Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากมลพิษต่างๆ ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสารเสพติด

1.มลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง แนวทางการป้องกัน 1.อยู่ในแหล่งที่มีสารเสพติดแพร่ระบาด


2.มลพิษทางน้ำ เช่น น้ำเน่าเสีย 2.ขาดแบบอย่างที่ดีในการดำเนินชีวิต
1.หลีกเลี่ยงจากแหล่งมลพิษ
3.มลพิษทางเสียง เช่น เสียงดังจากเครื่องจักร 3.อยู่ใกล้ชิดกับผู้ที่ใช้สารเสพติด
2.ไม่สร้างมลพิษเพิ่ม
4.ขยะมูลฝอย เช่น สิ่งปฏิกุล 4.เกิดปัญหาชีวิต แล้วใช้สารเสพติดเป็นทางแก้ปัญหา
3.หากพบมากเกินไปให้แจ้งหน่วยงาน
มาตรวจสอบ
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ 4.สวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น แมสก์
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
การอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีมลพิษ 1.มีความอยากรู้ อยากลอง
2.คบกับผู้ที่ใช้สารเสพติด
3.ชอบเที่ยวในสถานที่บันเทิง ซึ่งอาจถูกชักชวนได้

แนวทางในการป้องกัน
ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากสภาพถนนและการจราจร
1.ไม่ทดลองใช้สารเสพติด
1.สภาพถนน เช่น เป็นหลุมเป็นบ่อ 2.ไม่คบกับผู้ที่ใช้สารเสพติด
2.สภาพการจราจร เช่น การแข่งขันบนท้องถนน 3.หลีกเลี่ยงการเที่ยวสถานที่บันเทิง
3.ทัศนวิสัยไม่ดี เช่น ฝนตกหนัก 4.ใช้เวลาว่างทำกิจกรรม
4.ยานพาหนะอยู่ในสภาพไม่พร้อมใช้งาน เช่น เบรกไม่ดี 5.เมื่อเกิดปัญหา ควรหาคนปรึกษา เพื่อหาทางออกที่ถูกต้อง

พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ แนวทางการป้องกัน
1.การเดินเท้า
-ขาดความระมัดระวัง
-ไม่ข้ามทางม้าลาย สะพานลอย
-ข้ามถนนอย่างระมัดระวัง
-ข้ามตรงทางม้าลายหรือสะพานลอย
ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากภัยโจรผู้ร้าย
-ใส่เสื้อผ้าสีทึบในตอนกลางคืน -สวมเสื้อผ้าสีสว่างในขณะเดินริมถนนตอนกลางคืน 1.การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เสี่ยงต่อการเกิดอันตราย เช่น ซอย
-หยอกล้อกันระหว่างข้ามถนน -ไม่หยอกล้อกันระหว่างข้ามถนน เปลี่ยวๆ
2.สภาพสังคมและเศรษฐกิจ ทำให้คนตกงาน จนเกิดการลักขโมย
2.การขับขี่รถจักรยานยนต์
-ขับขี่ไม่ชำนาญ -หัดขับให้ชำนาญ พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
-ไม่สวมหมวกนิรภัย -ไม่ฝ่าฝืนกฎจราจร 1.เดินทางไปในพื้นที่เปลี่ยว ลับตาคนเพียงลำพัง หรือกลับบ้านดึก
-ใช้โทรศัพท์ขณะขับรถ -สวมหมวกนิรภัยทุกครั้ง 2.ถือกระเป๋าไม่ระมัดระวัง
-ขับขี่เร็ว ฝ่าไฟแดง -ไม่ใช้โทรศัพท์ขณะขับรถ 3.สวมเครื่องประดับมีค่าล่อใจมิจฉาชีพ
3.การโดยสารยานพาหนะ 4.แต่งกายล่อแหลม
-ขึ้นและลงขณะที่รถ เรือ ยังจอดไม่สนิท -ขึ้นและลงในเวลาที่รถ เรือ จอดสนิทแล้ว แนวทางในการป้องกัน
-ห้อยโหน ยื่นแขน ศีรษะออกนอกตัวรถ -ไม่ห้อยโหน ยื่นแขน ศีรษะออกนอกรถ
1.ไม่เดินทางที่เปลี่ยว หรือลับตาคนเพียงคนเดียว
-แย่งกันขึ้นยานพาหนะ -ไม่แย่งกันขึ้น
-ไม่ยืนล้ำเส้นที่กำหนด 2.ไม่กลับบ้านตอนมืดค่ำ
-ยืนล้ำเส้นที่กำหนดไว้
3.ถือกระเป๋าด้วยความระมัดระวัง
4.ไม่สวมเครื่องประดับที่ล่อใจมิจฉาชีพ
5.แต่งกายให้มิจชิด

ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากพิษภัยในอาหาร
1.สารพิษต่างๆ ที่ตกค้างในพืชผัก เช่น สารฟอร์มาลีน
2.การใส่สารสังเคราะห์ที่มีพิษลงไปในอาหาร เช่น การตกแต่งสีให้ดึงดูด
ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากภัยธรรมชาติ
3.ความไม่สะอาดของอาหาร เช่น การปนเปื้ อนเชื้อโรค การอยู่ในสภาพภูมิประเทศหรือภูมิอากาศที่เสี่ยงต่อการเกิด
ภัยธรรมชาติ เช่น อยู่ในวงแหวนแห่งไฟ ทำให้เกิดแผ่นดินไหว
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ แนวทางการป้องกัน
1.รับประทานอาหารสีฉูดฉาด 1.ไม่รับประทานอาหารที่มีสีฉูดฉาด
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
2.กินสุก กินดิบ 2.รับประทานอาหารที่ปรุงสุก 1.ไม่ฟังข่าวสารจากสื่อต่างๆ
3.รับประทานอาหารปรุงไม่ถูก 3.ไม่รับประทานอาหารที่มีการปรุงไม่ถูก 2.ไม่เชื่อข่าวสารว่าจะได้รับผลกระทบจริงๆ
สุขลักษณะ สุขลักษณะ แนวทางการป้องกัน
4.ภาชนะไม่สะอาด 4.ไม่รับประทานอาหารที่ภาชนะไม่สะอาด
1.รับฟังข่าวสารจากสื่อต่างๆ
5.รับประทานอาหารที่มีสารพิษ 5.ไม่รับประทานอาหารที่กินแล้วแพ้
2.หากอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต้องเข้าร่วมฝึกซ้อมเพื่อเอาตัวรอดเสมอ
ตกค้าง 6.ไม่รับประทานอาหารที่มีสารพิษตกค้าง
3.ต้องเชื่อข่าวสารที่กล่าวมา “ป้องกันไว้ดีกว่าแก้”
4.จัดเตรียมอุปกรณ์ที่จำเป็นไว้เสมอ

ปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพจากเครื่องเล่นสวนสนุก
1.การใช้เครื่องเล่นมานานและขาดการซ่อมแซม
2.ความบกพร่องของคนคุมเครื่องเล่น
สมาชิก
3.ขาดอุปกรณ์ป้องกัน ด.ญ.กวินธิดา เกิดแก้ว ม.3/10 เลขที่ 19
พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ แนวทางการป้องกัน ด.ญ.พนิตสุภา บุญตา ม.3/10 เลขที่ 29
1.เล่นโลดโผน ไม่ระมัดระวัง 1.เล่นอย่างระมัดระวัง
2.ไม่เชื่อฟังและไม่ปฏิบัตตามคำแนะนำ 2.เชื่อฟังและปฏิบัติตามคำแนะนำ ด.ญ.เรนี วาวินยา กุย ม.3/10 เลขที่ 34
3.ไม่ใช่อุปกรณ์ป้องกัน 3.ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย

You might also like