Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 73

1

www.krusukhum88.wordpress.com

เอกสารประกอบการสอน
เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึม
สาหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

ชื่อ – สกุล .................................................. ชั้น ม. 5/…… เลขที่.......

รวบรวมและเรียบเรียงโดย
นายสุขุม กุมมาน้อย
ครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์
โรงเรียนทับกฤชพัฒนา อาเภอ ชุมแสง จังหวัด นครสวรรค์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42
2
www.krusukhum88.wordpress.com

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึม
1. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล

ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล โดยต้องรู้
 สมการความสัมพันธ์ของมันถ้าเขียนกราฟ กราฟมีหน้าตาอย่างไร
โดเมนและเรนจ์อยู่ในขอบเขตไหน เป็นฟังก์ชันชนิดอะไร
 ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียลประยุกต์
 การแก้สมการและอสมการเอกซ์โพเนนเซียล
 อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล
ประเด็นที่ 1 นักคณิตศาสตร์กาหนดสมการความสัมพันธ์ของฟังก์ชัน
เอกซ์โพเนนเซียลอย่างไร และมีมุมมองอย่างไรว่าเป็น
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล

ต้องรู้
บทนิยาม ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล คือ  
f  x, y  R  R/y  a , a  0, a  1
x

Note
พิจารณา กราฟของฟังก์ชัน y = 3x เมื่อ x เป็นจานวนตรรกยะ

x -2 -1 0 1 2
y
3
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. จงระบุว่าฟังก์ชันใดเป็นฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเซียล


f  x, y  R  R/y  a x  เป็นเอกซ์โพเนนเซียลเมื่อ ....................................

1. 
f  x, y /y  3 x 
  1  
x

2. f  x, y /y    
  3  
3. 
f  x, y /y  2 -x 
  1  
-x

4. f  x, y /y    
  5  
5. 
f  x, y /y  1x 
6. f  x, y /y  1 
-x

7. f  x, y /y  x  2 x  1
2

8. f  x, y /y  π 
x

9. 
f  x, y /y  x  1 
  2  
-x

10. f  x, y /y    


  3  

x
ข้อสังเกต 1. y = a = 1
 
-x

a
-x
2. y = 1 =
  ax
a
4
www.krusukhum88.wordpress.com

2. กราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
2.1 การเขียนกราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
1. y = 2 x x -2 -1 0 1 2 3
y

สรุป

2. y = 3 x
x -2 -1 0 1 2 3
y

สรุป
5
www.krusukhum88.wordpress.com

x
3. y =  1  x -2 -1 0 1 2 3
2 y

สรุป

x -2 -1 0 1 2 3
x
4. y =  1 
 3 y

สรุป
6
www.krusukhum88.wordpress.com

สรุป กราฟของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล มีลักษณะดังนี้


1. กราฟของฟังก์ชัน y = a , a > 0 และ a  1 จะผ่านจุด (0,1) เสมอ ทั้งนี้เพราะ a
x 0
1
2. แบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ

f ลด เมื่อ 0 < a < 1 f เพิ่ม เมื่อ a > 1

3. เป็นฟังก์ชัน

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. จงระบุว่าฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันลดเพิ่มหรือ เหตุผล
ลด
1. f  x, y /y  2 
-x

  7  
x

2. f  x, y /y    
  8  
  5  
-2x

3. f  x, y /y    
  4  
4. y  4 5x
5.  
y  sin2 
x

6. y  cos4   x

7. y  tan45   x

8. y  ex
9. y  πx

10. 
y  tan60 x
7
www.krusukhum88.wordpress.com

2.2 การเปรียบเทียบกราฟ เมื่อ a มีค่าต่างกัน


1) จงวาดกราฟของฟังก์ชัน y  2 x , y  3x และ y  4x ลงในระบบพิกัดฉากเดียวกัน

X -2 -1 0 1 2 3
y 2 x

y  3x
y  4x

สรุป กราฟ y  ax เมื่อ a > 1


8
www.krusukhum88.wordpress.com

x x x
1 1 1
2) จงวาดกราฟของฟังก์ชัน y   , y   และ y   ลงในระบบพิกัดฉากเดียวกัน
2  3 4

X -2 -1 0 1 2 3
x
1
y  
2
x
1
y  
 3
x
1
y  
4

สรุป กราฟ y  ax เมื่อ a > 1


9
www.krusukhum88.wordpress.com

สรุป เปรียบเทียบกราฟพวกเดียวกันได้

f ลดด้วยกัน ค่า a ยิ่งมาก ยิ่งหนีแกน y


f เพิ่มด้วยกัน ค่า a ยิ่งมาก ยิ่งใกล้แกน y

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. เมื่อ a > 0 จงเปรียบเทียบค่าของจานวนที่กาหนดให้ โดยระบุจานวนที่มากกว่า
5 3
1 1
1) 4 2
และ 4 5
2)   และ  
 3  3

-2 -3
3 3
3) 3 -5 และ 3 -7 4)   และ  
4 4

0.3 0.3
1 1
5) 3 2.6
และ 2 2.6
6)   และ  
2  3

-1.5 -1.5
 2  3
a 1 a 1
1 1
7)   และ   8) a และ a

 3 2
10
www.krusukhum88.wordpress.com

2. จงเรียงลาดับค่าจากมากไปน้อย
1) 24 , 2 3 , 4 3 , 4 2
3 4 2 3

2) 100100 , 101000 , 100010

3) 715 7
, 5 25 7
11
www.krusukhum88.wordpress.com

2.3 การสะท้อนของกราฟหรือการเลื่อนกราฟ
1) กราฟของ y = a x และ y = a -x มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร

2) กราฟของ y = a x และ y = - a x มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร

3) กราฟของ y – k = a x -h เมื่อ a > 1 มีกราฟเหมือน y= a x แต่ย้ายจุดกาเนิดไปอยู่ที่ x = h และ y = k


12
www.krusukhum88.wordpress.com

a x , x  0
4) กราฟของ y = a
x
=  x
a , x  0

a x -h , x  h
5) กราฟของ y = a
x -h
=  x h
a , xh
13
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. จงเขียนกราฟของสมการต่อไปนี้
1) y = 3 x 1

2) y = 2 x 2  1

3) y = 2x  2
14
www.krusukhum88.wordpress.com

x
1
4) y =   1
5

2. จงเขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ พร้อมหาเมน และเรนจ์ของฟังก์ชัน


1) y = 4 2 x x

2) y =  1   1
 3

โดเมน =………………………………………….. โดเมน =…………………………………………..


เรนจ์ =………………………………………….. เรนจ์ =…………………………………………..
3) y = 2 x2  2 4) y =  2 x  1

โดเมน =………………………………………….. โดเมน =…………………………………………..


เรนจ์ =………………………………………….. เรนจ์ =…………………………………………..
15
www.krusukhum88.wordpress.com

5) y = 2
x 1
1 1
x 1

6) y =   1
2

โดเมน =………………………………………….. โดเมน =…………………………………………..


เรนจ์ =………………………………………….. เรนจ์ =…………………………………………..
7) y = 32 x  1 1
3 x

8) y =   2
 3

โดเมน =………………………………………….. โดเมน =…………………………………………..


เรนจ์ =………………………………………….. เรนจ์ =…………………………………………..

3. จงหาค่าสูงสุด และค่าต่าสุดของสมการต่อไปนี้
1) y = 3sin x 2) y = 81sin x

cos x 1
1
3) y =   4) y = 3sin x cos y
2
16
www.krusukhum88.wordpress.com

3. การหาค่าฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลที่อยู่ในรูปแบบเฉพาะ

3.1 การหาค่าฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลที่อยู่ในรูป n a  n a  n a  n a  ... 


n
a  n a  n a  n a  ...  = n -1
a

ทาให้ a  a  a  a  ...  =a

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. จงหาค่าของ
1. 2 2 2 2... 2. 4
7 4 7 4 7 4 7...
17
www.krusukhum88.wordpress.com

3.2 การหาค่าฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลที่อยู่ในรูป a  a  a  a  ...

1  1  4a
a  a  a  a  ... =
2

แบบทดสอบความเข้าใจ
จงหาค่าของ
1. 2  2  2  2  ... 2. 3  3  3  3  ...
18
www.krusukhum88.wordpress.com

3.3 การหาค่าฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลที่อยู่ในรูป a  a  a  a  a  ...

1  4a - 3
a  a  a  a  a  ... =
2

แบบทดสอบความเข้าใจ
จงหาค่าของ
1. 7  7  7  7  7  ... 2. 3  3  3  3  3  ...
19
www.krusukhum88.wordpress.com

4. ฟังก์ชันลอการิทึม
เนื่องจากเอกซ์โพเนนเชียลเป็นฟังก์ชัน อีกคาถามหนึ่งที่จะต้องรู้ ก็คือ อินเวอร์สของฟังก์ชันเอกซ์โพเนน
เชียล คือ อะไร ก็น่าจะตอบได้ทั้งในแง่ของสมการและกราฟโดยใช้หลักทั่วไปของฟังก์ชันลองมาพิจารณา
มองในแง่ของสมการ
f : expo  y  a x
f -1expo  x  a y (เปลี่ยน x เป็น y เปลี่ยน y เป็น x )
ที่ทาให้ต้องจัด y = ? แล้วจัดได้ไหม
-1
f
นี่คือปัญหาที่เกิดขึ้น นักคณิตศาสตร์จึงกาหนดนิยามบางอย่างมาอธิบายโดยกาหนดว่

ต้องรู้
y  ax สมมูลกับ y  log a x

โดยอ่าน y  log a x ว่า “วายเท่ากับล็อกเอ็กซ์ฐานเอ” และเรียกอินเวอร์สของฟังก์ชันเอกช์โพเนน


เชียลว่า ฟังก์ชันลอการิทึม
f expo  
 x, y   R  R  /y  a x , a  0, a  1 ต้องรู้
f -1 expo  f log  x, y  R  R/x  a , a  0, a  1
 y

 x, y   R  R/y  log , a  0, a  1



a

ซึ่งเราจะเรียกแต่ละส่วนพร้อมขอบเขต (โดยพิจารณาจากเอกช์โพ)
เรียก x ว่า ตัวล็อก  R  (มาจากค่า y ของเอกช์โพ : ค่าของเลขยกกาลัง)
a ว่า ฐานของล็อก ซึ่ง a > 0, a  1 (มาจากค่า a ของเอกโพ : ฐานของเลขยกกาลัง)
y ว่า ค่าล็อก  R (มาจากค่า x ของเอกโพ : เลขชี้กาลังของเลขยกกาลัง)
20
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
จงเขียนสมการต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปลอการิทึม
1. x  3 y 1
y

2. x   
 3

1
y
4. x  2 y
3. x 
 10 
21
www.krusukhum88.wordpress.com

5. กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม
5.1 การเขียนกราฟของฟังก์ชันลอการิทึม
1) สมการ y = log a x เมื่อ a > 1

2) สมการ y = log a x เมื่อ 0<a<1


22
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. ฟังก์ชันที่กาหนดให้ต่อไปนี้ เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด
1. y  log 3 x 2. y  log 3 x
4

3. y   log 2 x 4. y   log 1 x
2

5. x  3 y 1
y

6. x 
 3
23
www.krusukhum88.wordpress.com

2. จงหาโดเมนของฟังก์ชัน f ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. f x   log 5 x

2. f x   log 3 x - 1  3 x

3. f x  log 0.5 2  x  log 2 x  2

4. f x      
x
5  log 25 x 2  3x  4

5. f x      
 log 10  x  1  log 5 x 2  1
x
10
24
www.krusukhum88.wordpress.com

5.1 การเปรียบเทียบกราฟ เมื่อ a มีค่าต่างกัน


พิจารณาการเขียนกราฟ y  log 2 x และ y  log 4 x ในระบบแกนพิกัดฉากเดียวกัน

พิจารณาการเขียนกราฟของ y  log 1 x และ y  log 1 x ในระบบแกนพิกัดฉากเดียวกัน


5 25
25
www.krusukhum88.wordpress.com

5.1 การสะท้อนของกราฟ หรือการเลื่อนกราฟ


1) กราฟชอง y  log a x และ y  log a - x  มีแกน Y เป็นสมมาตร

2) กราฟชอง y  log a x และ y  log a x มีแกน Y เป็นสมมาตร

3) กราฟชอง y - k  log a x - h  เหมือนกับกราฟ y  log a x แต่ย้ายจุดกาเนิดไปอยู่ที่x=h และ y =k

พิจารณาการเขียนกราฟของ y  log 1 x และ y  log 1 x ในระบบแกนพิกัดฉากเดียวกัน


5 25
26
www.krusukhum88.wordpress.com

5.1 การสะท้อนของกราฟ หรือการเลื่อนกราฟ


4) กราฟชอง y  log a x

5) กราฟชอง y  log a x และ y  log a x มีแกน Y เป็นสมมาตร

พิจารณาการเขียนกราฟของ y  log 1 x และ y  log 1 x ในระบบแกนพิกัดฉากเดียวกัน


5 25
27
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. พิจารณาการเขียนกราฟต่อไปนี้
1) y  log 2 x - 1

2) y  log 3 x  1  1

3) y  log 10 - x 
28
www.krusukhum88.wordpress.com

4) y  log 5 - x - 2  3

5) y  log 3 x

6) y  log 1 x  1
3
29
www.krusukhum88.wordpress.com

2. จงเขียนกราฟของฟังก์ชันต่อไปนี้ พร้อมหาเมน และเรนจ์ของฟังก์ชัน


1) y = log 4 x 2) y = log 4 x
5

โดเมน =………………………………………….. โดเมน =…………………………………………..


เรนจ์ =………………………………………….. เรนจ์ =…………………………………………..
3) y = log 3 x 1 4) y = log 0.2 x 1

โดเมน =………………………………………….. โดเมน =…………………………………………..


เรนจ์ =………………………………………….. เรนจ์ =…………………………………………..
5) y =  log 7 x 6) y =  log 5  x 

โดเมน =………………………………………….. โดเมน =…………………………………………..


เรนจ์ =………………………………………….. เรนจ์ =…………………………………………..
30
www.krusukhum88.wordpress.com

6. ลอการิทึม (Logarithm)

6.1 บทนิยามของลอการิทึม
นิยาม กาหนดให้ a > 0, a  1 และ x > 0
ลอการิทึมฐาน a ของ x หมายถึง จานวนจริง y ซึง่ a y = x นั่นคือ y = log a x
ดังนั้น y = log a x ก็ต่อเมื่อ x = a y

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงเขียนสมการต่อไปนี้ให้อยู่รูปสมการลอการิทึม
1) 4 3  64 2) 2 3  8

3)
3

9 2  27
4) 81  9

5) 0.04  0.2 6) 4 2 
1
16

2. จงเขียนสมการต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเลขยกกาลัง
1) log 3 81  4 2) log 3 1  0

3) log 125 5 
1 4) log 1 4 5  - 10
3 2

1 6)
8
log 2 2  2
5) log 2    - 1
2
31
www.krusukhum88.wordpress.com

6.2 สมบัติของลอการิทึม
ทบ.1 ถ้า a, M, N เป็นจานวนจริงบวก และ a  1 แล้ว log a MN = log a M + log a N
เช่น log 2 15 = log 2 3  5
= log 2 3  log 2 5

แบบทดสอบความเข้าใจ
กาหนดให้ log 10 2  0.3010 , log 10 3  0.4771 และ log 10 5  0.6990 จงหาค่าของ
1) log 10 18

2) log 10 10

3) log 10 300
32
www.krusukhum88.wordpress.com

6.2 สมบัติของลอการิทึม
M
ทบ.2 ถ้า a, M, N เป็นจานวนจริงบวก และ a  1 แล้ว log a = log a M - log a N
N
5
เช่น log 2 = log 2 5  log 2 3
3
= log 2 3  log 2 5

แบบทดสอบความเข้าใจ
กาหนดให้ log 10 2  0.3010 , log 10 3  0.4771 และ log 10 5  0.6990 จงหาค่าของ
4
1) log 10
5

60
2) log 10
25

36
3) log 10
20
33
www.krusukhum88.wordpress.com

6.2 สมบัติของลอการิทึม
ทบ.3 ถ้า a, M, N เป็นจานวนจริงบวก และ a  1 แล้ว log a M N = N log a M
เช่น log 3 64 = log 3 2 6
= 6 log 3 2
1
1
log 2 5 = log 2 5 2 = log 2 5
2

แบบทดสอบความเข้าใจ
จงหาค่าของ
1) log 10 72 2) log 3 84

3) 
log 10 1  10 3  4) log 10
8
8

3
log 7 125  log 7 27  log 7 64
5) 2
log 7 15  log 7 8
34
www.krusukhum88.wordpress.com

6.2 สมบัติของลอการิทึม
ทบ.4 ถ้า a, M, N  R  และ a  1 จะได้ว่า
log a 1 = 0
log a a = 1
log a a M = M log a a  M
1 1
log a N a = log a a 
N N
M M
log a N a M = log a a 
N N
เช่น log 5 5  1 , log 10 10  1
log 2 1 = 0, log 0.2 1  0
3
log 9 125  log 32 5 3  log 3 5
2

แบบทดสอบความเข้าใจ
จงหาค่าของ
2
1) 27  1 
log 3 2) log 49  
81  49 

3) 3
log 9 81 4) 31 log 4 16
2
35
www.krusukhum88.wordpress.com

จงหาค่าของ
1
5) log 3    log 1 27  log 9 27  log 1 27
9 3 9

6) log 10 15  log 10 12  log 10 5  log 10 9

ข้อสังเกต log 2 8  log 2 2 3  3


log 5 25  log 5 5 2  2
log 10 10 7  7
จะเห็นว่า การหาค่า log ก็คือ การหาค่ากาลังของจานวนนั้น ๆ เทียบกับฐาน
นั่นเอง
36
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
1. เมื่อ a > 0 จงระบุค่าที่มากกว่า
1) log 1 7 และ log 1 12 2) log 311 และ log 3 17
2 2

3) log 5 3 และ log 1 3 4) log 5 0.5 และ log 1 0.5


3 3

5) log 1 2.5 และ log 1 2.5 6) log 5 0.5 และ log 2 0.5
3 2
37
www.krusukhum88.wordpress.com

6.2 สมบัติของลอการิทึม
ทบ.5 ถ้า a, M, N  R  และ a  1, N  1 จะได้ว่า
a log x = x
a

log a M
log N M =
log a N
log 10 M
log N M =
log 10 N
1
log N M =
log M N

แบบทดสอบความเข้าใจ
จงหาค่าของ
1) 3log 16
3
2) 2 log 4 9

3) 2 1log 27
8
4) 81log 5 2
38
www.krusukhum88.wordpress.com

5) 73(1log7 3)  11 log11 3


6) 7 2log7 49
5 log5 3
8
log 1 3
2

8) 10 10
1 2 log100 2
log 9 5
7) 5 log 5 4
 81 2

9) log 3 2  log 4 3  log 5 4... log 64 63 10) 1



1

1
log 2 24 log 3 24 log 4 24
39
www.krusukhum88.wordpress.com

7. ลอการิทึมสามัญ และลอการิทึมธรรมชาติ
ลอการิทึมสามัญ หมายถึง ลอการิทึมที่มีฐานเป็นสิบ การเขียนนิยมเขียนโดยไม่มีฐานกากับ เช่น
log10 3  log 3

พิจารณาการเขียนกราฟของ y  log 1 x และ y  log 1 x ในระบบแกนพิกัดฉากเดียวกัน


5 25
40
www.krusukhum88.wordpress.com
41
www.krusukhum88.wordpress.com
42
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงระบุค่า Mantissaและ Characteristic ของลอการิทึมต่อไปนี้
1) log 3.12 2) log 0.00145

3) log 4600 4) log 321.6

5) log 0.01324 6) log 462300

2. กาหนดให้ log 6.0430  0.7818 จงหาค่าของ


1) log 6043

2) log 604 .30

3) log 0 . 0006043
43
www.krusukhum88.wordpress.com

3.กาหนดค่าของ log x ตามตารางต่อไปนี้


X 5.70 5.71 5.72 5.73 5.74 5.75 5.76
0.7559 0.7566 0.7574 0.7582 0.789 0.7597 0.7604

1) log 57300 2) log 0.5760

3) log 0.00571 4) log 0.000575

4. กาหนดให้ log 4.31  0.6345 และ log 1.35  0.1303 จงหาค่าของ


1) log 4310 2) log 0.00431

3) log 0.431  log 13.5 4) 2 log 431000  log 0.0135


44
www.krusukhum88.wordpress.com

7.2 แอนติลอการิทึม
ถ้า log N = A แล้ว จะได้ว่า N = antilog A

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงหาค่าของ
1) antilog (log 4) 2) antilog (3 log 5)

3) antilog  1
  log 
4) antilog (log 9 – log 8)
 2

2. กาหนดให้ antilog 0.3243 = 2.11 จงหาค่า N


1) log N  2.3243 2) log N  - 0.6757

3) log N  0.3243- 3 4) log N  6.3243- 8


45
www.krusukhum88.wordpress.com

3.จงหาคาตอบ
1) กาหนดให้ log 5.73  0.7582 และ log N  4.7582 จงหาค่า N

2) กาหนดให้ log 5.71 0.5766 และ log N  -2.4234 จงหาค่า N

3) กาหนดให้ antilog 0.4082 = 2.56 จงหาค่า antilog (8.4082 - 10)

4) จงหาว่าจานวน 1800 30 เป็นเลขกี่หลัก กาหนด log 2 = 0.3010 และ log 3 = 0.4771
46
www.krusukhum88.wordpress.com

7.3 ลอการิทึมธรรมชาติ
ลอการิทึมฐาน e เมื่อ e แทนจานวนอตรรกยะ ซึ่งมีค่าประมาณ 2.7182818 เรียกลอการิทึมฐาน e
ว่า “ลอการิทึมแบบเนเปียร์” หรือ “ลอการิทึมธรรมชาติ”
ลอการิทึมของ x ฐาน e คือ log e x มักเขียนแทนด้วย In x
log x
พิจารณา log e x =
log e
log x
In x =
log e
เมื่อ log e = log 2.718 (e  2.718) = 0.4343
log x
ดังนั้น In x =
0.4343
หรือ In x = (2.3026) log x

ข้อสังเกต
log x
1. log e x = In x 2. log e x =
log e

3. log e  0.4343 4. In e = 1

log x log x
5. In x = = = (2.3026) log x
log e 0.4343
47
www.krusukhum88.wordpress.com

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.กาหนดให้ log 3.71 = 0.5694
1) In 371 2) In 0.371

3) 2 In 0.0000371 4) -3 In 371000

2. จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี้
1) ln121
2) ln e e e... e

3) e -2ln2  ln 10  ln 0.01 ln 0.9 4) 


log ln e 5 
10

 ln log e e1.3 
48
www.krusukhum88.wordpress.com

8. สมการและอสมการเอกซ์โพเนนเชียล

8.1 สมการเอกซ์โพเนนเชียล
จากสมการเอกซ์โพเนนเชียล y = a โดยที่ a > 0 และ a  1
x

ถ้า a x  a x แล้ว x 1  x 2
1 2

ดังนั้น หลักการแก้สมการเอกซ์โพเนนเชียล คือ ต้องทาฐานให้เท่ากัน แล้วจะถือได้


ว่า กาลังเท่ากันด้วย แล้วนาเฉพาะกาลังมาแก้สมการ

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงหาค่า x ของสมการ (โจทย์ฐานเลขเดียวกัน)
1) 3x 2  243 3

2) x 4  8

1 2x 1 3
3) 5 -2x 1  6 7
25 4)     
7 6

x 1 2 3 x 1  x 1
4 4 4 5
5)      6)     
5 5 5 4
49
www.krusukhum88.wordpress.com

1.จงหาค่า x ของสมการ (โจทย์ฐานเลขเดียวกัน)


8)
3 3  4 x 1  4 x  320
5x
- 2x 1
7)  9 2

9)  3  2 2x

1
4)  3  2 x2 2 x
  3  2
3

 3  2 x 1
50
www.krusukhum88.wordpress.com

1.จงหาค่า x ของสมการ (โจทย์ฐานไม่เท่ากัน แต่กาลังเท่ากัน)


1) 52x  32 x  0 2) 32 x2  2
x 1

โจทย์พหุนาม
1) 2 2 x 2  64  32  2 x 2) 24x  2  4 x  8

2 1
4) 2 3 x  8  2 2 x  13  2 x - 104  0
3) x 3  2x 3  0
51
www.krusukhum88.wordpress.com

โจทย์พหุนาม
5) 
27  3 2 x  55  28 2 x  2  6) 9 x  12 3  3 x  39

x x
4 3 25 x x 6
7)      8)  0
3 4 12 x x 2
52
www.krusukhum88.wordpress.com

8.2 อสมการเอกซ์โพเนนเชียล
การแก้อสมการเอกซ์โพเนนเชียล ต้องใช้ความรู้เรื่องฟังก์ชันเพิ่ม ฟังก์ชันลด มา
ช่วยในการแก้อสมการ ดังนี้
1) ถ้า a > 1 แล้ว a x  a x ก็ต่อเมื่อ x 1  x 2
1 2

2) ถ้า 0 < a < 1 แล้ว a x  a x ก็ต่อเมื่อ x 1  x 2


1 2

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงพิจารณาว่าข้อความต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ
1) 46  43 1 1

2) 3  3 3
4

 2   2
1 1
3) 3.15  3.16
6 5
4) 6 7

2 -1 3 4
1 1 1 1
5)     6)     
 3 9 2 2

2.จงแก้อสมการ (โจทย์ฐานเดียวกัน)
1) 57x-3  53x 5 1
x 2 2 x  4
1
7

2)    
 3  3
53
www.krusukhum88.wordpress.com

2.จงแก้อสมการ (โจทย์ฐานเดียวกัน)
x 2  4 x 3 4 x2
1 1 1
3)     4)    2 2
4 2 8

5) 82 9x   64 x 3 6) 2 8 4 x   2 3 x 2

sin 3     x 1
2

7)  1 
 
 x -3x x -3
 sin 3
2)
6
  
 sin 5
 sin 5 
54
www.krusukhum88.wordpress.com

2.จงแก้อสมการ (โจทย์ฐานไม่เหมือนกัน)
1) 7 x 5 x3  55x-3  11 
2 x7
9
2 x 7

2)    
5 5

2.จงแก้อสมการ (โจทย์ไม่ทราบฐาน)
1) x x  x x 6 เมื่อ x > 0  x  x
2x 2 1
2
3x
2)  เมื่อ x > 0
55
www.krusukhum88.wordpress.com

2.จงแก้อสมการ (โจทย์แยกตัวประกอบพหุนาม)
1) 2 2x 3 - 18  2 x  4  0 2) 6 x - 3x 1  2 x 2  12  0
56
www.krusukhum88.wordpress.com

9. สมการและอสมการลอการิทึม

9.1 สมการลอการิทึม
1) วิธีการเปลี่ยนสมการลอการิทึมเป็นสมการเลขยกกาลัง
log a x  y ก็ต่อเมื่อ x = a y
2) วิธีการใช้สมบัติของฟังก์ชันแบบ 1 – 1 คือ
log a M  log a N ก็ต่อเมื่อ M = N โดยที่ M, N > 0
3) สมการเอกช์โพเนนเชียลที่ต้องใช้การ take log เข้าช่วย เพื่อหาคาตอบของสมการ
3 x  2 x 1
take log log 3 x  log 2 x 1
xlog 3  x  1log 2
จากนั้น หาค่า log 3 และ log 2 แล้วย้ายข้างแก้สมการหาค่า x (ตรวจคาตอบ
ทุกครั้ง)

แบบทดสอบความเข้าใจ

1.จงแก้สมการ (โจทย์พื้นฐาน)
1) log x  3 2) log 4 x 
5
2
57
www.krusukhum88.wordpress.com

1.จงแก้สมการ (โจทย์พื้นฐาน)
3) log 4 4  x 4) log x 625  4

5) log 2 x  - 5 6) log 1 x   3
2

7) log 16 8  x
8) log 9 x 
3
2
58
www.krusukhum88.wordpress.com

1.จงแก้สมการ (โจทย์พื้นฐาน)
9) log 2 2x - 1  1 10)  
log x 2  9x  1

 x -8   x 
11) log   1 12) log 4  2
 x 1  x 1

13) x log x 2  x 2  18 x  34
4
14) log 3 4log 4 5log 5 x   1
59
www.krusukhum88.wordpress.com

2.จงแก้สมการ (โจทย์ยุบ log)


1) log 3 x - log 3 2x  3  - 2 2) log x - 1  log x  1  log 2x - 1

3) log 3 x  2log 3 x  3log3 3 4)  


2log 9 x 2  1 - 1  2log 3 x
60
www.krusukhum88.wordpress.com

3.จงแก้สมการ (โจทย์ใช้สมบัติอื่น ๆ ช่วย)


x 1
1)  811log 9 2  5 log 5 2 2) log x 2
 16x 3
4 x

4.จงแก้สมการ (โจทย์พหุนาม)
1) log x 2  2 logx  0 4) 2 log 5 x  log 5 x   log 5 x
2 3
61
www.krusukhum88.wordpress.com

5.จงแก้สมการ (โจทย์ take log)


log
2
2 2) x logx  100x
1) x 5

5
62
www.krusukhum88.wordpress.com

สมการที่ต้องใช้การ take log


ค่าของลอการิทึมที่ต้องจา
log 2  0.3010
log 3  0.4771
log 5  1 – log 2  0.6990
log 7  0.8451

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงแก้สมการ
1) 3x  2 2) 52x 1  3x

3) 12 8  = 16
2 - 5x x3
4) 73 x  2  4 x  2  73 x 1  4 x  3
63
www.krusukhum88.wordpress.com

สมการที่อยู่ในรูป log ซ้อน log


ถ้า log a log b x  c แล้ว x =
c
ba

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงแก้สมการ
1) log 3 log 2 x   1 2)  
log 4 log 3 log 2 3 x 2  4  0

3)  
log 2 log 3 log x 2  90 x  0
4) log 1 log 1 log 1 3
2
0
4 3 2
x  3x  4
2
64
www.krusukhum88.wordpress.com

2.จงหาคาตอบ
a 
1
1) กาหนดให้ 2 log 2 a  3log 2 b  4 และ 3log 2 a  4 log 2 b  6 จงหาค่า 2
b  log 2a b 2

x
2) ถ้า 2 log x  2 y   log x  log y จงหาค่า
y

3) ให้  
log 3 x 2  3 xy  4 y 2 - log x - y   2 และ log 2 2x  log 2 6y  4 จงหาค่า x + y
65
www.krusukhum88.wordpress.com

9.2 อสมการลอการิทึม
หลักในการแก้อสมการลอการิทึม เมื่อ x > 0 และ y > 0 จะได้
1) จากอสมการ log a x  log a y เมื่อ 0 < a < 1 จะได้ x < y
2) จากอสมการ log a x  log a y เมื่อ a > 1 จะได้ x > y

แบบทดสอบความเข้าใจ
1.จงหาค่า x จากอสมการ (โจทย์พื้นฐาน)
1) log 2 2 x  1  log 2 x - 3 2) log 1 3x  1  log 1 5  2x
2 2

4) log 1 x  1  2
 
1
3) 4 x 2 log 4 2
 4 x 2
4
66
www.krusukhum88.wordpress.com

2.จงหาค่า x จากอสมการ (โจทย์ค่าสมบูรณ์)


1) sin1 
 log 2 x 3

 sin 1 
2
2) log 1 2x - 1  log 1 x  2
4 4

3.จงหาค่า x จากอสมการ (โจทย์ประยุกต์)


1) log 9 x  log x 9 เมื่อ x > 1 2)    
log 4x 2  16  log x 2  4  log x 2
67
www.krusukhum88.wordpress.com

10. การประยุกต์ของฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึม

10.1 การเติบโตของประชากร
การเติบโตของประชากร ณ เวลาหนึ่ง ในกรณีที่การเพิ่มไม่ได้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ตลอดเวลา มีสูตรดังนี้
n(t) = n 0 1  r 
t

เมื่อ n(t) แทน จานวนประชากรเมื่อเวลาผ่านไป t


n0 แทน จานวนประชากร ณ จุดเริ่มต้น
r แทน อัตราการเติบโตของจานวนประชากรต่อเวลา
t แทน เวลา

จงหาคาตอบ
1) ในเวลา 10 ปี ฟาร์มเลี้ยงกระต่ายแห่งหนึ่งมีกระต่ายจานวน 8,500 ตัว และอัตราการเติบโต 56% ต่อปี
1.1) จงหาฟาร์มแห่งนี้มีกระต่าย ณ จุดเริ่มต้นประมาณกี่ตัว
1.2) อีก 10 ปีข้างหน้า จะมีจานวนกระต่ายประมาณกี่ตัว
68
www.krusukhum88.wordpress.com

10.2 การเติบโตของจานวนเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเป็นไปอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา มีสูตรดังนี้


n(t) = n 0 e rt
เมื่อ n(t) แทน จานวนประชากรเมื่อเวลาผ่านไป t
n0 แทน จานวนประชากร ณ จุดเริ่มต้น
r แทน อัตราการเติบโตของจานวนประชากรต่อเวลา
t แทน เวลา

จงหาคาตอบ
การเจริญเติบโตของจานวนแบคทีเรียที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง n(t) ตัว เมื่อเวลาผ่านไป t ชั่วโมง คือ
n(t) = n 0 2.72 เมื่อ n 0 เป็นจานวนเชื้อแบคทีเรียเริ่มแรก จงหาว่า นานเท่าไรที่ทาให้แบคทีเรีย 10,000
0.04t

ตัว เพิ่มขึ้นเป็น 30,000 ตัว


69
www.krusukhum88.wordpress.com

10.3 การสลายตัวของสารกัมมันตรังสี ที่มีครึ่งชีวิตเท่ากับ h ปริมาณสารที่เหลืออยู่


มีสูตรดังนี้
m(t) = m 0 e -rt
เมื่อ m(t) แทน ปริมาณของสารกัมมันตรังสีที่เหลืออยู่ เมื่อเวลาผ่านไป t
m0 แทน ปริมาณของสารกัมมันตรังสี ณ จุดเริ่มต้น
ln 2
r แทน
h

จงหาคาตอบ
ธาตุซีเซียม -137 มีครึ่งชีวิต 30 ปี ถ้ามีธาตุซีเซียมที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจานวน 12 กรัม
1) จงหาปริมาณของซีเซียมที่เหลือ เมื่อเวลาผ่านไป t ปี

2) จงหาปริมาณของซีเซียมที่เหลือ เมื่อเวลาผ่านไป 60 ปี

3) จะใช้เวลานานกี่ปี จึงจะมีซีเซียมเหลือ 6 กรัม


70
www.krusukhum88.wordpress.com

10.4 การวัดระดับความเข้มเสียง เป็นการวัดความเข้มเสียง โดยเทียบกับความเข้มเสียงที่หูคน


ปกติเริ่มได้ยินเป็นเกณฑ์อ้างอิง ระดับความเข้มเสียง มีสูตรดังนี้
I
β = 10log
I0
เมื่อ β แทน ระดับความเข้มเสียง มีหน่วยเป็นเดซิเบล
I แทน ความเข้มเสียงที่ทาการวัด
I0 แทน ความเข้มเสียงที่หูคนปกติเริ่มได้ยิน ซึ่งเท่ากับ 10-12 วัตต์/ตารางเมตร

จงหาคาตอบ
จงหาระดับความเข้มเสียงของเครื่องบินไอพ่นเมื่อกาลังบินขึ้นสู่ท้องฟ้ามีความเข้มเสียง 150 วัตต์/ตารางเมตร
71
www.krusukhum88.wordpress.com

10.5 ระดับความเป็นกรด – ด่าง ของสารละลาย มีสูตรดังนี้


pH = - log H  
เมื่อ pH แทน ระดับความเป็นกรด – ด่าง ของสารละลาย
H  แทน ความเข้มข้นของประจุไฮโดรเจนในสารละลาย 1 ลิตร มีหน่วยเป็นโมล

โดยสารละลาย ค่า pH เท่ากับ 7 เป็นสารละลายที่มีความเป็นกลาง


ค่า pH น้อยกว่า 7 เป็นสารละลายที่มีความเป็นกรด
ค่า pH มากกว่า 7 เป็นสารละลายที่มีความเป็นด่าง

จงหาคาตอบ
กลุ่มตัวอย่างของคนคนหนึ่งมีความเข้มข้นของประจุไฮโดรเจน H  เท่ากับ 3.99 x 10 8 โมล จงหาค่า pH
พร้อมทั้งพิจารณาความเป็นกรด – ด่างของกลุ่มตัวอย่างเลือดนี้
72
www.krusukhum88.wordpress.com

10.6 เงินรวมจากการคิดดอกเบี้ยแบบทบต้น มีสูตรดังนี้


nt
 r
A = p1  
 n
เมื่อ A แทน เงินรวม
P แทน เงินต้น
r แทน ดอกเบี้ย
n แทน จานวนครั้งที่จ่ายต่อปี
t แทน จานวนปี

จงหาคาตอบ
เงินต้น 1,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 6% โดยจ่ายดอกเบี้ยปีละ 4 ครั้ง จงหาเงินรวมเมื่อครบ 10 ปี
73
www.krusukhum88.wordpress.com

บรรณานุกรม

คณิต อ.เอ๋. ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล และฟังก์ชันลอการิทึม . กรุงเทพฯ.


ธนวัฒน์ สนทราพรพล. แบบฝึกทักษะและวิธีคิดเร็วคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม. 4-6 เล่ม. 3. กรุงเทพฯ.
สานักพิมพ์ SCIENCE CENTER.

You might also like