Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

30/07/64

Actual Transformer

By
Asst.Prof.Dr. Jensak Ekburanawat

การคานวณหาค่าต่างๆ ของหม้อแปลง
▪ ในทางอุดมคติเราสมมติว่าไม่มีการเกิดค่าความสูญเสียใดๆ
ขึ้นในหม้อแปลงเลย
▪ ในความเป็นจริงแล้วในขณะที่หม้อแปลงทางานทั้งในกรณี
ที่มีภาระทางไฟฟ้าและไม่มีภาระทางไฟฟ้านั้นจะเกิ ดความ
สูญเสียขึ้นในหม้อแปลง
การคานวณหาค่าต่างๆ ในหม้อแปลงจึงต้องคานึงถึ ง
ค่าความสูญเสียที่เกิดขึ้นด้วยจึงจะทาให้ผลการคานวณที่ได้
นั้นถูกต้องตามความเป็นจริง

1
30/07/64

พิกัดของหม้อแปลง (Transformer Rating)


หม้อแปลงไฟฟ้ามี
• พิกัดกาลังไฟฟ้าเป็น กิโลโวลต์-แอมป์ (kVA)
• พิกัดแรงดันเป็น โวลต์ (V)
ซึ่งจะสามารถดูได้จากแผ่นป้าย (Nameplate) ของหม้อแปลง

2
30/07/64

ตัวอย่าง ข้อมูลที่อ่านได้จากแผ่นป้ายของหม้อแปลงเครื่อง
หนึ่งคือ 10 kVA, 1100/110 V.
จากพิกัดแรงดันแสดงให้เห็นว่าขดลวด 2 ชุดของหม้อแปลงนัน้
ขดลวดชุดที่ 1 มีพิกัดแรงดัน (E1) 1,100 โวลต์
ขดลวดชุดที่ 2 มีพิกัดแรงดัน (E2) 110 โวลต์
แรงดันนี้เป็นสัดส่วนกันตามจานวนรอบของขดลวดที่พันอยู่
เรียกว่า อัตราส่วนของหม้อแปลง (Voltage Ratio; a)
E1 1100
a= = = 10
E2 110

พิกัดกาลัง 10 kVA หมายความว่า ขดลวดแต่ละขดของหม้อแปลง


ออกแบบให้ทนกาลังไฟฟ้าได้ 10 kVA
ดังนั้น
• พิกัดกระแสทางด้านแรงดันสูง คือ
kVA 10 103 10, 000
I1 = = = = 9.09 A
E1 1,100 1,100
• พิกัดกระแสทางด้านแรงดันต่า คือ
kVA 10 103 10, 000
I2 = = = = 90.9 A
E2 110 110
หรืออาจกล่าวได้ว่าถ้าทางด้านขดลวดแรงดันต่ามีกระแสไหล 90.9 A
ขดลวดทางด้านแรงดันสูงจะมีกระแสไหล 9.09 A

3
30/07/64

หม้อแปลงในสภาวะไม่มีโหลด (No-Load Transformer)


สิ่งที่เกิดขึ้นตลอดเวลาเมื่อจ่ายไฟให้กับหม้อแปลงไม่ว่า
หม้อแปลงจะจ่ายโหลดหรือไม่ก็ตามก็คือค่าของความสูญเสี ยที่
เกิดขึ้นในแกนเหล็ก (Core loss) ค่าความสูญเสียในแกนเหล็ก นี้
ประกอบไปด้วย
1. ค่าความสูญเสียจากฮิสเตอรีซีส (Hysteresis loss)
2. ความสูญ เสี ย จากการเกิ ดกระแสไหลวนในแกนเหล็ ก
(Eddy current loss)
โดยไม่คิดค่าของ impedance drop ในขดลวดเพราะมีค่าน้อย
มาก

กระแส แรงดัน และเส้นแรงแม่เหล็ก ของหม้อแปลงไฟฟ้า


ในสภาวะไม่มีภาระทางไฟฟ้า

4
30/07/64

กระแส IO เกิดจากกระแส 2 ส่วนที่ตั้งฉากกันอยู่ คือ


▪ กระแสส่วนที่ใช้สร้างเส้นแรงแม่เหล็ก (I)
▪ กระแสส่วนที่ทาให้เกิดความสูญเสียในแกนเหล็ก (Ih+e)

I O = I + I h + e
IO = I2 + I h2+ e
I h + e = I O cos  O
I = I O sin O
I
O = tan −1

I h+e

5
30/07/64

หม้อแปลงในสภาวะจ่ายโหลด (On-Load Transformer)

6
30/07/64

เมื่อหม้อแปลงจ่ายโหลด จะทาให้กระแสทางด้านปฐมภูมิมีสองส่วน
คือ IO และ I S โดย I S มีทิศทางของเฟสตรงข้ามกับ IS และมี
ขนาดเท่ากับ IS หารด้วย a กระแสทั้งหมดทางด้านรับไฟก็คือ
ผลบวกตามเวคเตอร์ของ IO กับ I S

S = S
 N 2 I S = N1 I S  N1 I1
N2 IS I
 I1   S = I S
N1 a

ตัวอย่างที่ 3.4 หม้อแปลงเฟสเดียว 440/110 V ขณะไม่จ่ายโหลดกินไฟ 5 A,


0.2 PF จงหาค่ากระแสทางด้านปฐมภูมิ ถ้าทางทุติยภูมิจ่ายโหลด 120 A, 0.8
PF lagging
วิธีทา
cos O = 0.2
O = cos −1 0.2 = 78.46
cos  S = 0.8

 S = cos −1 0.8 = 36.87


I1 = I O + I S
I O = 578.46 A
I S  S 120 S
I S = = = 30 − 36.87 A
a 4

7
30/07/64

I1 = 578.46 + 30 − 36.87


= 1 + j 4.89 + 24 − j18
= 25 − j13.15
= 28.25 − 27.74 A

วงจรสมมูลของหม้อแปลงไฟฟ้า (Equivalent Circuit)


ในทางปฏิบัติขดลวดของหม้อแปลงไฟฟ้าในแต่ละด้านจะมีค่าความต้านทาน
อยู่และค่าความต้านทานนี้ส ามารถเขียนให้อยู่ในรูปของปริมาณความต้านทานที่ ต่อ
อนุกรมกับขดลวดได้

เมื่อกระแสไหลในขดลวดจะทาให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กร่วม (Mutual flux) ขึ้นในแกน


เหล็กและจะเกิดเส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหลจ านวนเล็กน้อยที่ไม่ได้เดินทางไปคล้ องกับ
ขดลวดอีกด้านหนึ่งของหม้อแปลง

8
30/07/64

ผลของเส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหลนี้ทาให้เกิดค่าความเหนี่ยวนาขึ้ นเรียกว่าค่า
ความเหนี่ยวนารั่วไหล (Leakage Inductance of Winding) ซึ่งสามารถ
คานวณได้จากสมการ ต่อไปนี้
N11 N
L1 = L2 = 2 2
I1 I2
ค่าความเหนี่ยวนา L1 และ L2 ของขดลวด ก่อนนามาคานวณต้อง
เปลี่ยนให้อยู่ในรูปของค่ารีแอคแตนซ์ (Inductive reactance; XL)
เสียก่อน โดยค่า XL ของขดลวดทั้งสองนั้นขึ้นอยู่กับความถี่ของไฟฟ้า
กระแสสลับและมีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) กาหนดให้ X1 เป็นค่ารีแอกแตนซ์
รั่วไหลของขดลวดปฐมภูมิ และ X2 เป็นค่ารีแอกแตนซ์รั่วไหลของขดลวด
ทุติยภูมิ ซึ่งมีค่าดังนี้

ค่ารีแอกแตนซ์รั่วไหลขดลวดปฐมภูมิ คือ
X 1 = 2  f  L1
ค่ารีแอกแตนซ์รั่วไหลขดลวดทุติยภูมิ คือ
X 2 = 2  f  L2

เมื่อ
X1 คือ ค่ารีแอคแตนซ์รั่วไหลที่ขดลวดปฐมภูมิ
X2 คือ ค่ารีแอคแตนซ์รั่วไหลที่ขดลวดทุติยภูมิ
f คือ ค่าความถี่ไฟฟ้า

9
30/07/64

วงจรสมมูลของหม้อแปลงไฟฟ้า
(Equivalent Circuit of Transformer)
- อิมพีแดนซ์สมมูลด้านปฐมภูมิ คือ Z1 = R1 + jX 1

- อิมพีแดนซ์สมมูลด้านทุติยภูมิ คือ Z 2 = R2 + jX 2

10
30/07/64

• ค่าเส้นแรงแม่เหล็กแม่เหล็กรั่วไหลจะเขียนอยู่ในรูปของค่า รีแอค
แตนซ์ (X1 และ X2)
• ค่าความสูญเสียที่เกิดขึ้นในแกนเหล็กจะเขียนอยู่ในรูปของค่าความ
ต้านทาน (RO)
• ค่าความเหนี่ยวนาที่เกิดจากเส้นแรงแม่เหล็กในแกนจะเขียนอยู่ในรูป
ของค่ารีแอคแตนซ์ (XO)

พัฒนาการของวงจรสมมูล (Development of Equivalent Circuit)


เราสามารถย้ายปริมาณต่าง ๆ ในวงจรสมมูลย์ของหม้อแปลงในอุดม
คติให้ไปอยู่รวมกันทางด้านปฐมภูมิหรือทางด้านทุติยภูมิด้านใดด้านหนึ่งได้ โดย
จะไม่ทาให้ค่าหรือคุณสมบัติของหม้อแปลงเปลี่ยนแปลง
• กรณีย้ายค่าความต้านทาน R1 และ X1 จากด้านปฐมภูมิไปด้านทุติยภูมิ

I12 R1 = I 22 R1 I12 X 1 = I 22 X 1


2 2
I  I 
R1 =  1  R1 X 1 =  1  X 1
 I2   I2 
R X
R1 = 21 X 1 = 21
a a

11
30/07/64

R1 X1 R2 X2

Primary Secondary

R1 X 1 R2 X2

Primary Secondary

R1 X1
R1 = X 1 =
a2 a2

• กรณีย้ายค่าความต้านทาน R2 และ X2 จากด้านทุติยภูมิไปด้านปฐมภูมิ

I12 R2 = I 22 R2 I12 X 2 = I 22 X 2


2 2
I  I 
R2 =  2  R2 X 2 =  2  X 2
 I1   I1 
R2 = R2 a 2 X 2 = X 2 a 2

12
30/07/64

R2 = R2 a 2 X 2 = X 2 a 2

ความต้านทานและรีแอคแตนซ์ที่ย้ายไปรวมอยู่ข้างเดียวกันนั้นสามารถ
เขียนให้อยู่ในรูปของความต้านทานและรีแอคแตนซ์ของหม้อแปลงทั้งตัวได้
ดังนี้
• กรณีย้ายจากด้านปฐมภูมิไปรวมกันด้านทุติยภูมิ ความต้านทานของ
หม้อแปลงทั้งตัว คือ

R02 = R2 + R1 X 02 = X 2 + X 1
R X1
= R2 + 21 = X2 +
a a2

13
30/07/64

R02 X 02

R2 R1 X2 X 1

Primary Secondary

R02 X 02

Primary Secondary

• กรณีย้ายจากด้านทุติยภูมิไปรวมกันด้านปฐมภูมิ ความต้านทานของ
หม้อแปลงทั้งตัว คือ

R01 = R1 + R2
= R1 + R2 a 2

X 01 = X 1 + X 2
= X1 + X 2 a 2

14
30/07/64

R01 X 01

R1 R2 X1 X 2

Primary Secondary

R01 X 01

Primary Secondary

เราสามารถรวมค่าความต้านทานและค่ารีแอคแตนซ์ของหม้อแปลงให้
อยู่ในรูปของอิมพีแดนซ์สมมูลของหม้อแปลงทั้งตัวได้ ดังนี้

• กรณีรวมกันทางด้านปฐมภูมิ อิมพีแดนซ์สมมูล ที่ได้ คือ

Z 01 = R01 + jX 01

• กรณีรวมกันทางด้านทุติยภูมิ อิมพีแดนซ์สมมูล ที่ได้ คือ


Z 02 = R02 + jX 02

15
30/07/64

ตัวอย่างที่ 1 หม้อแปลงเครื่องหนึ่งมีจานวนรอบทางปฐมภูมิ 600 รอบ ทุติยภูมิ 150


รอบ ความต้านทานทางด้านปฐมภูมิ และทุติยภูมิ เท่ากับ 0.25 โอห์ม และ 0.02
โอห์ม ตามล าดับ รีแอคแตนซ์ทางด้านปฐมภูมิ และทุติยภูมิ เท่ากับ 1.0 และ 0.04
โอห์ม ตามลาดับ จงหา
ก) ความต้านทานสมมูลที่ย้ายไปคิดทางทุติยภูมิ (R01)
ข) รีแอคแตนซ์สมมูลที่ย้ายไปคิดทางทุติยภูมิ (X02)
ค) อิมพีแดนซ์สมมูลที่ย้ายไปคิดทางทุติยภูมิ (Z02)
วิธีทา
ก) ความต้านทานสมมูลที่ย้ายไปคิดทางทุติยภูมิ (R01)

N 600 R01 = R1 + R2 = R1 + R2  a 2


a= 1 = =4
N 2 150 R01 = 0.25 + (0.02  42 ) = 0.57 

16
30/07/64

ข) รีแอคแตนซ์สมมูลที่ย้ายไปคิดทางทุติยภูมิ (X02)
X1
X 02 = X 2 + X 1 = X 2 +
a2
1.0
X 02 = 0.04 + = 0.1 
42
ค) อิมพีแดนซ์สมมูลที่ย้ายไปคิดทางทุติยภูมิ (Z02)
R1
R02 = R2 + R1 = R2 +
a2
0.25
R02 = 0.02 + = 0.04 
42
Z 02 = R02 + jX 02
Z 02 = 0.04 + j 0.1 

17

You might also like