับนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
3) เพื่อพัฒนากรอบแนวคิดนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
4) เพื่อสอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญด้วยวิธีการ (ระบุวธิ ีการ)
5) เพื่อยกร่ างต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)
6) เพื่อทดสอบนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม) ด้วยการ (อธิ บายวิธีการทดสอบ เช่น ผลิต
เป็ นชุดการสอนแล้วนาไปทดลองสอน) หรื อรับรองนวัตกรรม (อธิ บายว่า ทาไมใช้วธิ ี การ
รับรองโดยผูท้ รงคุณวุฒิหรื อผูเ้ ชี่ยวชาญอย่างยิง่ เป็ นใคร มีความเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญยิง่ อย่างไร
ระดับอธิ บดีหรื อเทียบเท่า)
7) เพื่อปรับปรุ งนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม) และจัดทารายงานผลการพัฒนานวัตกรรใ
(บทที่ 5)

3. คาถามวิจยั
ให้ต้ งั คาถามตามวัตถุประสงค์เฉพาะเพื่อให้ได้คาตอบตามวัตถุประสงค์เฉพาะและนามา
สรุ ปเป็ นคาตอบวัตถุประสงค์ทวั่ ไป
การตั้งคาถามวิจยั ควรหลีกเลี่ยงการตั้งคาถามระดับต่า (ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อไร) แต่เป็ น
คาถามระดับสู ง (ทาไม อย่างไร เพราะเหตุใด)
การตั้งคาถามวิจยั กระทาได้สองแนวทางคือ
3.1 อิงผลกำรวิจัยทีต่ ้ องกำรศึกษำ อำทิ
1) นักเรี ยนมีความก้าวหน้าทางการเรี ยน (ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน) จากการเรี ยนจาก
นวัตกรรมที่พฒั นาขึ้นหรื อไม่ เพียงใด
2) ชุดการสอนที่พฒั นาขึ้นมีประสิ ทธิ ภาพฯ ตามเกณฑ์ที่กาหนด (ให้ระบุเกณฑ์
ประสิ ทธิ ภาพ) หรื อไม่
3) นักเรี ยนที่เรี ยนจากชุดการสอนมีความพึงพอใจในระดับใด
33

3.2 อิงขั้นตอนกำรพัฒนำนวัตกรรมกำร ประกอบด้ วย 7 ข้ อ คือ


(1) ในการพัฒนานวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม) มีแนวคิ ด หลักการ และทฤษฎี
สนับสนุนอย่ างไร?
(2) ผู้มีส่วนได้ เสี ยมีความต้ องการนวัตกรรม (ระบุชื่อนวัตกรรม)ในระดับใด
นวัตกรรมควรมีองค์ ประกอบ กระบวนการ ผลลัพธ์ และการนาไปใช้ อย่ างไร?
(3) กรอบแนวคิ ดการพัฒนานวัตกรรมควรมีองค์ ประกอบ กระบวนการ ผลลัพท์
และการนาไปใช้ อย่ างไร?
(4) ผู้เชี่ ยวชาญที่ได้ รับเชิ ญมาวิพากย์ กรอบแนวคิ ดการพัฒนานวัตกรรมด้ วยวิธี
(ให้ ระบุวิธีการว่ า เป็ นแบบสอบถาม เทคนิคเดลฟาย หรื อ ระดมความคิดแบบกลุ่ม) มี
ความเห็นและคาแนะนาในการพัฒนานวัตกรรม กี่ประเด็น อะไรบ้ าง?
(5) องค์ ประกอบของนวัตกรรมควรยึดกรอบใด มีองค์ ประกอบ ขัน้ ตอนอย่ างไร
และนาเสนอด้ วยแบบจาลองประเภทใด (ให้ เพื่อพิจารณาว่ าจะเป็ นแบบรู ปภาพ แบบเทียบ
เหมือน แบบสัญลักษณ์ หรื อแบบจาลองแนวคิด)?
(6) การทดสอบประสิ ทธิ ภาพนวัตกรรม ควรใช้ เกณฑ์ วิธีการทดสอบ และใช้
เครื่ องมือประเภทใด?
(7) การรายงานผลนวัตกรรมควรมีองค์ ประกอบและแนวทางเผยแพร่ อย่ างไร?

4. สมมติฐานการวิจัย
สมมติฐานการวิจยั (Hypotheses) เป็ นผลการวิจยั ที่คาดการณ์ไว้ล่วงหน้า โดยเขียนเป็ น
ข้อความแสดงคาตอบ ที่จะต้องนาไปทดสอบสมมติฐานเพื่อให้ทราบว่า จะรับสมมติฐาน
(Accept Hypothesis) หรื อไม่รับสมมติฐาน (Fail to accept Hypothesis)
สมมติฐานจาแนกเป็ นสมมติฐานการวิจยั เชิงพรรณนาและสมมติฐานการวิชยั คุณภาพ
สมมติฐานการวิจยั เชิงพรรณนา มักทดสอบสมมติฐานโดยใช้เครื่ องมือทางสถิติ ด้วยการหา
ค่าความมีนยั สาคัญ หรื อ การหาระดับการยอมรับหรื อความพึงพอใจตามสู ตรทางสถิติที่ผา่ น
การพิสูจน์และยอมรับมาแล้ว
ส่ วนสมมติฐานการวิชยั คุณภาพ ไม่จะเป็ นต้องทดสอบค่าทางสถิติเป็ นปริ มาณ แต่ทดสอบ
ด้วยหลักฐานและความเห็นเชิงคุณภาพตามสภาพที่เป็ นจริ ง
ในการวิจยั เพื่อพัฒนานวัตกรรม สมมติฐานที่ต้ งั ไว้ควรเป็ นคาตอบว่า นวัตกรรมทาให้
พฤติกรรมของผูใ้ ช้เปลี่ยนไปในระดับสู งขึ้น นวัตกรรมมีประสิ ทธิ ภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด
และผูใ้ ช้นวัตกรรมมีความพึงพอในระดับที่กาหนด
34

ตัวอย่ำง (กำรพัฒนำชุดกำรสอน)
1) นักเรี ยนที่เรี ยนจากชุดการสอน (ระบุประเภทชุดการสอน) กลุ่มสาระการเรี ยน (ระบุ
ชื่อกลุ่มสาระ) เรื่ อง (ระบุเรื่ อง) มีความรู ้เพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สาคัญที่ระดับ .05 (หรื อ .01)
2) ชุดการสอน (ระบุประเภทชุดการสอน) กลุ่มสาระการเรี ยน (ระบุชื่อกลุ่มสาระ) เรื่ อง
(ระบุเรื่ อง) มีประสิ ทธิภาพตามเกณฑ์ 90/90 (หรื อ 85/95 80/80 สาหรับวิทยพิสัยหรื อ
พุทธิพิสัย 80/80 75/75 สาหรับจิตพิสัยหรื อทักษพิสัย)
3) นักเรี ยนที่เรี ยนจากชุดการสอน (ระบุประเภทชุดการสอน) กลุ่มสาระการเรี ยน (ระบุ
ชื่อกลุ่มสาระ) เรื่ อง (ระบุเรื่ อง) มีความพึงพอใจในระดับมาก (ระบุระดับ เป็ น 3.50.
3.25 หรื อ 3.00)

5. ขอบเขตการวิจัย
5.1 รูปแบบกำรวิจัย การวิจยั เชิงวิจยั และพัฒนา
5.2 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง
ประชากรได้แก่ (ระบุประชากรตามประเภท) จานวน (ระบุจานวน)
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ (ระบุประชากรตามประเภท) จานวน (ระบุจานวน) ใช้วธิ ีการ
สุ่ มตัวอย่างแบบใด โดยใช้สูตรหรื อการคานวณ (หากมี)

5.3 เครื่องมือวิจัย จาแนกเครื่ องมือวิจยั เป็ น 5 ประเภท โดยยึด PACIS คือ


5.3.1 เครื่ องมือวิจยั ที่เป็ นต้นแบบชิ้นงาน (P-Prototype) ได้แก่ (ระบุนวัตกรรม) ใน
กรณี เป็ นชุดการสอน (Instructional Packages) หรื อชุดการเรี ยนอิเล็กทรอนิกส์ (Courseware)
ให้ระบุชื่อชุดวิชา วิชา หรื อสาระวิชา และระบุหน่วยการสอน พร้อมชื่อหน่วยการสอน
ตามลาดับ
5.3.2 เครื่ องมือวิจยั ที่ใช้จาแนกคุณลักษณะของประชากรและกลุ่มตัวอย่าง (A-
Attribute) ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์
ให้อธิ บายรายละเอียดแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์จาแนกตามกลุ่มตัวอย่าง
ระบุวา่ มีกี่ตอน (จานวนตอนให้ยดึ ตัวแปรต้น + ตัวแปรตาม)
5.3.3 เครื่ องมือวิจยั ที่ใช้ประเมินบริ บท (C-Context) ได้แก่ แบบประเมินห้องเรี ยน
เครื่ องมือและสิ่ งอานวยความสะดวก)
5.3.4 เครื่ องมือวิจยั ที่ประเมินผลกระทบ (I-Impact) ได้แก่ แบบสอบถาม แบบ
สัมภาษณ์ แบบประเมินก่อนเรี ยน/หลังเรี ยน แบบประเมินความพึงพอใจ
35

5.3.5 เครื่ องมือวิจยั ทางสถิติ (S-Statistical Instruments) ได้แก่ สู ตรทางสถิติ เช่น


ค่าเฉลี่ย ร้อยละ t-test, E1/E2
ต้องแสดงสู ตรในการคานวณและอ้างอิงเจ้าสู ตร เช่น E1/E2 (ชัยยงค์ พรหมวงศ์
และคณะ 2520 อ้างใน ระบุชื่อผูเ้ ขียนตารา หากไม่อา้ ง ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ถือว่า แอบอ้างลอก
เลียน (Plagiarism) ผูแ้ อบอ้างทาผิดกฎหมายและขาดจริ ยธรรม

5.4 วิธีกำรรวบรวมข้ อมูล ให้ระบุวธิ ีการรวบรวมข้อมูล


ให้อธิ บายวิธีการรวบรวมข้อมูลตามประเภทเครื่ องมือวิจยั
5.5 วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ให้ระบุและอธิบายวิธีวเิ คราะห์ขอ้ มูลที่จะใช้ตามลาดับขั้นโดยอิงการวิเคราะห์ขอ้ มูลตาม
วัตถุประสงค์และเครื่ องมือวิจยั

6. ขั้นตอนดาเนินการวิจัย (7 Step Model) ให้ อธิบายขั้นตอนการวิจัยตาม 7 ขั้นตอนโดย


ละเอียด
6.1 ศึกษำองค์ ควำมรู้
ให้ระบุแหล่งและวิธีการศึกษาเนื้อหาสาระ อาทิ จากการทบทวนวรรณกรรม การสัมภาษณ์
ผูร้ ู ้ และการดูงาน (อ่าน ฟัง ดู ตามแนว สุ -จิ-ปุ-ลิ)

6.2 สำรวจและประเมินควำมต้ องกำร


ให้ระบุกลุ่มที่ไปสารวจและประเมินความต้องการ และประเด็นที่ตอ้ งการสารวจและ
ประเมิน

6.3 พัฒนำกรอบแนวคิดต้ นแบบชิ้นงำน


ให้ระบุหวั ข้อกรอบแนวคิด ประกอบด้วย
1) ชื่อต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรม
2) หลักการและเหตุผล
3) วัตถุประสงค์
4) รายละเอียดต้นแบบชิ้นงาน
5) ทรัพยากรที่ตอ้ งใช้
6) ประโยชน์ที่จะได้รับ

6.4 สอบถำมควำมเห็นผู้เชี่ ยวชำญ


36

ให้ระบุวธิ ีการสอบถามวิธีการ ประเภทและจานวนผูเ้ ชี่ยวชาญ


1) ด้วยการส่ งแบบสอบถาม เนื่ องจากเป็ นการสารวจ ต้องกาหนดจานวนกลุ่มตัวอย่างโดย
เข้าตารางหรื อใช้สูตร
2) ด้วยเทคนิคเดลฟาย ต้องทาแบบสอบถามอย่างน้อยสามรอบ กับผูเ้ ชี่ยวชาญที่เป็ น
ตัวแทนนักวิชาการและผูท้ ี่คาดว่าจะใช้นวัตกรรมจานวน 17 คน แต่ให้ส่ง
แบบสอบถามเผือ่ ไว้ 20-25 คน หากเป็ นนักวิชาการควรเป็ นชานาญการพิเศษหรื อ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ เทียบเท่าข้าราชการระดับ 839 หรื อผูม้ ีประสบการณ์ในภาคเอกชน
(1) รอบแรกปลายเปิ ด เป็ นการถามความเห็นผูเ้ ชียวชาญตามประเด็นที่กาหนด
จากประเด็นในกรอบแนวคิด ห้ามส่ งกระดาษเปล่าให้ผเู ้ ชี่ ยวชาญเขียนให้
เพราะจะทาให้ผเู ้ ชี่ยวชาญไม่อยากเสี ยเวลาตอบ
(2) รอบที่สอง เป็ นแบบสอบถามความคิดเห็นที่ประมวลจากความเห็นรอบแรก
โดยถามตามประเด็นที่กาหนด ด้วยการสร้างแบบสอบถามแบบ 5 สเกล
ประกอบด้วย 5-เห็นด้วยอย่างยิง่ 4-เห็นด้วย 3-ไม่แน่ใจ 2-ไม่เห็นด้วย 1-ไม่เห็นด้วย
อย่างยิง่
เมื่อรวบรวมแบบสอบถามได้แล้วให้วเิ คราะห์และสรุ ปความเห็นตามระเบียบวิธีที่
กาหนด
(3) รอบที่สาม เป็ นการส่ งแบบสอบถามชุดเดิมไปให้ผเู ้ ชี่ยวชาญทบทวนาตอบ
ของตนเอง โดยเสนอผลการวิเคราะห์ของแต่ละข้อเป็ นช่วงความเห็น แล้วใส่
คาตอบของผูเ้ ชี่ยวชาญเป็ น * ไว้ดว้ ยเพื่อให้ผเู ้ ชี่ยวชาญตอบใหม่ หากไม่
เปลี่ยนใจ ขอให้ผเู ้ ชี่ยวชาญอธิ บายเหตุผลในช่องผมหมายเหตุ
นาคาตอบจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์และสรุ ปเพื่อเป็ นข้อมูลป้ อนเข้า
สาหรับการพัฒนานวัตกรรมต่อไป
การถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญโดยเทคนิคเดลฟายเป็ นวิธีการสอบถาม
ความเห็นที่ดีที่สุดจึงเหมาะสาหรับงานวิจยั ระดับสู ง เช่น ดุษฎีนิพนธ์ แต่ตอ้ งใช้
เวลาและความพยายามในการติดตาม เตือน และเกาะติดผูเ้ ชี่ยวชาญซึ่ งส่ วนใหญ่จะ
ไม่ค่อยมีเวลามากนัก สาเหตุของการที่ผเู ้ ชี่ยวชาญไม่ตอบแบบสอบถามคือ
แบบสอบถามมีความยาวเกินไป
๔) การระดมความคิดเป็ นกลุ่ม (Focus Group) เป็ นการสอบถามความคิดเห็นของ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ 10-15 คน มาแสดงความคิดเห็นต่อกรอบแนวคิดนวัตกรรม โดยดาเนินการ ๓ ขั้น
ขั้นที่ ๑ ผูว้ จิ ยั นาเสนอกรอบแนวคิด พร้อมเอกสารกรอบแนวคิด 3-5 หน้า แจกให้
ผูเ้ ชี่ยวชาญที่เชิญมาอ่านล่วงหน้า โดยส่ งไปพร้อมกับหนังสื อเชิญ
37

ขั้นที่ ๒ ผูว้ จิ ยั ดาเนินรายการอภิปราย โดยเชิญผูเ้ ชียวชาญทุกคนแสดงความคิดเห็น


ตามประเด็นที่นาเสนอตามลาดับก่อนหลัง (ผูว้ จิ ยั ควรมีผชู ้ ่วยวิจยั บันทึกความคิดเห็นและขอ
อนุญาตผูเ้ ชี่ยวชาญบันทึกเสี ยงหรื อบันทึกภาพเพื่ออ้างอิง)
ขั้นที่ ๓ ผูว้ จิ ยั ขอให้ผเู้ ชี่ยวชาญกรอกแบบประเมินโดยพัฒนาแบบประเมินจาแนก
เป็ นจุดดี จุดด้อย และความเห็นในภาพรวม ด้วยการให้ผเู ้ ชี่ยวชาญแต่ละคนแสดงความคิดเห็นและ
ผลการประเมิน
ขั้นที่ ๔ ผูว้ จิ ยั สรุ ปผลการอภิปราย ตามประเด็นที่กาหนดไว้
ข้อดีของการใช้แบบระดมความคิด คือ ผูว้ ิจยั ได้ทราบความเห็นทันทีที่การอภิปรายแล้ว
เสร็ จ แต่มีจุดอ่อนที่การเลือกผูเ้ ชี่ยวชาญที่จะสามารถวิพากย์วจิ ารณ์อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ
ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายในการเครื่ องดื่ม ค่าอาหาร ค่าเดินทาง และค่าที่พกั ผูเ้ ชี่ยวชาญ

6.5 พัฒนำร่ ำงต้ นแบบชิ้นงำน


ในขั้นตอนนี้ ผูว้ จิ ยั ต้องนาข้อมูลจากขั้นบทที่ ๑ การศึกษาองค์ความรู ้ ขั้นบทที่ ๒
การประเมินความต้องการ และขั้นบทที่ ๔ การสอบถามความเห็นผูเ้ ชี่ยวชาญตามกรอบแนวคิด
การพัฒนานวัตกรรมที่ผา่ นการกลัน่ กรองจากผูเ้ ชี่ยวชาญในขั้นที่ 6.4
ร่ างต้นแบบชิ้นงานนวัตกรรมจะต้องมีรายละเอียดจาแนกตามหัวข้อดังนี้
1) บทสรุ ปสาหรับผูบ้ ริ หาร (Executive Summary)
2) ตอนที่ ๑ บทนา ให้ครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้
(1) ข้อมูลพื้นฐาน (Background Information) ให้อธิบาย
เหตุผลความจาเป็ นในการพัฒนานวัตกรรม
(2) วัตถุประสงค์การพัฒนานวัตกรรม (ไม่ใช่วตั ถุประสงค์การ
วิจยั ให้จาแนกเป็ นข้อๆ)
(3) ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม (สรุ ปการดาเนินการตาม 7
ขั้นตอน โดยอธิ บายการดาเนิ นการแต่ละขั้นอย่างละเอียด
อาจนาขั้นตอนดาเนินการมาจากขั้นตอนดาเนินการวิจยั 7
ขั้น ใยบทที่ ๓ ของวิทยานิพนธ์แล้วขยายความให้เจาะจง
ตามที่ได้เกิดขึ้นจริ ง
3) ตอนที่ ๒ รายละเอียดนวัตกรรม ให้อธิ บายรายละเอียดของต้นแบบชิ้นงาน
นวัตกรรม 3 หัวข้อ คือ
(1) องค์ประกอบของนวัตกรรม
(2) ขั้นตอนระบบของนวัตกรรม
(3) แผนภูมิแสดงแบบจาลองของนวัตกรรม
38

4) ตอนที่ ๓ การนานวัตกรรมไปใช้ ให้นาเสนอตามหัวข้อต่อไปนี้


(1) การเตรี ยมการ ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เครื่ องมืออุปกรณ์
สิ่ งอานวยความสะดวก บุคลากร)
(2) พันธสัญญาฝ่ ายบริ หาร ให้ระบุสิ่งที่ผบู ้ ริ หารต้อง
ดาเนินการในการนานวัตกรรมไปใช้ ได้แก่ นโยบาย
ข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศ
(3) เงื่อนไขความสาเร็ จ ให้ระบุเงื่อนไขที่ตอ้ งมี ต้องทาเพื่อให้
การนานวัตกรรมไปใช้ให้ได้ผล
5) ภาคผนวก ให้เสนอข้อมูลสนับสนุนการพัฒนาและการใช้นวัตกรรมได้แก่
กฎหมาย นโยบาย แผนพัฒนาองค์กร ผลการสารวจและประเมินความ
ต้องการ และผลการประเมินโดยผูท้ รงคุณวุฒิตามขั้นที่ ๖ ของ ๗ ขั้นตอน
ข้อมูลอื่นๆ ที่จาเป็ น

6.6 ทดสอบประสิ ทธิภำพหรือรับรองต้ นแบบชิ้นงำน


ให้อธิบายวิธีการ และเกณฑ์การ ทดสอบประสิ ทธิ ภาพเป็ นขั้นตอน ตามประเภทของ
นวัตกรรม กล่าวคือ
1) การทดสอบประสิ ทธิภาพระบบการสอนหรื อการฝึ กอบรม ต้องดาเนินการ 3 ขั้นตอนคือ
(1) ประเมินองค์ประกอบ ขั้นตอนและแบบจาลองระบบโดยผูท้ รงคุณวุฒิ 3-5 คน
โดยพัฒนาแบบประเมินสาหรับผูท้ รงคุณวุฒิ
(2) ประเมินคุณภาพการนาระบบไปใช้ ด้วยการผลิตชุดการสอน 3-5 หน่วยตาม
ขั้นตอนของระบบ เพื่อนาไปทดลองใช้ตามเกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพชุดการสอน เพื่อเป็ นตัว
บ่งชี้ในการพิสูจน์คุณภาพของระบบ)
การทดสอบประสิ ทธิภาพชุดการสอนต้องดาเนินการให้ครบตาม 2 ขั้นตอน คือ
การทดลองใช้เบื้องต้น (Try Out) และการทดลองใช้จริ ง (Trial Run) โดยศึกษารายละเอียด
การทดสอบประสิ ทธิ ภาพก่อนดาเนิ นการ เพื่อป้ องกันความผิดพลาดก่อนดาเนินการ
(3) การทดสอบประสิ ทธิภาพโครงการ ระบบ หรื อแบบจาลอง ที่มีความ
สลับซับซ้อนที่ตอ้ งใช้เวลาและงบประมาณจานวนมากให้ใช้การรับรองโดยผูท้ รงคุณวุฒิ
หรื อผูเ้ ชี่ยวชาญพิเศษจานวน 3-5 คนแล้วแต่ระดับความซับซ้อนหรื อขนาดโครงการ ระบบ
หรื อแบบจาลอง
นวัตกรรมที่อยูใ่ นรู ปโครงการ ได้แก่ โครงการจัดศูนย์เทคโนโลยีการศึกษา ศูนย์
การศึกษานอกโรงเรี ยน ศูนย์คอมพิวเตอร์สาหรับการพัฒนาชุมชน อุทธยานการศึกษา
สถานีวทิ ยุโทรทัศน์ชุมชน เป็ นต้น
39

ระบบหรื อแบบจาลองที่มีความสลับซับซ้อน ได้แก่ ระบบการศึกษาทางไกลไร้


พรมแดน ระบบการศึกษาภควันภาพ (Ubiquitous Educational System) ระบบการสอน
ผ่านดาวเทียมสาหรับพัฒนาท้องถิ่น เป็ นต้น
โครงการหรื อระบบเหล่านี้ ไม่สามารถทดสอบได้ดว้ ยระยะเวลาอันสั้น และต้อง
ใช้งบประมาณมหาศาล จึงทดสอบระบบโดยการรับรองของผูท้ รงคุณวุฒิ
ในการทดสอบประสิ ทธิ ภาพทุกขั้นตอน ผูว้ จิ ยั ต้องพัฒนาแบบประเมินการใช้
ทัศนคติ และความเป็ นไปได้ในการนาระบบไปใช้ในสถานการณ์จริ ง
ก่อนการ ทดสอบประสิ ทธิ ภาพ ต้องตั้งเกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพกระบวนการ (E1) และ
ประสิ ทธิภาพผลลัพธ์ (E2) ไว้ครั้งเดียว คือ 90/90; 85/85; 80/80; 75/75 มิใช้ต้ งั เกณฑ์แยก
แบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และแบบสนาม
(4) การประเมินความพึงพอใจของผูใ้ ช้นวัตกรรม ผูว้ ิจยั ต้องประเมินความพึงพอใจ
โดยพัฒนาแบบประเมินความพึงพอใจนวัตกรรมที่สร้างขึ้น
ในกรณี การประเมินความพึงพอใจสื่ อหรื อชุดการสอน อาจประเมินความพึงพอใจใน
ประเด็นต่อไปนี้

1) การวิเคราะห์ ความพึงพอใจของครู ควรครอบคลุมอย่างน้อย 10 ประเด็น คือ


(1) คุณภาพแบบประเมินก่อนเรี ยน/การประเมินก่อนการเผชิญประสบการณ์
(2) ความชัดเจนในการปฐมนิเทศของครู
(3) ความชัดเจนใจของแผนการสอนประจาหน่วย/แผนการสอนประจาหน่วย
ประสบการณ์
(4) ความชัดเจนของแผนการเรี ยนการสอน/เผชิญประสบการณ์
(5) ความเหมาะสมของศูนย์กิจกรรม/ประสบการณ์หลักและประสบการณ์รอง
(6) ความถูกต้องและความเหมาะสมของเนื้ อหา/ประมวลสาระ
(7) คุณภาพสื่ อเสริ ม (ระบุสื่อเสริ ม เช่น วีดิทศั น์ สไลด์พาเวอร์พอยท์ ฯลฯ)
(8) ความเหมาะสมของการรายงานความก้าวหน้าการเผชิ ญประสบการณ์
(9) ความเหมาะสมของการสรุ ปการเผชิญประสบการณ์ของครุ
(10)ความเหมาะสมของการทดสอบหลังเรี ยน/การเผชิญประสบการณ์

2) การวิเคราะห์ ความพึงพอใจของนักเรียน ควรครอบคลุมอย่างน้อย 10 ประเด็น คือ


(1) ความชัดเจนของแบบประเมินก่อนเรี ยน/การประเมินก่อนการเผชิ ญ
ประสบการณ์
(2) ความชัดเจนในการปฐมนิเทศของครู
40

(3) ความชัดเจนใจของแผนการสอนประจาหน่วย/แผนการสอนประจาหน่วย
ประสบการณ์
(4) ความชัดเจนของแผนการเรี ยนการสอน/แผนเผชิญประสบการณ์
(5) ความเหมาะสมของศูนย์กิจกรรม/ประสบการณ์หลักและประสบการณ์รอง
(6) ความถูกต้องและความเหมาะสมของเนื้ อหา/ประมวลสาระ
(7) คุณภาพสื่ อเสริ ม (ระบุสื่อเสริ ม เช่น วีดิทศั น์ สไลด์พาเวอร์พอยท์ ฯลฯ)
(8) ความเหมาะสมของการรายงานความก้าวหน้าและการรายงานผลสุ ดท้ายการ
เผชิญประสบการณ์
(9) ความเหมาะสมของการสรุ ปการเผชิญประสบการณ์ของครุ
(10)ความเหมาะสมของการทดสอบหลังเรี ยน/การเผชิญประสบการณ์
(โปรดดูตวั อย่างแบบประเมินความถึงพอใจในภาคผนวก)

6.7 ปรั บปรุงต้ นแบบชิ้ นงำนและเขียนรำยงำน เป็ นการนาผลการทดสอบประสิ ทธิภาพมา


ปรับปรุ งต้นแบบชิ้นงานและเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์สาหรับการเผยแพร่
ในรายงานการวิจยั รายละเอียดต้นแบบชิ้นงาน จะอยูใ่ นบทที่ 5 ตามหัวข้อที่ได้อธิบายไว้
แล้วในขั้นบทที่ 5

7. การทดสอบสมมติฐาน
ให้อธิ บายการดาเนิ นการทดสอบสมมติฐาน ตามสมมติฐานทุกข้อที่ต้ งั ไว้ในบทที่ ๑
ในกรณี การทดสอบสมมติฐานนวัตกรรมประเภทชุดการสอน ให้ดาเนินการตามลาดับ ดัง
นี้
1) วิธีการทดสอบความก้าวหน้าทางการเรี ยน ให้นาผลการประเมินก่อนเรี ยน
และหลังเรี ยนเพื่อทดสอบว่า ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเพิ่มขึ้นอย่างมี
นัยสาคัญหรื อไม่ที่ระดับใด โดยแสดงตารางผลการวิเคราะห์
(ให้แสดงสู ตรที่ใช้ในการทดสอบความมีนยั สาคัญ พร้อมอ้างอิงแหล่งที่มา)

2) วิธีการทดสอบประสิ ทธิภาพกระบวนการต่อประสิ ทธิ ภาพผลลัพธ์ (E1/E2)


ให้ระบุเกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพและระดับความเชื่อมัน่
(ให้แสดงสู ตรที่ใช้ในการทดสอบประสิ ทธิภาพ E1/E2 พร้อมอ้างอิง
แหล่งที่มา)
3) วิธีการประเมินความพึงพอใจ จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผูใ้ ช้ชุด
การสอน เช่น ครู และนักเรี ยน
41

(ให้แสดงสู ตรที่ใช้ในการประเมินความพึงพอใจ พร้อมอ้างอิงแหล่งที่มา)

8. ตัวแปรและบริบทการวิจัย
8.1 ตัวแปรต้ นหรือตัวแปรอิสระ (independent Variables-IV) หมายถึงปัจจัยนาเข้า (Input)
ที่มีส่วนทาให้เกิดการแปรผันของตัวแปรตาม และเป็ นปั จจัยที่ไม่สาเร็ จสมบูรณ์ในตัวเองแต่
ต้องผ่านการะบวนการวิเคราะห์หรื อพัฒนาเพื่อให้ได้ตวั แปรตาม มี 3 กลุ่ม ได้แก่
8.1.1 ลักษณะประชากร
8.1.2 ตัวแปรรู ปธรรม-คน งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ วิธีการ (4M)
8.1.3 ตัวแปรนามธรรม-อุดมการณ์ ทัศนคติ ค่านิยมคุณธรรม คุณภาพ

8.2 ตัวแปรกลำง (Intermediate Variables) หมายถึงตัวแปรที่เกิดซ้อนขึ้นระหว่างวิถีหรื อ


เส้นทางของกระบวนการหรื อการกระทาที่ทาให้เกิดแปรปรวนของตัวแปรต้นหรื อตัวแปร
อิสระ และตัวมันเองก็ถูกตัวแปรต้นหรื อตัวแปรอิสระทาให้แปรปรวนตามไปด้วย ได้แก่
ขั้นตอนและกระบวนกระทาต่อตัวแปรต้นเพื่อให้มาซึ่งตัวแปรตาม
8.3 ตัวแปรตาม (Dependent Variables-DV)–ผลการวิจยั ได้แก่ ระบบ แบบจาลอง โมเดล
โครงการ ฯลฯ ที่พฒั นาได้จากกระบวนการวิจยั
8.4 บริบทการวิจัย-สภาพแวดล้อม สถานทีแ่ ละสถานการณ์ที่ทาการวิจัย โดยระบุวิจยั กับ
ใคร (ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง ที่ไหน เมื่อไร)
ทั้งนี้ ไม่ตอ้ งนากรอบแนวคิดการวิจยั ที่เสนอไว้แล้วท้ายบทที่ ๑ มาเสนอซ้ าอีก
42

บทที่ ๔
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

ให้เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล โดยจาแนกเป็ นตอนๆ ตามวัตถุประสงค์ ตามรู ปแบบ


ต่อไปนี้
ตอนที่ ๑
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลลักษณะประชากร

ให้เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวเพศ อายุ และข้อมูลอื่นที่ปรากฏอยูใ่ นแบบสอบ โดย


เสนอผลการวิเคราะห์ก่อนแล้วตามด้วยตาราง ห้ามเสนอตารางก่อน ให้เสนอตารางในภาคผนวก
ตัวอย่ างแม่ แบบ
ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับลักษณะประชากรและกลุ่มตัวอย่าง สาหรับทดสอบ
ประสิ ทธิภาพชุดการสอน (ระบุประเภทชุดการสอน) พบว่า
1) ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง กลุ่มที่ ๑ ผู้ตอบแบบสอบถำมกำรประเมินควำม
ควำมต้ องกำรนวัตกรรม จานวน ... คนสุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี.... จานวน ...
จาแนกเป็ นเพศชาย ร้อยละ ... เพศหญิง ร้อยละ... อายุ (จาแนกตามช่วง) ร้อย
ละ... และข้อมูลอย่างอื่น (ระบุ เช่น การศึกษา ประสบการณ์การทางาน) ร้อย
ละ...
(โปรดดูตารางที่ ๑ ในภาค ผนวก ๑.๑)
2) ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำงกลุ่มที่ ๒ ผู้เชี่ ยวชำญให้ ควำมเห็นเกี่ยวกรอบ
แนวคิดต้ นแบบชิ้นงำน จานวน ... คนสุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี.... จานวน ... จาแนก
เป็ นเพศชาย ร้อยละ ... เพศหญิง ร้อยละ... อายุ (จาแนกตามช่วง) ร้อยละ...
และข้อมูลอย่างอื่น (ระบุ เช่น การศึกษา ประสบการณ์การทางาน) ร้อยละ...
(โปรดดูตารางที่ ๒ ในภาค ผนวก ๑.๒)
3) ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ ำง กลุ่มที่ ๓ ครูและนักเรี ยนทีใ่ ช้ ในกำรทดสอบ
ประสิทธิภำพนวัตกรรม (กรณี เป็ นสื่ อหรื อชุดการสอน)
(1) การทดสอบประสิ ทธิ ภาพแบบเดี่ยว (1:1) ใช้ครู 1 คน นักเรี ยน 1-3
คน ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย
43

ก. ครู ผสู ้ อน เป็ นครู ระดับชั้น (ระบุช้ นั ) จานวน 1 คน สุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี


(ระบุวธิ ี ) จานวน 1 คน
ข. นักเรี ยนที่ใช้ในการทดสอบประสิ ทธิ ภาพ เป็ นนักเรี ยนระดับชั้น (ระบุ
ชั้น) จานวน ... คน สุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี .... จาแนกเป็ นนักเรี ยนอ่อน 1 คน
นักเรี ยนระดับปานกลาง 1 คน และนักเรี ยนเก่ง 1 คน รวม จานวน 3 คน

(2) สาหรั บการทดสอบประสิ ทธิ ภาพแบบกลุ่ม (1:10) ประชากรและกลุ่ม


ตัวอย่างประกอบด้วย
ก. ครู ผสู้ อน เป็ นครู ระดับชั้น (ระบุช้ นั ) จานวน... คน สุ่ มตัวอย่างด้วย
วิธี (ระบุวธิ ี) จานวน 1 คน (เป็ นคนเดียวกับครู ที่สอนแบบเดี่ยว)
ข. นักเรี ยนที่ใช้ในการทดสอบประสิ ทธิภาพ เป็ นนักเรี ยนระดับชั้น
(ระบุช้ นั ) จานวน ... คน สุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี .... จาแนกเป็ นนักเรี ยน
อ่อน 3 คน นักเรี ยนระดับปานกลาง 3 คน และนักเรี ยนเก่ง 3 คน
รวม จานวน 9 คน (ต้องใช้นกั เรี ยนคนละกลุ่มกับที่ใช้ในการ
ทดสอบประสิ ทธิภาพ)

(3) สาหรั บการทดสอบประสิ ทธิ ภาพ แบบสนาม (1:100) ใช้ครู 1 คน กับ


นักเรี ยน 20-40 คน (สาหรับการ ทดสอบประสิ ทธิ ภาพ แต่ละครั้ง) ประชากรและ
กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย
(1) ครู ผสู ้ อน เป็ นครู ระดับชั้น (ระบุช้ นั ) จานวน... คน สุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี
(ระบุวธิ ี) จานวน 1 คน (เป็ นคนเดียวกับครู ที่สอนแบบกลุ่ม)
(2) นักเรี ยนที่ใช้ในการทดสอบประสิ ทธิ ภาพ เป็ นนักเรี ยนระดับชั้น (ระบุ
ชั้น) จานวน .... คน สุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี .... จาแนกเป็ นนักเรี ยนอ่อน 10 คน
นักเรี ยนระดับปานกลาง 10 คน และนักเรี ยนเก่ง 10 คน รวม จานวน 30 คน
(โปรดดูตารางที่ ๓ ในภาค ผนวก ๑.๓)
4) ประชากรกลุ่มที่ ๔ ผูท้ รงคุณวุฒิรับรองต้นแบบชิ้นงาน (หากมี) เป็ นผูท้ ี่มี
คุณสมบัติตามเกณฑ์ (ให้ระบุเกณฑ์) จานวน ... คนสุ่ มตัวอย่างด้วยวิธี....
จานวน ... จาแนกเป็ นเพศชาย ร้อยละ ... เพศหญิง ร้อยละ... อายุ (จาแนกตาม
ช่วง) ร้อยละ... และข้อมูลอย่างอื่น (ระบุ เช่น การศึกษา ประสบการณ์การ
ทางาน) ร้อยละ... (โปรดดูตารางที่ ๔ ในภาค ผนวก ๑.๔)
หมายเหตุ หลังจากวิเคราะห์ขอ้ มูลลักษณะประชากรทุกกลุ่มแล้ว ให้ทาตารางสรุ ป
ลักษณะประชาการ นาเสนอเป็ นตารางแรก ในบทที่ ๔ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
44

ตอนที่ ๒
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลการประเมินความต้ องการนวัตกรรม
1) ให้วเิ คราะห์ผลตามประเด็นคาถามในแบบสอบถาม
2) เสนอผลการวิเคราะห์ตามประเด็น แล้วมีขอ้ ความระบุวา่ “โปรดดู
ตารางที่ ในภาคผนวกที่....)
3) การเสนอผลการวิเคราะห์ให้เสนอผลการวิเคราะห์และแยกตารางตาม
ประเด็น
4) ให้สรุ ปผลการประเมินความต้องการเป็ นภาพรวมและทาตารางเสนอ
เป็ นตารางที่สอง ในบทที่ ๔ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล)

ตอนที่ ๓
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลทดสอบประสิ ทธิภาพ
ให้เสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพตามลาดับคือ แบบเดี่ยว แบบกลุ่ม
และแบบสนาม ตามรู ปแบบดังนี้
1) ผลกำรทดสอบประสิทธิภำพแบบเดี่ยว
(11)ให้ผวู้ จิ ยั สร้างแบบประเมิน เพื่อใช้ในระหว่างสังเกตการเรี ยนแบบเดี่ยวของ
นักเรี ยน เมื่อทดลองสอน แล้ว ให้ทาการวิเคราะห์ขอ้ ค้นพบจากการทดสอบ
ประสิ ทธิภาพแบบเดี่ยวจากแบบประเมิน โดยจาแนกเป็ น 3 หัวข้อคือ
ก. เวลาที่ใช้ในการเรี ยนหรื อเผชิ ญประสบการณ์ตามขั้นตอน
ให้ระบุวา่ ในแต่ละขั้นบทที่กาหนดไว้ในแผนการสอนหรื อ
แผนกากับประสบการณ์ (ในกรณี เป็ นชุ ดการสอนแบบอิง
ประสบการณ์) นักเรี ยนใช้เวลากี่นาที
ข. สรุ ปผลการประเมินในภาพรวมว่า อยูใ่ นระดับดีเด่น ดีมาก ดี
พอใช้ หรื อต้องปรับปรุ ง
ค. ให้ระบุขอ้ ดีของ ทดสอบประสิ ทธิภาพ แบบเดี่ยว
ง. ให้ให้ระบุจุดแข็งและจุดอ่อนของการทดสอบประสิ ทธิ ภาพ
แบบเดี่ยวจาแนกจุดอ่อน ตามประเด็นต่อไปนี้
ก) ประเมินจุดเข็ง/จุดอ่อนตามขั้นตอนการเรี ยน
45

(ก) การทดสอบก่อนเรี ยน/การประเมินก่อนเผชิ ญ


ประสบการณ์
(ข) การนาเข้าสู่ บทเรี ยน/การปฐมนิเทศ
(ค) การประกอบกิจกรรมการเรี ยน/การเผชิญ
ประสบการณ์
(ง) การรายงานความก้าวหน้าในการเรี ยน/การเผชิญ
ประสบการณ์
(จ) การรายงานผลการเผชิญประสบการณ์ (สาหรับการ
สอนแบบอิงประสบการณ์)
(ฉ) การสรุ บทเรี ยน/การสรุ ปการเผชิญประสบการณ์
(ช) การทดสอบหลังเรี ยน/การประเมินหลังเผชิญ
ประสบการณ์
ข) ประเมินปฏิกิริยาของนักเรี ยน
(ก) การแสดงท่าทางสงสัยหรื อฉงน
(ข) การแสดงท่าทางตั้งใจ เอาจริ งกับการเรี ยนหรื อการ
เผชิญประสบการณ์
(ค) การแสดงท่าทางสนุกสนาน เพลิดเพลิน หรื ออาการ
เบื่อหน่าย
(ง) ความร่ วมมือในการทางานเป็ นกลุ่ม
(จ) การแสดงความพึงพอใจหรื อไม่พึงพอใจ
ค) ประเมินผลการใช้สื่อ ให้รายงานคุณภาพของสื่ อที่นาเสนอในชุดการ
สอน โดยสังเกตพฤติกรรมการใช้ของนักเรี ยน
2) ผลกำรทดสอบประสิ ทธิภำพแบบกลุ่มและแบบสนำม
(12)ให้ผวู ้ จิ ยั สร้างแบบประเมินการทดสอบประสิ ทธิ ภาพแบบกลุ่ม หรื ออาจใช้
แบบวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ของชัยยงค์ (Chaiyong Interaction Analysis3 CAI)
แบบวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ของแฟลนเดอร์ (Flander Interaction Analysis-
FIA) หรื อแบบวิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ของบราวน์ (Brown Interaction Analysis-
BIA) ก็ได้เพื่อใช้ในระหว่างสังเกตการเรี ยนเป็ นกลุ่มของนักเรี ยน เมื่อเสร็ จสิ้ น
ทดลองสอนแล้วให้ทาการวิเคราะห์ขอ้ ค้นพบจากการทดสอบประสิ ทธิภาพ
แบบกลุ่มหรื อแบบสนามจากแบบประเมิน โดยจาแนกเป็ น 3 หัวข้อคือ
46

ก. เวลาที่ใช้ในการเรี ยนหรื อเผชิญประสบการณ์ตามขั้นตอน ให้ระบุวา่ ใน


แต่ละขั้นบทที่กาหนดไว้ในแผนการสอนหรื อแผนกากับประสบการณ์
(ในกรณี เป็ นชุดการสอนแบบอิงประสบการณ์) นักเรี ยนใช้เวลากี่นาที
ข. สรุ ปผลการประเมินในภาพรวมว่า อยูใ่ นระดับดีเด่น ดีมาก ดี พอใช้
หรื อต้องปรับปรุ ง
ค. ให้ระบุขอ้ ดีของ ทดสอบประสิ ทธิภาพ แบบเดี่ยว
ง. ให้ระบุจุดแข็งและจุดอ่อนของการทดสอบประสิ ทธิ ภาพแบบกลุ่มหรื อ
แบบสนาม จาแนกจุดอ่อน ตามประเด็นต่อไปนี้
ก) ประเมินจุดเข็ง/จุดอ่อนตามขั้นตอนการเรี ยน
(ก) การทดสอบก่อนเรี ยน/การประเมินก่อนเผชิ ญ
ประสบการณ์
(ข) การนาเข้าสู่ บทเรี ยน/การปฐมนิเทศ
(ค) การประกอบกิจกรรมการเรี ยน/การเผชิญ
ประสบการณ์
(ง) การรายงานความก้าวหน้าในการเรี ยน/การเผชิญ
ประสบการณ์
(จ) การรายงานผลการเผชิญประสบการณ์ (สาหรับการ
สอนแบบอิงประสบการณ์)
(ฉ) การสรุ บทเรี ยน/การสรุ ปการเผชิญประสบการณ์
(ช) การทดสอบหลังเรี ยน/การประเมินหลังเผชิญ
ประสบการณ์
ข) ประเมินปฏิกิริยาของนักเรี ยน
(ฉ) การแสดงท่าทางสงสัยหรื อฉงน
(ช) การแสดงท่าทางตั้งใจ เอาจริ งกับการเรี ยนหรื อการ
เผชิญประสบการณ์
(ซ) การแสดงท่าทางสนุกสนาน เพลิดเพลิน หรื ออาการ
เบื่อหน่าย
(ฌ) ความร่ วมมือในการทางานเป็ นกลุ่ม
(ญ) การแสดงความพึงพอใจหรื อไม่พึงพอใจ
ค) ประเมินผลการใช้สื่อเดี่ยวหรื อสื่ อประสมในชุดการสอน ให้รายงาน
คุณภาพของสื่ อที่นาเสนอในชุดการสอน โดยสังเกตพฤติกรรมการใช้
ของนักเรี ยน
47

3) กำรเสนอผลกำรวิเครำะห์
ให้ระบุเกณฑ์ประสิ ทธิภาพกระบวนการ (E1) และประสิ ทธิภาพผลลัพธ์ (E2) ไว้ครั้ง
เดียว คือ 90/90; 85/85; 80/80; 75/75 มิใช้ต้ งั เกณฑ์แยกแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และแบบสนาม
แล้วเสนอผลการวิเคราะห์แยกเป็ นแบบเดี่ยว แบบกลุ่ม และแบบสนาม และนาเสนอเป็ น
ตารางดังนี้
(1) ผลการทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
(2) ผลการ ทดสอบประสิ ทธิ ภาพ เพื่อพิจารณาว่า เป็ นไปตามเกณฑ์ ที่กาหนดหรื อไม่

ตอนที่ ๔
ผลการวิเคราะห์ ความพึงพอใจ

ให้วเิ คราะห์ความพึงพอใจของครู และผูเ้ รี ยนตามประเด็นที่กาหนดไว้ในแบบสอบถาม ทา


ตารางและเสนอในภาคผนวก

1) การวิเคราะห์ ความพึงพอใจของครู ควรครอบคลุมอย่างน้อย ประเด็น คือ


3) ความพอใจในการประเมินก่อนเรี ยน/การประเมินก่อนการเผชิ ญประสบการณ์
4) ความชัดเจนในการปฐมนิเทศของครู
5) ความชัดเจนใจของแผนการสอนประจาหน่วย/แผนการสอนประจาหน่วย
ประสบการณ์
6) ความชัดเจนของแผนการเรี ยนการสอน/เผชิญประสบการณ์
7) ความเหมาะสมของศูนย์กิจกรรม/ประสบการณ์หลักและประสบการณ์รอง
8) ความถูกต้องและความเหมาะสมของเนื้ อหา/ประมวลสาระ
9) คุณภาพสื่ อเสริ ม (ระบุสื่อเสริ ม เช่น วีดิทศั น์ สไลด์พาเวอร์พอยท์ ฯลฯ)
10) ความเหมาะสมของการรายงานความก้าวหน้าการเผชิ ญประสบการณ์
11) ความเหมาะสมของการสรุ ปการเผชิญประสบการณ์ของครุ
12) ความเหมาะสมของการทดสอบหลังเรี ยน/การเผชิญประสบการณ์

2) การวิเคราะห์ ความพึงพอใจของนักเรียน ควรครอบคลุมอย่างน้อย ประเด็น คือ


(1) ความชัดเจนของแบบประเมินก่อนเรี ยน/การประเมินก่อนการเผชิ ญ
ประสบการณ์
48

(2) ความชัดเจนในการปฐมนิเทศของครู
(3) ความชัดเจนใจของแผนการสอนประจาหน่วย/แผนการสอนประจาหน่วย
ประสบการณ์
(4) ความชัดเจนของแผนการเรี ยนการสอน/แผนเผชิญประสบการณ์
(5) ความเหมาะสมของศูนย์กิจกรรม/ประสบการณ์หลักและประสบการณ์รอง
(6) ความถูกต้องและความเหมาะสมของเนื้ อหา/ประมวลสาระ
(7) คุณภาพสื่ อเสริ ม (ระบุสื่อเสริ ม เช่น วีดิทศั น์ สไลด์พาเวอร์พอยท์ ฯลฯ)
(8) ความเหมาะสมของการรายงานความก้าวหน้าและการรายงานผลสุ ดท้ายการ
เผชิญประสบการณ์
(9) ความเหมาะสมของการสรุ ปการเผชิญประสบการณ์ของครุ
(10)ความเหมาะสมของการทดสอบหลังเรี ยน/การเผชิญประสบการณ์

ตอนที่ ๕
ผลการทดสอบสมมติฐาน
ให้แสดงผลการทดสอบสมมติฐานทุกข้อที่ต้ งั ไว้ในบทที่ ๑
ในกรณี การทดสอบสมมติฐานนวัตกรรมประเภทชุดการสอน ให้ดาเนินการตามลาดับ ดัง
นี้
1) ผลการทดสอบความก้าวหน้าทางการเรี ยน ให้นาผลการประเมินก่อนเรี ยนและหลัง
เรี ยนเพื่อทดสอบว่า ผูเ้ รี ยนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเพิ่มขึ้นอย่างมีนยั สาคัญหรื อไม่ที่
ระดับใด โดยแสดงตารางผลการวิเคราะห์
(ให้แสดงตารางสรุ ปผลการทดสอบสมมติฐานตรงนี้)
2) ผลการทดสอบประสิ ทธิ ภาพกระบวนการต่อประสิ ทธิ ภาพผลลัพธ์ (E1/E2) ให้ระบุ
เกณฑ์ประสิ ทธิ ภาพและระดับความเชื่อมัน่
(ให้แสดงตารางสรุ ปผลการทดสอบสมมติฐานตรงนี้)
3) ผลการประเมินความพึงพอใจ จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผูใ้ ช้ชุดการสอน
เช่น ครู และนักเรี ยน
49

(ให้แสดงตารางสรุ ปผลการทดสอบสมมติฐานตรงนี้)

บทที่ ๕
ผลการวิจยั -รายละเอียดต้ นแบบชิ้นงาน

ให้นาผลการวิจยั ที่เป็ นต้นแบบชิ้นงานนาเสนอในบทที่ ๕ โดยทาได้สองแบบ คือ


1) แบบรวมในเล่มรายงาน ในกรณี ที่ตน้ แบบชิ้นงาน มีความหนาไม่มาก (ไม่เกิน 200
หน้า) ได้แก่ ต้นแบบชิ้นงานที่เป็ นแบบจาลอง ระบบ โครงการฯ
2) แบบแยกเล่ม ในกรณี ที่ตน้ แบบชิ้นงานมีจานวนมากกว่า 200 ขึ้นไป ได้แก่ชุดการสอน
แบบเรี ยนหรื อตารา เป็ นต้น
3) ให้บทที่ 5 ประกอบอย่างน้อย 3 ตอน ได้แก่
ตอนที่ ๑ บทนำ ประกอบด้วย หัวข้อ คือ (๑) หลักการและเหตุผลที่จะต้องพัฒนา
(๒) วัตถุประสงค์ (๓) ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม อิงขั้นคอน 7 ขั้น
และ(๔) ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ตอนที่ ๒รำยละเอียดต้ นแบบชิ้นงำน ประกอบด้วย (๑) องค์ประกอบ (๒) ขั้นตอน
(๓) แบบจาลองระบบ
ตอนที่ ๓ กำรนำต้ นแบบชิ้นงำนไปใช้ ประกอบด้วย (๑) พันธผูบ้ ริ หาร (๒)
เงื่อนไขความสาเร็ จ)

บทที่ ๖
สรุปการวิจัย ผลการวิจัย อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

ให้เสนอสาระของบทที่ ๖ ตามลาดับดังนี้
สรุ ปการวิจัย
1. วัตถุประสงค์การวิจยั
1.1 วัตถุประสงค์ทวั่ ไป
1.2 วัตถุประสงค์เฉพาะ
2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2.1 ประชากร
50

2.2 กลุ่มตัวอย่าง

3. เครื่ องมือวิจยั การรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ ข้อมูล


3.1 เครื่ องมือวิจยั
3.2 การรวบรวมข้อมูล
3.3 การวิเคราะห์ ข้อมูล
4. ขั้นตอนการวิจยั
(ให้อธิบาย 7 ขั้นตอนโดยสังเขป)

5. สมมติฐานการวิจยั
(ให้ระบุสมมติฐานเป็ นข้อๆ )

cbrahmawong@hotmail.com;
chaiyongusc@gmail.com
www.skype.com
dr.chaiyong.brahmawong

You might also like