แผนวิทย์ป2 ธันวาคม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 21

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัวเรา หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการน้าวัสดุมาผสมกัน กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.

2/1 เวลา 1 ชั่วโมง


สอนวันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.1 ป.2/2 1.อธิบายสมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ วัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกันทำให้ได้สมบัติที่
มาผสมกันได้ (K) - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ
2.สืบสอบข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติทสี่ งั เกตได้ของวัสดุที่เกิด - ทักษะชีวิต
จากการนำวัสดุมาผสมกัน อย่างรวมพลัง ด้วยความใฝ่รู้ - การใช้เทคโนโลยี
ได้ (P)
3.มีความใฝ่รู้ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ - นำเสนอหน้าชั้นเรียน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. นักเรียนสังเกตทัพพีและโทรศัพท์เคลื่อนที่ แล้วร่วมกันตอบคำถามกระตุ้น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
ความคิด ดังนี้ ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
1.1ทัพพีทำมาจากวัสดุกี่ชนิด อะไรบ้าง วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
(ตัวอย่างคำตอบ ทัพพีทำมาจากวัสดุ 2 ชนิด ประกอบกัน คือ พลาสติกและ 2. ทัพพี โทรศัพท์มือถือ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
โลหะ) ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
1.2 โทรศัพท์เคลื่อนที่ทำมาจากวัสดุกี่ชนิด อะไรบ้าง ปัญหา/อุปสรรค์
(ตัวอย่างคำตอบ โทรศัพท์เคลื่อนที่ทำมาจากวัสดุ 3 ชนิด ประกอบกัน คือ ...................................................................................
พลาสติก โลหะและกระจก) ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ขั้นสอน ...................................................................................
2. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันศึกษา สืบสอบข้อมูลเกี่ยวกับสมบัติทสี่ งั เกตได้
ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
พร้อมทั้งออกแบบการนำเสนอ
ผลการสืบสอบให้อยู่ในแบบที่น่าสนใจ
3. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอผลการสืบสอบหน้าชั้นเรียน
4. นักเรียนแต่ละกลุม่ นำข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบว่ามีอะไรที่เหมือน
หรือแตกต่างกันร่วมกันแก้ไขเพิม่ เติมให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วนที่สุด ในประเด็น
สมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน

ขั้นสรุป
5. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับสมบัติที่
สังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน ในสมุด

ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัว หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 5 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.1 ป.2/2 1.อธิบายสมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ วัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกันทำให้ได้สมบัติ
มาผสมกันได้ (K) - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน ที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ
2.ปฏิบัติกิจกรรม สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุ - ทักษะชีวิต
มาผสมกัน อย่างรวมพลัง ด้วยความรอบคอบและตั้งใจ - การใช้เทคโนโลยี
ได้ (P)
3.เลือกวัสดุมาใช้งานได้อย่างเหมาะสมตามสมบัติที่
สังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกันได้ (P)
4.มีความรอบคอบและตั้งใจ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ - ใบงาน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1.นักเรียนสังเกตบัตรคำที่มีชื่อวัสดุชนิดต่าง ๆ และอ่าน โดยพร้อมเพรียงกัน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
ด้วยเสียงดัง ฟังชัดเจนแล้วร่วมกันตอบคำถามสำคัญกระตุ้นความคิด ดังนี้ ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
2.บัตรคำ คำศัพท์ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
ปัญหา/อุปสรรค์
1.1ถ้านักเรียนต้องการทำขนมวุ้น ต้องใช้วัสดุชนิดใดมาผสมกันบ้าง เพราะเหตุ ...................................................................................
ใด ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
1.2ถ้านักเรียนต้องประดิษฐ์กระปุกออมสิน ต้องใช้วัสดุชนิดใดมาผสมกันบ้าง ...................................................................................
เพราะเหตุใด
1.3ถ้านักเรียนต้องการคอนกรีต ต้องใช้วัสดุชนิดใดมาผสมกันบ้าง เพราะเหตุใด
1.4วัสดุต่าง ๆ สามารถนำมาผสมกันได้หรือไม่ และสมบัติของวัสดุผสมเป็น
อย่างไร
ขั้นสอน
2. นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมเรื่อง สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสม
กัน และบันทึกผลการทำกิจกรรมในแบบฝึกหัด

ขั้นสรุป
3. นักเรียนร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน
เกี่ยวกับ สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกันว่า สิ่งที่นำมาสังเกตเกิด
จากการนำวัสดุหลายชนิดผสมกัน เพื่อให้มีลักษณะหรือสมบัตเิ ฉพาะ เพื่อ
นำไปใช้ประโยชน์ เช่น แป้ง นำตาล กะทิ สามารถนำมาผสมรวมกัน ทำให้มี
ลักษณะนุม่ มีสสี ัน รสชาติหวาน จึงเหมาะสมที่จะนำไปทำขนมไทยได้

ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัว หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง สมบัติของวัสดุที่เกิดจากการน้าวัสดุมาผสมกัน กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 8 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว2.1 ป.2/2 1.อธิบายสมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ วัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกัน ทำให้ได้สมบัติที่
มาผสมกันได้ (K) - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ
2.จัดทำสมุดเล่มเล็ก วัสดุและสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุ - ทักษะชีวิต
ที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน ด้วยความรับผิดชอบได้ - การใช้เทคโนโลยี
(P)
3.เลือกวัสดุมาใช้งานได้อย่างเหมาะสมตามสมบัติที่
สังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกันได้ (P)
4.มีความรับผิดชอบ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ - ชิ้นงาน สมุดเล่มเล็ก ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1ครูทบทวนความรู้เดิมที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
ขั้นสอน ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
2.นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน สำรวจวัสดุในท้องถิ่นที่สนใจ 5 ตัวอย่าง วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
ที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน แล้วนำข้อมูลมาออกแบบ และจัดทำเป็นสมุด ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เล่มเล็ก จัดทำเป็นชิ้นงาน ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
ปัญหา/อุปสรรค์
ขั้นสรุป ...................................................................................
3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ วัสดุบางอย่าง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
สามารถนำมาผสมกัน ซึ่งทำให้ได้สมบัติที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตาม ...................................................................................
ต้องการ เช่น แป้งผสมน้ำตาลและกะทิ ใช้ทำขนมไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเยื่อ
กระดาษ ใช้ทำกระปุกออมสิน ปูนผสมหิน ทราย และน้ำใช้ทำคอนกรีต
4. ผู้แทนนักเรียนออกมาพูดและนำเสนอสมุดเล่มเล็ก วัสดุและสมบัติที่สังเกต
ได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุมาผสมกันหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กัน เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
5. นักเรียนนำสมุดเล่มเล็ก วัสดุและสมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำ
วัสดุมาผสมกัน เก็บไว้มุมสื่อการเรียนในห้อง เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้สำหรับ
นักเรียนชั้นอื่น ๆที่สนใจต่อไป

ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัว หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง กระปุกออมสิน(1) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 12 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.1 ป.2/2 1.อธิบายสมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ วัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกัน ทำให้ได้สมบัติที่
มาผสมกันได้ (K) - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ
2.ปฏิบัติกิจกรรม กระปุกออมสิน อย่างรวมพลังด้วย - ทักษะชีวิต
ความรับผิดชอบได้ (P) - การแก้ปัญหา
3.ประดิษฐ์กระปุกออมสินได้ (P)
4.มีความรับผิดชอบ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ - ใบงาน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. นักเรียนสังเกตภาพขนมครก วุ้นผลไม้รวม และถนนคอนกรีต แล้วร่วมกัน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
บอกชนิดของวัสดุสมบัติของวัสดุทเี่ กิดจากการนำวัสดุมาผสมกัน ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามสำคัญกระตุ้นความคิด ก่อนเข้าสู่กิจกรรม ดังนี้ วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
2.1 วัสดุชนิดต่าง ๆ สามารถนำมาผสมกันได้หรือไม่ และสมบัติของวัสดุผสมจะ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เป็นอย่างไร (ตัวอย่างคำตอบ วัสดุบางชนิดสามารถนำมาผสมกัน ทำให้ได้ ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
สมบัติที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ) ปัญหา/อุปสรรค์
ขั้นสอน ...................................................................................
3. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันทำกิจกรรม เรื่อง กระปุกออมสิน และบันทึกผล ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
การทำกิจกรรมในใบงาน ...................................................................................

ขั้นสรุป
4. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรม และสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็น
ความรู้ร่วมกันว่าวัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกัน ซึ่งทำให้ได้สมบัติที่
เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ
ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัว หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง กระปุกออมสิน(2) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 15 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.1 ป.2/2 1.อธิบายสมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ วัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกัน ทำให้ได้สมบัติที่
มาผสมกันได้ (K) - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ
2.ประดิษฐ์กระปุกออมสิน อย่างรวมพลังด้วยความ - ทักษะชีวิต - อยู่อย่างพอเพียง
รับผิดชอบได้ (P) - การแก้ปัญหา
4.มีความรับผิดชอบ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ - ชิ้นงาน ประปุกออมสิน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. ครูทบทวนความรู้เดิมที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เปเปอร์มาเช่ ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
ขั้นสอน ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
2. นักเรียนเชื่อมโยงความรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนักเรียน วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
แต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ และประดิษฐ์ กระปุกออมสินเปเปอร์ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
มาเช่โดยใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น จัดทำเป็นชิ้นงาน ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
ปัญหา/อุปสรรค์
ขั้นสรุป ...................................................................................
3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ วัสดุบางอย่าง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
สามารถนำมาผสมกัน ซึ่งทำให้ได้สมบัติที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตาม ...................................................................................
ต้องการ เช่น แป้งผสมน้ำตาลและกะทิ ใช้ทำขนมไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเยื่อ
กระดาษ ใช้ทำกระปุกออมสิน ปูนผสมหิน ทราย และน้ำ ใช้ทำคอนกรีต
4. ผู้แทนนักเรียนออกมาพูดและนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ กระปุกออมสิน หน้าชั้น
เรียน เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้กัน เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกีย่ วกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบ
และวิธีการทำงานที่มีแบบแผน
6. นักเรียนนำเงินที่เหลือจากค่าใช้จ่ายในแต่ละวันไปหยอดลงในกระปุกออมสิน
เพื่อเป็นเงินออมไว้ใช้จ่ายในยามจำเป็น
ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัว หน่วยย่อยที่ 2 เรื่อง กระปุกออมสิน(2) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 15 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.1 ป.2/2 1.อธิบายสมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุที่เกิดจากการนำวัสดุ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ วัสดุบางอย่างสามารถนำมาผสมกัน ทำให้ได้สมบัติที่
มาผสมกันได้ (K) - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตามต้องการ
2.ประดิษฐ์กระปุกออมสิน อย่างรวมพลังด้วยความ - ทักษะชีวิต - อยู่อย่างพอเพียง
รับผิดชอบได้ (P) - การแก้ปัญหา
4.มีความรับผิดชอบ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ - ชิ้นงาน ประปุกออมสิน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. ครูทบทวนความรู้เดิมที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เปเปอร์มาเช่ ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
ขั้นสอน ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
2. นักเรียนเชื่อมโยงความรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนักเรียน วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
แต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ และประดิษฐ์ กระปุกออมสินเปเปอร์ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
มาเช่โดยใช้วัสดุเหลือใช้ในท้องถิ่น จัดทำเป็นชิ้นงาน ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
ปัญหา/อุปสรรค์
ขั้นสรุป ...................................................................................
3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ วัสดุบางอย่าง ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
สามารถนำมาผสมกัน ซึ่งทำให้ได้สมบัติที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ตาม ...................................................................................
ต้องการ เช่น แป้งผสมน้ำตาลและกะทิ ใช้ทำขนมไทย ปูนปลาสเตอร์ผสมเยื่อ
กระดาษ ใช้ทำกระปุกออมสิน ปูนผสมหิน ทราย และน้ำ ใช้ทำคอนกรีต
4. ผู้แทนนักเรียนออกมาพูดและนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ กระปุกออมสิน หน้าชั้น
เรียน เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรู้กัน เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
5. นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปเกีย่ วกับวิธีการทำงานให้เห็นการคิดเชิงระบบ
และวิธีการทำงานที่มีแบบแผน
6. นักเรียนนำเงินที่เหลือจากค่าใช้จ่ายในแต่ละวันไปหยอดลงในกระปุกออมสิน
เพื่อเป็นเงินออมไว้ใช้จ่ายในยามจำเป็น
ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัว หน่วยย่อยที่ 3 เรื่อง การนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ และประโยชน์(1) กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 19 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.1 ป.2/3 1.อธิบายการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ และ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ การนำวัสดุมาทำเป็นวัตถุในการใช้งานตาม
ป.2/4 ประโยชน์ของการนำวัสดุกลับมาใช้ได้ (K) - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน วัตถุประสงค์ ขึ้นอยู่กับสมบัติของวัสดุ วัสดุที่ใช้แล้ว
2.ปฏิบัติกิจกรรม การนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่และ - ทักษะชีวิต - อยู่อย่างพอเพียง อาจนำกลับมาใช้ใหม่ได้
ประโยชน์ของการนำวัสดุกลับมาใช้ใหม่ เปรียบเทียบ - การแก้ปัญหา
สมบัติทสี่ ังเกตได้ของวัสดุด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจได้
(P)
3.ตระหนักถึงประโยชน์ของการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมา
ใช้ใหม่ โดยการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ -ใบงาน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. นักเรียนร่วมกันบอกชื่อวัสดุเหลือใช้ในชีวิตประจำวัน นักเรียนช่วยกันบันทึก ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
คำตอบบนกระดานในแบบแผนภาพความคิด ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
2. นักเรียนร่วมกันตอบคำถามสำคัญกระตุ้นความคิด ก่อนเข้าสู่กิจกรรม ดังนี้ วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
2.1 วัสดุที่อยู่รอบตัวเราที่ใช้แล้ว สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้อีกครั้ง 2. ใบงานเรื่อง การนำวัสดุที่ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
หรือไม่ อย่างไร (การนำวัสดุมาทำเป็นวัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ขึ้นอยู่ ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
กับสมบัติของวัสดุ วัสดุที่ใช้แล้ว อาจนำกลับมาใช้ใหม่ได้) และประโยชน์ของการนำ ปัญหา/อุปสรรค์
ขั้นสอน วัสดุกลับมาใช้ใหม่ ...................................................................................
3. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันอย่างรวมพลังทำกิจกรรมเรื่อง การนำวัสดุที่ใช้ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
แล้วกลับมาใช้ใหม่และประโยชน์ของการนำวัสดุกลับมาใช้ และบันทึกผลการ ...................................................................................
ทำกิจกรรมในใบงาน
ขั้นสรุป
4. นักเรียนเชื่อมโยงความรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนักเรียน
แต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ และประดิษฐ์สิ่งประดิษฐ์ของเล่น ของใช้
โดยใช้วัสดุเหลือใช้ จัดทำเป็นชิ้นงาน
5. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ การนำวัสดุมาท้าเป็น
วัตถุในการใช้งานตามวัตถุประสงค์ขึ้นอยู่กับสมบัติของวัสดุ วัสดุที่ใช้แล้วอาจ
นำกลับมาใช้ใหม่ได้

ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 หน่วยที่ 4 เรื่อง วัสดุรอบตัว หน่วยย่อยที่ 3 เรื่อง การนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ และประโยชน์(2) กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 22 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.1 ป.2/3 1.อธิบายการนำวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ ประโยชน์ - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ เศษวัสดุต่าง ๆ สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้
ป.2/4 ของการนำวัสดุกลับมาใช้ได้และชือ่ ภาพและระบุวัสดุที่ - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน
ใช้ตกแต่งภาพได้ (K) - ทักษะชีวิต - อยู่อย่างพอเพียง
2.ปฏิบัติกิจกรรม สร้างภาพสวยด้วยวัสดุหลากหลาย - การแก้ปัญหา
อย่างรวมพลัง ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจได้และประดิษฐ์
ภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้ได้ (P)
3.มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ -ใบงาน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. นักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการนำเศษวัสดุมาใช้ประโยชน์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 -ชิ้นงานประดิษฐ์ ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
โดยร่วมกันตอบคำถามสำคัญ เพื่อกระตุ้นนักเรียนเกิดกระบวนการคิด ดังนี้ ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
1.1เรานำเศษวัสดุต่าง ๆ มาทำประโยชน์ได้อย่างไร วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
(ตัวอย่างคำตอบ นำเศษผ้ามาทำตุก๊ ตา นำขวดพลาสติกมาทำกระถางต้นไม้ นำ 2. ใบงาน เรื่อง สร้างภาพ ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กระดาษที่เหลือมาทำสมุดทำมือ) สวยด้วยวัสดุหลากหลาย ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
ขั้นสอน ปัญหา/อุปสรรค์
2. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันทำกิจกรรม เรื่อง สร้างภาพสวยด้วยวัสดุ ...................................................................................
หลากหลาย และบันทึกผลการทำกิจกรรมในใบงาน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ขั้นสรุป ...................................................................................
3. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็น
ความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการประดิษฐ์ภาพจากเศษวัสดุเหลือใช้
4. นักเรียนเชื่อมโยงความรู้กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยนักเรียน
แต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ เสนอวิธีการนำวัสดุเหลือใช้ในโรงเรียน
หรือบ้าน มาประดิษฐ์เป็นของเล่น หรือของใช้ เพื่อลดขยะ รักษาสิ่งแวดล้อม
และลดภาวะโลกร้อน
5. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ เศษวัสดุตา่ ง ๆ
สามารถนำกลับมาใช้ประโยชน์ได้

ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยที่ 5 เรื่อง แสงและการมองเห็น หน่วยย่อยที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง(1) กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 26 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.3 ป.2/1 1.อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงได้ (K) - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ แสงเคลื่อนที่เป็นแนวตรงจากแหล่งกำเนิดแสงทุก
2.ปฏิบัติกิจกรรม การเคลื่อนที่ของแสง ด้วยความมุ่งมั่น - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน ทิศทุกทาง
และตั้งใจได้ (P) - ทักษะชีวิต
3.บ่งชี้ตัวแปรต่าง ๆ ตั้งสมมุติฐาน และสรุปผลการ - การแก้ปัญหา
ทดลองได้ (P)
4.มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A)

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ใบงาน ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. ผู้แทนนักเรียนสาธิตฉายไฟฉาย และจุดเทียนไขในห้องมืด นักเรียนร่วมกัน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
สนทนาทบทวนประสบการณ์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแสง แล้วร่วมกันตอบ ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
คำถามสำคัญกระตุ้นความคิด ดังนี้ วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
1.1 นักเรียนรู้จัก/เคยเห็นแสงหรือไม่ 2. อุปกรณ์การทดลอง ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(รู้จัก/เคยเห็น) 3. ใบงาน เรื่อง การ ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
1.2แสงมีลักษณะการเคลื่อนที่อย่างไร เคลื่อนที่ของแสง ปัญหา/อุปสรรค์
(แสงเคลื่อนที่เป็นแนวตรงออกจากแหล่งกาเนิดแสง) ...................................................................................
ขั้นสอน ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
2. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันอย่างรวมพลังทำกิจกรรม เรื่อง การเคลื่อนที่ของ ...................................................................................
แสง และบันทึกผลการทำกิจกรรม ในใบงาน
ขั้นสรุป
3. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันสรุปผลการทำกิจกรรมและสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็น
ความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแสงว่า แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกำเนิด
แสงทุกทิศทางเป็นแนวตรง
ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 หน่วยที่ 5 เรื่อง แสงและการมองเห็น หน่วยย่อยที่ 1 เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง(2) กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ชั้น ป.2/1 เวลา 1 ชั่วโมง
สอนวันที่ 29 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ครูผู้สอน นางสาวการีมะห์ สาฮา
มาตรฐาน ตัวชี้วัด จุดประสงค์ สมรรถนะสำคัญ คุณลักษณะอันพึงค์ประสงค์ สาระการเรียนรู้
ว 2.2 ป.2/1 1.อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงได้ (K) - การสื่อสาร - ใฝ่เรียนรู้ แสงเคลื่อนที่เป็นแนวตรงจากแหล่งกำเนิดแสงทุก
2.วาดภาพและระบายสี การเคลื่อนที่ของแสงออกจาก - การคิดวิเคราะห์ - มุ่งมั่นในการทำงาน ทิศทุกทาง
แหล่งกำเนิดแสง อย่างรวมพลังด้วยความมุ่งมั่นได้ (P) - ทักษะชีวิต
3.มีความมุ่งมั่น (A) - การแก้ปัญหา

กิจกรรม สื่อนวัตกรรม การวัด/การประเมินผล ผลการประเมิน


ขั้นนำ 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ใบงาน การทดลอง ผลการประเมินตามจุดประสงค์
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการถามคำถามนักเรียน แล้ว ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผ่าน....คน
สุ่มนักเรียนตอบ ของสถาบันพัฒนาคุณภาพ ผลการประเมินสมรรถนะ
ขั้นสอน วิชาการ (พว.) ( ) ผ่าน.......คน ( ) ไม่ผา่ น.....คน
2. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันวางแผน สำรวจ และเขียนอธิบายการเคลื่อนที่ 2. แผ่น CD เทียนไข ไม้ขีด ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของแสงออกจากแหล่งกำเนิดแสงที่สนใจ พร้อมยกตัวอย่างสนับสนุนการ ไฟ ดินน้ำมัน ( ) ผ่าน........คน ( ) ไม่ผา่ น....คน
อธิบาย พร้อมวาดภาพและระบายสีประกอบ ปัญหา/อุปสรรค์
จัดทำเป็นชิ้นงาน ...................................................................................
3. นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันวางแผน ออกแบบ และช่วยกันคิดหาวิธีที่จะให้ ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
มองเห็นแสงจากเทียนไข โดยกำหนดว่า ต้องมองเห็นแสงทะลุแผ่น CD ทั้ง 3 ...................................................................................
แผ่น บันทึกผล พร้อมเขียนรายงานพอสังเขป
กำหนดวัสดุอุปกรณ์ ดังนี้
1)แผ่น CD 33แผ่น 2)เทียนไข 1เล่ม
3)ไม้ขีดไฟ 1กล่อง 4)ดินนำมัน 1ก้อน
ขั้นสรุป
4. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้ แสงเคลื่อนที่เป็นแนว
ตรงจากแหล่งกำเนิดแสงทุกทิศทุกทาง
5. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดและนำเสนอภาพวาดและระบายสีการ
เคลื่อนที่ของแสงออกจากแหล่งกำเนิดแสง และรายงานหน้าชั้นเรียน เพื่อ
แลกเปลีย่ นเรียนรู้กัน เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบ
และแก้ไขให้ถูกต้อง

ผู้ตรวจ...............................................................ฝ่ายวิชาการ ผู้รับรอง.............................................................รองผู้อำนวยการโรงเรียน

You might also like