Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 264

เอกสารคําสอน

วิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1


(Electrical Machines 1)

ผู,ช-วยศาสตราจารย1 ดร.พูนศรี วรรณการ

สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา
คณะวิศวกรรมศาสตร1
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2566
คํานํา

เอกสารคํ า สอนรายวิ ช า EN2012203 เครื่ องจั ก รกลไฟฟา 1 (Electrical Machines 1)


สํ า หรั บ นั กศึ กษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี หลั กสู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ศวกรรมไฟฟา
คณะวิศวกรรมศาสตร; มหาวิ ทยาลั ยเทคโนโลยีร าชมงคลพระนคร ผู@ สอนได@ จัดทําเอกสารคําสอน
ฉบั บ นี้ ขึ้ น จากการรวบรวมเอกสารและหนั ง สื อ ให@ ส อดคล@ อ งในแตE ล ะหนE ว ยเรี ย นของรายวิ ช า
เครื่องจักรกลไฟฟา 1 โดยเนื้อหาประกอบด@วย 5 หนEวยเรียน ซึ่งประกอบไปด@วย หนEวยที่ 1 พื้นฐาน
เครื่องจักรกลไฟฟา และแหลEงพลังงาน หนEวยที่ 2 วงจรแมEเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
พลังงานและพลังงานรEวมในวงจรแมEเหล็ก หนEวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะห;หม@อแปลงไฟฟาหนึ่ง
เฟสและสามเฟส หนEวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง และ
หนEวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร;กระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอร;กระแสตรง ซึ่งใช@
ประกอบการสอนตั้ ง แตE ปO การศึ กษา 2562 จนถึ งปR จ จุ บั น โดยมี ก ารปรั บ ปรุ งเนื้ อหา เพิ่ มเติ ม
รายละเอี ย ด ตั ว อยE า ง และแบบฝT ก หั ด เพื่ อ เปU น เอกสารให@ นั ก ศึ ก ษาอE า นประกอบการเข@ า เรี ย น
และเปUนการสEงเสริมทักษะให@นักศึกษามีการเรียนรู@อยEางเปUนระบบ นอกจากนี้ยังสEงผลให@การเรียน
การสอนมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น นับเปUนการยกระดับคุณภาพการศึกษาของคณะวิศวกรรมศาสตร;
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนครให@สูงขึ้น

พูนศรี วรรณการ


สารบัญ

หนา
บัญชีภาพและแผนภูมิ ฉ
บัญชีตาราง ฎ
ลักษณะรายวิชา ฏ
การแบงหนวยเรียน/บทเรียน/หัวขอ ฐ
จุดประสงค,การสอน ด
การประเมินผลรายวิชา ธ
ตารางกําหนดน้ําหนักคะแนน น
กําหนดการสอน บ
หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟ5า และแหลงพลังงาน
1.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ5า และแหลงพลังงาน 1
1.1.1 เครื่องจักรกลไฟฟ5าในชีวิตประจําวัน และแหลงกําเนิดพลังงาน 1
1.1.2 รายละเอียดเกี่ยวกับหนวยตางๆ 2
1.1.3 การเคลื่อนที่แบบหมุนรอบ 3
1.1.4 กฎของนิวตันเกี่ยวกับการหมุน 4
1.1.5 นิยามงาน 5
1.1.6 นิยามกําลัง 6
1.1.7 นิยามแรงบิด 7
แบบฝ@กหัด 9
1.2 หลักการของแมเหล็กไฟฟ5า 10
1.2.1 หลักพิจารณาเกี่ยวกับสนามแมเหล็ก 10
1.2.2 กฎนิ้วหัวแมมือขวา 10
1.2.3 กฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย, 11
1.2.4 กฎของเลนซ, 12
1.2.5 แรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา 13
1.2.6 แรงเคลื่อนไฟฟ5าเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก 15
แบบฝ@กหัด 19


สารบัญ (ตอ)

หนา
หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟ5า พลังงานและพลังงานรวมในวงจร
แมเหล็ก
2.1 หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก 20
2.1.1 การสรางสนามแมเหล็ก 20
2.1.2 กฎวงจรของแอมแปร, 22
2.1.3 ชนิดของสารแมเหล็ก 26
2.1.4 คุณสมบัติทางแมเหล็กของสารเฟอร,โรแมกนีติก 27
2.1.5 กําลังงานสูญเสียเนื่องจากวงปFดฮีสเตอร,ริซีส 33
2.1.6 กําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน 35
แบบฝ@กหัด 40
2.2 การหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟ5า 41
พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
2.2.1 วงจรแมเหล็กเทียบเคียงเปHนวงจรไฟฟ5า 41
2.2.2 การหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก 47
2.2.3 การแปลงผันพลังงานกลไฟฟ5า 52
2.2.4 พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก 65
แบบฝ@กหัด 69
หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะห,หมอแปลงไฟฟ5าหนึ่งเฟสและสามเฟส
3.1 หมอแปลงไฟฟ5าหนึ่งเฟส 71
3.1.1 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟ5าแบบหนึ่งเฟส 71
3.1.2 ทฤษฎีหมอแปลงไฟฟ5าหนึ่งเฟส 74
3.1.3 หมอแปลงไฟฟ5าใชงานขณะไมมีโหลด 79
3.1.4 หมอแปลงไฟฟ5าใชงานขณะมีโหลด 82
แบบฝ@กหัด 91
3.2 คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟ5า และการทดสอบหมอแปลงไฟฟ5า 92
3.2.1 คาตอหนวย 92
3.2.2 ประสิทธิภาพและการเบี่ยงเบนของศักดาไฟฟ5า 101
3.2.3 พิกัดของหมอไฟฟ5า 103
3.2.4 การหาขั้วหมอแปลงไฟฟ5า 106
3.2.5 การทดสอบหมอแปลงไฟฟ5า 107

สารบัญ (ตอ)

หนา
แบบฝ@กหัด 116
3.3 หมอแปลงไฟฟ5าแบบสามเฟส 118
3.3.1 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟ5าแบบสามเฟส 118
3.3.2 การตอหมอแปลงไฟฟ5าสามเฟส 120
3.3.3 การหาคาพารามิเตอร,ของหมอแปลงไฟฟ5าสามเฟส 126
แบบฝ@กหัด 131
3.4 หมอแปลงไฟฟ5าแบบออโต 132
3.4.1 วงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟ5าแบบออโต 132
3.4.2 พิกัดแรงดันไฟฟ5า กระแสไฟฟ5า และกําลังไฟฟ5า 133
3.4.3 ขอดีและขอเสียของหมอแปลงไฟฟ5าแบบออโต 137
แบบฝ@กหัด 141
3.5 การประยุกต,หมอแปลงไฟฟ5าไปใชในการวัดคาทางไฟฟ5า 142
และการขนานหมอแปลงไฟฟ5า
3.5.1 หมอแปลงกระแสในการวัดคาทางไฟฟ5า 142
3.5.2 หมอแปลงแรงดันในการวัดคาทางไฟฟ5า 143
3.5.3 การขนานหมอแปลงไฟฟ5า 146
แบบฝ@กหัด 150
หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
4.1 หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง 151
4.1.1 โครงสรางและสวนประกอบของเครื่องกลไฟฟ5ากระแสตรง 152
4.1.2 หลักการทํางานของเครื่องจักรกลไฟฟ5ากระแสตรง 154
4.1.3 สมการแรงเคลื่อนไฟฟ5าเหนี่ยวนํา 158
4.1.4 สมการแรงบนตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก 159
แบบฝ@กหัด 162
4.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรง 163
4.2.1 ชนิดของเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรง 163
4.2.2 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ5าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ5า 164
4.2.3 สมการแรงดันไฟฟ5าในเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรงชนิดตางๆ 167
4.2.4 การสูญเสียและประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรง 173


สารบัญ (ตอ)

หนา
4.2.5 คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรง 176
4.2.6 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรง 181
แบบฝ@กหัด 183
4.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรง 184
4.3.1 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรงแบบ 184
กระตุนสนามแมเหล็กจากภายนอก
4.3.2 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรงแบบชั้นท, 186
4.3.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรงแบบ 188
คอมปาวด,
แบบฝ@กหัด 192
หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร,กระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอร,กระแสตรง
5.1 วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 194
5.1.1 วงจรสมมูลของมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 195
5.1.2 การสูญเสียในมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 201
5.1.3 คุณลักษณะของมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 203
แบบฝ@กหัด 210
5.2 การเริ่มเดินมอเตอร,กระแสตรงและการควบคุมความเร็วมอเตอร, 211
กระแสตรง
5.2.1 การเริ่มเดินมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 211
5.2.2 การควบคุมความเร็วมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 212
5.2.3 การกลับทางหมุนของมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 214
5.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรง 219
5.3.1 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรงแบบกระตุน 219
สนามแมเหล็กจากภายนอก
5.3.2 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร,ไฟฟ5ากระแสตรงแบบชั้นท, 225
5.3.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ5ากระแสตรงแบบ 232
คอมปาวด,
แบบฝ@กหัด 235
บรรณานุกรม
ประวัติผูสอน


บัญชีภาพและแผนภูมิ

ภาพที่ หนา
1.1 แรงที่มากระทํากับเพลา 7
1.2 ภาพประกอบสมการหาแรงบิดบนเพลา 7
1.3 กฎนิ้วหัวแม#มือขวา (Thumb Rule) 10
1.4 สนามแม#เหล็กของตัวนําเสนตรง 11
1.5 ภาพอธิบายกฎของเลนซ8 12
1.6 ภาพประกอบตัวอย#างการหาแรงเคลื่อนไฟฟ=าเหนี่ยวนําในขดลวด 12
1.7 แรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา 13
1.8 กฎมือซายของเฟลมมิ่ง 14
1.9 แรงเคลื่อนไฟฟ=าเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแม#เหล็ก 15
1.10 กฎมือขวาของเฟลมมิ่ง 16
2.1 ทิศทางของสนามแม#เหล็กที่มีกระแสไหลผ#านขดลวด 21
2.2 สนามแม#เหล็กที่เกิดขึ้นรอบแกนทอรอยด8 22
2.3 เสนโคงการกระตุนแม#เหล็กของสารเฟอร8โรแมกนีติก 27
2.4 เสนโคงการกระตุนสนามแม#เหล็กของวัสดุแม#เหล็ก 3 ชนิด 28
2.5 วงจรแม#เหล็กที่ใชพิจารณาวงปIดฮีสเตอร8รีซิส 30
2.6 ลักษณะของวงปIดฮีสเตอร8รีซิส 30
2.7 ลักษณะของสัญญาณไฟกระแสสลับที่ป=อนใหกับขดลวด 31
2.8 ลักษณะของการเรียงตัวของโดเมนแม#เหล็กภายในแกนเหล็ก 32
2.9 ลักษณะของวงปIดฮีสเตอร8รีซิสแบบต#างๆ 33
2.10 พื้นที่ของวงปIดฮีสเตอร8รีซิสทีใ่ ชในการคํานวณหาความสูญเสียฮีสเตอร8รีซิส 33
2.11 แผ#นเหล็กบาง และทางเดินของกระแสไหลวน 36
2.12 แกนเหล็กที่ไม#มีช#องว#างอากาศในการใชเทียบเคียงเปOนวงจรไฟฟ=า 41
2.13 แกนเหล็กที่มีช#องว#างอากาศในการใชเทียบเคียงเปOนวงจรไฟฟ=า 43
2.14 การเกิดเสนแรงแม#เหล็กรั่วไหลขอบขางตรงช#องอากาศของแกนเหล็ก 44
2.15 แกนเหล็กเฟอร8โรแมกนีติกประกอบตัวอย#างที่ 2.1 47
2.16 แกนเหล็กประกอบตัวอย#างที่ 2.2 49
2.17 ระบบการแปรสภาพพลังงานไฟฟ=าเปOนพลังงานกล 52


บัญชีภาพและแผนภูมิ (ตอ)

ภาพที่ หนา
2.18 ระบบไฟฟ=าทางกลพื้นฐาน 55
2.19 คุณลักษณะของเสนแรงแม#เหล็กเกี่ยวคลอง ( λ ) และกระแส ( i ) ที่ป=อนขดลวด 56
2.20 แกนเหล็กประกอบตัวอย#างที่ 2.3 60
2.21 แกนเหล็กประกอบตัวอย#างที่ 2.4 64
3.1 แบบจําลองเบื้องตนของหมอแปลงไฟฟ=าหนึ่งเฟส 71
3.2 ลักษณะหมอแปลงแบบคอร8 72
3.3 ลักษณะหมอแปลงแบบเชลล8 72
3.4 การจัดวางขดลวดเพื่อลดเสนแรงแม#เหล็กรั่วไหลที่พันลงในหมอแปลง 73
แบบคอร8และแบบเชลล8
3.5 การทํางานของหมอแปลงในอุดมคติ 74
3.6 วงจรสมมูลของหมอแปลงในอุดมคติเมื่อยายจากทางดานทุติยภูมิมาทางดาน 78
ปฐมภูมิ
3.7 หมอแปลงไฟฟ=าขณะไม#จ#ายโหลด 80
3.8 เสนแรงแม#เหล็กรั่วไหลทางดานปฐมภูมิ ( φl1 ) และทางดานทุติยภูมิ ( φl2 ) 82
3.9 วงจรสมมูลของหมอแปลง 83
3.10 วงจรสมมูลแบบประมาณค#าพารามิเตอร8ของหมอแปลงไฟฟ=า 1 เฟส 84
3.11 เฟสเซอร8ของวงจรสมมูลรูปที่ 3.10 86
3.12 วงจรสมมูลเมื่อยายค#าพารามิเตอร8ต#างๆมาทางดานแรงดันสูง 2,400 V 85
3.13 วงจรสมมูลเมื่อยายค#าพารามิเตอร8ต#างๆมาทางดานแรงดันต่ํา 240 V 88
3.14 วงจรสมมูลของหมอแปลงขณะต#อโหลดและคิดอิมพีแดนซ8ของสายป=อน 89
ดานปฐมภูมิ
3.15 เฟสเซอร8ของวงจรสมมูลของหมอแปลงขณะต#อโหลดและสายป=อน 89
3.16 ระบบไฟฟ=ากําลังของตัวอย#างที่ 3.2 90
3.17 วงจรสมมูลต#อหน#วยของตัวอย#างที่ 3.2 98
3.18 การทดสอบหาขั้วของหมอแปลงไฟฟ=า 1 เฟส 106
3.19 การทดสอบหมอแปลงไฟฟ=าขณะเปIดวงจร 107
3.20 การทดสอบหมอแปลงไฟฟ=าขณะลัดวงจร 108
3.21 วงจรสมมูลที่ยายพารามิเตอร8ต#าง ๆ มาไวทางดานปฐมภูมิ และทางดานทุติยภูมิ 110


บัญชีภาพและแผนภูมิ (ตอ)

ภาพที่ หนา
3.22 โครงสรางแกนเหล็กแบบคอร8ของหมอแปลงไฟฟ=า 3 เฟสที่มีขดลวดดาน 118
ปฐมภูมิและทุติยภูมิพันอยู#บนแกนเหล็ก
3.23 โครงสรางแกนเหล็กแบบเชลล8ของหมอแปลงไฟฟ=า 3 เฟสที่มีขดลวดดาน 119
ปฐมภูมิและทุติยภูมิพันอยู#บนแกนเหล็ก
3.24 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟ=า 3 เฟส ที่สรางจากหมอแปลงไฟฟ=า 1 เฟส 3 ตัว 119
3.25 การทํางานของหมอแปลงไฟฟ=า 3 เฟส ในสภาวะจ#ายโหลดสมดุล 120
3.26 การต#อขดลวดของหมอแปลงไฟฟ=าทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเปOน 121
แบบวาย-วาย
3.27 การต#อขดลวดของหมอแปลงไฟฟ=าทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเปOน 122
แบบเดลตา-เดลตา
3.28 การต#อขดลวดของหมอแปลงไฟฟ=าทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเปOน 123
แบบวาย-เดลตา
3.29 การต#อขดลวดของหมอแปลงไฟฟ=าทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเปOน 124
แบบเดลตา-วาย
3.30 การต#อขดลวดของหมอแปลงไฟฟ=าทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเปOน 125
แบบโอเพนเดลตา
3.31 วงจรสมมูลหมอแปลงไฟฟ=าแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟ=าลง 132
3.32 วงจรสมมูลหมอแปลงไฟฟ=าแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟ=าขึ้น 133
3.33 การต#อหมอแปลงกระแสในการวัดค#าทางไฟฟ=า 143
3.34 หมอแปลงแรงดันแบบต#อขดลวดปฐมภูมิขนานกับวงจรที่จะวัดค#าแรงดัน 144
3.35 การประยุกต8ใชหมอแปลงกระแส และหมอแปลงแรงดันไปต#อผ#านวัตต8มิเตอร8 144
3.36 การต#อขนานหมอแปลงไฟฟ=า 1 เฟส สองตัวเขาดวยกัน 146
3.37 การต#อขนานหมอแปลงไฟฟ=าสามเฟสสองตัวเขาดวยกันแบบวาย-วาย (Y-Y) 148
4.1 ส#วนประกอบหลักต#างๆ ของเครื่องกลไฟฟ=ากระแสตรงเมื่อมองภาพตัดดานขาง 152
4.2 ส#วนประกอบหลักต#างๆของเครื่องกลไฟฟ=ากระแสตรงเมื่อมองภาพตัดดานหนา 153
4.3 ขั้วแม#เหล็กของเครื่องกลไฟฟ=ากระแสตรงที่มีการพันดวยขดลวด 153
4.4 โครงสรางพื้นฐานเครื่องกลไฟฟ=ากระแสตรง 154


บัญชีภาพและแผนภูมิ (ตอ)

ภาพที่ หนา
4.5 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ=าเหนี่ยวนําในตัวนําที่เคลื่อนที่ในสนามแม#เหล็ก 155
4.6 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ=าในตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแม#เหล็กที่ต#ออยู#กับ 156
วงแหวนผ#าซีก
4.7 หลักการทํางานของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรง 157
4.8 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ=าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ=า 158
4.9 การเกิดแรงบนตัวนําที่วางอยู#ในสนามแม#เหล็กในมอเตอร8ไฟฟ=า 159
4.10 โครงสรางของเครื่องกําเนิดไฟฟ=ากระแสตรง 164
4.11 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ=ากระแสตรงแบบกระตุนสนามแม#เหล็ก 167
จากภายนอก
4.12 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ=ากระแสตรงแบบชั้นท8 169
4.13 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ=ากระแสตรงแบบซีรีส8 170
4.14 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ=ากระแสตรงแบบชUอตชั้นท8คอมปาวด8 171
4.15 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ=ากระแสตรงแบบลองชั้นท8คอมปาวด8 172
4.16 แผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ=าในเครื่องกําเนิดไฟตรง 174
4.17 คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ=าแต#ละชนิดตามความสัมพันธ8ของกระแส 176
โหลดและแรงดันไฟฟ=าที่ขั้วของเครื่องกําเนิด
4.18 วงจรขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ=ากระแสตรงแบบชั้นท8 181
5.1 วงจรสมมูลของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบกระตุนแยก 195
5.2 วงจรสมมูลของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบชั้นท8 196
5.3 วงจรสมมูลของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบซีรีส8 197
5.4 วงจรสมมูลของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบชUอตชั้นท8คอมปาวด8 199
5.5 วงจรสมมูลของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบลองชั้นท8คอมปาวด8 200
5.6 แผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ=าในมอเตอร8ไฟตรง 202
5.7 ความสัมพันธ8ระหว#างกระแสกับความเร็วของมอเตอร8 206
5.8 ความสัมพันธ8ระหว#างแรงบิดที่เกิดขึ้นในอาร8เมเจอร8กับความเร็วของมอเตอร8 207
5.9 ความสัมพันธ8ระหว#างกระแสอาร8เมเจอร8กับแรงบิดที่เกิดขึ้นในอาร8เมเจอร8ของ 207
มอเตอร8


บัญชีภาพและแผนภูมิ (ตอ)

ภาพที่ หนา
5.10 ความสัมพันธ8ระหว#างกระแสอาร8เมเจอร8กับแรงเคลื่อนไฟฟ=าภายในของมอเตอร8 208
5.11 ความสัมพันธ8ระหว#างกระแสกับแรงบิดที่เกิดขึ้นในอาร8เมเจอร8ของมอเตอร8 209
ตัวอย#างที่ 5.1
5.12 ความสัมพันธ8ระหว#างกระแสกับความเร็วของมอเตอร8ตัวอย#างที่ 5.1 210
5.13 ความสัมพันธ8ระหว#างกระแสกระตุนกับแรงเคลื่อนไฟฟ=าภายในอาร8เมเจอร8ที่ 210
ความเร็วของมอเตอร8ในสภาวะไม#มีโหลด มีโหลดเต็มพิกัด และที่ความเร็วรอบ
1200 rpm ในตัวอย#างที่ 5.1(จ)
5.14 ช#วงการควบคุมความเร็วของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบขดลวดแยกกระตุน 212
5.15 การกลับทางหมุนของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบกระตุนแยก 214
5.16 การกลับทางหมุนของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบชั้นท8 215
5.17 การกลับทางหมุนของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบซีรีส8 215
5.18 การกลับทางหมุนของมอเตอร8ไฟฟ=ากระแสตรงแบบคอมปาวด8 216


บัญชีตาราง

ตารางที่ หนา
1.1 หนวยพื้นฐานในระบบเอสไอ (SI Base Units) 2
1.2 หนวยเสริมในระบบเอสไอ 2
1.3 หนวยอนุพันธ/ในระบบเอสไอ 3
2.1 คุณลักษณะของวัสดุแมเหล็กอยางออนบางชนิด 28
2.2 ความสัมพันธ/ระหวางความซึมซาบสัมพัทธ/กับชนิดของวัสดุที่เลือกใชทํา 29
แกนเหล็ก
3.1 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟAาระหวางสายของการตอหมอแปลง 121
แบบ Y-Y
3.2 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟAาระหวางสายของการตอหมอแปลง 122
แบบ ∆-∆
3.3 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟAาระหวางสายของการตอหมอแปลง 123
แบบ Y -∆
3.4 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟAาระหวางสายของการตอหมอแปลง 124
แบบ ∆ - Y
3.5 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟAาระหวางสายของการตอหมอแปลง 125
แบบ V-V
4.1 ความสัมพันธ/ระหวางกระแสกระตุน ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟAา ( E a ) 184
ที่ความเร็วรอบเพลาโรเตอร/หมุนเทากับ 1,200 รอบตอนาที
4.2 ความสัมพันธ/ระหวางกระแสกระตุน ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟAา ( E a ) 185
ที่ความเร็วรอบเพลาโรเตอร/หมุนเทากับ 1,000 รอบตอนาที
5.1 ความสัมพันธ/ระหวางกระแสกระตุน ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟAา ( E a ) ที่ 220
ความเร็วรอบเพลาโรเตอร/หมุนเทากับ 1,200 รอบตอนาที
5.2 ความสัมพันธ/ระหวางแรงดันไฟฟAาที่ขั้วกับความเร็วของมอเตอร/ขณะไมมีโหลด 222
และมีโหลดที่กระแสพิกัด โดยที่ปAอนกระแสฟJลด/คงที่ 2 A


ลักษณะรายวิชา

1. รหัสและชื่อวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1


(Electrical Machines 1)
2. สภาพรายวิชา หมวดวิชาแกน กลุ-มวิชาชีพบังคับ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา
หลักสูตรปริญญาตรี
3. ระดับวิชา ภาคการศึกษาที่ 2 ชั้นป=ที่ 2
4. พื้นฐาน ไม-มี
5. เวลาศึกษา 48 คาบเรียนตลอด 16 สัปดาหB เปCนทฤษฎี 3 คาบเรียนต-อสัปดาหBพรFอมสอบ
ปลายภาค และนักศึกษาตFองใชFเวลาศึกษาคFนควFานอกเวลา 6 คาบต-อสัปดาหB
6. จํานวนหน'วยกิต 3 หน-วยกิต
7. จุดมุ'งหมายรายวิชา
1. เขFาใจทฤษฎีเบื้องตFนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหล-งพลังงาน
2. เขFาใจหลักการของแม-เหล็กไฟฟาและการเปลี่ยนพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานร-วม
ในวงจรแม-เหล็ก
3. เพื่อแกFปKญหาคํานวณค-าต-างๆ เกี่ยวกับวงจรแม-เหล็กไดF
4. เขFาใจทฤษฎีและการวิเคราะหBหมFอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส และการคํานวณหาค-า
ต-างๆ ของหมFอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
5. เพื่อแกFปKญหาคํานวณค-าต-างๆ เกี่ยวกับหมFอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟสไดF
6. เขFาใจหลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
7. เขFาใจวิธีการเริ่มเดินมอเตอรBกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรBกระแสตรง
8. เพื่อแกFปKญหาคํานวณค-าต-างๆ เกี่ยวกับเครื่องจักรกลกระแสตรงไดF
9. ใหFนักศึกษามีจริยธรรมและคุณธรรมในการเรียน

8. คําอธิบายรายวิชา
อF า งอิ ง จากคํ า อธิ บ ายตามหลั ก สู ต รระดั บ ปริ ญ ญาตรี วิ ศ วกรรมศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า
วิศวกรรมไฟฟา พ.ศ. 2562
แหล- งพลังงาน วงจรแม-เ หล็ ก หลั กการของแม-เหล็กไฟฟาและการแปลงผั นพลังงานกลไฟฟา
พลั งงานและพลั งงานร- ว มในวงจรแม- เ หล็ ก ทฤษฎีและการวิ เ คราะหB ห มF อแปลงหนึ่ งเฟสและสามเฟส
หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง วิธีการเริ่มเดินมอเตอรBกระแสตรง วิธีการ
ควบคุมความเร็วมอเตอรBกระแสตรง

การแบงหนวย/ บทเรียน/ หัวขอ

หนวยที่ รายการ คาบ


1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน 6
1.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับแหลงพลังงาน
1.1.1 เครื่องจักรกลไฟฟาในชีวิตประจําวัน และแหลงพลังงาน
1.1.2 รายละเอียดเกี่ยวกับหนวยตางๆ
1.1.3 การเคลื่อนที่แบบหมุนรอบ
1.1.4 กฎของนิวตันเกี่ยวกับการหมุน
1.1.5 นิยามงาน
1.1.6 นิยามกําลัง
1.1.7 นิยามแรงบิด
1.2 หลักการของแมเหล็กไฟฟา
1.2.1 หลักพิจารณาเกี่ยวกับสนามแมเหล็ก
1.2.2 กฎนิ้วหัวแมมือขวา
1.2.3 กฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย7
1.2.4 กฎของเลนซ7
1.2.5 แรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา
1.2.6 แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก
2 วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวม 6
ในวงจรแมเหล็ก
2.1 หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
2.1.1 การสรางสนามแมเหล็ก
2.1.2 กฎวงจรของแอมแปร7
2.1.3 ชนิดของสารแมเหล็ก
2.1.4 คุณสมบัติทางแมเหล็กของสารเฟอร7โรแมกนีติก
2.1.5 กําลังงานสูญเสียเนื่องจากวงป<ดฮีสเตอร7ริซิส
2.1.6 กําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน
2.2 การหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
2.2.1 วงจรแมเหล็กเมื่อพิจารณาเทียบเคียงกับวงจรไฟฟา
2.2.2 การหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก


การแบงหนวย/ บทเรียน/ หัวขอ (ตอ)
หนวยที่ รายการ คาบ
2.2.3 การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
2.2.4 พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
3 ทฤษฎีและการวิเคราะห7หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส 15
3.1 หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
3.1.1 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบหนึ่งเฟส
3.1.2 ทฤษฎีหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
3.1.3 หมอแปลงไฟฟาใชงานขณะไมมีโหลด
3.1.4 หมอแปลงไฟฟาใชงานขณะมีโหลด
3.2 คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
3.2.1 คาตอหนวย
3.2.2 ประสิทธิภาพและการเบี่ยงเบนของศักดาไฟฟา
3.2.3 พิกัดของหมอไฟฟา
3.2.4 การหาขั้วหมอแปลงไฟฟา
3.2.5 การทดสอบหมอแปลงไฟฟา
3.3 หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
3.3.1 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
3.3.2 การตอหมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
3.3.3 การหาคาพารามิเตอร7ของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส
3.4 หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.4.1 วงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.4.2 พิกัดแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และกําลังไฟฟา
3.4.3 ขอดีและขอเสียของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.5 การประยุกต7หมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนาน
หมอแปลงไฟฟา
3.5.1 หมอแปลงกระแสในการวัดคาทางไฟฟา
3.5.2 หมอแปลงแรงดันในการวัดคาทางไฟฟา
3.5.3 การขนานหมอแปลงไฟฟา


การแบงหนวย/ บทเรียน/ หัวขอ (ตอ)

หนวยที่ รายการ คาบ


4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง 9
4.1 หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องกลไฟฟากระแสตรง
4.1.1 โครงสรางและสวนประกอบของเครื่องกลไฟฟากระแสตรง
4.1.2 หลักการทํางานของเครื่องกลไฟฟากระแสตรง
4.1.3 สมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
4.1.4 สมการแรงบนตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก
4.2 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.2.1 ชนิดของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.2.2 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟา
4.2.3 สมการแรงดันไฟฟาในเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงชนิดตางๆ
4.2.4 การสูญเสียและประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.2.5 คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.2.6 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.3.1 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบกระตุน
สนามแมเหล็กจากภายนอก
4.3.2 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบชั้นท7
4.3.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบ
คอมปาวด7
5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร7กระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอร7กระแสตรง 9
5.1 วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง
5.1.1 วงจรสมมูลของมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง
5.1.2 การสูญเสียในมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง
5.1.3 คุณลักษณะของมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง
5.2 การเริ่มเดินมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร7
ไฟฟากระแสตรง
5.2.1 การเริ่มเดินมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง
5.2.2 การควบคุมความเร็วมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง

การแบงหนวย/ บทเรียน/ หัวขอ (ตอ)

หนวยที่ รายการ คาบ


5.2.3 การกลับทางหมุนของมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง
5.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร7ไฟฟากระแสตรง
5.3.1 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร7ไฟฟากระแสตรงแบบกระตุน
สนามแมเหล็กจากภายนอก
5.3.2 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร7ไฟฟากระแสตรงแบบชั้นท7
5.3.3 การหาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบคอมปาวด7

รวมจํานวนคาบทั้งสิ้น 45
หมายเหตุ สัปดาห7การเรียน 15 สัปดาห7 สอบปลายภาค 1 สัปดาห7


จุดประสงคการสอน
หนวยที่ รายการ คาบ
1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน 6 คาบ
1.1 รูเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน 180 นาที
1.1.1 บอกเครื่องจักรกลไฟฟาในชีวิตประจําวันและแหลงกําเนิดพลังงาน
1.1.2 บอกรายละเอียดเกี่ยวกับหนวยตางๆ
1.1.3 บอกสมการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบ
1.1.4 บอกสมการกฎของนิวตันเกี่ยวกับการหมุน
1.1.5 บอกสมการงาน
1.1.6 บอกสมการกําลัง
1.1.7 บอกสมการแรงบิด
1.2 เขาใจหลักการของแมเหล็กไฟฟา 180 นาที
1.2.1 อธิบายหลักพิจารณาเกี่ยวกับสนามแมเหล็ก
1.2.2 อธิบายกฎนิ้วหัวแมมือ
1.2.3 อธิบายกฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย:
1.2.4 อธิบายกฎของเลนซ:
1.2.5 อธิบายแรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา
1.2.6 อธิบายแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก
2 วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก 6 คาบ
2.1 รูทฤษฎีพื้นฐานวงจรแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก 180 นาที
2.1.1 บอกการสรางสนามแมเหล็ก
2.1.2 บอกกฎวงจรของแอมแปร:
2.1.3 บอกชนิดของสารแมเหล็ก
2.1.4 บอกลักษณะคุณสมบัติทางแมเหล็กของสารเฟอร:โรแมกนีติก
2.1.5 บอกสมการกําลังงานสูญเสียเนื่องจากวงปAดฮีสเตอร:ริซิส
2.1.6 บอกสมการกําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน
2.2 แกปCญหาวงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและ 180 นาที
พลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
2.2.1 วิธีการทําใหวงจรแมเหล็กเทียบเคียงเปDนวงจรไฟฟา
2.2.2 คํานวณหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก
2.2.3 คํานวณการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
2.2.4 คํานวณพลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก

จุดประสงคการสอน (ตอ)
หนวยที่ รายการ คาบ
3 ทฤษฎีและการวิเคราะห:หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส 15 คาบ
3.1 รูทฤษฎีเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส 180 นาที
3.1.1 บอกโครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบหนึ่งเฟส
3.1.2 บอกทฤษฎีการทํางานของหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
3.1.3 บอกคุณลักษณะหมอแปลงไฟฟาใชงานขณะไมมีโหลด
3.1.4 บอกคุณลักษณะหมอแปลงไฟฟาใชงานขณะมีโหลด
3.2 คํานวณคาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา 180 นาที
3.2.1 คํานวณหาคาตอหนวย
3.2.2 คํานวณหาประสิทธิภาพและการเบี่ยงเบนของศักดาไฟฟา
3.2.3 คํานวณหาคาพิกัดของหมอไฟฟา
3.2.4 บอกวิธีการทดสอบหาขั้วหมอแปลงไฟฟา
3.2.5 บอกวิธีการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
3.3 เขาใจเรื่องเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส 180 นาที
3.3.1 อธิบายโครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
3.3.2 อธิบายการตอหมอแปลงไฟฟาสามเฟส
3.3.3 อธิบายการหาคาพารามิเตอร:ของหมอแปลงไฟฟาสามเฟส
3.4 เขาใจเรื่องเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟาแบบออโต 180 นาที
3.4.1 อธิบายวงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.4.2 อธิบายพิกัดแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และกําลังไฟฟา
3.4.3 อธิบายขอดีและขอเสียของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.5 รูหลักการประยุกต:หมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา 180 นาที
และรูหลักการขนานหมอแปลงไฟฟา
3.5.1 บอกวิธีใชหมอแปลงกระแสในการวัดคาทางไฟฟา
3.5.2 บอกวิธีใชหมอแปลงแรงดันในการวัดคาทางไฟฟา
3.5.3 บอกวิธีการขนานหมอแปลงไฟฟา


จุดประสงคการสอน (ตอ)
หนวยที่ รายการ คาบ
4 หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง 9 คาบ
4.1 รูหลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟาชนิดหมุน 180 นาที
4.1.1 บอกโครงสรางและสวนประกอบของเครื่องกลไฟฟากระแสตรง
4.1.2 บอกหลักการทํางานของเครื่องกลไฟฟากระแสตรง
4.1.3 เขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา
4.1.4 เขียนสมการแรงบนตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก
4.2 เขาใจเรื่องเกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง 180 นาที
4.2.1 อธิบายชนิดของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.2.2 อธิบายการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟา
4.2.3 อธิบายสมการแรงดันไฟฟาในเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงชนิด
ตางๆ
4.2.4 อธิบายการสูญเสียและประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟา
4.2.5 อธิบายคุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.2.6 อธิบายการขนานเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.3 คํานวณคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง 180 นาที
4.3.1 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
แบบกระตุนสนามแมเหล็กจากภายนอก
4.3.2 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
แบบชั้นท:
4.3.3 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
แบบคอมปาวด:
5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร:กระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอร:กระแสตรง 9 คาบ
5.1 รู เกี่ ย วกั บ วงจรสมมู ล การสู ญ เสี ย และคุ ณ ลั ก ษณะของมอเตอร: ไ ฟฟา 180 นาที
กระแสตรง
5.1.1 เขียนวงจรสมมูลของมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
5.1.2 บอกการสูญเสียในมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
5.1.3 บอกคุณลักษณะของมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง


จุดประสงคการสอน (ตอ)
หนวยที่ รายการ คาบ
5.2 เขาใจการการเริ่มเดินมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง และการควบคุมความเร็ว 180 นาที
มอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
5.2.1 อธิบายการเริ่มเดินมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
5.2.2 อธิบายการควบคุมความเร็วมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
5.2.3 อธิบายการกลับทางหมุนของมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
5.3 คํานวณคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง 180 นาที
5.3.1 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
แบบกระตุนสนามแมเหล็กจากภายนอก
5.3.2 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอร:ไฟฟากระแสตรง
แบบชั้นท:
5.3.3 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
แบบคอมปาวด:
รวมจํานวนคาบทั้งสิ้น 45


การประเมินผลรายวิชา
รายวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 แบงเปน 5 หนวยเรียน แยกได% 15 บทเรียน
การวัดและประเมินผลรายวิชาดําเนินการ ดังนี้
1. วิธีการ ดําเนินการรวบรวมข%อมูลเพื่อการประเมินผลแยกเปน 3 สวน โดยแบงแยกคะแนน
แตละสวนจากคะแนนเต็ม ทั้งรายวิชา 100 คะแนน ดังนี้
1.1 ผลงานที่มอบหมาย 20 คะแนน หรือ 20 %
1.2 พิจารณาจากจิตนิสัย ความตั้งใจ และการเข%ารวมกิจกรรม 10 คะแนน หรือ 10 %
1.3 การทดสอบแตละหนวยเรียน 70 คะแนน หรือ 70 %
2. เกณฑผานรายวิชา ผู%ที่จะผานรายวิชานี้จะต%อง
2.1 มีเวลาเข%าชั้นเรียนไมต่ํากวาร%อยละ 80 ของเวลาเรียน
2.2 ได%คะแนนรวมทั้งรายวิชาไมต่ํากวาร%อยละ 50 ของคะแนนรวม
3. เกณฑคาระดับคะแนน
3.1 พิจารณาตามเกณฑ:ผานข%อ 2. ผู%ไมผานตามเกณฑ:ข%อ 2. จะได%รับระดับคะแนน จ หรือ F
3.2 ผู%ที่สอบผานเกณฑ:ข%อ 2. จะได%รับคาระดับคะแนน ตามเกณฑ:ดังนี้
คะแนนร%อยละ 80 ขึ้นไป ได% ก หรือ A
คะแนนร%อยละ 75 - 79 ได% ข+ หรือ B+
คะแนนร%อยละ 70 - 74 ได% ข หรือ B
คะแนนร%อยละ 65 - 69 ได% ค+ หรือ C+
คะแนนร%อยละ 60 - 64 ได% ค หรือ C
คะแนนร%อยละ 55 - 59 ได% ง+ หรือ D+
คะแนนร%อยละ 50 - 54 ได% ง หรือ D


ตารางกําหนดน้ําหนักคะแนน

คะแนนราย น้ําหนักคะแนน
หนวย พุทธิพิสัย
เลขที่ คะแนน
และ ความรู$ ความ การ สูงกวา ทักษะ
หนวย รายหนวย
น้ําหนักคะแนน เข$าใจ นําไปใช$ พิสัย
ชื่อหนวยเรียน
1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และ 9 5 4 - - -
แหลงพลังงาน
2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผัน 15 3 3 9 - -
พลั งงานกลไฟฟา พลั งงานและ
พลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
3 ทฤษฎี แ ละการวิ เ คราะห, ห ม- อ 28 3 6 19 - -
แปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
4 หลั กการของเครื่ องจั กรกลชนิ ด 9 2 4 3 - -
หมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร,กระแส 9 2 4 3 - -
ตรง และวิธีการควบคุมความเร็ว
มอเตอร,กระแสตรง
คะแนนภาควิชาการ(สอบ) 70 15 21 34 - -
คะแนนภาคผลงาน 20
(ที่มอบหมาย)
คะแนนภาคจิตพิสัย 10
รวมทั้งสิ้น 100


กําหนดการสอน
รายวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1
(Electrical Machines 1)
อาจารย-ผู0สอน ผู0ช1วยศาสตราจารย- ดร.พูนศรี วรรณการ

สัปดาห- คาบเรียนที่ รายการสอน หมายเหตุ


1 1-3 หน1วยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหล1งพลังงาน
1.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหล"งพลังงาน
2 4-6 หน1วยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
1.2 หลักการของแม"เหล็กไฟฟา
3 7-9 หน1วยที่ 2 วงจรแม1เหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
พลังงานและพลังงานร1วมในวงจรแม1เหล็ก
2.1 หลักการพื้นฐานของสนามแม"เหล็ก และกําลังงานสูญเสียใน
แกนเหล็ก
4 10-12 หน1วยที่ 2 วงจรแม1เหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
พลังงานและพลังงานร1วมในวงจรแม1เหล็ก
2.2 การหาค"าต"างๆ ในวงจรแม"เหล็ก การแปลงผันพลังงานกล
ไฟฟา พลังงานและพลังงานร"วมในวงจรแม"เหล็ก
5 13-15 หน1วยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะห-หม0อแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและ
สามเฟส
3.1 หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
6 16-18 หน1วยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะห-หม0อแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและ
สามเฟส
3.2 ค"าต"อหน"วย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอ
แปลงไฟฟา
7 19-21 หน1วยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะห-หม0อแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและ
สามเฟส
3.3 หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
8 22-24 หน1วยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะห-หม0อแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและ
สามเฟส
3.4 หมอแปลงไฟฟาแบบออโต


กําหนดการสอน
รายวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1
(Electrical Machines 1)
อาจารย-ผู0สอน ผู0ช1วยศาสตราจารย- ดร.พูนศรี วรรณการ
สัปดาห- คาบเรียนที่ รายการสอน หมายเหตุ
9 25-27 หน1วยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะห-หม0อแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและ
สามเฟส
3.5 การประยุกต<หมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดค"าทางไฟฟา และ
การขนานหมอแปลงไฟฟา
10 28-30 หน1วยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกล
กระแสตรง
4.1 หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน
เครื่องจักรกลกระแสตรง
11 31-33 หน1วยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกล
กระแสตรง
4.2 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
12 34-36 หน1วยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกล
กระแสตรง
4.3 การหาค"าต"างๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
13 37-39 หน1วยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร-กระแสตรง และวิธีการควบคุม
ความเร็วมอเตอร-กระแสตรง
5.1 วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอร<ไฟฟา
กระแสตรง
14 40-42 หน1วยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร-กระแสตรง และวิธีการควบคุม
ความเร็วมอเตอร-กระแสตรง
5.2 การเริ่มเดินมอเตอร<ไฟฟากระแสตรงและการควบคุมความเร็ว
มอเตอร<ไฟฟากระแสตรง
15 43-45 หน1วยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอร-กระแสตรง และวิธีการควบคุม
ความเร็วมอเตอร-กระแสตรง
5.3 การหาค"าต"างๆ เกี่ยวกับมอเตอร<ไฟฟากระแสตรง
16 46-48 การสอบปลายภาคเรียน


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
1
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

หนวยที่ 1
พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
จุดประสงค'การสอน
1.1 รู!เบื้องต!นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
1.1.1 บอกเครื่องจักรกลไฟฟาในชีวิตประจําวัน และแหลงกําเนิดพลังงาน
1.1.2 บอกรายละเอียดเกี่ยวกับหนวยตางๆ
1.1.3 บอกสมการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบ
1.1.4 บอกสมการกฎของนิวตันเกี่ยวกับการหมุน
1.1.5 บอกสมการงาน
1.1.6 บอกสมการกําลัง
1.1.7 บอกสมการแรงบิด

1.1 ความรู!เบื้องต!นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน


1.1.1 เครื่องจักรกลไฟฟาในชีวิตประจําวัน และแหลงพลังงาน
เครื่องจักรกลไฟฟาคืออุปกรณ:ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานทางกลไปเป<นพลังงานทางไฟฟา
เรียกวาเครื่องกําเนิด หรือเปลี่ยนจากพลังงานไฟฟาไปเป<นพลังงานทางกลเรียกวามอเตอร: โดยอาศัย
สนามแมเหล็กเป<นตัวเปลี่ยนแปลงพลังงาน
หม!อแปลงไฟฟาคือตัวเปลี่ยนแปลงระดับแรงดันไฟฟากระแสสลับจากระดับหนึ่งไปสูอีก
ระดับหนึ่งหรือระดับเดียวกันโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงของกระแสไฟ และไมมีสวนใดของหม!อแปลง
เคลื่อนที่ทางกล
ในชีวิตประจําวันเรามีไฟใช!เพราะเครื่องกําเนิดผลิตไฟให!เราใช! มีสิ่งอํานวยความ
สะดวกตาง ๆ เชนตู!เย็น ตู!แช เครื่องปรับอากาศ พัดลม เครื่องปABนอาหาร ก็โดยการอาศัยมอเตอร:เป<น
อุปกรณ:สําคัญในการทํางานเป<นต!น
แหลงกํ า เนิ ด พลั ง งานไฟฟาหลั ก ๆ ได! ม าจาก โรงไฟฟาพลั ง น้ํ า โรงไฟฟาพลั ง ไอน้ํ า
โรงไฟฟากั งหั น กD า ซ โรงไฟฟาพลั ง ความร! อ นรวม และโรงไฟฟาพลั ง งานนิ ว เคลี ย ร: เ ป< น ต! น สวน
แหลงกําเนิดพลังงานไฟฟาที่ได!มาจากพลังงานทดแทน เชน กังหันลมผลิตไฟฟา แผงเซลล:แสงอาทิตย:
เป<นต!น
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
2
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

1.1.2 รายละเอียดเกี่ยวกับหนวยตางๆ
ในระบบอังกฤษปริมาณที่วัดจะมีหนวยเป<นนิ้ว ฟุต ปอนด: เป<นต!น ตอมาในปH ค.ศ. 1954
มีการนําระบบหนวยวัดระหวางชาติ(International System of Units, SI) เข!ามาใช!กันเกือบทั่วโลก
เพื่อให!เป<นมาตรฐานสากลในการนําไปใช!งาน
ระบบ SI ประกอบด!วยหนวย 3 ประเภท คือ
1. หนวยพื้นฐาน เป<นหนวยวัดปริมาณตางๆ เบื้องต!นของระบบ SI ประกอบด!วยการวัด
ปริมาณ 7 ประเภท แสดงดังตารางที่ 1.1

ตารางที่ 1.1 หนวยพื้นฐานในระบบเอสไอ (SI Base Units)


ปริมาณ ชื่อหนวยวัด สัญลักษณ'
ความยาว เมตร (meter) m
มวล กิโลกรัม (kilogram) kg
เวลา วินาที (second) s
กระแสไฟฟา แอมแปร: (ampere) A
อุณหภูมิ เคลวิน (Kelvin) K
จํานวนสาร โมล (mole) mol
ความเข!มของการสองสวาง แคนเดลา (candela) cd

2. หนวยเสริม เป<นหนวยเพิ่มเติมจากหนวยพื้นฐาน แสดงดังตารางที่ 1.2


ตารางที่ 1.2 หนวยเสริมในระบบเอสไอ
ปริมาณ ชื่อหนวยเสริม สัญลักษณ'
มุมระนาบ เรเดียน rad
มุมตัน สเตอเรเดียน (Steradian) Sr

3. หนวยอนุพันธ: เป<นหนวยวัดปริมาณคาตางๆ ซึ่งเกิดขึ้นจากการนําหนวยพื้นฐาน หรือ


หนวยเสริมมาสัมพันธ:กับทางคณิตศาสตร: แยกออกเป<นหนวยอนุพันธ:มีชื่อเรียกเฉพาะแสดงดังตาราง
ที่ 1.3

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
3
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

ตารางที่ 1.3 หนวยอนุพันธ:ในระบบเอสไอ


ปริมาณ ชื่อหนวย สัญลักษณ'หนวย
อัตราเรง เมตรตอวินาทีกําลังสอง m/s2
พื้นที่ ตารางเมตร m2
ความหนาแนน กิโลกรัมตอลูกบาศก:เมตร kg/m3
พลังงานหรืองาน จูล J
แรง นิวตัน N
โมเมนต: นิวตัน-เมตร N.m
กําลังงาน วัตต: W
ความกดดันและความเค!น ปาสคาล Pa
ความถี่ของการหมุน รอบตอวินาที rev/s
อุณหภูมิ องศาเซลเซียส °C
ทอร:ก นิวตัน-เมตร N.m
ความเร็ว(อัตราเร็ว) เมตรตอวินาที m/s
ปริมาตร ลูกบาศก:เมตร m3
ความเร็วเชิงมุม เรเดียนตอวินาที rad/s
ความเรงเชิงมุม เรเดียนตอวินาทีกําลังสอง rad/s2

1.1.3 การเคลื่อนที่แบบหมุนรอบ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ แบบหมุนรอบจะเคลื่ อนที่ได!เร็วเพียงใด ขึ้นอยูกับองค:ประกอบ
ตางๆ เชน ตําแหนงมุม( θ ) ความเร็วเชิงมุม( ω ) และอัตราเรงเชิงมุม( a ) เป<นต!น
- ตําแหนงมุม ( θ ) คือมุมการเคลื่อนที่ทางกลเทียบกับแกนอ!างอิงทางแนวนอนขวามือ
ของเรา โดยถ!าอยูตรงแกนนี้พอดีก็แสดงวามุม ( θ ) เทากับศูนย: ซึ่งมีหนวยเป<นเรเดียลหรือองศา
- ความเร็วเชิงมุม ( ω ) คืออัตราการเปลี่ยนแปลงในตําแหนงมุม ( θ ) เทียบกับเวลา สวน
ใหญจะมีคาเป<นบวกเมื่อหมุนทวนเข็มนาฬิกาและจะมีคาเป<นลบเมื่อหมุนตามเข็มนาฬิกา โดยหาได!
จากสมการที่ (1.1)


ω= (1.1)
dt

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
4
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

ถ!าตําแหนงมุม ( θ ) เป<นเรเดียล ดังนั้นอัตราเร็วเชิงมุมก็จะวัดเป<นเรเดียลตอวินาที


เมื่อให!
ωm คือ ความเร็วเชิงมุมทางกลมีหนวยเป<นเรเดียลตอวินาที
fm คือ ความถี่ทางกลมีหนวยเป<นรอบตอวินาที
nm คือ ความเร็วทางกลมีหนวยเป<นรอบตอนาที
กําหนดให!สัญลักษณ:ตัวห!อย m แสดงปริมาณทางกล โดยความสัมพันธ:ของความเร็วรอบ
ทางกลและความถี่ทางกลแสดงดังสมการที่ (1.2)

N m = 60f m (1.2)

และความสัมพันธ:ของความถี่ทางกลและความเร็วเชิงมุมทางกลแสดงดังสมการที่ (1.3)

ωm (1.3)
fm =

- อัตราเรงเชิงมุม ( a ) คืออัตราการเปลี่ยนแปลงของความเร็วเชิงมุม ( ω ) เทียบกับเวลา


โดยหาได!จากสมการที่ (1.4)

a= (1.4)
dt
ถ!าหนวยของความเร็วเชิงมุมเป<นเรเดียลตอวินาที ดังนั้นอัตราเรงเชิงมุมจะมีหนวยเป<นเรเดียล
ตอวินาทียกกําลังสอง
1.1.4 กฎของนิวตันเกี่ยวกับการหมุน
กฎข!อที่ 2 ของนิวตันเกี่ยวกับแรง กลาวไว!วา “ความเรงของวัตถุจะแปรผันตามแรงที่
กระทําตอวัตถุ แตจะแปรผกผันกับมวลของวัตถุ’ โดยจะมีความสัมพันธ:กับมวลของวัตถุและอัตราเรง
ดังสมการที่ (1.5)
F = ma (1.5)

เมื่อ
F คือ แรงสุทธิที่กระทําบนวัตถุ มีหนวยเป<น นิวตัน
m คือ มวลของวัตถุ มีหนวยเป<น กิโลกรัม
a คือ อัตราเรง มีหนวยเป<น เมตรตอวินาทียกกําลังสอง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
5
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

ความสัมพันธ:ระหวางแรงบิดที่เกิดขึ้นบนวัตถุและผลของอัตราเร็วเชิงมุมเรียกวากฎการหมุน
เขียนเป<นสมการได!ดังสมการที่ (1.6)

τ = Ja (1.6)

เมื่อ
τ คือ แรงบิดที่เกิดขึ้น มีหนวยเป<น นิวตัน-เมตร หรือ ปอนด:-ฟุต
J คือ แรงเฉือ่ ยชั่วขณะของวัตถุ คล!ายมวลของวัตถุในการเคลื่อนที่แบบเชิงส!น
มีหนวยวัดเป<น กิโลกรัม-เมตรยกกําลัง อง
a คือ อัตราเรงเชิงมุม มีหนวยเป<น เรเดียลตอวินาทียกกําลังสอง

1.1.5 นิยามงาน
สําหรับการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบเชิงเส!นงานหาได!จากแรงที่ใช!ในการเคลื่อนที่วัตถุไปใน
ระยะทางหนึ่ง เขียนเป<นสมการได!ดังสมการที่ (1.7)
W = ∫ Fdr (1.7)

เมื่อสมมติให!แรงมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุและมีคาคงที่ จะเขียนสมการของงาน
ได!ดังสมการที่ (1.8)
W = F× r (1.8)

สําหรับการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนววงกลม งานที่ใช!ในการทําให!เกิดแรงบิดเป<นมุม θ หาได!


จากสมการที่ (1.9)

W = ∫ τ dθ (1.9)
และถ!าให!แรงบิดคงที่ จะเขียนสมการของงานได!ดังสมการที่ (1.10)
W = τ×θ (1.10)
เมื่อ
W คือ งาน ในระบบ SI มีหนวยเป<นจูล
r คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได! มีหนวยเป<นเมตร
θ คือ ตําแหนงมุม มีหนวยเป<นเรเดียล

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
6
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

1.1.6 นิยามกําลัง
กําลัง คืออัตราของการทํางาน หรือการเพิ่มในการทํางานตอหนวยของเวลา เขียน
เป<นสมการได!ดังสมการที่ (1.11)

dW
P = (1.11)
dt

กําลังในระบบ SI มีหนวยวัดเป<นจูลตอวินาทีหรือวัตต: และในระบบอังกฤษมีหนวยวัดเป<น


ฟุต-ปอนด:ตอวินาทีหรือในหนวยกําลังม!าก็ได!
ในการใช!งานสวนใหญแรงที่ใช!จะมีคาคงที่ และมีทิศทางเดียวกันกับทิศทางของการเคลื่อนที่
ซึ่งสามารถหาได!จากสมการที่ (1.12)

( Fr ) = F   = F × V (1.12)
dW d dr
P = =
dt dt  dt 

ในทํ า นองเดี ย วกั น เมื่ อ สมมติ ใ ห! แ รงบิ ด มี ค าคงที่ กํ า ลั ง ที่ ใ ช! ใ นการเคลื่ อ นที่ ใ ห! เ พลา
เครื่องจักรกลหมุนรอบสามารถหาได!จากสมการที่ (1.13)

dW
P =
dt
d
= ( τθ ) (1.13)
dt
 dθ 
= τ 
 dt 
= τ× ω

เมื่อ
P คือ คือกําลังไฟฟา มีหนวยเป<นวัตต:
τ คือ แรงบิด มีหนวยเป<นนิวตันเมตร
ω คือ ความเร็วเชิงมุม มีหนวยเป<นเรเดียลตอวินาที

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
7
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

1.1.7 นิยามแรงบิด

r r

F
F
=0
แรงบิดเท่ากั บศูนย์ แรงบิดมีทศิ ทางหมุนทวนเข็มนาฬิกา
(ก) (ข)
รูปที่ 1.1 แรงที่มากระทํากับเพลา (ก) แรงบิดเทากับศูนย: (ข) แรงบิดมีทิศทางหมุนทวนเข็มนาฬิกา

rsin(180°-θ)= rsinθ

r 180°-θ

F
รูปที่ 1.2 ภาพประกอบสมการหาแรงบิดบนเพลา
จากรูปที่ 1.1 (ก) เมื่อมีแรงมากระทํากับแกนเพลารูปทรงกระบอกของเครื่องกล
เพลาจะไมหมุน แตถ!ามีแรงกระทํากับแกนเพลาทรงกระบอกของเครื่องกลดังรูปที่ 1.1 (ข) เพลาจะ
หมุน สวนรูปที่ 1.2 ใช!ประกอบการหาแรงบิดที่ได!จากสมการที่ (1.14)

τ = Fr sin θ (1.14)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
8
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. แนะนําการเรียน ลักษณะรายวิชา กําหนดการสอน การวัดและการประเมินผลการเรียน
2. มอบเอกสารประกอบการสอน
3. ผู!สอนบรรยายเนื้อหา
4. นักศึกษารวมอภิปราย
5. ผู!สอนตั้งคําถามให!ผู!เรียนมีสวนรวมในการเรียน
6. นักศึกษาสรุปกฎสําคัญตางๆ
7. นักศึกษาทําแบบฝsกหัด
8. ให!งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- สุกัลยา พลเดช, “การใช!หนวยวัดระบบเอสไอ (SI Unit) อยางถูกต!อง”, วารสารกรม
วิทยาศาสตร:บริการ ปHที่ 60 ฉบับที่ 189 หน!า 44-46.
- Chapman, Stephen J.,Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill,
Inc., 1985.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร: และคอมพิวเตอร:
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝsกหัดท!ายบทเรียน
2. ศึกษาค!นคว!าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเข!าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข!ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝsกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน
9
บทเรียน เรื่อง ความรู!เบื้องต!นเกีย่ วกับเครื่องจักรกลไฟฟา และแหลงพลังงาน

แบบฝPกหัด
1. จงบอกเครื่องจักรกลไฟฟาในชีวิตประจําวันวามีชนิดใดบ!าง
2. จงบอกแหลงกําเนิดพลังงานไฟฟาหลักๆวาผลิตได!จากแหลงใดบ!าง
3. จงยกตัวอยางเครื่องใช!ไฟฟาในชีวิตประจําวัน ที่อาศัยมอเตอร:เป<นหลักในการทํางาน
มาซัก 5 อยาง
4. จงบอกหนวยวัดระหวางชาติ (International System of Units, SI) มาพอเข!าใจ
5. จงบอกถึงองค:ประกอบตางๆ ที่มีผลตอการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบมาพอเข!าใจ
6. จงบอกสมการกฎของนิวตันเกี่ยวกับการหมุนมาพอเข!าใจ
7. จงบอกสมการงานมาพอเข!าใจ
8. จงบอกสมการกําลังมาพอเข!าใจ
9. จงบอกสมการแรงบิดมาพอเข!าใจ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
10
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา


จุดประสงค!การสอน
1.2 เข%าใจหลักการของแมเหล็กไฟฟา
1.2.1 อธิบายหลักพิจารณาเกี่ยวกับสนามแมเหล็ก
1.2.2 อธิบายกฎนิ้วหัวแมมือขวา
1.2.3 อธิบายกฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย1
1.2.4 อธิบายกฎของเลนซ1
1.2.5 อธิบายแรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา
1.2.6 อธิบายแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก

1.2 หลักการของแมเหล็กไฟฟา
1.2.1 หลักพิจารณาเกี่ยวกับสนามแมเหล็ก
หลักพิจารณาเกี่ยวกับสนามแมเหล็กสามารถพิจารณาเป:นข;อๆ ได;ดังนี้
- เส;นลวดตัวนําที่มีกระแสไหลผานจะสร;างสนามแมเหล็กล;อมรอบเส;นลวดตัวนํานั้น
- ขดลวดตัวนําพันรอบแกนเหล็ก เมื่อมีกระแสไหลผานตัวนํา ทําให;เกิดฟลักซ1แมเหล็ก
ไหลในแกนเหล็ก และมีสนามแมเหล็กเกิดขึ้น
- ถ; า เส; น ลวดตั ว นํ า หมุ น ตั ด ผานบริ เ วณที่ มี ส นามแมเหล็ ก จะเกิ ด แรงเคลื่ อ นไฟฟา
เหนี่ยวนําขึ้นบนเส;นลวดนั้น
- ถ;าลวดตัวนําวางอยูในสนามแมเหล็ก และมีกระแสไหลในลวดตัวนํา จะทําให;เกิดเกิด
แรงขึ้นบนลวดตัวนํานั้น
1.2.2 กฎนิ้วหัวแมมือขวา
ทิศทางของสนามแมเหล็กเมื่อให;กระแสไหลผานตัวนําหาได;โดยใช;กฎมือขวา (Thumb Rule)
ตามรู ป ที่ 1.3 โดยให; กํ า ตั ว นํ า ที่ เ ป: น เส; น ตรงด; ว ยมื อ ขวา นิ้ ว หั ว แมมื อ แทนทิ ศ ทางการไหลของ
กระแสไฟฟา นิ้วทั้งสี่ที่เหลือจะแทนทิศทางของสนามแมเหล็ก และรูปที่ 1.4 แสดงสนามแมเหล็ก
ของตัวนําเส;นตรง

รูปที่ 1.3 กฎนิ้วหัวแมมือขวา (Thumb Rule)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
11
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

φ φ

φ φ

รูปที่ 1.4 สนามแมเหล็กของตัวนําเส;นตรง

1.2.3 กฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย!
กฎของฟาราเดย1 กลาวไว;วา “ถ;ามีจํานวนเส;นแรงแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตาม
เวลา แล;วมีการพุงตัดผานลวดตัวนําจะทําให;เกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นในขดลวดนั้น” ซึ่งเขียน
สมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําเมื่อมีตัวนําที่พันเป:นขดลวดจํานวน 1 รอบ ได;ดังสมการ ที่
(1.15)

eind = - (1.15)
dt
เมื่อ
eind คือ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา มีหนวยเป:นโวลต1
dφ คือ จํานวนเส;นแรงแมเหล็กที่เปลี่ยนแปลง มีหนวยเป:นเวเบอร1
dt คือ จํานวนเวลาที่เปลี่ยนแปลง มีหนวยเป:นวินาที

และเมื่อมีตัวนําพันเป:นขดลวดจํานวน N รอบ จะเขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําได;


ดังสมการที่ (1.16)

eind = -N (1.16)
dt
เมื่อ
N คือ จํานวนรอบตัวนําที่พันเป:นขดลวด มีหนวยเป:นรอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
12
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

1.2.4 กฎของเลนซ!
กฎของเลนซ1กลาวไว;วาในวงจรปOดใด ๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงการไหลของกระแสใน
วงจรยอมทําให;เกิดการเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟาขึ้นในวงจรนั้น โดยแรงเคลื่อนไฟฟาที่เกิดขึ้นในวงจร
จะมีทิศทางตรงกันข;ามกับการเปลี่ยนแปลงการไหลของกระแสในวงจรนั้น โดยภาพอธิบายกฎของ
เลนซ1แสดงดังรูปที่ 1.5

eind

รูปที่ 1.5 ภาพอธิบายกฎของเลนซ1

ตัวอยางที่ 1.1 จากรูปที่ 1.6 จงหาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในขดลวด เมื่อมีเส;นแรงแมเหล็ก


φ = 0.02sin314t Wb ไหลผานในแกนเหล็ก

eind

รูปที่ 1.6 ภาพประกอบตัวอยางการหาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในขดลวด

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
13
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

วิธีทํา
จากสมการ

eind = - N
dt

แทนคาจะได;
d
= - ( 200 turns ) ( 0.02sin 314t )
dt

= -1256 cos 314t โวลต1


หรือ
eind = -1256 sin [ 314t + 90°] โวลต1
ตอบ

ขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํามีคาติดลบ ถ;าไมคิดเครื่องหมายลบแสดงวาทิศทางการไหล
ของกระแสในตัวนํา และขั้วของแรงดันไฟฟาที่ขดลวด กําหนดได;ดังแสดงในรูปที่ 1.6

****************************************************

1.2.5 แรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา
แรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนําอธิบายโดยใช;รูปที่ 1.7 ได;ดังนี้

รูปที่ 1.7 แรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
14
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 1.7 กําหนดให;ทิศทางของสนามแมเหล็กมีทิศพุงเข;าหากระดาษ


เขียนแทนด;วยสัญลักษณ1กากบาท(×) คํานวณหาแรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนําหาได;จาก
สมการที่ (1.17)

Find = Bilsinθ (1.17)

เมื่อ
Findคือ แรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา มีหนวยเป:นนิวตัน
B คือ ความหนาแนนของสนามแมเหล็ก มีหนวยเป:นเทสลา
i คือ ขนาดของกระแสที่ไหลในตัวนํา มีหนวยเป:นแอมป\
l คือ ความยาวของตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก มีหนวยเป:นเมตร
θ คือ มุมระหวางลวดตัวนําและเวกเตอร1ความหนาแนนของสนามแมเหล็ก
มีหนวยเป:นองศา
เมื่อพิจารณาแรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา โดยใช;กฎมือซ;ายของเฟลมมิ่ง ดังรูปที่
1.8

รูปที่ 1.8 กฎมือซ;ายของเฟลมมิ่ง

กฏมือซ;ายของเฟลมมิ่งนี้ ถูกนําไปใช;พิจารณาแรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนําที่
เกิดขึ้นในมอเตอร1 โดยกํามือ และกางนิ้วโปง นิ้วชี้ และนิ้วกลางออกมาทํามุม 90 องศา กันตามรูป
นิ้วโปงจะแทนทิศทางของการเคลื่อนที่ของตัวนํา สวนนิ้วชี้จะแทนทิศทางของสนามแมเหล็ก และ
นิ้วกลางจะแทนทิศทางของกระแสไฟฟา

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
15
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

ตัวอยางที่ 1.2 จากรูปที่ 1.7 เมื่อกําหนดให;ลวดตัวนําอยูในสนามแมเหล็กที่มีความ


หนาแนน 0.5 T มีทิศทางพุงเข;าไปในกระดาษ ถ;าลวดตัวนํายาว 0.4 เมตร มีกระแสไหลภายในเส;น
ลวดมีทิศทางจากบนลงลางขนาด 5 A จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนํา
วิธีทํา
จากสมการ
Find = ilBsinθ

แทนคาจะได;ขนาดของแรง
= ( 5A )( 0.4m )( 0.5T ) sin 90°
= 1 นิวตัน
ตอบ

ทิศทางหาได;โดยใช;กฎมือซ;ายของเฟลมมิ่งสําหรับกรณีมอเตอร1แสดงวาทิศทางของแรง ที่เกิด
จากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํา ( Find ) มีทิศทางไปทางขวามือดังรูปที่ 1.7
****************************************************

1.2.6 แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก

eind

รูปที่ 1.9 แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
16
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 1.9 กําหนดให;ทิศทางของสนามแมเหล็กมีทิศพุงเข;าหากระดาษ


เขียนแทนด;ว ยสัญลักษณ1กากบาท(×) คํานวณหาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา บนตัว นําเคลื่ อนที่ใน
สนามแมเหล็กได;จากสมการที่ (1.18)

eind = Blvsinθ (1.18)


เมื่อ
eindคือ แรงเคลื่อนไฟฟาบนลวดตัวนํา มีหนวยเป:นโวลต1
B คือ ความหนาแนนของสนามแมเหล็ก มีหนวยเป:นเทสลา
l คือ ความยาวของตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก มีหนวยเป:นเมตร
v คือ ความเร็วที่ตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก มีหนวยเป:นเมตรตอวินาที
θ คือ มุมระหวางเวกเตอร1ความหนาแนนของสนามแมเหล็กและเวกเตอร1ความเร็วที่
ตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก มีหนวยเป:นองศา

เมื่อพิจารณาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก โดยใช;กฎมือขวา
ของเฟลมมิ่ง ดังรูปที่ 1.10

รูปที่ 1.10 กฎมือขวาของเฟลมมิ่ง

กฏมือขวาของเฟลมมิ่งนี้ ถูกนําไปใช;พิจารณาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ใน
สนามแมเหล็ก ที่เกิดขึ้นในเครื่องกําเนิด โดยกํามือ และกางนิ้วโปง นิ้วชี้ และนิ้วกลางออกมาทํามุม
90 องศา กันตามรูป นิ้วโปงจะแทนทิศทางของการเคลื่อนที่ของตัวนํา สวนนิ้วชี้จะแทนทิศทางของ
สนามแมเหล็ก และนิ้วกลางจะแทนทิศทางของกระแสไฟฟา

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
17
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

ตัวอยางที่ 1.3 จากรูปที่1.9 แสดงลวดตัวนํายาว 0.4 เมตร วางอยูในสนามแมเหล็ก


ตามรูป และถูกทําให;เคลื่อนที่ไปทางขวามือด;วยความเร็ว 7.5 เมตรตอวินาที โดยมีความหนาแนนของ
สนามแมเหล็กเทากับ 0.5T มีทิศพุงลงไปในกระดาษ จงหาขนาดและหาขั้วของแรงเคลื่อนไฟฟา
เหนี่ยวนําที่ได;บนลวดตัวนํา
วิธีแก%ป:ญหา
จากสมการ
eind = Blvsinθ

แทนคาจะได;
= ( 0.5T )( 0.4m )( 7.5m / s ) sin 90°
= 1.5 โวลต1
ตอบ
ทิศทางหาได; โ ดยใช; กฎมื อขวาของเฟรมมิ่ งสํา หรั บ กรณี เ ครื่องกํ า เนิ ด แสดวาขั้ ว บวกของ
แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในลวดตัวนําอยูด;านบนและขั้วลบอยูด;านลางแสดงดังรูปที่ 1.9
****************************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
18
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. แนะนําการเรียน ลักษณะรายวิชา กําหนดการสอน การวัดและการประเมินผลการเรียน
2. มอบเอกสารประกอบการสอน
3. ผู;สอนบรรยายเนื้อหา
4. นักศึกษารวมอภิปราย
5. ผู;สอนตั้งคําถามให;ผู;เรียนมีสวนรวมในการเรียน
6. นักศึกษาสรุปกฎสําคัญตางๆ
7. นักศึกษาทําแบบฝbกหัด
8. ให;งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill, Inc.,
1985.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.

2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร1 และคอมพิวเตอร1
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝbกหัดท;ายบทเรียน
2. ศึกษาค;นคว;าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเข;าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข;ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝbกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 1 พื้นฐานเครื่องจักรกลไฟฟา
19
บทเรียน เรื่อง หลักการของแมเหล็กไฟฟา

แบบฝRกหัด
1. จงอธิบายหลักการพิจารณาเกี่ยวกับสนามแมเหล็กมาเป:นข;อๆ พอเข;าใจ
2. จงอธิบายกฎนิ้วหัวแมมือมาพอเข;าใจ
3. จงอธิบายกฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย1มาพอเข;าใจ
4. จงอธิบายกฎของเลนซ1มาพอเข;าใจ
5. จงอธิบายแรงที่เกิดจากการเหนี่ยวนําบนลวดตัวนํามาพอเข;าใจ
6. จงอธิบายแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําบนตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็กมาพอเข;าใจ
7. จากรูปลาง เมื่อกําหนดให;ลวดตัวนําอยูในสนามแมเหล็กที่มีความหนาแนน 0.25 T
มีทิศทางพุงเข;าไปในกระดาษ ถ;าลวดตัวนํายาว 0.6 เมตร มีกระแสไหลภายในเส;น
ลวดมีทิศทางจากบนลงลางขนาด 8 A จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่เกิดจากการ
เหนี่ยวนํา
B

i
l

8. จากรูปลาง เมื่อกําหนดให;ลวดตัวนําอยูในสนามแมเหล็กที่มีความหนาแนน 0.25 T


มีทิศทางพุงเข;าไปในกระดาษ ถ;าลวดตัวนํายาว 0.5 เมตร และถูกทําให;เคลื่อนที่ไป
ทางขวามื อ ด; ว ยความเร็ ว 10 เมตรตอวิ น าที จงหาขนาดและหาขั้ ว ของ
แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ได;บนลวดตัวนํา

eind

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
20

หนวยที่ 2
วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
จุดประสงค+การสอน
2.1 รู2หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
2.1.1 บอกการสร2างสนามแมเหล็ก
2.1.2 บอกกฎวงจรของแอมแปร4
2.1.3 บอกชนิดของสารแมเหล็ก
2.1.4 บอกลักษณะคุณสมบัติทางแมเหล็กของสารเฟอร4โรแมกนีติก
2.1.5 บอกสมการกําลังงานสูญเสียเนื่องจากวงป<ดฮีสเตอร4ริซีส
2.1.6 บอกสมการกําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน

2.1 หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก


2.1.1 การสร.างสนามแมเหล็ก
การสร2างสนามแมเหล็ก สามารถสร2างได2จากแมเหล็กธรรมชาติ แมเหล็กประดิษฐ4 และ
แมเหล็กชั่วคราว สวนอีกวิธีหนึ่ งในการสร2างสนามแมเหล็ก ซึ่งจะอธิบ ายชนิดของแมเหล็กตางๆ
ดังตอไปนี้
• แมเหล็กธรรมชาติ เปDนแมเหล็กที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน แรแมกนีไตท4 แมเหล็ก
ชนิดนี้มีความแรงในการดึงดูดไมมากนัก จึงไมนิยมนํามาใช2งาน
• แมเหล็กประดิษฐ4 เปDนแมเหล็กที่ทําขึ้นจากสารแมเหล็ก วิธีการทําสารแมเหล็กให2เปDน
แมเหล็กนั้นทําได2โดยการถูเปDนต2น อีกวิธีหนึ่งในการทําให2แมเหล็กสร2างสนามแมเหล็กที่มีกําลังแรงใน
การดึงดูด คือ การปอนกระแสไฟฟาให2ไหลเข2าไปในขดลวด โดยสารที่ใช2ทําแมเหล็กถาวรต2องมีคา
สภาพซึมซาบแมเหล็กสัมพัทธ4สูง ซึ่งเปDนคุณสมบัติในการคงอํานาจแมเหล็กไว2ได2 หลังจากที่นําเอา
แหลงจายพลังงานแมเหล็กออก คานี้จะมากหรือน2อยขึ้นอยูกับสารที่ใช2 นอกจากนั้นจะต2องคํานึงถึงคา
สภาพลบล2างแมเหล็กของสาร ซึ่งเปDนคุณสมบัติในการตอต2านการเปลี่ยนแปลงความเปDนแมเหล็กจาก
สนามแมเหล็กรอบๆ ด2วย สารบางชนิดให2คาสภาพซึมซาบแมเหล็กสัมพัทธ4สูง แตให2คาสภาพลบล2าง
แมเหล็กต่ํา ดังนั้นในการเลือกสารที่ใช2จึงต2องเปรียบเทียบกันระหวางคาทั้งสองนี้ สารที่นิยมใช2 คือ
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
21

แอลนิโค (alnico) ซึ่งเปDนโลหะผสมของ อะลูมินัม นิกเกิล และเหล็ก และยังมีสวนประกอบของ


โคบอลต4 ทองแดง และไทเทเนียม
•แมเหล็กชั่วคราว เปDนแมเหล็กที่คงสภาพแมเหล็กอยูชั่วขณะที่ได2รับอิทธิพลจากอํานาจ
แมเหล็กภายนอก แมเหล็กพวกนี้ทําจากแทงเหล็กออน วางใกล2ๆ หรือติดกับแมเหล็กถาวร หรือ
อํานาจแมเหล็กที่เกิดจากขดลวดที่มีกระแสไฟฟาไหลผาน เมื่อกระแสหยุดไหลอํานาจแมเหล็กก็หมด
ไปด2วย แมเหล็กชนิดนี้เราเรียกวา “แมเหล็กไฟฟา”

(ก) (ข)
รูปที่ 2.1 ทิศทางของสนามแมเหล็กที่มีกระแสไหลผานขดลวด

การปอนกระแสไฟฟาเข2าไปในตัวนําไฟฟาจะทําให2เกิดสนามแมเหล็กรอบๆ ตัวนําแสดงดังรูป
ที่ 2.1 (ก) และเมื่ อปอนกระแสไฟฟาเข2 าไปในขดลวดที่มีแกนเหล็ กอยู ตรงกลางจะทําให2เกิ ด
สนามแมเหล็กขึ้นรอบขดลวด หากพิจารณาจากกฎมือขวาเพื่อหาขั้วแมเหล็กของแกนเหล็กที่มีขดลวด
พันอยู เมื่อกํานิ้วมือขวาทั้งสี่นิ้วยกเว2นนิ้วโปงให2มีทิศทางเดียวกันกับที่กระแสไหลเข2าขดลวด นิ้วโปงที่
ชี้จะแสดงขั้วเหนือของสนามแมเหล็ก สวนอีกด2านหนึ่งของแกนเหล็กจะเปDนขั้วใต2โดยทิศทางของ
สนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นในขดลวดที่ปอนกระแสไหลผานแสดงดังรูปที่ 2.1 (ข)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
22

2.1.2 กฎวงจรของแอมแปร+
จากรูปที่ 2.2 (ก) เมื่อปอนกระแสไฟฟาไหลเข2าตัวนําที่พันเปDนจํานวน N รอบ จะทําให2
เกิดสนามแมเหล็กขึ้นรอบตัวนํา โดยมีความเข2มของสนามแมเหล็กเปDน H ซึ่งระยะทางที่เส2นแรง
แมเหล็กตัดผานเปDน dl โดยเมื่อนําแกนเหล็กมาทําเปDนรูปวงแหวน บางครั้งเรียกวา “แกนทอรอยด4”
เมื่อปอนกระแสไหลเข2าตัวนําที่พันเปDนจํานวน N รอบ จะทําให2เกิดเส2นแรงแมเหล็กไหลในแกนเหล็ก
ทอรอยด4 ดังแสดงในรูปที่ 2.2 (ข)
dl
H
φ
I I r
+ + r1 r2
V V
− −
N turns

lc Ac

รูปที่ 2.2 สนามแมเหล็กที่เกิดขึ้นรอบแกนทอรอยด4


(ก) เมื่อมีกระแสไหลผานขดลวดที่มีจํานวน N รอบ
(ข) เมื่อมีกระแสไหลผานขดลวดที่พันบนแกนทอรอยด4
จากรูปที่ 2.2 (ก) กฎพื้นฐานที่ใช2อธิบายการสร2างสนามแมเหล็ก จากกฎวงจรของแอมแปร4 กลาววา
อินทิกรั ลแบบเส2นของความเข2มสนามแมเหล็ก (H) ที่สั มผัสรอบทางเดินป<ด จะเทากั บแรงเคลื่อน
แมเหล็ก ( ℑ) และเทากับจํานวนรอบตัวนําคูณด2วยกระแสที่ไหลเข2าขดลวด เขียนอธิบายกฎวงจรของ
แอมแปร4 ได2ดังสมการที่ (2.1)
∫ H.dl =ℑ=N I (2.1)
เมื่อ
H คือ ความเข2มสนามแมเหล็ก มีหนวยเปDนแอมปRแปร4เทริน4ตอเมตร, A.t/m
l คือ ระยะทางที่เส2นแรงแมเหล็กไหล มีหนวยเปDนเมตร, m
ℑ คือ แรงเคลื่อนแมเหล็ก มีหนวยเปDนแอมแปร4เทริน4, A.t
N คือ จํานวนรอบตัวนําที่พันรอบแกนเหล็ก มีหนวยเปDนรอบ, turns(t)
I คือ กระแสที่ไหลในตัวนําที่พันเปDนขดลวด มีหนวยเปDนแอมปR, A

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
23

จากกฎวงจรไฟฟาของแอมแปร4 เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 2.2 (ข) ถ2าความเข2มสนามแมเหล็กในแกน


เหล็ก ( H c ) มีคาคงที่ตามความยาวเฉลี่ยของแกนเหล็ก ( lc ) จะเขียนอธิบายกฎวงจรไฟฟาของแอมแปร4ได2
ดังสมการที่ (2.2) และ (2.3)

H c × lc = N × I (2.2)

H c × 2πr = N × I (2.3)
เมื่อ
Hc คือ ความเข2มสนามแมเหล็กในแกนเหล็ก มีหนวยเปDนแอมปRแปร4เทริน4ตอเมตร, A.t/m
lc คือ ระยะทางที่เส2นแรงแมเหล็กไหลในแกนเหล็ก มีหนวยเปDนเมตร, m
r คือ รัศมีเฉลี่ยของแกนทอรอยด4 มีหนวยเปDนเมตร, m

หาคาความเข2มสนามแมเหล็กในแกนเหล็กได2จากสมการที่ (2.4)

Hc =
N×I (2.4)
2πr

จากสมการที่ (2.1) และ (2.4) เขียนเปDนสมการได2ดังสมการที่ (2.5) โดย ปริมาณ NI เรียกวา “ แรง
เคลื่อนแมเหล็ก” และมีหนวยเปDนแอมแปร4เทริน4, A.T

ℑ = H c × lc = N × I (2.5)

จัดรูปใหมจะได2


Hc =
lc

Hc =
NI (2.6)
lc

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
24

ความเข2มของสนามแมเหล็กขึ้นอยูกับกระแสที่ปอนเข2าไปในตัวนําเพื่อสร2างสนามแมเหล็ก และความ
แรงของเส2นแรงแมเหล็กที่เกิดขึ้นในแกนเหล็กขึ้นอยูกับสารที่ใช2ทําแกนเหล็ก ความสัมพันธ4ระหวางความ
เข2มของสนามแมเหล็ก ( H ) กับความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็ก ( B ) ภายในเนื้อสารคือ

B = µH (2.7)
เมื่อ
B คือ ความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็ก มีหนวยเปDนเทสลา (T) หรือ เวเบอร4ตอตารางเมตร
(Wb/m2)
µ คือ ความซึมซาบได2ของตัวกลาง (Permeability) มีหนวยเปDน H/m หรือ Wb/A.t-m
H คือ ความเข2มของสนามแมเหล็ก มีหนวยเปDนแอมปRแปร4เทริน4ตอเมตร, A.t/m

ความซึมซาบได2ของตัวกลาง (Permeability: µ ) คือความสามารถของโมเลกุลของวัสดุในการวางตัวใน


แนวเดียวกันได2อยางงายเมื่อนํามาทําแกนเหล็ก ซึ่งมีความสัมพันธ4กับคาความซึมซาบได2ของสูญญากาศ
(Permeability of Free Space; µo ) และคาความซึมซาบสัมพัทธ4 (Relative Permeability: µr )
ดังสมการที่ (2.8)

µ = µo . µr (2.8)
เมื่อ
µo คือ คาความซึมซาบได2ของสูญญากาศ มีคาเทากับ 4π ×10−7 H/m
µr คือ คาความซึมซาบสัมพัทธ4ของสารแมเหล็กชนิดตางๆ ไมมีหนวย

ความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็กหาได2จากสมการ

µNI
B = µH =
l

เส2นแรงแมเหล็กทั้งหมดที่ตัดผานพื้นที่หน2าตัดของแกนเหล็กหาได2จากสมการที่ (2.9)

φ = ∫ B.dA
A
(2.9)
โดยที่ dA เปDนอนุพันธ4หนึ่งหนวยของพื้นที่ ถ2าเวกเตอร4ของความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็ก
ตั้งฉากกับระนาบของพื้นที่ A และความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็กมีคาสม่ําเสมอทั่วพื้นที่จะได2

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
25

φ = B× A (2.10)
เมื่อ
φ คือ เส2นแรงแมเหล็ก มีหนวยเปDนเวเบอร4
A คือ พื้นที่หน2าตัดของแกนเหล็ก มีหนวยเปDนตารางเมตร

สําหรับแกนทอรอยด4รูปที่ 2.2 (ข) ความหนาแนนเฉลี่ยของเส2นแรงแมเหล็กมีความสัมพันธ4กับ


รัศมีของแกนทอรอยด4 ดังนั้นเส2นแรงแมเหล็กทั้งหมดที่เกิดขึ้นในแกนเหล็กหาได2จากสมการที่ (2.11) และ
(2.12)
µ NIA c (2.11)
φ = Bc × A c =
lc

φ = Bc × π r =2 µ NIπ r 2 (2.12)
lc

เมื่อ
φ คือ เส2นแรงแมเหล็ก มีหนวยเปDนเวเบอร4
Bc คือ ความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็กในแกนเหล็ก มีหนวยเปDนเทสลา (T)
หรือเวเบอร4ตอตารางเมตร (Wb/m2)
่ น2าตัดของแกนเหล็ก มีหนวยเปDนตารางเมตร (m2)
A c คือ พื้นทีห
r คือ รัศมีของแกนเหล็กทอรอยด4 มีหนวยเปDนเมตร (m)

ผลคูณของจํานวนรอบตัวนําที่พันขดลวดบนแกนทอรอยด4 ( N ) กับเส2นแรงแมเหล็กที่เกิดขึ้นไหลใน
แกนเหล็กทอรอยด4 ( φ ) เรียกวาเส2นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล2อง เขียนแทนด2วยตัวอักษรกรีก ( λ ) ดังแสดงใน
สมการที่ (2.13)
λ = N×φ (2.13)
เมื่อ
λ คือ เส2นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล2อง มีหนวยเปDนเวเบอร4เทริน4 (Wb.t)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
26

2.1.3 ชนิดของสารแมเหล็ก
ชนิดของสารแมเหล็กแบงตามความสามารถในการกระตุ2นแมเหล็กได2ดังนี้
• สารพาราแมกนีติก (Paramagnetic material) เปDนสารที่มีคาสภาพซึมซาบแมเหล็ก
มากกวา 1 เพียงเล็กน2อย
• สารไดอะแมกนีติก (Diamagnettic material) เปDนสารที่มีคาสภาพซึมซาบแมเหล็กน2อย
กวา 1 เพียงเล็กน2อย
• สารนอนแมกนีติก (Nonmagnetic material) เปDนสารที่มีคาสภาพซึมซาบแมเหล็ก
สัมพัทธ4เทากับ 1
• สารตัวนํายิ่งยวด (Superconducting material) เปDนสารที่มีคาสภาพซึมซาบแมเหล็ก
สัมพัทธ4เทากับศูนย4หรือเปDนสารไดอะแมกนีติกอยางสมบูรณ4 แบบที่อุณหภูมิศูนย4องศา
สมบูรณ4
• สารเฟอร4โรแมกนีติก(Ferromagnetic material) เปDนสารที่มีคาสภาพซึมซาบแมเหล็กสูง
แบงออกเปDนสองแบบคือ สารเฟอร4โรแมกนีติกอยางพวก rate-earth สารเฟอร4โรแมกนีติ
กอยางออนที่มีสวนผสมสําคัญสี่อยางคือ เหล็ก นิเกิล โคบอลต4 และพวก rate-earth
สารเฟอร4โรแมกนีติกอยางแรง เชน สารแมเหล็กถาวรอยางอัลนิคอส(alnicos) โลหะผสม
ของโคบอลต4กับสาร rate-earth อยางซามาเรียม (samarium) เหล็กโครเมียม โลหะผสม
ทองแดง-นิเกิล และโลหะผสมอยางอื่นๆ
• สารเฟอร4ริแมกนีติก (Ferrimagnetic material) เปDนสารประกอบของเหล็กกับออกซิเจน
เปDนองค4ประกอบ ซึ่งแบงออกเปDนสารเฟอร4ริแมกนีติกที่ประกอบด2วยเหล็กกับแบเรียม
หรื อสตรอนเซี ม สารเฟอร4 ริ แมกนี ติ กอยางออนเปD นเหล็ กผสมนิ เกิ ล-สั งกะสี หรื อ
แมงกานีส-สังกะสี
• สารพาราแมกนีติกยิ่งยวด (Super-paramagnetic) เปDนสารที่เติมผงเหล็กหรือผงสาร
โลหะอื่นๆเข2าไปในเนื้อสารที่ไมนําแมเหล็กอยางเชน อีพsอกซี่ หรือพลาสติก ถ2าผงโลหะที่
เมเข2าไปประกอบด2วย โมลิบดินั่ม-นิเกิล-เหล็ก นั้นก็จะเปDนสารที่รูจักกันในชื่อ เพอร4มา
ลอยด4 (permaloy)
• สารเฟอร4โร- ฟลูดิก (ferro- fluidic) เปDนสารแมเหล็กที่เปDนของเหลวซึ่งประกอบด2วย
สามสวนของเหลวพาหะ , อนุภาคของเหล็กออกไซด4 (Fe 3 O 4 ) และตัวให2สาร
เสถียรภาพ(stabilizer)
• สารอะมอฟv ส (Amorphus) เปD น สารแมเหล็ กแบบโครงสร2 างเปD นผลึ กซึ่ งเปD นสาร
สังเคราะห4 สารอะมอฟvสเปDนสารที่ไมมีในธรรมชาติ
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
27

สารแมเหล็กที่นิยมใช2ในเครื่องจักรกลไฟฟา ซึ่งใช2ทําแกนเหล็กสวนใหญก็สารเฟอร4โรแมกนีติกที่
ทําจากเหล็กและโลหะผสมได2แก โคบอลต4 อลูมิเนียม นิเกิล และทังสเตน เนื่องจากมีสภาพซึมซาบ
แมเหล็กสัมพัทธ4สูง ทําให2มีคาความต2านทานแมเหล็กต่ําเปDนผลทําให2เกิดกระแสสร2างสนามแมเหล็กได2งาย

2.1.4 คุณสมบัติทางแมเหล็กของสารเฟอร+โรแมกนีตกิ
φ , Wb

รูปที่ 2.3 เส2นโค2งการกระตุ2นแมเหล็กของสารเฟอร4โรแมกนีตกิ

จากเส2นโค2งการทําให2เปDนแมเหล็กในรูปที่ 2.3 ชวงแรกจายแรงเคลื่อนแมเหล็กให2แกนเหล็ก


เพียงเล็กน2อย แตแกนเหล็กสร2างเส2นแรงแมเหล็กได2จํานวนหนึ่งไมมากนัก ชวงที่ 2 เมื่อจายแรงเคลื่อน
แมเหล็กเพิ่มมากขึ้นแกนเหล็กสามารถสร2างเส2นแรงแมเหล็กได2จํานวนมาก ชวงที่ 3 เมื่อจายแรงเคลื่อน
แมเหล็กเพิ่มมากขึ้นแตแกนเหล็กสามารถสร2างเส2นแรงแมเหล็กได2เพียงเล็กน2อยนั้น และชวงสุดท2ายแม2วา
จะเพิ่มแรงเคลื่อนแมเหล็กไปอีกเทาใดก็ตาม แกนเหล็กก็ไมสามารถสร2างเส2นแรงแมเหล็กเพิ่มขึ้นได2อีก
ชวงแรกและชวงที่ 2 เรียกวาชวงอิ่มตัว (unsaturated region) ชวงที่ 3 เรียกวาชวงอิ่มตัว (saturated
region) จุดที่เปDนรอยตอระหวางชวงไมอิ่มตัวกับชวงอิ่มตัวเรียกวา (knee point) ซึ่งในการออกแบบ
เครื่องจักรกลไฟฟาจะเลือกออกแบบแกนเหล็กให2ทํางานไมเกินจุดนี้
คุณลักษณะของวัสดุแมเหล็กอยางออนบางชนิดแสดงดังตารางที่ 2.1 และตัวอยางเส2นโค2งการ
กระตุ2นสนามแมเหล็กของวัสดุแมเหล็ก 3 ชนิดแสดงดังรูปที่ 2.4 สวนความสัมพันธ4ระหวางความซึมซาบ
สัมพัทธ4กับชนิดของวัสดุที่เลือกใช2ทําแกนเหล็กแสดงดังตารางที่ 2.2

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
28

ตารางที่ 2.1 คุณลักษณะของวัสดุแมเหล็กอยางออนบางชนิด


Saturation Maximum Electrical Curie
Flux Relative Resistivity Temperature
Trade Name Density Permeability (ohm-meter × 10 ) ( C) −6 o

(T) ( × 10 ) 3

Silicon core iron 2-2.1 4-5 0.25-0.60 800


Electrical iron 2.15 2.2-5.5 0.10 760
430F solenoid quality 1.47 1.1-1.6 0.60 671
High-permeability 49 1.6 30-120 0.48 450
Hy mu 80 0.78 70-75 0.58 460
Hiperco 27 2.36 2.8 0.19 925
Silectron 1.97 10-20 0.50 732
2 V Permendur 2.30 8 0.40 932
Monimax 1.45 40-100 0.65 398
Deltamax 1.60 100-200 0.45 499
4-79Molybdenum 0.80 100-400 0.55 454
permalloy
Ferrite 0.22-0.45 0.16-10 (0.1 × 106) - (10 × 106) 135-500

B (T)

M - 36 gauge sheet

cast steel

cast iron

H ( AT / m )

รูปที่ 2.4 เส2นโค2งการกระตุ2นสนามแมเหล็กของวัสดุแมเหล็ก 3 ชนิด

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
29

ตารางที่ 2.2 ความสัมพันธ4ระหวางความซึมซาบสัมพัทธ4กับชนิดของวัสดุที่เลือกใช2ทําแกนเหล็ก


Material Classification Relative Permeability, µ r
Bismuth diamagnetic 0.99983
Silver diamagnetic 0.99998
Lead diamagnetic 0.999983
Copper diamagnetic 0.999991
Water diamagnetic 0.999991
Vacuum nonmagnetic 1
Air paramagnetic 1.0000004
Aluminum paramagnetic 1.00002
Palladium paramagnetic 1.0008
2-81 Permalloy powder super - paramagnetic 130
(2 Mo, 81 Ni , Iron)
Cobalt ferromagnetic 250
Nickel ferromagnetic 600
Ferroxcube 3 ferromagnetic 1,500
(Mn-Zn-ferrite powder)
Ferrites ferromagnetic 160 - 10,000
Mild steel (0.2 C) ferromagnetic 2,000
Iron (0.2 impurity) ferromagnetic 5,000
Silicon iron (4 Si) ferromagnetic 7,000
78 Permalloy (78.5 Ni) ferromagnetic 100,000
Mumetal (75 Ni , 5 Cu , 2 Cr) ferromagnetic 100,000
Purified iron (0.05 inpurity) ferromagnetic 200,000
Superalloy (5 Mo , 79 Ni) ferromagnetic 1,000,000

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
30

วงจรแมเหล็กในรูปที่ 2.5 (ก) เมื่อปอนกระแสไฟฟาเข2าไปในขดลวดที่มีลักษณะของกระแสที่


ปอนเข2าขดลวดเปDนรูปสัญญาณซายน4ตามรูปที่ 2.5 (ข) จะทําให2เกิดวงป<ดฮีสเตอร4รีซิส (Hysteresis
Loop) ขึ้นมาตามรูปที่ 2.6

φ
I r
+ r1 r2 I1
V
− t

-I1

(ก) (ข)
รูปที่ 2.5 วงจรแมเหล็กที่ใช2พิจารณาวงป<ดฮีสเตอร4รีซสิ

φ (or B) b,f

Residual Flux, φres c

a
Coercive MMF, ℑc ℑ(or H)

e
d

รูปที่ 2.6 ลักษณะของวงป<ดฮีสเตอร4รีซิส

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
31

เมื่อปอนไฟฟากระสลับที่มีลักษณะดังรูปที่ 2.7 ให2ขดลวดซึ่งพันรอบแกนเหล็กที่ยังไมเคยถูกกระตุ2น


แมเหล็ก
I

i(t)
b f

a c e t
Im

รูปที่ 2.7 ลักษณะของสัญญาณไฟกระแสสลับที่ปอนให2กับขดลวด

สมมติให2ตอนเริ่มต2นเส2นแรงแมเหล็กในแกนแมเหล็กเปDนศูนย4และแกนเหล็กยังไมเคยถูกกระตุ2นให2
มีสนามแมเหล็ก ชวงแรกที่กระแสเพิ่มขึ้นเส2นแรงแมเหล็กจะเพิ่มขึ้นตามเส2นทาง a→b เมื่อกระแสลดลง
ทางเดินของเส2นแรงแมเหล็กจะแตกตางจากตอนกระแสเพิ่มขึ้นไปตามเส2นทาง b→c→d และเมื่อกระแส
เพิ่มขึ้นอีกครั้งทางเดินของเส2นแรงแมเหล็กจะไปตามเส2นทาง d→e→f เส2นแรงแมเหล็กในแกนเหล็กไมได2
ขึ้นอยูกับกระแสที่จายให2ขดลวดที่พันอยูกับแกนเทานั้น แตยังขึ้นอยูกับเส2นแรงแมเหล็กในเวลาที่ผานมา
ด2วย เราเรียกเส2นแรงแมเหล็กที่เดินทางตามทิศทางเดิมวา “ฮีสเตอร4รีซิส (Hysteresis)”
ถ2าจายแรงเคลื่อนแมเหล็กให2กับแกนเหล็กจนถึงคาสูงสุดแล2วลดแรงเคลื่อนแมเหล็กลงจนเปDนศูนย4
ทางเดินเส2นแรงแมเหล็กในแกนเหล็กจะเปDน a→b→c เส2นแรงแมเหล็กในแกนเหล็กจะไมเปDนศูนย4
เนื่องจากยังมีสนามแมเหล็กตกค2าง (Residual Flux) อยูในแกนเหล็กเหมือนการเปDนแมเหล็กถาวร
แรงที่ ทํ า ให2 เ ส2 น แรงแมเหล็ ก ลดลงเปD น ศู น ย4 เ รี ย กวา “แรงเคลื่ อ นแมเหล็ ก บั ง คั บ (Coercive
magnetomotive force)” ซึ่งเปDนการจายแรงแมเหล็กในทิศทางตรงกันข2าม
ในการทําความเข2าใจในเรื่องเกี่ยวกับฮีสเตอร4รีซิสวาเกิดขึ้นได2อยางไรนั้นเราจะต2องทําความเข2าใจ
กับพฤติกรรมของสารเฟอร4โรแมกนีติก ซึ่งจําเปDนอยางยิ่งที่เราต2องทราบโครงสร2างภายในระดับจุลภาคของ
สารเฟอร4โรแมกนีติก โดยภายในโครงสร2างมีสวนเล็ก ๆ เรียกวา โดเมน (domain) เปDนจํานวนมาก ซึ่งใน
แตละโดเมนจะมีลักษณะเปDนแมเหล็กเล็ก ๆ อะตอมทั้งหมดจะเรียงตัวในสนามแมเหล็กนั้นด2วยทิศทาง
เดียวกัน ดังนั้นแตละโดเมนภายในสารแมเหล็กจะกระทําตัวเปDนแมเหล็กถาวรขนาดเล็ก และทิศทาง
ของสนามแมเหล็กในแตละโดเมนก็เปDนอิสระจากโดเมนอื่นๆ ด2วยเหตุนี้เองแผนเหล็กธรรมดาจึงไมมีเส2น
แรงแมเหล็กเพราะโดเมนเรียงตัวแบบสุม ดังแสดงในรูปที่ 2.8 (ก)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
32

ก) โดเมนแมเหล็กเรียงตัวแบบสุม ข) โดเมนแมเหล็กเรียงตัวเปDนระเบียบ
รูปที่ 2.8 ลักษณะของการเรียงตัวของโดเมนแมเหล็กภายในแกนเหล็ก

ถ2าโดเมนเคยมีการจัดเรียงตัวมาแล2วครั้งหนึ่ง โดเมนบางสวนอาจยังคงชี้ในทิศทางนั้นอยูซึ่งทําให2
เกิดเส2นแรงแมเหล็กตกค2างในแกนเหล็ก แตโดเมนสวนใหญก็จะไปเรียงตัวแบบสุมอยางเดิม จนกวาจะมี
พลังงานจากภายนอกเข2ามาเปลี่ยนแปลง ตัวอยางของแหลงพลังงานภายนอกที่สามารถเปลี่ยนแปลง
พันธะระหวางโดเมนหรือการจัดเรียงโดเมน เชน แรงเคลื่อนแมเหล็กที่จายให2ในทิศทางอื่นๆ การเกิดการ
ช็อกทางกล (Mechanical shock) และการช็อกทางความร2อน (Termal shock) เปDนต2น
พลังงานที่ต2องการใช2ในการหมุนโดเมนให2มีการจัดเรียงทิศทางในสนามแมเหล็กตามกระแสที่ปอน
นั้น เปDนชนิดหนึ่งของกําลังงานสูญเสียในเครื่องจักรกลไฟฟาทุกชนิด และในหม2อแปลงไฟฟา ซึ่งเรียกวา
กําลังสูญเสียฮีสเตอร4รีซิส (Hysteresis Loss) พลังงานที่ต2องการนําไปใช2ในการจัดเรียงตัวใหมของโดเมน
ในแตละรอบความถี่ของกระแสสลับที่จายให2กับขดลวดที่พันอยูรอบแกนเหล็กสามารถแทนด2วยพื้นทีว่ งป<ดฮี
สเตอร4รีซิส พลังงานดังกลาวเปDนสัดสวนโดยตรงกับขนาดของวงป<ดฮีสเตอร4รีซิสในแตละรอบของความถี่
กระแสสลับ ถ2าปอนแรงเคลื่อนแมเหล็กเพียงเล็กน2อยวงป<ดฮีสเตอร4รีซิสที่ได2ก็มีขนาดเล็ก และพลังงาน
สูญเสี ยก็น2อย แตถ2 าปอนแรงเคลื่อนแมเหล็กมากวงป<ดฮี สเตอร4รีซิสที่ได2 ก็มีขนาดใหญ และพลั งงาน
สูญเสียก็มาก โดยขึ้นอยูกับคุณลักษณะของวัสดุสารแมเหล็กที่ใช2ทําแกนเหล็กในเครื่องกลไฟฟาดังกลาว
ด2วย

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
33

φ(or B)

ℑ(or H)

รูปที่ 2.9 ลักษณะของวงป<ดฮีสเตอร4รีซิสแบบตางๆ

เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 2.9 จุดเชื่อมตอระหวางจุดปลายของแตละวงรอบแสดงด2วยเส2นประเรียกวา


“เส2นทําแมเหล็ก (magnetization curve)”

2.1.5 กําลังงานสูญเสียเนื่องจากวงป<ดฮีสเตอร+รีซิส
กําลังงานสูญเสียเนื่องจากวงป<ดฮีสเตอร4รีซสิ (Hysteresis loss)

รูปที่ 2.10 พื้นที่ของวงป<ดฮีสเตอร4รีซิสที่ใช2ในการคํานวณหาความสูญเสียฮีสเตอร4รีซิส

ถ2าปอนแรงเคลื่อนแมเหล็กหนึ่งรอบจาก + Hmax ไปยัง - Hmax และกลับมายัง + Hmax พื้นที่ของวง


ป<ดแทนพลังงานสูญเสียตอหนวยปริมาตรของสารที่ใช2ทําแกนในหนึ่งรอบความถี่
เมื่อ H เพิ่มขึ้นจากศูนย4ที่จุด 1 ไปยัง H max ที่จุด 2 พลังงานที่ดูดซับไว2ตอหนวยปริมาตร แทน
ด2วยพื้นที่ 1-2-4 หาได2จากสมการที่ (2.14)

W1 = ∫
Bmax
H ⋅ dB (2.14)
− Br

ความเข2มสนามแมเหล็กลดลงจาก H max ไปยังศูนย4ทําให2พลังงานที่เก็บสะสมไว2ลดลง ซึ่งแทนด2วย


พื้นที่แรงเงา 2-3-4 หาได2จากสมการที่ (2.15)

W2 = ∫
Br
H ⋅ dB (2.15)
Bmax

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
34

จากสมการที่ (2.15) พลังงานที่เก็บสะสมจะมีคาเปDนลบ เนื่องจากความเข2มของสนามแมเหล็ก (H)


เปDนบวก แตอนุพันธ4ความหนาแนนของสนามแมเหล็ก (dB) เปDนลบ
พลังงานที่แกนเหล็กเก็บสะสมระหวางครึ่งรอบจาก -Br ถึง +Br แทนด2วยพื้นที่ 1-2-3 ซึ่งเปDน
ครึ่งหนึ่งของวงป<ดฮีสเตอร4รีซิส และในครึ่งคาบตอไปพลังงานที่แกนเหล็กเก็บสะสมไว2มีคาเทากัน ดังนั้น
กําลังสูญเสียฮีสเตอร4รีซิสตอรอบความถี่ในแกนเหล็กตอปริมาตร (Vol) ที่มีความหนาแนนของเส2นแรง
แมเหล็กสม่ําเสมอตลอดปริมาตรหาได2จากสมการที่ (2.16)

Wh = Vol ∫ H.dB (2.16)

โดยที่อินทิกรัลแบบเส2นแทนพื้นที่วงป<ด 1-2-3 และ Vol = A C IC เปDนปริมาตรของแกนเหล็กมี


หนวยเปDนลูกบาศก4เมตร(m3)
ถ2าความถี่ของไฟฟากระแสสลับเทากับ f รอบตอวินาที จะสามารถหากําลังสูญเสียในแกนเหล็ก
เนื่องมาจากวงจรป<ดฮีสเตอร4รีซิส (Hysteresis loss, Ph) มีหนวยเปDนวัตต4(Watt)

Ph = Vol. f . ∫ H.dB (2.17)

ซึ่งคากําลังสูญเสียในแกนเหล็กเนื่องมาจากวงจรป<ดฮีสเตอร4รีซิส (Ph) ในสมการที่ (2.17) นี้ Charles


P. Steinmetz ได2ให2ความสัมพันธ4ของ ∫ H.dB ออกมาเปDน

∫ H.dB = K h ⋅ Bnmax (2.18)

แทนคาสมการที่ (2.18) ลงในสมการที่ (2.17) จะได2

Ph = Vol. f .K h ⋅ Bnmax (2.19)

โดยที่คา K h และ n จะถูกกําหนดโดยคุณสมบัติของสารที่จะนํามาทําวงจรแมเหล็ก และคาสูงสุด


ของความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็ก โดยคาของ n จะมีคาระหวาง 1.5 ถึง 2.5 ซึ่งแตกตางกันในแต
ละสาร
กําลังสูญเสียฮีสเตอร4รีซิสเปDนสัดสวนกับ
1) ปริมาตรของแกนเหล็ก
2) ความถี่ของกระแสไฟฟาที่ปอนเข2าขดลวด
3) คาสูงสุดของความหนาแนน

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
35

2.1.6 กําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน
กําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน (Eddy current loss) เปDนความสูญเสียเนื่องจาก
กระแสไหลวนในแกนเหล็ก โดยเหตุที่ทําให2เกิดกระแสไหลวนเพราะมีสนามแมเหล็กที่มีการเปลี่ยนแปลงกับ
เวลา ทําให2เกิดการเหนี่ยวนําศักดาไฟฟา เมื่อแกนเหล็กเปDนตัวนําก็จะเกิดกระแสไหลเปDนผลทําให2เกิด
ความสูญเสียในแกนเหล็ก เรียกวา “eddy current loss”
วิธีลดความสูญเสียเนื่องมาจากกระแสไหลวนในแกนเหล็ก สามารถทําได2โดยเลือกแกนเหล็กเปDน
แผนบางๆ (laminate) และมีน้ํายาที่เปDนฉนวนเคลือบแผน เพื่อลดกระแสไหลวนให2น2อยลง โดยวางแผน
เหล็กให2ด2านแบนขนานกับสนามแมเหล็ก ซึ่งจะมีผลทําให2พื้นที่หน2าตัดของแกนเหล็กในแตละแผนน2อยลง
เปDนการลดการเหนี่ยวนําศักดาไฟฟา และเพิ่มคาความต2านทานในแตละลูปของกระแส
เมื่อพิจารณาแกนเหล็กที่ไมมีชองอากาศมีขดลวดพันจํานวน N รอบ สมมติวาเส2นแรงแมเหล็กที่
ไหลในแกนเหล็กมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาตามสมการที่ (2.20)

φ = φm sin ωt = ABm sin ωt (2.20)

เมื่อ
คือ เส2นแรงแมเหล็กสูงสุด มีหนวยเปDนเวเบอร4
φm
ω คือ ความถี่เชิงมุม มีหนวยเปDนรเดียลตอวินาที
2
A คือ พื้นที่หน2าตัดของแกนเหล็ก มีหนวยเปDนตารางเมตร (m )
Bm คื อ ความหนาแนนของเส2 นแรงแมเหล็ กสู งสุ ดในแกนเหล็ ก ซึ่ งสมมติ ว ามี ค า
สม่ําเสมอตลอดแกนเหล็ก มีหนวยเปDนเทสลา (T) หรือเวเบอร4ตอตารางเมตร (Wb/m2)

ดังนั้นหาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา ( e ) ภายในขดลวดได2จากสมการ


e=
dt

แทนเส2นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล2อง ( λ ) เทากับ N×φ จะได2

e=N
dφ (2.21)
dt

แทนเส2นแรงแมเหล็ก ( φ ) เทากับ A × Bm จะได2

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
36

e = N.A.Bm sin ωt (2.22)

หาคาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนีย่ วนําสูงสุดได2จากสมการที่ (2.23)

E m = N.ω.A.Bm (2.23)

หาคาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนีย่ วนําคิดเปDนคาอาร4เอ็มเอส, Root mean square (RMS)ได2จากสมการที่ (2.24)

Em =
E m N.ω.A.Bm
= = 4.44 fNABm (2.24)
2 2

เมื่ อปอนกระแสไฟฟาที่ ทําให2 เส2 นแรงแมเหล็ กในแกนเหล็ กมีการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลา จะ


เหนี่ยวนําทําให2เกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเกิดขึ้นบนแกนเหล็ก ถ2าแกนเหล็กนั้นทําจากแทงเหล็กตันจะทําให2เกิด
กระแสไหลวนในแกนเหล็กมีทิศทางตั้งฉากกับทิศทางของเส2นแรงแมเหล็กที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา ดังนั้น
เหล็กที่ใช2ทําแกนเหล็กในวงจรแมเหล็กจึงควรเปDนแผนเหล็กบางๆ และไมเชื่อมตอกันทางไฟฟา เพื่อ
ปองกันการเกิดกระแสไหลวน

4 1 h

Bm X dx

3 2
τ

รูปที่ 2.11 แผนเหล็กบาง และทางเดินของกระแสไหลวน

พิจารณาแผนเหล็กบางดังรูปที่ 2.11 กําหนดให2มีความหนาτ ความสูง h ความกว2าง W และ Bm


เปDนความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็กสูงสุด ซึ่งเส2นแรงแมเหล็กสูงสุด ( φm ) บนพื้นที่ป<ดล2อมด2วยลูป
ทางเดิน 1-2-3-4 มีคาใกล2เคียงกับ 2.h.X.B max เมื่อ τ << h แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นบน
ทางเดินสวนนี้คือ
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
37

E = 4.44 fBm 2.h.X ( N = 1) (2.25)

คาความต2านทานของเส2นทางเดิน 1-2-3-4 คือ

R =ρ
lpath

2h (2.26)
A path WdX

และอนุพันธ4ของกระแสที่ไหลในทางเดินนี้คือ

dI =
E 4.44 f ⋅ Bmax WXdX
= (2.27)
R ρ

จะได2คาอนุพันธ4ของกําลังงานสูญเสีย ( dPe ) เปDน

(4.44 fBmax )2 2WhX 2 dX


dPe = E ⋅ dI =
ρ
ดังนั้นกําลังสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวนในแผนเหล็กบาง (Laminate) แตละแผนหาได2จาก

r
2(4.44 fBmax ) 2 Wh 2r 2
Pe = ∫ 2 dPe = ⋅ ∫ X dX
0 ρ 0

r
2(4.44 fBmax ) 2 Wh  X3  2
Pe = ⋅ 
ρ  3 0

  τ 3 
 
2(4.44 fBmax )Wh   2  
Pe = ⋅
ρ  3 
 
 

2(4.44 fBmax ) 2 Wh.τ3


Pe = (2.28)
12ρ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
38

เนื่องจาก 4.44 = 2π ÷ 2 และ Whτ คือ ปริมาตรของแผนเหล็กบาง (Vol ) แทนคาลงใน


สมการที่ 2.28 จะได2

(fBmax ) 2 Vol.τ2
Pe = 2
12ρ
2
 2π  2 2 2
  f Bmax .τ
Pe = Vol.  2
12ρ

 4π2  2 2 2
  f Bmax .τ
Pe = Vol.  2 
12ρ

π2 f 2 Bmax
2
.τ2
Pe = Vol. (2.29)

กําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวนเปDนสัดสวนกับ
1. ปริมาตรของแกนเหล็ก (Vol)
2. ความหนาของเหล็กบางยกกําลังสอง ( τ2 )
2
3. คาสูงสุดความหนาแนนของเส2นแรงแมเหล็กยกกําลังสอง ( B max )
4. ความนําไฟฟาของสารแมเหล็กที่ใช2ทําแกน ( ρ )

สรุปได2วาทั้งคาของ Hysteresis loss (Ph) จากสมการที่ 2.19 และ eddy current loss (Pe) ใน
สมการที่ 2.29 ตางก็เกิดขึ้นในแกนเหล็กที่ใช2ในวงจรแมเหล็ก ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงของสนามแมเหล็กใน
แกนเหล็กเปDนไปในลักษณะของไฟกระแสสลับ โดยจากสมการจะพบวาคาของ Ph และ Pe จะขึ้นอยูกับคา
ของ Bmax ดังนั้น เราจึงเรียกความสูญเสียที่ประกอบด2วย Ph และ Pe วาเปDนความสูญเสียในแกนเหล็กหรือ
core loss ( Pc ) ซึ่งเปDนข2อมูลที่บริษัทผู2ผลิตแกนเหล็กเปDนผู2ทดสอบ โดยเปDนคา core loss per kilogram
มีหนวยเปDน ( W / Kg ) และคาของ core loss จะเปลี่ยนแปลงตามคา Bmax ที่ใช2งาน โดยเปDนคาที่คงที่
คาใดคาหนึ่ง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
39

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู2สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู2สอนตั้งคําถามให2ผู2เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปกฎสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝˆกหัด
6. ให2งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
..
- Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Second Edition, Taylor &
Francis Group, LLC.,2012.
- Mulukutla S. Sarma, Electric Machines, West Publishing Company, 1994.
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill, Inc.,
1985.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร4 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร4 และคอมพิวเตอร4
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝˆกหัดท2ายบทเรียน
2. ศึกษาค2นคว2าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเข2าชัน้ เรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข2ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝˆกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง หลักการพื้นฐานของสนามแมเหล็ก และกําลังงานสูญเสียในแกนเหล็ก
40

แบบฝZกหัด
1. จงบอกวิธีการสร2างสนามแมเหล็กมาตามที่เข2าใจ
2. จงบอกกฎวงจรของแอมแปร4มาพอเข2าใจ
3. จงบอกชนิดของสารแมเหล็กแบงตามความสามารถในการกระตุ2นแมเหล็กมาตามที่เข2าใจ
4. จงบอกลักษณะคุณสมบัติทางแมเหล็กของสารเฟอร4โรแมกนีติกมาตามที่เข2าใจ
5. จงบอกสารแมเหล็กถาวรอยางอัลนิคอสประกอบด2วยโลหะผสมอะไรบ2าง
6. จงอธิบายถึงเส2นกราฟที่ได2จากรูปลาง วาในแตละบริเวณ (Region) แสดงถึงอะไร

φ , Wb

7. จงบอกกําลังงานสูญเสียเนื่องจากวงป<ดฮีสเตอร4ริซิสขึ้นอยูกับอะไรบ2าง
8. จงบอกกําลังงานสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวนขึ้นอยูกับอะไรบ2าง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
41
ในวงจรแมเหล็ก

บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟ!า


พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
จุดประสงค&การสอน
2.2 แก.ป/ญหาวงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมใน
วงจรแมเหล็ก
2.2.1 วิธีการทําให.วงจรแมเหล็กเทียบเคียงเป2นวงจรไฟฟา
2.2.2 คํานวณหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก
2.2.3 คํานวณการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
2.2.4 คํานวณพลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก

2.2 การหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟ!า พลังงานและพลังงานรวม


ในวงจรแมเหล็ก
2.2.1 วงจรแมเหล็กเทียบเคียงเป*นวงจรไฟฟ!า
วงจรแมเหล็กที่แกนเหล็กไมมีชองวางอากาศ เชน ในแกนเหล็กของหม.อแปลงไฟฟามี
ขดลวดพันเป2นจํานวน N รอบ มีพื้นที่หน.าตัดแกนเหล็กเป2น A มีความยาวเฉลี่ยของทางเดินเส.นแรง
แมเหล็กในแกนเหล็กเป2น l แสดงดังรูปที่ 2.12 (ก)
Mean path
length, l
φ
Megnetic flux line
Cross - sectional area A

I
+

N turns Magnetic core


- permeability

I φ

+ V R + ℑ ℜ
- -

รูปที่ 2.12 แกนเหล็กที่ไมมีชองวางอากาศในการใช.เทียบเคียงเป2นวงจรไฟฟา


(ก) แกนเหล็กที่ไมมีชองวางอากาศ
(ข) วงจรไฟฟาของแกนเหล็กที่ไมมีชองวางอากาศ
(ค) วงจรแมเหล็กของแกนเหล็กที่ไมมีชองวางอากาศ
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
42
ในวงจรแมเหล็ก

ขดลวดที่ พั น รอบแกนเหล็ ก เมื่ อ มี ก ระแสไหลผานจะสร. า งแรงเคลื่ อ นแมเหล็ ก


(Magnetomotive force : mmf) ทําให.เกิดเส.นแรงแมเหล็กไหลในแกนเหล็กเชนเดียวกับ
แรงดันไฟฟาที่ทํา เกิดกระแสไหลในวงจรไฟฟาผานความต.านทาน 1 ตัว ด.วยเหตุนี้จึงสามารถ
เทียบเคียงวงจรแมเหล็กให.มีลักษณะเดียวกับวงจรไฟฟาได.ดังรูปที่ 2.12 (ข) และ 2.12 (ค)
วงจรไฟฟามีแรงดันไฟฟาหรือแรงเคลื่อนไฟฟา (Electromotive force : emf) เป2นตัวขับให.
เกิดกระแสไหล สวนวงจรแมเหล็กมีแรงเคลื่อนแมเหล็ก (Magnetomotive force: mmf ) เป2นตัว
ขับให.เกิดเส.นแรงแมเหล็กไหลในวงจรแมเหล็ก แรงเคลื่อนแมเหล็กของวงจรเขียนเป2นสมการได.
สมการที่ (30)
ℑ = NI (2.30)

เมื่อ
ℑ คือ แรงเคลื่อนแหล็ก มีหนวยเป2น แอมแปรRเทรินR (A.t)
N คือ จํานวนรอบตัวนําที่พันเป2นขดลวด มีหนวยเป2นรอบ (turns)
I คือ กระแสที่ไหลเข.าขดลวด มีหนวยเป2นแอมแปรR (A)
แรงเคลื่อนแมเหล็กที่เราจายทําให.เกิดเส.นแรงแมเหล็กขึ้นมา ซึ่งขึ้นอยูกับคาความ
ต.านทานแมเหล็กในแกนเหล็กด.วย ซึ่งเขียนแสดงความสัมพันธRได.ดังสมการที่ (2.31)

ℑ = φℜ (2.31)
เมื่อ
φ คือ จํานวนเส.นแรงแมเหล็ก มีหนวยเป2นเวเบอรR (Wb)
ℜ คือ ความต.านทานแมเหล็ก (Reluctance) มีหนวยเป2นแอมแปรRเทรินRตอเวเบอรR
(A.t/Wb)

วงจรแมเหล็กที่แกนเหล็กมีชองวางอากาศตามรูปที่ 2.13 (ก) ในการคํานวณวงจรแมเหล็ก


ต.องคิดคาความต.านทานแมเหล็กของชองอากาศด.วย กรณี µ >> µo แล.วความต.านทานแมเหล็ก
ของแกนเหล็กมีคาน.อยจนตัดทิ้งได.ในการคํานวณ
ขดลวดที่ พั น รอบแกนเหล็ ก เมื่ อ มี ก ระแสไหลผานจะสร. า งแรงเคลื่ อ นแมเหล็ ก
(Magnetomotive force : mmf) ทําให.เกิดเส.นแรงแมเหล็กไหลในแกนเหล็กและไหลในชองวาง
อากาศ เชนเดียวกับแรงดันไฟฟาที่ทําให.เกิดกระแสไหลในวงจรไฟฟาผานความต.านทาน 2 ตัว ด.วย
เหตุนี้จึงสามารถเทียบเคียงวงจรแมเหล็กให.มีลักษณะเดียวกับวงจรไฟฟาได.ดังรูปที่ 2.13 (ข) และ
2.13 (ค)
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
43
ในวงจรแมเหล็ก

Mean path length of core, lc

φ
Megnetic flux line

Air gap permeability, µo


I
+ Air gap
length, lg Cross - sectional area of core, A c
N turns
-
Magnetic core permeability, µr

I
(ก) φ

Rc ℜc

+ V
- Rg + ℑ
- ℜg

(ข) (ค)
รูปที่ 2.13 แกนเหล็กที่มีชองวางอากาศในการใช.เทียบเคียงเป2นวงจรไฟฟา
(ก) แกนเหล็กที่มีชองวางอากาศ
(ข) วงจรไฟฟาของแกนเหล็กที่มีชองวางอากาศ
(ค) วงจรแมเหล็กของแกนเหล็กที่มีชองวางอากาศ

เมื่อพิจารณาจากรูปที่ 2.13 วงจรแมเหล็กที่มีขดลวดพันเป2นจํานวน N รอบ ประกอบด.วย


สองสวนอนุกรมกัน คือแกนเหล็กที่มีคาความซึมซาบแมเหล็กสัมพันธRเป2น µr และแกนอากาศมีคา
ความซึมซาบแมเหล็กสัมพันธRเป2น µo โดยความยาวเฉลี่ยของทางเดินเส.นแรงแมเหล็กในแกนเหล็ก
และในแกนอากาศเป2 น l และ l ตามลํ า ดั บ และมี ขนาดพื้ น ที่ห น. า ตั ดในแกนเหล็ กเป2น A ขนาด
c g c

พื้นที่หน.าตัดในแกนอากาศเป2น A เมื่อปอนกระแสเข.าขดลวดแล.วทําให.ความหนาแนนของเส.นแรง
g

แมเหล็ ก มี ค าสม่ํ า เสมอทั่ ว พื้ น ที่ จะเขี ย นสมการหาความหนาแนนของสนามแมเหล็ ก ในแกน


เหล็ก ( Bc ) และความหนาแนนของสนามแมเหล็กในแกนอากาศ ( Bg ) ได.ดังสมการที่ (2.32) และ
(2.33)

Bc =
φ (2.32)
Ac

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
44
ในวงจรแมเหล็ก

Bg =
φ (2.33)
Ag

รูปที่ 2.14 การเกิดเส.นแรงแมเหล็กรั่วไหลขอบข.างตรงชองอากาศของแกนเหล็ก

ถ.าไมคิดผลของเส.นแรงแมเหล็กรั่วไหลขอบข.าง (fringing effect) ดังรูปที่ 2.14 และ


กําหนดให.พื้นที่หน.าตัดของแกนเหล็กมีคาเทากับพื้นที่หน.าตัดของแกนอากาศ ( A c = A g ) จะทําให.
ความหนาแนนของสนามแมเหล็กที่แกนเหล็กเทากับแกนอากาศด.วย ดังแสดงในสมการที่ (2.34)

Bg = Bc =
φ (2.34)
Ac

จากกฎวงจรของแอมแปรRเขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในแกนเหล็กดังรูปที่
2.13 (ก) ได.ดังสมการที่ (2.35)

ℑ = NI = H clc + H g lg (2.35)

จากสมการ B = µH และสมการ µ = µoµr โดย µo มีคาเทากับ 4π×10−7 H / m


โดยแทนคาเหลานี้ในสมการที่ (2.35) และจัดรูปใหมจะได.ดังสมการที่ (2.36) และสมการที่ (2.37)

ℑ=
Bclc Bg lg
+
(2.36)
µ µo

ℑ=φ
lc

lg (2.37)
µoµ r A c µo A g

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
45
ในวงจรแมเหล็ก

คาความต.านทานแมเหล็กในแกนเหล็กและคาความต.านทานแมเหล็กในแกนอากาศหาได.จาก
สมการที่ (2.38) และ (2.39)

ℜc =
lc (2.38)
µ oµ r A c

ℜg =
lg (2.39)
µo A g

นําสมการที่ (2.38) และ (2.39) แทนในสมการที่ (2.37) จะได.ดังสมการที่ (2.40) และ (2.41)

ℑ = φ ( ℜc + ℜg ) (2.40)

φ=
ℑ (2.41)
( ℜ c + ℜg )

ในวงจรไฟฟามี ค วามนํ า เป2 น สวนกลั บ ของความต. า นทาน สวนวงจรแมเหล็ กมี ความนํ า


แมเหล็ก (permeance : P) เป2นสวนกลับของความต.านทานแมเหล็กดังสมการที่ (2.42)

P=
1 (2.42)

แทนสมการที่ (2.42) ลงในสมการที่ (2.41) และ ℑ = NI จะได.

φ = ℑ× P

 µ µ A µo Ag 
φ = NI  o r c +  (2.43)
 lc lg
 

โดยคาความต.านทานแมเหล็กรวมจะเทากับความต.านทานแมเหล็กในแกนเหล็กรวมกับคา
ความต.านทานแมเหล็กในแกนอากาศดังสมการที่ (2.44)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
46
ในวงจรแมเหล็ก

 lc   lg 
(2.44)
ℜ = ℜc + ℜ g =   +  
 µ oµ r A c   µo A g 

2.2.2 การหาคาพารามิเตอร&ในวงจรแมเหล็ก
การคํ า นวณความต. า นแมเหล็ ก ในวงจรแมเหล็ ก ใช. ห ลั ก เกณฑR เ ชนเดี ย วกั บ ความ
ต.านทานในวงจรไฟฟา ความต.านทานแมเหล็กสมมูลของวงจรที่มีความต.านทานแมเหล็กอนุกรมกัน
หลายตัวคือ ผลบวกของความต.านทานแมเหล็กแตละตัวรวมกันดังสมการที่ (2.45)

ℜeq = ℜ1 + ℜ2 + ℜ3 + .... (2.45)

และถ.าเป2นวงจรขนานหาความต.านทานแมเหล็กสมมูลได.ดังสมการที่ (2.46)

1
=
1
+
1
+
1
+ .... (2.46)
ℜeq ℜ1 ℜ2 ℜ3

การคํานวณหาเส.นแรงแมเหล็กบนแกนเหล็ก โดยใช.แบบจําลองวงจรแมเหล็กนี้จะมีคาที่ได.
ผิดพลาดประมาณ ± 5 % ของคาจริง เนื่องจากเหตุผลดังตอไปนี้
1. แบบจําลองวงจรแมเหล็กนั้นสมมติวา เส.นแรงแมเหล็กทั้งหมดอยูภายในแกนแมเหล็กซึ่งใน
ความเป2 น จริ ง มี เ ส. น แรงแมเหล็ ก จํ า นวนเล็ ก น. อ ยสวนหนึ่ ง ออกจากแกนแมเหล็ ก ไปยั ง
บรรยากาศรอบๆซึ่งเส.นแรงแมเหล็กที่อยูนอกแกนเหล็กนี้เรียกวา เส.นแรงแมเหล็กรั่วไหล
(Leakage flux)
2. การคํานวณคาความต.านทานแมเหล็กนั้นสมมติวาความยาวเฉลี่ยและพื้นที่หน.าตัดของแกน
แมเหล็กเทากันโดยตลอด ข.อสมมตินี้ไมถูกต.องมากนักโดยเฉพาะอยางยิ่งบริเวณมุมของแกน
เหล็ก
3. ในสารเฟอรR โ รแมกนี ติก คาความซึ ม ซาบแมเหล็ ก สัม พั ทธR แ ปรตามเส.น แรงแมเหล็ก รวม
ทั้ งหมดในสารนั้ น ผลของความไมเป2 น เชิ ง เส. น นี้ ทําให. คาที่ คํา นวณได. จ ากวงจรแมเหล็ ก
คลาดเคลื่อน
4. ถ.ามีชองวางอากาศ (Air gap) บนทางเดินเส.นแรงแมเหล็กในแกนเหล็ก แล.วพื้นที่หน.าตัดยัง
ผลของชองอากาศใหญกวาพื้นที่หน.าตัดของแกนเหล็กบนด.านอื่น ผลของพื้นที่ยังผลเป2น
ต.นเหตุของการเกิดเส.นแรงแมเหล็กรั่วไหลขอบข.าง (Fringing effect) ของสนามแมเหล็กที่
ชองวางอากาศ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
47
ในวงจรแมเหล็ก

2.2.2 การหาคาตางๆ ในวงจรแมเหล็ก


ขนาดแกนเหล็กที่ใช.ทําวงจรแมเหล็กมีผลตอเส.นแรงแมเหล็กที่ไหลในแกนเหล็ก โดย
คาความต.านทานแมเหล็กขึ้นอยูกับสารแมเหล็กที่นํามาใช.ทําแกนเหล็กด.วย ซึ่งในการหาคาตางๆ เชน
คาความหนาแนนของสนามแมเหล็กในแกนเหล็กที่ไมมีชองวางอากาศ มีการคํานวณหาดังตัวอยาง
ที่ 2.1 สวนการหาเส.นแรงแมเหล็ก ความหนาแนนเส.นแรงแมเหล็ก และความเข.มสนามแมเหล็กใน
แกนเหล็กที่มีชองวางอากาศ มีการคํานวณหาดังตัวอยางที่ 2.2 ดังนี้

ตัวอยางที่ 2.1 แกนเหล็กเฟอรRโรแมกนีติก มีลักษณะดังรูปที่ 2.15 ให.หากระแสที่ขดลวดต.องการ


สร.างเส.นแรงแมเหล็กขนาด 0.005 Wb. ในแกนเหล็ก และหาความหนาแนนของสนามแมเหล็กบน
แกนเหล็กด.านบนและด.านขวามือ เมื่อกําหนดให.ความซึมซาบสัมพัทธRของแกนเหล็กเทากับ 1000

รูปที่ 2.15 แกนเหล็กเฟอรRโรแมกนีติกประกอบตัวอยางที่ 2.1

วิธีทํา
หาความยาวเฉลี่ยของแกนเหล็กสวนที่มีพื้นที่หน.าตัดแตกตางกันได.ดังรูปลาง คือ l1 กับ l2
โดย l1 = 25+7.5+7.5+30+30+5+5+7.5+7.5 = 125 cm = 1.25 m
l2 = 7.5+25+7.5 = 40 cm = 0.4 m

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
48
ในวงจรแมเหล็ก

15 cm 30 cm 10 cm

φ
15 cm
l1
I
+

600 turns l2 25 cm

Core depth 15 cm
5 cm

จากสมการในวงจรแมเหล็ก

ℑ = φℜ = NI

NI
φ=
ℜ total

l1 l l1 l2
ℜ total = + 2 = +
µA1 µA 2 µ oµ r A1 µ o µ r A 2

แทนคาตางๆ จะได.

1.25 m 0.40 m
ℜ total = +
 H   H 
 (1000 )( 0.05 m )( 0.15 m )  4π ×10  (1000 )( 0.05 m )( 0.10 m )
−7 −7
 4π ×10
 m   m 

ℜ total = 132.6 kA.t / Wb + 63.7 kA.t / Wb

= 196 kA.t / Wb

หาคากระแส
φ.ℜtotal
I=
N

แทนคาจะได.
=
( 0.005 Wb )(196 kA.t / Wb )
600 turn

= 1.63A

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
49
ในวงจรแมเหล็ก

หาความหนาแนนของสนามแมเหล็กบนแกนเหล็กด.านบน

B=
φ
=
( 0.005 Wb ) = 0.67 T
A ( 0.05 m )( 0.15 m )

หาความหนาแนนของสนามแมเหล็กบนแกนเหล็กด.านขวามือ

B=
φ
=
( 0.005 Wb ) = 1.00 T
A ( 0.05 m )( 0.10 m )

******************************************************

ตัวอยางที่ 2.2 วงจรแมเหล็กดังรูปที่ 2.16 แกนเหล็กมีคาสภาพซึมซาบแมเหล็กสัมพัทธR 1200


ถ.าไมคํานึงถึงผลของฟลักซRแมเหล็กรั่วไหลและ fringing flux ทุกมิติของแกนเหล็กมีหนวยเป2น
เซนติเมตรและพื้นที่ของแกนเหล็กเป2นสี่เหลี่ยมจตุรัส จงหาเส.นแรงแมเหล็ก ความหนาแนนเส.นแรง
แมเหล็ก และความเข.มสนามแมเหล็กในชองวางอากาศ

2 cm 50 cm 2 cm 50 cm 2 cm

a b c 2 cm
-
10 A +

N1 N2
50 cm
0.5 cm 500 turns
500 turns
- +

2 cm
Core depth f e d
2 cm

รูปที่ 2.16 แกนเหล็กประกอบตัวอยางที่ 2.2

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
50
ในวงจรแมเหล็ก

วิธีทํา
จากทางเดินของเส.นแรงแมเหล็กดังเส.นประที่แสดงในรูป เมื่อเขียนเป2นวงจรแมเหล็กสมมูล
จะสามารถเขียนได.ดังรูปลาง

ℜbafe ℜbcde
φ1 φ2
ℜbe

+ ℑ1 ℑ2 +
- -
ℜg

หาคาแรงเคลื่อนแมเหล็ก

ℑ1 = N1I1 = 500 × 10 = 5, 000 A.t

ℑ2 = N 2 I2 = 500 ×10 = 5, 000 A.t

หาคาความต.านทานแมเหล็กในลูป bafe
lbafe
ℜbafe =
µrµo A c

3 × 52 ×10−2
=
1, 200 × 4π × 10−7 × 2 × 2 × 10−4

= 2.58 × 106 A.t/Wb

เนื่องจากแกนเหล็กสมมาตรกัน ดังนั้น ℜbcde = ℜbafe

ℜbcde = 2.58 × 106 A.t/Wb

lg
ℜg =
µo A g

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
51
ในวงจรแมเหล็ก

5 × 10−3
=
4π × 10−7 × 2 × 2 × 10−4

= 9.94 × 106 A.t/Wb

lbe
ℜbe =
µrµo Ac
51.5 × 10−2
=
1, 200 × 4π × 10−7 × 2 × 2 × 10−4

= 0.85 × 106 A.t/Wb

จากวงจรแมเหล็ก

φ1 ( ℜbafe + ℜbe + ℜg ) + φ2 ( ℜbe + ℜg ) = ℑ1

φ1 ( ℜbe + ℜg ) + φ2 ( ℜbcde + ℜbe + ℜg ) = ℑ2

φ1 (13.37 × 106 ) + φ2 (10.79 × 106 ) = 5, 000

φ1 (10.79 × 106 ) + φ2 (13.37 × 106 ) = 5, 000

φ1 = φ2 = 2.069 ×10 −4 Wb

หาเส.นแรงแมเหล็กในชองอากาศ
φg = φ1 + φ2 = 2 × 2.069 ×10−4 = 4.138 × 10−4 Wb ตอบ
ความหนาแนนฟลักซRแมเหล็กในชองอากาศ
φg4.138 × 10−4
Bg = = = 1.034 T ตอบ
Ag 2 × 2 × 10 −4

ความเข.มสนามแมเหล็กในชองอากาศ
Bg 1.034
Hg = = −7
= 0.823 ×106 A.t / m ตอบ
µo 4π × 10

******************************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
52
ในวงจรแมเหล็ก

2.2.3 การแปลงผันพลังงานกลไฟฟ!า
ในกระบวนการแปรสภาพพลังงานของพลังงานไฟฟาและพลังงานกลนั้นจะมีการเปลี่ยน
รูปพลังงานไปโดยมีพลังงานสูญเสียไปในระบบที่เชื่อมตอจากพลังงานไฟฟาและพลังงานกล เชน ใน
เครื่องกลไฟฟาที่มีสวนเคลื่อนที่ ยกตัวอยางเชน เครื่องกําเนิด มอเตอรR รีเลยR โซลินนอยดR ก็จะมีการ
สูญเสียพลังงานไปในรูปความร.อนที่สะสมอยูในขดลวด และการสูญเสียเนื่องจากแรงเสียดทาน และ
แรงต.านของลมเป2นต.น โดยระบบการแปรสภาพพลังงานไฟฟาเป2นพลังงานกลจะมีสวนที่สําคัญอยู 3
สวนคือ ระบบไฟฟา (Electrical System) สวนการเชื่อมตอระบบทางไฟฟาและทางกล (Coupling
field) และสวนของระบบทางกล (Mechanical System) โดยมีพลังงานสูญเสียไปในทางไฟฟา
(Electrical loss) ในรูปของสนามแมเหล็ก (Field loss) และในรูปทางกล (Mechanical loss) ดัง
แสดงในรูปที่ 2.17

รูปที่ 2.17 ระบบการแปรสภาพพลังงานไฟฟาเป2นพลังงานกล

จากรูปที่ 2.17 จะได.สมการของพลังงานที่มีการแปรสภาพตามสมการที่ (2.47)

พลังงานไฟฟา พลังงานกล พลังงานที่สะสม พลังงานที่


= + + (2.47)
ด.านเข.า ด.านออก ในอุปกรณR สูญเสีย

ซึ่งพลังงานที่สูญเสียจะหาได.จากสมการที่(2.48)

พลังงานที่ พลังงานที่สูญเสีย
พลังงานที่
พลังงานที่ สูญเสียใน เนื่องจาก
= + + สูญเสียใน (2.48)
สูญเสีย ตัวต.านทาน แรงเสียดทานและ
สนามแมเหล็ก
ของขดลวด แรงต.านลม

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
53
ในวงจรแมเหล็ก

เมื่อนําสมการที่ (2.48) แทนในสมการที่ (2.47) และจัดรูปใหมจะได.ดังสมการที่ (2.49)

พลังงานกลด.านออก + พลังงานที่สะสมใน
พลังงานไฟฟาด.านเข.า -
พลังงานที่สูญเสียเนื่องจาก อุปกรณR +
พลังงานที่สูญเสียใน = + (2.49)
แรงเสียดทานและแรงต.าน พลังงานที่สูญเสียใน
ตัวต.านทานของขดลวด
ลม สนามแมเหล็ก

ถ.าพิจารณาในชวงเวลาแคบๆ เป2น dt ก็จะมีการเพิ่มขึ้นของพลังงานไฟฟาน.อยๆ เป2น


dWe (ซึ่งไมรวมความสูญเสียในขดลวด) ไหลเข.าไปในระบบ ดังนั้นพลังงานไฟฟาด.านเข.าสุทธิจะมีคา
เพิ่มขึ้นตามพลังงานทางกลและพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กดังสมการที่ (2.50)

dWe = dWm + dWf (2.50)

เมื่อ
dWe คือ อนุพันธRของพลังงานไฟฟาด.านเข.า มีหนวยเป2นจูล (J)
dWm คือ อนุพนั ธRของพลังงานกลด.านออก มีหนวยเป2นจูล (J)
dWf คือ อนุพันธRของพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กที่เพิ่มขึ้น มีหนวยเป2นจูล (J)

สมการที่ (2.50) เป2นสมการสมดุลพลังงาน การทํางานของอุปกรณRเครื่องจักรกลไฟฟาที่


พันด.วยตัวนําเป2นขดลวด เมื่อมันทํางานที่มีชวงเวลา dt เขียนสมการของพลังงานที่ปอนเข.าได.ดัง
สมการที่ (2.51)
dWe = v × i × dt (2.51)
เมื่อ
v คือ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําชั่วขณะใดๆที่ขั้วขดลวด มีหนวยเป2นโวลตR (V)
i คือ กระแสไฟฟาปอนเข.าขดลวดชั่วขณะใดๆ มีหนวยเป2นแอมปu (A)
dt คือ อนุพันธRของเวลา มีหนวยเป2นวินาที

นําสมการที่ (2.51) แทนในสมการที่ (2.50) แล.วจะเขียนเป2นสมการได.ดังสมการที่ (2.52)

dWe = v × i × dt = dWm + dWf (2.52)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
54
ในวงจรแมเหล็ก

จากกฎของฟาราเดยR เมื่อไมพิ จ ารณาคาความต. านทานของขดลวด แรงเคลื่ อนไฟฟา


เหนี่ยวนําจะขึ้นอยูกับเส.นแรงแมเหล็กที่มาเกี่ยวคล.องในตัวขดลวด ซึ่งเขียนเป2นสมการได.ดังสมการที่
(2.53)

v=
dλ (2.53)
dt

ดังนั้นอนุพันธRของพลังงานที่ปอนเข.าในชวงเวลา dt สามารถเขียนได.ดังสมการที่ (2.54)

dWe = v × i × dt

 dλ 
=   i × dt
 dt 
= i × dλ (2.54)

อนุพันธRของพลังงานกลด.านออกสําหรับการเคลื่อนที่จริง เชน การเคลื่อนที่แบบเชิงเส.น ที่


มีระยะทางเปลี่ยนแปลงเป2น dx เมื่อแรงที่ได.เป2น Ff เขียนเป2นสมการได.ดังสมการที่ (2.55)
dWm = Ff × dx (2.55)

นําสมการที่ (2.54) และ (2.55) แทนลงในสมการที่ (2.52) จะได.ดังสมการที่ (2.56)

dWf = ( i × dλ ) - ( Ff × dx ) (2.56)
ถ.าอนุพันธRของพลังงานกลด.านออกที่มีการเคลื่อนที่แบบหมุนรอบ แรงที่ได.จะแทนด.วย
แรงบิด ( Tf ) และอนุพันธRการเคลื่อนที่แบบเชิงเส.น ( dx ) จะถูกแทนด.วยอนุพันธRของมุม ( dθ ) ที่
เคลื่อนที่ ดังสมการที่ (2.57)
dWm = Tf × dθ (2.57)
ดังนั้น

dWf = ( i × dλ ) - Tf × dθ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
55
ในวงจรแมเหล็ก

− v +
i
N
Ferromagnetic core

φ φ

Immovable part
Ff
dx g x
bar Movable part

Spring

รูปที่ 2.18 ระบบไฟฟาทางกลพื้นฐาน

ระบบไฟฟาทางกลพื้ น ฐานดั ง รู ป ที่ 2.18 ประกอบด. ว ยแกนเหล็ ก เฟอรR โ รแมกนี ติ ก


(Ferromagnetic core) ซึ่งมีทั้งสวนที่ไมเคลื่อนที่ (Immovable part) และสวนเคลื่อนที่ (Movable
part) โดยมีสปริง (Spring) เป2นตัวรักษาดุลยภาพในสภาวะหยุดนิ่ง เมื่อปอนกระแสเข.าขดลวดจะทํา
ให.เกิดเส.นแรงแมเหล็กในระบบไฟฟาทางกลนี้ทําให.แทงเหล็ก (bar) มีการเคลื่อนที่ตามรูป และถ.า
กําลังทางกลยังไมเกิดขึ้น สมการของพลังงานไฟฟาทางกลเขียนได.ดังสมการที่ (2.58)

dWm = 0 (2.58)

จากสมการ (2.58) แทนในสมการ (2.50) จะได.

dWe = dWf

ถ.าไมพิจารณาความสูญเสียในแกนเหล็ก พลังงานไฟฟาที่เพิ่มขึ้นทางด.านอินพุตจะถูก
สะสมเก็บไว.ในสนามแมเหล็ก นําสมการข.างต.นแทนในสมการ (2.54) จะได.ดังสมการที่ (2.59)

dWf = i × dλ (2.59)
จากสมการที่ (2.53) นํามาแทนในสมการ (2.59) จะได.ดังสมการที่ (2.60)

dWf = dWe = v × i × dt = i × dλ (2.60)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
56
ในวงจรแมเหล็ก

ความสั มพั น ธR ร ะหวางเส. น แรงแมเหล็ กเกี่ ย วคล. อ ง ( λ ) และกระแส ( i ) ที่ ป อนขดลวด


สําหรับวงจรแมเหล็กที่มีชองวางอากาศ เมื่อไมพิจารณาความสูญเสียในแกนเหล็กจะมีลักษณะเป2น
เส.นโค.งดังแสดงในรูปที่ 2.19 (ก) และพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กที่เพิ่มขึ้น ( dWf ) แสดงในพื้นที่
เส.นตัดกากบาททับกันดังรูปที่ 2.19 (ก)

Wf Wf
λ λ
λ2 b λ2
dWf dWf b
λ1 a λ1 a

Wf′
Wf′

0 i1 i2 i 0 i1 i2 i
(ก) (ข)
รูปที่ 2.19 คุณลักษณะของเส.นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล.อง ( λ ) และกระแส ( i ) ที่ปอนขดลวด
(ก) ระบบแมเหล็กที่ใช.งานทั่วไป (ข) ระบบแมเหล็กในอุดมคติ

ถ.าปอนแรงดันเป2น v เพิ่มขึ้นจะทําให.กระแสเพิ่มจาก i1 เป2น i2 ซึ่งเป2นผลทําให.เส.นแรง


แมเหล็กเกี่ยวคล.องเพิ่มขึ้นจาก λ1 เป2น λ 2 ดังนั้นพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กที่เพิ่มขึ้นสามารถหา
ได.จากสมการที่ (2.61)
λ2
(2.61)
dWf = ∫ idλ
λ1

เมื่อกระแสที่ไหลเข.าขดลวดเป2นศูนยRและเส.นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล.องเป2นศูนยR พลังงาน
สะสมในสนามแมเหล็ กเป2 น ศู น ยR จากนั้ น ถ. า เพิ่ มเส. น แรงแมเหล็ กเกี่ ย วคล. องจากศู น ยR ถึง λ ใน
จากรูปที่ 2.19 (ก) พลังงานสะสมในสนามแมเหล็กที่เพิ่มขึ้นสามารถหาได.จากสมการที่ (2.62)

λ
dWf = ∫ idλ (2.62)
0

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
57
ในวงจรแมเหล็ก

จากสมการที่ (2.62) การอินทิเกรทพื้นที่แรเงาจากจุดเริ่มต.น (0,0) ตามคุณลักษณะของ


เส.นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล.องจาก 0 ถึง λ และกระแส ( i ) ที่ปอนขดลวดดังรูปที่ 2.19 (ก) นําไปใช.กับ
ระบบไฟฟาทางกลที่ไมพิจารณาความสูญเสียในระบบไฟฟาทางกล หากเส.นแรงแมเหล็กรั่วไหลมีคา
น.อยก็อาจไมนํามาพิจารณา ดังนั้นเส.นแรงแมเหล็ก ( φ ) ทั้งหมดในวงจรแมเหล็กที่พุงตัดผานขดลวด
จํานวน N รอบ จะหาได.จากสมการที่ (2.63)
λ = Nφ (2.63)
จากสมการ (2.60) และ (2.63) นํามาเขียนใหมจะได.ดังสมการที่ (2.64)

dWf = i × dλ = N × i × dφ = ℑ× dφ (2.64)
โดย
ℑ = N×i (2.65)
เมื่อ
ℑ คือ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา มีหนวยเป2นแอมแปรRเทรินR(A.t)

จากรู ป ที่ 2.19 แกนแนวนอนของกราฟแทนกระแส ( i ) ซึ่ ง แปรตามแรงเคลื่ อ น


แมเหล็ก ( ℑ) และแกนแนวตั้ งของกราฟแทนเส.น แรงแมเหล็กเกี่ ยวคล. อง ( λ ) ซึ่งแปรตามเส. นแรง
แมเหล็ก ( φ ) สวนพื้นที่แรเงาแทนพลังงานสะสมในสนามแมเหล็ก
ถ. า ความต. า นทานแมเหล็ กของของชองวางอากาศเราพิ จ ารณาให. มี คามากกวาความ
ต.านทานแมเหล็กของแกนเหล็กในวงจรแมเหล็ก ดังนั้นคาความซึมซาบสัมพัทธRของวัสดุที่ใช.ทําวงจร
แมเหล็กอาจไมนํามาพิจารณาเป2นผลให.คุณลักษณะของความสัมพันธRระหวางเส.นแรงแมเหล็กเกี่ยว
คล.อง ( λ ) และกระแส ( i ) ที่ปอนขดลวดสําหรับวงจรแมเหล็กที่มีชองวางอากาศอาจแทนด.วยเส.นตรง
จากจุดเริ่มต.นศูนยRดังรูปที่ 2.19 (ข) แสดงถึงคุณลักษณะของวงจรแมเหล็กในอุดมคติ ดังนั้นเส.นแรง
แมเหล็กเกี่ยวคล.องในวงจรแมเหล็กอุดมคติจึงหาได.จากสมการที่ (2.66)

λ = L×i (2.66)
เมื่อ
λ คือ คาของเส.นแรงแมเหล็กที่เกี่ยวคล.องทั้งหมด มีหนวยเป2นเวเบอรRเทรินR (Wb.t)
L คือ คาความเหนีย่ วนําของขดลวด มีหนวยเป2นเฮนรี่ (H)
i คือ กระแสที่ไหลในขดลวด มีหนวยเป2นแอมปu (A)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
58
ในวงจรแมเหล็ก

นําสมการที่ (2.66) แทนลงในสมการที่ (2.62) สามารถหาพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กได.


จากสมการที่ (2.67)
λ
λ
Wf = ∫ dλ
0
L

λ2
=
2L
L × i2
=
2

=
i×λ (2.67)
2

ถ.าแรงเคลื่อนแมเหล็ก ( ℑ) หาจากความต.านทานแมเหล็ก ( ℜ ) ดังสมการที่ (2.68)

ℑ = φ× ℜ (2.68)

จากสมการ (2.64) และสมการ (2.68) เมื่อนํามาพิจารณาในการหาพลังงานสะสมใน


สนามแมเหล็กทั้งหมดสามารถหาได.จากสมการที่ (2.69)
φ
φ2 ℑ2 (2.69)
dWf = ∫ ℑ× dφ = ℜ =
0
2 2ℜ

ถ.าสมมุติให.ไมมีเส.นแรงแมเหล็กรั่วไหลขอบข.างที่ชองวางอากาศในวงจรแมเหล็ก และ
พลังงานสะสมในสนามแมเหล็กทั้งหมดกระจายอยางสม่ําเสมอ โดยหาพลังงานสะสมในสนามแมเหล็ก
ทั้งหมดได.จากสมการที่ (2.70) และสมการที่ (2.71)

i×λ
Wf =
2
i ( N × φ)
=
2

=
( N × i) φ
2
φ
= ℑ 
(2.70)
2

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
59
ในวงจรแมเหล็ก

หรือ
H × B×l × A
Wf =
2
B2 ( vol ) (2.71)
=
2µ o
เมื่อ
l คือ ความยาวของชองวางอากาศในทางเดินของเส.นแรงแมเหล็กมีคาเทากับ 2g
มีหนวยเป2นเมตร (m)
vol คือ ปริมาตรของชองวางอากาศทั้งหมดในแกนเหล็กมีคาเทากับ l × g
มีหนวยเป2นลูกบาศกRเมตร (m3)
2
A คือ พื้นที่หน.าตัดของชองวางอากาศในแกนเหล็กมีคา มีหนวยเป2นตารางเมตร (m )
B คือ ความหนาแนนของเส.นแรงแมเหล็กในชองวางอากาศ มีหนวยเป2นเทสลา (T)
µ o คือ คาความซึมซาบได.ของสูญญากาศ มีคาเทากับ 4π × 10−7 H/m

เมื่อให. l × A คือปริมาตรทั้งหมดในชองวางอากาศ ความหนาแนนของพลังงาน wf ใน


ชองวางอากาศสามารถหาได.จากสมการที่ (2.72)

Wf
wf =
l×A
B× H
=
2
µo H 2
=
2

=
B2 (2.72)
2µ o

เมื่อ
wf คือ ความหนาแนนของพลังงาน มีหนวยเป2นจูลตอลูกบาศกRเมตร (J/m3)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
60
ในวงจรแมเหล็ก

ตัวอยางที่ 2.3 จากตัวอยางที่ 2.2 มีวงจรแมเหล็กดังรูปที่ 2.20

2 cm 50 cm 2 cm 50 cm 2 cm

a b c 2 cm
-
10 A +

N1 N2
50 cm φg 0.5 cm 500 turns
500 turns
- +

2 cm
Core depth f e d
2 cm

รูปที่ 2.20 แกนเหล็กประกอบตัวอยางที่ 2.3

ให.หา
(ก) แรงเคลื่อนแมเหล็ก ( ℑ) ในชองวางอากาศ
(ข) พลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ ( Wf ,g )

วิธีทํา
(ก) หาแรงเคลื่อนแมเหล็ก ในชองวางอากาศ ( ℑg ) ได.จากสมการ

ℑg = φg × ℜg

จากตัวอยางที่ 2.2 คา φg = 4.138 ×10−4 Wb และ ℜg = 9.94 ×106 A.t / Wb แทน


คาในสมการข.างต.น หาแรงเคลื่อนแมเหล็ก ในชองวางอากาศ ( ℑg ) ได.ดังนี้

ℑg = ( 4.138 × 10 −4 Wb ) × ( 9.94 ×106 A.t / Wb )

= 4,113 A.t ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
61
ในวงจรแมเหล็ก

(ข) พลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ ( Wf ,g ) หา 2 วิธีดังนี้


วิธีที่ 1 หาจากสมการ
wf ,g = Wf ,g ( volg )
เมื่อ
wf ,g คือ ความหนาแนนของพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ
มีหนวยเป2นจูลตอลูกบาศกRเมตร (J/m3)
Wf ,g คือ พลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ มีหนวยเป2นจูล (J)
3
volg คือ ปริมาตรในชองวางอากาศ มีหนวยเป2นลูกบาศกRเมตร (m )

โดยปริมาตรในชองวางอากาศ ( volg ) หาได.จาก


volg = lg × A g

จากตัวอยางที่ 2.2 แทนคา lg = 5 ×10−3 m และ A g = 2 × 2 × 10−4 m 2 ในสมการข.างต.น


จะหาปริมาตรในชองวางอากาศ ( volg ) ได.ดังนี้

volg = ( 5 × 10−3 m ) × ( 2 × 2 × 10−4 m 2 )

= 2 ×10 −6 m3

ความหนาแนนของพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ ( wf ,g ) หาได.เหมือนกับ
สมการที่ (2.71)
Bg 2
wf ,g =
2µ o

จากตัวอยางที่ 2.2 แทนคา Bg = 1.034 T และ µo เทากับ 4π × 10−7 H/m ในสมการ


ข.างต.น จะได.
(1.034 T )
2

wf ,g =
2 ( 4π× 10−7 ) H / m

= 425, 403 J/m3

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
62
ในวงจรแมเหล็ก

แทนคา wf ,g = 425, 403 J / m3 และ volg = 2 ×10−6 m3 หาพลังงานสะสมในสนามแมเหล็ก


ตรงชองวางอากาศ ( Wf ,g ) ได.ดังนี้
 J 
wf ,g =  425, 403 3  ( 2 ×10 −6 m3 )
 m 

= 0.85 J ตอบ

วิธีที่ 2 หาจากสมการ
φ2
Wf ,g = ℜ
2

จากตัวอยางที่ 2.2 แทนคา φg = 4.138 ×10−4 Wb และ ℜg = 9.94 ×106 A.t / Wb แทน
คาในสมการข.างต.น หาพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ ( Wf ,g ) ได.ดังนี้

 ( 4.138 × 10−4 Wb )2 
 A.t   
Wf ,g =  9.94 × 106 
 Wb  2 
 
= 0.85 J ตอบ

******************************************************

เส.นแรงแมเหล็กที่มีการพุงตัดผานชองวางอากาศในวัสดุที่ใช.ทําวงจรแมเหล็กจะทําให.เกิดแรง
ดึงดูดขึ้นมาระหวางหน.าขั้ววัสดุที่ใช.ทําวงจรแมเหล็กในชองวางอากาศดังแสดงในรูปที่ (2.18) แกน
เหล็กแสดงในรูปมีพื้นที่ของชองวางอากาศเปลี่ยนตามความยาวของระยะชองอากาศ ( g ) ดังนั้น
ระยะทางที่สวนเคลื่อนที่มีการเคลื่อนไหวไปในระยะทาง x จะทําให.ระยะของชองวางอากาศมีคา
เทากันด.วย จะได.
dx = dg

ปริมาตรของชองอากาศที่ขั้วด.านหนึ่งของวงจรแมเหล็ก มีการเปลี่ยนแปลงตามพื้นที่ของ
ชองวางอากาศและการเปลี่ยนแปลงของระยะชองวางอากาศระหวางวัสดุที่ใช.ทําวงจรแมเหล็กตาม
สมการที่ (2.73)
d ( volg ) = A g dg (2.73)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
63
ในวงจรแมเหล็ก

เมื่อไมพิจารณาเส.นแรงแมเหล็กรั่วไหลในขดลวด และเส.นแรงแมเหล็กรั่วไหลขอบข.างระหวาง
วัสดุที่ใช.ทําวงจรแมเหล็กตรงชองวางอากาศ จะหาพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ
ได.จากสมการที่ (2.74)

Bg H g d ( vol )
Wf ,g =
2
Bg H g A g dg
=
2
2
B A g dg (2.74)
=
g

2µ o

จากคํานิยามของงาน หาอนุพันธRของพลังงานทางกล ( dWm ) ได.จากสมการที่ (2.75)

dWm = Ff dx = Ff dg (2.75)

ขณะที่แมเหล็กพยายามดูดแทงโลหะสวนที่เคลื่อนที่ขึ้นดังในรูปที่ 2.18 หรือในสภาวะสมดุล


พลังงาน อนุพัน ธRของพลังงานทางกล ( dWm ) จะเทากับพลั งงานที่ สะสมอยูในสนามแมเหล็กตรง
ชองวางอากาศ ( dWf,g ) ดังสมการที่ (2.76)

dWf,g = dWm (2.76)

แทนสมการที่ (2.74) และ (2.75) ลงในสมการที่ (2.76) จะได.ดังสมการที่ (2.77)

1  Bg 
2

  A g dg = Ff dg (2.77)
2  µ o 

ซึ่งเป2นผลให.ได.แรงที่ใช.ดึงหรือยกแทงโลหะตรงชองวางอากาศตอขั้วแมเหล็กเทากับ

1  Bg 
2

Ff =   A g (2.78)
2  µ o 

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
64
ในวงจรแมเหล็ก

จากรูปที่ 2.18 แกนแมเหล็กรูปตัวยูมีขั้วแมเหล็ก 2 ขั้ว ดังนั้นแรงทั้งหมดที่ใช.ยกโลหะขึ้นมา


(ในระบบ SI หนวยเป2นนิวตัน) หาได.จากสมการที่ (2.79)

1  Bg A g  Bg2 A g
2

Ff ,total = 2×   = (2.79)
2  µ o  µo

ตัวอยางที่ 2.4 ระบบแมเหล็กไฟฟาทางกลดังรูปที่ 2.21 สมมุติแกนเหล็กที่พันขดลวดด.านซ.ายมือ


เป2นสวนอยูกับที่ และแกนเหล็กที่พันขดลวดด.านขวามือเป2นสวนเคลื่อนที่ กําหนดให.พื้นที่หน.าตัดของ
ชองวางอากาศแตละด.านมีคาเทากับ 20 ×10−6 m 2 ถ.าความหนาแนนของเส.นแรงแมเหล็กที่ชองวาง
อากาศมีคาเทากับ 1.5 Wb / m 2 จงหา

(ก) แรงที่ใช.ในการดึงแกนเหล็กสวนเคลื่อนที่ตอขั้ว ( Ff,1 ) และ ( Ff,2 )


(ข) แรงที่ใช.ในการดึงแกนเหล็กสวนเคลื่อนที่ทั้งหมด ( Ff,total )
φ Ff,1

i1 i2

N1 Ff,total N2

φ
a Ff,2

รูปที่ 2.21 แกนเหล็กประกอบตัวอยางที่ 2.4


วิธีทํา
(ก) หาแรงที่ใช.ในการดึงแกนเหล็กสวนเคลื่อนที่ตอขั้ว ( Ff,1 ) และ ( Ff,2 ) โดยหา
ได.จากสมการที่ (2.78)
1  Bg 
2

Ff =   A g
2  µ o 

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
65
ในวงจรแมเหล็ก

แทนคาจะได.
2
 Wb 
1.5 2  ( 20 ×10 m )
−6 2

Ff = 
m 
 H
2  4 π × 10−7 
 m
= 17.9 N ตอบ

(ข) หาแรงที่ใช.ในการดึงแกนเหล็กสวนเคลื่อนที่ทั้งหมด ( Ff,total ) โดยหาได.จาก


สมการที่ (2.79)
Bg2 A g
Ff ,total =
µo
แทนคาจะได.
2
 Wb 
1.5 2  ( 20 × 10 m )
−6 2

Ff ,total =  
m
 −7 H 
 4 π × 10 
 m
= 35.8 N ตอบ

***********************************************
2.2.4 พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
จากรูปที่ 2.19 (ก) แสดงถึงพลังงานทั้งหมดที่สะสมในขดลวดที่ถูกกระตุ.นให.มี
สนามแมเหล็กเกิดขึ้นในขดลวด โดยการปอนกระแสเข.าขดลวดจากศูนยRถึง i แอมปu ดังนั้นพลังงาน
สะสมของสนามแมเหล็กในขดลวดสามารถหาได.จากสมการที่ (2.80)

λ
Wf = ∫ idλ (2.80)
0

จากรูปที่ 2.19 (ก) พื้นที่ระหวางแกนกระแส i ตามคุณลักษณะของเส.นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล.อง


และกระแส ( λ - i ) เรียกวา “พลังงานรวม (coenergy)” ซึ่งหาได.จากสมการที่(2.81)

i
Wf′ = ∫ λdi (2.81)
0

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
66
ในวงจรแมเหล็ก

ซึ่งพลังงานรวมในสนามแมเหล็กไมมีความหมายทางกายภาพ อยางไรก็ตามมันสามารถนําไปใช.
ประโยชนRในการหาแรง หรือแรงบิด ในการนําไปพัฒนาทางด.านระบบที่เกี่ยวกับแมเหล็กไฟฟา จาก
รูปที่ 2.19 (ก) สําหรับขดลวดที่มีกระแสไหลเข.า i แอมปu และทําให.เกิดเส.นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล.อง
เป2น λ โดยผลบวกของพลังงาน energy กับ coenergy เมื่อกระตุ.นขดเดียว หาได.จากสมการที่
(2.82) และ (2.83)

Wf +Wf′ = λ × i (2.82)

energy + coenergy = λ × i (2.83)

ข. อ สั ง เกตุ พลั ง งานสะสมในสนามแมเหล็ ก รวม ( Wf′ ) มี ค ามากกวาพลั ง งานสะสมใน


สนามแมเหล็ก ( Wf ) สําหรับคุณลักษณะของเส.นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล.องและกระแส ( λ - i ) ที่ไมเป2น
เชิงเส.นดังในรูปที่ 2.19 (ก) และพลังงานสะสมในสนามแมเหล็กรวม ( Wf′ ) จะมีคาเทากับพลังงาน
สะสมในสนามแมเหล็ก ( Wf ) สําหรับคุณลักษณะของเส.นแรงแมเหล็กเกี่ยวคล.องและกระแส ( λ - i )
ที่เป2นเชิงเส.นดังในรูปที่ 2.19 (ข)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
67
ในวงจรแมเหล็ก

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู.สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู.สอนตั้งคําถามให.ผู.เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปกฎสําคัญตางๆ และวิธีการคํานวณ
5. นักศึกษาทําแบบฝ€กหัด
6. ให.งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Taylor & Francis Group,
LLC.,2012.
- Mulukutla S. Sarma, Electric Machines, West Publishing Company, 1994.
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill,
Inc., 1985.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟ!า 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล.าเจ.า
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.
- ธวัช เกิดชื่น, เครื่องกลไฟฟ!า 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพRฟ†สิกสRเซ็นเตอรR, 2546.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ!า 1,
คณะวิศวกรรมศาสตรR มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
- พูนศรี วรรณการ พนา ดุสิตากร อรุณ ชลังสุทธิ์ และนัฐโชติ รักไทยเจริญชีพ,
“การทดสอบหาคาพารามิเตอร&ของเครื่องกําเนิดไฟฟ!า 5 เฟสแบบเสTนแรงแมเหล็ก
ไหลตามแนวแกนเพลา,”การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟา ครั้งที่ 42 (EECON-
42), โรงแรมเดอะกรีนเนอรี รีสอรRท เขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา, 30 ตุลาคม - 1
พฤศจิกายน 2562, หน.า 37-40.
- พูนศรี วรรณการ พนา ดุสิตากร นัฐโชติ รักไทยเจริญชีพ และ ธนารัตนR ตันมณี
ประเสริฐ , “เครื่องกําเนิดไฟฟา 5 เฟสแบบเส.นแรงแมเหล็กไหลตามแนวแกนเพลา
ขนาด 1 กิโลวัตตRประยุกตRใช.กับพลังงานลมผลิตไฟฟา”, การประชุมวิชาการเครือขาย
วิศวกรรม ไฟฟามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11 (EENET 2019), โรงแรม
กรุงศรีริเวอรR อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 15-17 พฤษภาคม
2562, หน.า 543-546.

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
68
ในวงจรแมเหล็ก

2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอรR และคอมพิวเตอรR
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝ€กหัดท.ายบทเรียน
2. ศึกษาค.นคว.าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเข.าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข.ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝ€กหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
69
ในวงจรแมเหล็ก

แบบฝXกหัด
1. จากวงจรแมเหล็กในรูป จงเขียนเทียบเคียงเป2นวงจรไฟฟา
a b c

10 A
+

N 5 cm
200 turns

f e d

2. จากวงจรแมเหล็กในรูป จงคํานวณหาคาตางๆ ดังตอไปนี้


(ก) จงหาเส.นแรงแมเหล็กที่แกนกลางแมเหล็ก ( φ T )
(ข) จงหาความหนาแนนของเส. น แรงแมเหล็ ก ที่ แ กนกลางขดลวดพั น และที่
ชองวางอากาศของแกนเหล็กด.านขวามือ
(ค) จงหาความเข.มสนามแมเหล็กที่แกนกลางขดลวดพันและที่ชองวางอากาศของ
แกนเหล็กด.านขวามือ

2 cm 50 cm 2 cm 50 cm 2 cm

a b c 2 cm
φT
10 A
+

N1 50 cm 5 cm
200 turns

-
Core depth 2 cm
2 cm f e d

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 2 วงจรแมเหล็ก และการแปลงผันพลังงานกลไฟฟา
บทเรียน เรื่อง วงจรแมเหล็ก การแปลงผันพลังงานกลไฟฟา พลังงานและพลังงานรวมในวงจรแมเหล็ก
70
ในวงจรแมเหล็ก

3. จากวงจรแมเหล็กในรูป จงหา
(ก) แรงเคลื่อนแมเหล็ก ( ℑ) ในชองวางอากาศ
(ข) พลังงานสะสมในสนามแมเหล็กตรงชองวางอากาศ ( Wf ,g )
2 cm 20 cm 2 cm 20 cm 2 cm

a b c 2 cm
-
5A +

N1 N2
50 cm φg 0.5 cm 200 turns
200 turns
- +

2 cm
Core depth f e d
2 cm

4. ระบบแมเหล็กไฟฟาทางกลดังรูป สมมุติแกนเหล็กที่พันขดลวดด.านซ.ายมือเป2นสวนอยู
กับที่ และแกนเหล็กที่พันขดลวดด.านขวามือเป2นสวนเคลื่อนที่ กําหนดให.พื้นที่หน.าตัดของชองวาง
อากาศแตละด.านมีคาเทากับ 10 ×10−6 m 2 ถ.าความหนาแนนของเส.นแรงแมเหล็กที่ชองวางอากาศมี
คาเทากับ 0.85 Wb / m 2 จงหา
(ก) แรงที่ใช.ในการดึงแกนเหล็กสวนเคลื่อนที่ตอขั้ว ( Ff,1 ) และ ( Ff,2 )
(ข) แรงที่ใช.ในการดึงแกนเหล็กสวนเคลื่อนที่ทั้งหมด ( Ff,total )

φ Ff,1

i1 i2

N1 Ff,total N2

φ
a Ff,2

5. จงเขียนสมการที่ใช.คํานวณหาพลังงานและพลังงานรวม

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
71

หน่ วยที 3
ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
และสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
จุดประสงคการสอน
3.1 รูทฤษฎีเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
3.1.1 บอกโครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบหนึ่งเฟส
3.1.2 บอกทฤษฎีหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
3.1.3 บอกคุณลักษณะหมอแปลงไฟฟาใชงานขณะไมมีโหลด
3.1.4 บอกคุณลักษณะหมอแปลงไฟฟาใชงานขณะมีโหลด

3.1 หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
3.1.1 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบหนึ่งเฟส
หมอแปลงไฟฟาเป8นอุปกรณไฟฟาที่ทําหนาที่เปลี่ยนระดับแรงดันไฟฟากระแสสลับจาก
ทางดานหนึ่งไปสูอีกดานหนึ่งใหมีคาแตกตางกันหรือเทากัน รูปที่ 3.1 แสดงแบบจําลองเบื้องตนของ
หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส ซึ่งประกอบไปดวยขดลวด 2 ชุด คือ ขดลวดชุดปฐมภูมิ (Primary coil)
และขดลวดชุดทุติยภูมิ (Secondary) และยังประกอบดวยแกนเหล็กที่ใชพันขดลวด

Mutual flux, φ Core

i1 i2

Primary Secondary
v1 v2 Load
winding winding

Mutual flux, φ

รูปที่ 3.1 แบบจําลองเบื้องตนของหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
72

เมื่อแบงชนิดของหมอแปลงไฟฟาตามลักษณะการพันจะแบงไดเป8นแบบคอร และแบบเชลล มี
ลักษณะดังรูปที่ 3.2 และรูปที่ 3.3

รูปที่ 3.2 ลักษณะหมอแปลงแบบคอร

รูปที่ 3.3 ลักษณะหมอแปลงแบบเชลล

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
73

ในการที่จะลดเสนแรงแมเหล็กรั่วไหล จะตองพันขดลวดใหมีลักษณะ ดังรูปที่ 3.4 (ก) สําหรับ


หมอแปลงแบบคอร และ รูปที่ 3.4 (ข) สําหรับหมอแปลงแบบเชลล

(ก)

(ข)
รูปที่ 3.4 การจัดวางขดลวดเพื่อลดเสนแรงแมเหล็กรั่วไหลที่พันลงในหมอแปลงแบบคอร
และแบบเชลล

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
74

องคประกอบของหมอแปลงในระบบไฟฟากําลัง ในการสรางจะตองพิจารณาถึงสิ่งตางๆ
ตอไปนี้ คือ

• การวางของแกนเหล็กและขดลวด และการยึดของแกนเหล็กและขดลวดแนนหนา
เพียงใด
• ขดลวดปฐมภูมิ ทุติยภูมิ มุมเฟสในการพัน แบบของขดลวด ระยะหางชองอากาศ
และฉนวนของตัวนํา
• ระยะหางระหวางขดและฉนวนที่คั่นระหวางขดลวดกับโครงและตัวยึดโครง
• น้ํามัน ตัวหลอเย็น ตัวระบายอากาศ ผูดูแลรักษา และตัวแปรอื่นๆ
• ขั้วเชื่อมตอไฟภายนอกกับหมอแปลง และเครื่องรองแกนหรือเพลาตางๆ (Bushing)
และสวิตชที่ตอแยกไฟที่หมอแปลงไปใชงาน

3.1.2 ทฤษฎีหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส ในทางอุดมคติ (Ideal single phase transformer) ถือวา
ไมมีการสูญเสียในแกนเหล็ก การสูญเสียในขดลวดทองแดงที่พันบนแกนเหล็ก และการสูญเสียใน
สายตัวนําเชื่อมตอระหวางแหลงจายไฟสลับไปยังขดลวดดานปฐมภูมิของหมอแปลง (primary) และ
สู ญ เสี ย ในสายตั ว นํ า เชื่ อ มตอระหวางโหลดทางไฟฟาไปยั ง ขดลวดดานทุ ติ ย ภู มิ ข องหมอแปลง
(secondary) เพื่อใหงายในการอธิบายการทํางานของหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส จึงอาศัยรูปที่ 3.5 ใน
การประกอบการอธิบายการทํางานเบื้องตนของหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส

i1 i2
secondary
( N 2 turns ) Load
v1 e1 e2 v2 ZL
primary
( N1turns )

mutual flux φ

รูปที่ 3.5 การทํางานของหมอแปลงในอุดมคติ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
75

จากรูปที่ 3.5 เมื่อไมพิจารณาการสูญเสียในแกนเหล็กและการสูญเสียในขดลวดทั้ง 2 ดาน


แลวทําการเปลี่ยนแปลงแรงดัน v1 ที่จายใหขดลวดดานปฐมภูมิก็จะทําใหเสนแรงแมเหล็ก ( φ ) ที่ไหล
ในแกนเหล็กเปลี่ยนไปดวยทําใหมีการสรางเสนแรงแมเหล็กพุงตัดผานตามทางเดินวงจรแมเหล็กขึ้นมา
และมีทิศทางตานกับทิศทางเดิมทําใหเกิดแรงดัน e1 ขึ้นมาดังสมการที่ (3.1)

dλ1 dφ
v1 = e1 = = N1 (3.1)
dt dt

เมื่อ
v1 คือ แรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้วแหลงจายไฟที่ปอนเขาหมอแปลง มีหนวยเป8นโวลต (V)
e1 คือ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขดลวดปฐมภูมิของหมอแปลง มีหนวยเป8นโวลต
(V)
λ1 คือ เสนแรงแมเหล็กเกี่ยวคลองที่ขดลวดปฐมภูมิ มีหนวยเป8นเวเบอรเทริน (Wb.t)
t คือ เวลา มีหนวยเป8นวินาที (sec)
N1 คือ จํานวนรอบขดลวดดานปฐมภูมิ มีหนวยเป8นรอบ (turns)
φ คือ เสนแรงแมเหล็กที่พุงตัดผานตามทางเดินวงจรแมเหล็ก มีหนวยเป8นเวเบอร
(Wb)

ถากํ า หนดใหเสนแรงแมเหล็ กที่ พุงตั ด ผานตามทางเดิ น วงจรแมเหล็ กมี ค าคงที่ ส ม่ํ า เสมอ
สามารถหาเสนแรงแมเหล็กเกี่ยวคลองที่ขดลวดปฐมภูมิไดจากสมการที่ (3.2)

λ1 = N1φ (3.2)

จากรูปที่ 3.5 เมื่อไมพิจารณาการสูญเสียในแกนเหล็กและการสูญเสียในขดลวดทั้ง 2 ดาน


และพิจารณาจากกฎการเหนี่ยวนําของฟาราเดย เขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขดลวด
ทุติยภูมิของหมอแปลงไดดังสมการที่ (3.3)

dλ 2 dφ (3.3)
v2 = e2 = = N2
dt dt

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
76

เมื่อ
v2 คือ แรงเคลื่อนไฟฟาที่ขั้วครอมโหลด มีหนวยเป8นโวลต (V)
e2 คือ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขดลวดทุติยภูมิของหมอแปลง มีหนวยเป8นโวลต (V)
λ 2 คือ เสนแรงแมเหล็กเกี่ยวคลองที่ขดลวดทุติยภูมิ มีหนวยเป8นเวเบอรเทริน (Wb.t)
N 2 คือ จํานวนรอบขดลวดดานทุติยภูมิ มีหนวยเป8นรอบ (turns)

จัดรูปสมการใหมไดดังนี้

v1 e1 N1
= = =a (3.4)
v2 e2 N 2

จากกฎแรงดันของเคอรชอฟฟc (KVL) เมื่อพิจารณาวงจรแมเหล็กของหมอแปลงใน รูป


ที่ 3.5 เทียบเคียงคลายวงจรไฟฟา เขียนสมการไดดังนี้

N1i1 - N 2i2 = 0 (3.5)


ถาใหความซึมซาบแมเหล็กสัมพัทธของวัสดุที่ใชทําแกนเหล็กมีคาสูงมากๆ จะเขียนสมการไดดังนี้

i1 N 2 1
= = (3.6)
i2 N1 a

กําลังไฟฟาชั่วขณะทางดานอินพุตเทากับกําลังไฟฟาชั่วขณะทางดานเอาตพุต

v1i1 = v2i2 (3.7)

ใหรูปคลื่นของแรงดันและกระแสที่ทําใหเสนแรงแมเหล็กเป8นรูปคลื่นซายนดังสมการที่ (3.8)

φ = φ max sinωt (3.8)

เมื่อ
คือ คาเสนแรงแมเหล็กสูงสุด มีหนวยเป8นเวเบอร(Wb)
φ max
ω คือ ความเร็วเชิงมุมมีคาเทากับ 2 π f (โดย f แทนความถี่)
a คือ อัตราสวนหมอแปลง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
77

ดังนั้นหาแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนํา ( e1 ) หาไดจากสมการที่ (3.9)


e1 = N1
dt
= ωN1φmax cos ωt (3.9)

เมื่อ
e1 คือ แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําชั่วขณะใดๆ มีหนวยเป8นโวลต (V)

และหาคาอารเอ็มเอส (rms) ของแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําไดจากสมการที่ (3.10)


E1 = fN1φmax
2
= 4.44 fN1φmax (3.10)

เมื่อ
E1 คือ คาอารเอ็มเอส (rms) ของแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในขดลวดดานปฐมภูมิ
มีหนวยเป8นโวลต (V)
f คือ ความถี่ของไฟที่ปอนเขาขดลวดดานปฐมภูมิ มีหนวยเป8นเฮริทช (Hz)

ถาไมพิจารณาความตานทานในขดลวด แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําจะเทากับแรงดันไฟฟาที่
ขั้วของแหลงจายไฟ โดยเขียนสมการไดดังนี้

v1 = E1 = 4.44 fN1φmax (3.11)

หาเสนแรงแมเหล็กสูงสุดโดยจัดสมการที่ (3.11) ใหมจะไดดังสมการที่ (3.12)

φmax =
v1 (3.12)
4.44 fN1

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
78

หมอแปลงในอุดมคตินํามาเขียนเป8นวงจรสมมูลไดดังรูปที่ 3.6 (ก) เมื่อยายอิมพีแดนซ


ทางดานโหลดจากทางดานทุติยภูมิมาทางดานปฐมภูมิเขียนเป8นวงจรสมมูลไดดังรูปที่ 3.6 (ข) และ
เมื่อยายพารามิเตอรทั้งหมดจากทางดานทุติยภูมิมาทางดานปฐมภูมิสามารถเขียนเป8นวงจรสมมูลได
ดังรูปที่ 3.6 (ค)
I1 I2

∼ V1 N1 N2 V2 ZL

I1 2 I2
N 
Z 'L =  1  Z L
 N2 
∼ V1 N1 N2

I1

2
N 
∼ V1 Z'L =  1  ZL = a 2 ZL
 N2 

รูปที่ 3.6 วงจรสมมูลของหมอแปลงในอุดมคติเมื่อยายจากทางดานทุติยภูมิมาทางดานปฐมภูมิ

จากรูปที่ 3.6 เมื่อมองในรูปเฟสเซอรของแรงดันและกระแส จะไดความสัมพันธดังสมการนี้

N1
V1 = V2 = aV2 (3.13)
N2

N2 1
I1 = I2 = I2 (3.14)
N1 a
และ
V2 = I 2 ZL (3.15)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
79

จะได
2 2
V1  N1   V2   N1  (3.16)
=   =  ZL = a ZL
2

I1  N 2   I 2   N 2 

ดังนั้นอิมพีแดนซของโหลดเมื่อยายมาทางดานปฐมภูมิจะได
2
N  (3.17)
Z'L =  1  ZL = a 2 ZL
 N2 
เมื่อ
V1 คือ เฟสเซอรของแรงดันแหลงจายไฟปอนขดลวดดานปฐมภูมิ มีหนวยเป8นโวลต (V)
V2 คือ เฟสเซอรของแรงดันไฟครอมโหลด มีหนวยเป8นโวลต (V)
I1 คือ เฟสเซอรของกระแสไฟปอนเขาขดลวดดานปฐมภูมิ มีหนวยเป8นแอมปc (A)
I 2 คือ เฟสเซอรของกระแสไฟที่จายไปยังโหลด มีหนวยเป8นแอมปc (A)
ZL คือ อิมพีแดนซของโหลด มีหนวยเป8นโอหม ( Ω )
Z'L คือ อิมพีแดนซของโหลดที่ยายมาทางดานปฐมภูมิ มีหนวยเป8นโอหม ( Ω )

3.1.3 หมอแปลงไฟฟาใชงานขณะไม2มีโหลด
เมื่อปอนไฟฟากระแสสลับใหกับหมอแปลงไฟฟา 1 เฟสทางดานอินพุตโดยยังไมตอโหลด
ทําใหไมมีกระไหลทางดานทุติยภูมิ แตยังมีกระแสไหลเขาขดลวดทางดานปฐมภูมิ ซึ่งเรียกวากระแส
กระตุนขดลวดมีสวนประกอบอยู 2 สวนคือกระแสที่ทําใหเกิดความสูญเสียในแกนเหล็กในรูปความ
รอน ( Ic ) และกระแสสวนที่สรางสนามแมเหล็ก ( Im ) ซึ่งกระแส Ic จะอินเฟสกับแรงเคลื่อนไฟฟา
เหนี่ยวนําของขดลวดทางดานปฐมภูมิ ซึ่งหาไดจากสมการที่ (3.18)

Ic =
Pc (3.18)
E1
เมื่อ
Ic คือ กระแสที่ไหลในการแทนความสูญเสียในแกนเหล็ก มีหนวยเป8นแอมปc (A)
Pc คือ ผลรวมของความสูญเสียจากฮีสเตอรริซิสและกระแสไหลวนในแกนเหล็ก
มีหนวยเป8นวัตต (W)
E1 คือ คาอารเอ็มเอส (rms) ของแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในขดลวดดานปฐมภูมิ
มีหนวยเป8นโวลต (V)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
80

I1 Ic
E1
+ + θ0
+
V1 E1 N1 N2 E2
− Im I0
− −
primary secondary φ

I0 ideal
+ I0 +
+ Ic Im
V1 E1 N1 N2 E2
− gc -jb m
− −

รูปที่ 3.7 หมอแปลงไฟฟาขณะไมจายโหลด


(ก) แสดงกระแสของหมอแปลงขณะไมมีโหลด
(ข) เฟสเซอรไดอะแกรม
(ค) วงจรสมมูลของหมอแปลงขณะไมมีโหลด

ในวงจรแมเหล็กแบบเชิงเสนคุณลักษณะของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง B กับ H จะเป8น


เสนตรงและความซึมซาบแมเหล็กจะมีปริมาณที่คงที่ ซึ่งกระแสที่ใชสรางสนามแมเหล็กก็จะเป8น
สัดสวนกับเสนแรงแมเหล็กและอินเฟสกัน ดังนั้นกระแสที่ใชสรางสนามแมเหล็ก ( Im ) เมื่อพิจารณา
ทางดานปฐมภูมิก็จะลาหลังแรงดันเหนี่ยวนํา ( E1 ) อยู 90° โดยสารแมเหล็กพวกเฟอรโรแมกนีติก
สวนใหญที่นํามาใชทําแกนเหล็กของหมอแปลงมักมีคุณสมบัติแบบไมเชิงเสนทําใหเกิดความสูญเสียฮี
สเตอรรีซิสลูปตามมาทําใหเกิดความสูญเสียในแกนเหล็กขึ้นมา เมื่อหมอแปลงไมไดจายโหลดดังรูปที่
3.7 ก็จะทําใหไดกระแสทางดานปฐมภูมิมีคาเทากับ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
81

I0 = I2c + I 2m (3.19)

เมื่อ
Io คือ กระแสที่ไหลทางดานปฐมภูมิในแกนเหล็กขณะไมมีโหลด มีหนวยเป8นแอมปc(A)
Im คือ กระแสที่ใชสรางสนามแมเหล็กในแกนเหล็ก มีหนวยเป8นแอมปc(A)

และตัวประกอบกําลังไฟฟาขณะไมมีโหลดหาไดจาก

Ic
cos θ 0 = (3.20)
I0

เมื่อ
θ0 คือ มุมระหวางกระแสที่ไหลทางดานปฐมภูมิในแกนเหล็กกับกระแสที่ใชสราง
สนามแมเหล็กในแกนเหล็กขณะไมมีโหลด มีหนวยเป8นองศา ( ° )

รูปที่ 3.7 ( ค ) แสดงแอดมิดแตนซ ( y0 ) ที่เพิ่มเขาไปซึ่งหาไดจาก

y0 = g c − jb m =
I0 (3.21)
E1

เมื่อ
y0 คือ แอดมิดแตนซหาจากสวนกลับของอิมพีแดนซ มีหนวยเป8นซีเมนส ( S)
g c คือ ความนําไฟฟาหาจากสวนกลับของความตานทาน มีหนวยเป8นโมห ( mho )
หรือซีเมนส ( S)
b m คือ ซัสเซฟแตนซหาจากสวนกลับของรีแอกแตนซ มีหนวยเป8นซีเมนส ( S)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
82

3.1.4 หมอแปลงไฟฟาใชงานขณะมีโหลด
หมอแปลงที่ใชงานจริงเมื่อปอนแรงดันไฟฟากระแสสลับเขาที่ขดลวดดานปฐมภูมิจะทํา
ใหเกิดกระแสไหลเขาขดลวดดานปฐมภูมิทําใหเกิดการสรางสนามแมเหล็กขึ้นในขดลวด โดยมีเสนแรง
แมเหล็กพุงตัดผานแกนเหล็กไปเกี่ยวคลองขดลวดทุติยภูมิอีกดานหนึ่ง ตามกฎการเหนี่ยวนําของฟารา
เดยทําใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นที่ขั้วของขดลวดดานทุติยภูมิ และเมื่อนําโหลดทางไฟฟามา
ตอเขากับขั้วของขดลวดดานทุติยภูมิก็จะทําใหเกิดกระแสไหลไปยังโหลด โดยถาโหลดเป8นชนิดโหลด
ตัวตานทาน (Resistance, R) ก็จะทําใหกระแสที่จายไปยังโหลดอินเฟสกับแรงดันที่ขั้วครอมโหลด
สวนถานําโหลดพวกขดลวดพัน (Reactance, L) มาตอก็จะทําใหกระแสที่จายไปยังโหลดลาหลังกับ
แรงดันที่ขั้วครอมโหลด และถานําโหลดพวกคาปาซิเตอร (Capacitance, C) มาตอก็จะทําใหกระแส
ที่จายไปยังโหลดนําหนากับแรงดันที่ขั้วครอมโหลด โดยหมอแปลงที่ใชงานจายโหลดทางไฟฟาจริงจะ
มีเสนแรงแมเหล็กรั่วไหลทางดานปฐมภูมิ ( φl1 ) และทางดานทุติยภูมิ ( φl2 ) ดังรูปที่ 3.8 ทําใหเกิด
การสูญเสียในหมอแปลงไฟฟาเนื่องจากมีคา รีแอกแตนซรั่วไหลเกิดขึ้นในหมอแปลงทางดาน
ปฐมภูมิและทางดานทุติยภูมิซึ่งจะหลีกเลี่ยงไมไดกับหมอแปลงไฟฟาที่ใชงานจริงในระบบไฟฟาทั่วไป

mutual flux, φ

I1 secondary I2 +
+ leakage flux
primary secondary
leakage flux leakage flux Load
primary
leakage flux

รูปที่ 3.8 เสนแรงแมเหล็กรั่วไหลทางดานปฐมภูมิ ( φl1 ) และทางดานทุติยภูมิ ( φl2 )

ซึ่งจากรูปที่ 3.8 เขียนเป8นวงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส เขียนไดดังรูปที่ 3.9 (ก)


เมื่อยายพารามิเตอรจากดานทุติยภูมิมาทางดานปฐมภูมิเขียนวงจรสมมูลไดดังรูปที่ 3.9 (ข) และเมื่อ
นํามาเขียนเป8นวงจรสมมูลแบบยายพารามิเตอรจากดานปฐมภูมิมาทางดานทุติยภูมิจะเขียนไดดังรูปที่
3.9 (ค)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
83

N2
I′2 = I2 jX l2
I1 R1 jX l1 N1 R2 I2
+
Io
Ic Im N2
E2 = E1 V2 Load
V1 gc − jb m E1
N1 ZL


N1 N 2
E N
ideal transformer 1 = 1 = a
E2 N2
(ก)
I 1 R1 jX l1 R ′2 = a 2 R 2 jXl′2 = ja 2 Xl 2 I 2′ = I 2 / a I 2
Io
Ic Im
V1 V2 Load
E1 = aE 2 gc − jb m ZL

N1 N 2
(ข) ideal transformer

R1 jX l1
R 1′ = jX ′l1 = jX l 2
I1 a2 a2 R2 I2
aIo
aIc aIm
V1 E1 Load
V1 = V1′ a 2 gc E2 = V2
a ZL
a − ja b m
2

N1 N 2
ideal transformer
(ค)
รูปที่ 3.9 วงจรสมมูลของหมอแปลง (ก) กระแสกระตุน ความตานทานขดลวด
และรีแอกแตนซของเสนแรงแมเหล็กรั่วไหล (ข) เมื่อยายไปทางดาน
ปฐมภูมิ (ค) เมื่อยายไปทางดานทุติยภูมิ

ในการเขียนวงจรสมมูลใหมเพื่อใหงายตอการวิเคราะหโดยทําการยายพารามิเตอรตางๆ จาก
ดานทุติยภูมิมาทางดานปฐมภูมิจะเขียนไดดังรูปที่ 3.10 (ก) และใหความสูญเสียในแกนเหล็กหมอ
แปลงมีคาคงที่จะเขียนไดดังรูปที่ 3.10 (ข) และเมื่อไมคิดความสูญเสียในแกนเหล็กหมอแปลงจะเขียน
ไดดังรูปที่ 3.10 (ค) โดยถาหากความตานทานสมมูล ( R eq ) มีคานอยกวารีแอกแตนซสมมูล ( Xeq )
มากๆ และถาไมพิจารณากระแสที่ทําใหเกิดการสูญเสียในแกนเหล็ก ( Ic ) และกระแสกระตุนที่ทําให
เกิดเสนแรงแมเหล็ก ( Im ) ก็จะเขียนวงจรสมมูลไดดังรูปที่ 3.10 (ง)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
84

I2
R1 X l1 I1 R ′2 jX ′l2 + I′2 =
a
+
Io

V1 gc − jb m E1 = aE2 V2′ = aV2 load


(ก) −
I2
I1 R eq = R1 + R ′2 jX eq = j ( X l1 + X l2′ ) + I′2 =
a
+
Io

V1 gc − jb m V2′ = aV2 load


(ข) −
R eq jX eq +
I 1 = I′2
+

V1 V2′ = aV2 load


(ค) −

I 1 = I′2 jX eq +
+

V1 V2′ = aV2 load



(ง)

รูปที่ 3.10 วงจรสมมูลแบบประมาณคาพารามิเตอรของหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส


(ก) เมื่อยายพารามิเตอรตางๆ จากดานทุติยภูมิมาทางดานปฐมภูมิ
(ข) เมื่อใหความสูญเสียในแกนเหล็กหมอแปลงมีคาคงที่
(ค) เมื่อไมคิดความสูญเสียในแกนเหล็กหมอแปลง
(ง) เมื่อไมคิดความสูญเสียในแกนเหล็กหมอแปลงและความสูญเสียในขดลวด

เฟสเซอรของวงจรสมมูลของหมอแปลงในรูปที่ 3.10 แสดงในรูปที่ 3.11 จากรูป (ก) ถึงรูป


(ง) ตามลําดับ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
85

V1

jI1X l1
I1R1

E1 = aE 2
I2
j X′l 2
Ic a
V2′ = aV2
φ1 φL
I2
I2 / a R ′2 V1
a
Im Io

φ I1
(ก) I2
j X eq
a

Ic V2′ = aV2
φ1 φL c
I2 / a I2 V1
R eq
a
Im Io

I1
φ
(ข)
jI1X eq

φ1 V2′ = aV2
φL a b
I1 = I′2 I1R eq

(ค) V1

jI1X eq

φ1 V2′ = aV2
φL
I1 = I′2
(ง)
รูปที่ 3.11 เฟสเซอรของวงจรสมมูลรูปที่ 3.10

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
86

ตัวอย2างที่ 3.1 หมอแปลงไฟฟา 1 เฟส 50 kVA , 2,400 : 240 Volt , 60 Hz มีคาพารามิเตอรตางๆ


ดังนี้
ความตานทานทางดาน 2,400 V ; R1 = 0.75 Ω
ความตานทานทางดาน 240 V ; R2 = 0.0075 Ω
ความตานทานของขดลวดตอกระแสไฟฟาสลับที่รั่วไหลทางดาน 2,400 V ; X l1 =1 Ω
ความตานทานของขดลวดตอกระแสไฟฟาสลับที่รั่วไหลทางดาน 240 V ; Xl2 = 0.01 Ω
คาแอดมิดแตนซขณะหมอแปลงทํางานทางดาน 240 V ; y = (0.003-j0.02) S

(ก) เขียนวงจรสมมูลของหมอแปลงตัวนี้เมื่อยายพารามิเตอรตางๆของอิมพีแดนซมาทางดานแรงดัน
สูงและแรงดันต่ํา
(ข) เมื่อหมอแปลงทํางานแปลงจากแรงดันสูงมาเป8นแรงดันต่ํา จงหาแรงดันที่จาย ( Vs ) ตน
ทางผานสายปอนที่มีคาอิมพีแดนซ (0.5+ j2.0) โอหมและหมอแปลงไปยังโหลด ขณะที่หมอแปลง
ตัวนี้จายโหลดที่พิกัดทางดานทุติยภูมิและโหลดมีตัวประกอบกําลัง 0.8 โดยไมพิจารณากระแส
กระตุน ( Io )

วิธีทํา
(ก-1) เขียนวงจรสมมูลเมื่อยายคาพารามิเตอรตางๆมาทางดานแรงดันสูง 2,400 V

2
 2, 400 
R′2 = a R 2 =   ( 0.0075) = 0.75 Ω
2

 240 
2
 2, 400 
X′/ 2 = a X / 2 =  ( 0.01) = 1.0 Ω
2

 240 

คาคอนดัคแตนซ (Conductance) เมื่อยายคาพารามิเตอรตางๆมาทางดานแรงดันสูง 2,400 V


หาจาก
1 1
2 (
0.003) = × 0.003 = 0.03×10−3 S
a 100

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
87

คาคอนซัสเซฟแตนซ (Susceptance) เมื่อยายคาพารามิเตอรตางๆมาทางดานแรงดันสูง 2,400 V

1 1
2 (
0.02) = × 0.02 = 0.2 ×10−3 S
a 100

R 1 = 0.75 Ω jXl1 = j1.0 Ω R ′2 = 0.75 Ω jX′l2 = j1.0 Ω 2, 400:240

g ′c = 0.03 ×10 −3 S − jb′m = − j0.2 × 10 −3 S

รูปที่ 3.12 วงจรสมมูลเมื่อยายคาพารามิเตอรตางๆมาทางดานแรงดันสูง 2,400 V

(ก-2) เขียนวงจรสมมูลเมื่อยายคาพารามิเตอรตางๆมาทางดานแรงดันต่ํา 240 V

2
R  240 
R1′ = 21 =   ( 0.75) = 0.0075 Ω
a  2, 400 
2
X  240 
X′/1 = 122
=  (1) = 0.01 Ω
a  2, 400 

2, 400:240 R 1′ = 0.0075 Ω jX′l1 = j0.01Ω R 2 = 0.0075 Ω jX l2 = j0.01 Ω

g c = 0.003 S − jbm = − j0.02 S

รูปที่ 3.13 วงจรสมมูลเมื่อยายคาพารามิเตอรตางๆมาทางดานแรงดันต่ํา 240 V

(ข) หาแรงดันที่จาย ( Vs ) ของตนทางที่จายผานสายปอนและหมอแปลงไปยังโหลด


จากรูปที่ 3.14 แสดงวงจรสมมูลของหมอแปลงขณะตอโหลดและคิดอิมพิแดนซของสายปอน
ทางดานปฐมภูมิ โดยการยายพารามิเตอรตางๆไปทางดานแรงดันสูง 2,400 V

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
88

I 1 = I2′ = 20.8A ( 0.8 PF lagging )


feeder transformer
+
+
0.5 Ω j2.0 Ω R eq = 1.5 Ω jX eq = j2.0 Ω
vs V2′ = aV2 = 2400∠0° V load

− −

รูปที่ 3.14 วงจรสมมูลของหมอแปลงขณะตอโหลดและคิดอิมพีแดนซของสายปอนดานปฐมภูมิ

ซึ่งจากพิกัดของหมอแปลง 50 kVA ทําใหหากระแสทางดานแรงดันสูงได

50 ×103 VA
I1 = = 20.8 A
2, 400 V

จากรูปที่ 3.14 จะไดอิมพิแดนซโดยรวมของหมอแปลงดังนี้

Z = R + jX = ( 2.0 + j4.0) Ω

เขียนในรูปเฟสเซอรไดดังรูที่ 3.15

c
Vs = ?

jI1X eq j I 1X = 83.2 V

90
V2′ = aV2 = 2400∠0° V 90 b
θ = cos −1 0.8 = 36.8°
I 1R = 41.6 V

I 1 = 20.8A

รูปที่ 3.15 เฟสเซอรของวงจรสมมูลของหมอแปลงขณะตอโหลดและสายปอน

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
89

เมื่อหมอแปลงจายโหลดที่ตัวประกอบกําลัง โหลดเทากับ 0.8 ลัาหลัง จะได

Vs = V2′ + I1 ( R + jX )
= 2, 400∠0 + 20.8∠ − 36.8 ( 2.0 + j4.0 )
= 2, 400 + j0 + ( 16.64 − j12.48 )( 2 + j4)
= 2, 400 + j0 + 83.2 + j41.6
= 2, 483.2 + j41.6 = 2, 483.5∠0.96
ตอบ

∴ แรงดันตนทางที่จายโหลดผานสายปอนและหมอแปลงคือ 2,483.5 โวลต และตัวประกอบกําลัง


ที่ตนทางคือ cos (36.8 + 0.96)° หรือเทากับ 0.79 โดยจากรูปที่ 3.15 พิจารณาขนาดของ ab
และ bc ไดดังนี้
ab = I1R cos θ + I1Xsin θ
bc = I1Xcos θ − I1R sin θ

***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
90

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผูสอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปกฎสําคัญตางๆ และวิธีการคํานวณ
5. นักศึกษาทําแบบฝyกหัด
6. ใหงานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
- Mulukutla S. Sarma, Electric Machines, West Publishing Company, 1994.
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill,
Inc.,1985.
- Wayne Hartmann, Transformer Protection, 35TH Annual HANDS-ON Relay
School, March 12-16, Pullman, Washington, 2018.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.
- ธวัช เกิดชื่น, เครื่องกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพฟ…สิกสเซ็นเตอร, 2546.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝyกหัดทายบทเรียน
2. ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเขาชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝyกหัด การซักถาม-ตอบ
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส
91

แบบฝTกหัด
1. จงบอกโครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบหนึ่งเฟส มาพอเขาใจ
2. จงบอกองคประกอบของหมอแปลงในระบบไฟฟาในการพิจารณาสรางวามี
อะไรบาง
3. จงบอกทฤษฎีการทํางานของหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟส มาพอเขาใจ
4. จงบอกคุณลักษณะหมอแปลงไฟฟาใชงานขณะไมมีโหลด มาพอเขาใจ
5. จงบอกคุณลักษณะหมอแปลงไฟฟาใชงานขณะมีโหลด มาพอเขาใจ
6. จงเขียนวงจรสมมูล และเฟสเซอรของหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสขณะไมจายโหลด
7. หมอแปลงไฟฟา 1 เฟส 20 kVA , 2,200 : 220 Volt , 50 Hz มีคาพารามิเตอรตางๆ
ดังนี้
ความตานทานทางดาน2,200 V ; R1 =0.85
ความตานทานทางดาน 220 V ; R2 =0.0085
ความตานทานของขดลวดตอกระแสไฟฟาสลับที่รั่วไหลทางดาน 2,200 V; Xl1=1.2 Ω
ความตานทานของขดลวดตอกระแสไฟฟาสลับที่รั่วไหลทางดาน 220 V;Xl2=0.012 Ω
แอดมิดแตนซขณะหมอแปลงทํางานทางดาน 240 V ; y = (0.005-j0.03) S
จงหา
(ก) เขียนวงจรสมมูลของหมอแปลงตัวนี้เมื่อยายพารามิเตอรตางๆของอิมพิแดนซ
มาทางดานแรงดันสูงและแรงดันต่ํา
(ข) เมื่อหมอแปลงทํางานแปลงจากแรงดันสูงมาเป8นแรงดันต่ํา จงหาแรงดันที่จาย
( Vs ) ตนทางผานสายปอนที่มีคาอิมพีแดนซ (0.25+ j1.5) โอหม และ
หมอแปลงไปยังโหลด ขณะที่หมอแปลงตัวนี้จายโหลดที่พิกัดทางดานทุติยภูมิ
และโหลดมีตัวประกอบกําลัง 0.75 โดยไมพิจารณากระแสกระตุน ( Io )

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
92

บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา


จุดประสงค%การสอน
3.2 คํานวณคาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
3.2.1 คํานวณหาคาตอหนวย
3.2.2 คํานวณหาประสิทธิภาพและการเบี่ยงเบนของศักดาไฟฟา
3.2.3 คํานวณหาคาพิกัดของหมอไฟฟา
3.2.4 บอกวิธีการทดสอบหาขั้วหมอแปลงไฟฟา
3.2.5 บอกวิธีการทดสอบหมอแปลงไฟฟา

3.2 คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา


3.2.1 คาตอหนวย
คาตอหนวย (Per-unit, p.u.) มีความสําคัญในการคํานวณเพื่อดูแลคุณลักษณะ หรือ
เปรียบเทียบพารามิเตอรตางๆของหมอแปลง หรือเครื่องจักรกลไฟฟา ที่มีการหมุนในการวิเคราะห
หรือแกปLญหาตางๆ รวมกันในระบบไฟฟา คาปริมาณตอหนวย (Per-Unit) หาไดจากคาปริมาณจริง
หารดวยคาปริมาณฐานดังสมการที่ (3.22)

actual value quantity


value quantity in p.u. = (3.22)
base value quantity

เมื่อ
value quantity in p.u. คือ คาปริมาณตอหนวย (Per-Unit) ไมมีหนวย
actual value quantity คือ คาปริมาณจริง
base value quantity คือ คาปริมาณฐาน

คาฐานของกําลังไฟฟาจริง (VA)base และคาฐานของแรงดัน Vbase โดยสวนมากจะถูก


เลือกพิจารณากอนซึ่งคาฐานของกระแสในระบบไฟฟา 1 เฟส คํานวณไดจากสมการที่ (3.23)

(VA) base
Ibase = (3.23)
Vbase

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
93

สวนคาฐานของปริมาณตางๆ ในระบบไฟฟา 1 เฟส หาไดดังนี้

Pbase = Qbase = S base = (VA) base

R base = X base = Z base =


Vbase (3.24)
I base
I base
G base = Bbase = Y base =
Vbase

คาอิมพีแดนซตอหนวยโดยทั่วไปหาไดจาก
actual impedance in ohms ( VA )base (3.25)
Z p.u. = = Z ohm
(V )
2
base impedance in ohms
base

การเปลี่ยนคา Per-Unit อาจจะมีการเปลี่ยนฐานจากคาหนึ่งไปเปQนอีกคาหนึ่งดังนี้

( VA )base1 (3.26)
( P,Q,V,A )p.u.( base2 ) = ( P,Q,V,A )p.u.( base1)
( VA )base2

V
Vp.u. base2 = Vp.u. base1 base1
( ) ( )V
(3.27)
base2

( VA )
2
V 
( R, X, Z )p.u.( base2) = ( R, X, Z )p.u.( base1) ( VA )base2  Vbase1  (3.28)
base1  base2 

( VA )
2
V 
( G, B, Y )p.u.( base2) = ( G, B, Y )p.u.( base1) ( VA ) base1  Vbase2  (3.29)
base2  base1 

ในระบบสมดุล 3 เฟส คาฐานของกําลังปรากฏ ( VA ) และแรงดันระหวางสาย ( VL ) จะ


ถูกพิจารณากอนโดยคาฐานของกระแส  IL( base)  ในสายคํานวณจาก
 

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
94

( VA )3φ( base ) 3 ( VA ) base per phase


( )
I L(base) = = (3.30)
3VL base 3VL base
( ) ( )

ความสัมพันธของปริมาณฐานอื่นๆ ในระบบ 3 เฟสสมดุลคือ

P3φ(base) = Q3φ(base) = ( VA )3φ( base ) = 3 ( VA )( base per phase ) (3.31)

VL = 3Vbase line to neutral (3.32)


( base ) ( )

 Ibase per phase of Y  (3.33)


Ibase per phase of ∆ =  
 3 
 

หาคาตอหนวยของอิมพีแดนซตอเฟสของการตอวงจรแบบวาย (Y) ในระบบ 3 เฟสไดดังนี้

 VL( base ) 
 
Vbase line to neutral  3 
 (3.34)
Z p.u. per phase of Y = =
IL base I L base
( ) ( )

เอา 3 VL
( base )
คูณทั้งเศษและสวน จะได
2
V 
 L( base ) 
Z p.u. per phase of Y =  
( VA )3φ( base)
(3.35)

อิมพีแดนซตอหนวยตอเฟสของการตอแบบวาย (Y) คือ


( VA )3φ( base)
Z p.u. per phase of Y = Z ohm line to neutral 2 (3.36)
V 
 L( base ) 
 

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
95

ปLญหาตางๆในระบบ 3 เฟสสามารถแกปLญหาในใหอยูในรูป Per-unit เชนเดียวกับในระบบ


1 เฟสได ยกตัวอยางเชนในระบบ 3เฟสสมดุลมีคา

( VA )3φ ( base ) = 10,000 VA และ V


L ( base )
= 1, 000 V

ดังนั้น
10,000 1, 000
( VA )1φ ( base ) = VA และ Vbase line to neutral = V
3 3

ถาหากวาคาแรงดันจริงระหวางสายมีคาเทากับ 900 V หรือแรงดันจริงระหวางสายกับ


นิวตรอนมีคาเทากับ ( 900 / 3 ) V ดังนั้ นหาคาแรงดัน ไฟฟาตอหนวย(Per-unit voltage)ได
เทากับ

900 900 / 3
Per − unit voltage = = = 0.9 pu
1, 000 1, 000 / 3

ถากําลังไฟฟาตอเฟสมีคาเทากับ 2,000 W หากําลังไฟฟารวมทั้งสามเฟสมีคาเทากับ 6,000


W โดยหากําลังไฟฟาตอหนวย (Per-unit voltage)ไดเทากับ

6, 000 2, 000
Per − unit power = = = 0.6 pu
10, 000 10, 000 / 3

ตัวอยางที่ 3.2 ระบบไฟฟากําลังดังแสดงในรูปที่ 3.16 มีเครื่องกําเนิด 1 เฟส มีแรงดันที่ขั้วจายไฟของ


เครื่องกําเนิด 480 โวลตตออยูกับหมอแปลง 1 เฟสแบบแปลงขึ้นที่มีอัตราสวน 1 : 10 โดยขดลวด
ทางดานทุติยภูมิตอผานสายสงไฟฟามาที่หมอแปลงแบบแปลงลงที่มีอัตราสวน 20:1 โดยขดลวด
ทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงตัวนี้ตอไปยังภาระที่มีคาอิมพีแดนซเทากับ 10∠30 Ω และคา
อิมพีแดนซของสายสงเทากับ 20 + j60 Ω เมื่อเลือกคาฐานสําหรับระบบนี้ที่เครื่องกําเนิดเทากับ
480 V และ 10 kVA

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
96

จงหา
(ก) คาฐานของแรงดัน , กระแส , อิมพีแดนซ และกําลังไฟฟาปรากฏที่ทุกๆ จุดในระบบ
ไฟฟานี้
(ข) แปลงระบบไฟฟานี้ใหอยูในรูปวงจรสมมูลของคาตอหนวย
(ค) กําลังที่จายไปยังภาระในระบบไฟฟานี้
(ง) กําลังสูญเสียในสายสงไฟฟา
I line 20Ω j60Ω Iload Zload = 10∠30 Ω
IG Zline
VG 480∠0 V

Region 1 Region 2 Region 3

รูปที่ 3.16 ระบบไฟฟากําลังของตัวอยางที่ 3.2

วิธีทํา
(ก) หาคาฐานของแรงดัน , กระแส , อิมพีแดนซ และกําลังไฟฟาปรากฏที่ทุกๆ จุดใน
ระบบไฟฟานี้
ในสวนของเครื่องกําเนิด , Vbase = 480 V และ Sbase = 10 kVA ดังนั้น

S 10, 000VA
I = base = = 20.83A
base1 V 480V
base1

V 480V
Z = base1 = = 23.04Ω
base1 I 20.83A
base1

1
อัตราสวนหมอแปลง T1 , คือ a= = 0.1 ดังนั้นแรงดันฐานในสวนของสายสงไฟฟาคือ
10

V 480V
V = base1 = = 4,800V
base2 a 0.1

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
97

คาฐานของสวนที่ 2 ดังในรูปที่ 3.16 คือ

S = 10 kVA
base2

S 10, 000VA
I = base2 = = 2.083A
base2 V 4,800V
base2

Vbase 2 4,800V
Z base 2 = = = 2,304 Ω
I base 2 2.083A

20
อัตราสวนหมอแปลง T2 คือ a= = 20 ดังนั้นแรงดันฐานในสวนของภาระคือ
1

V 4,800V
V = base2 = = 240V
base3 a 20

คาฐานของสวนที่ 3 ดังรูปที่ 3.16 คือ

S = 10kVA
base3

S 10, 000VA
I = base3 = = 41.67A
base3 V 240V
base3

V 240V
Z = base3 = = 5.76 Ω
base3 I 41.67A
base3

(ข) แปลงระบบกําลังไฟฟาใหอยูในระบบตอหนวย โดยสวนประกอบแตละสวนถูกหาร


ดวยคาฐานในบริเวณสวนนั้นๆ แรงดันตอหนวยของเครื่องกําเนิดเทากับ

480∠0°
V = = 1.0∠0° p.u.
G,p.u. 480

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
98

อิมพีแดนซตอหนวยของสายสงเทากับ

10∠30° Ω
Z = = 1.736∠30° p.u.
load,p.u. 5.76 Ω

วงจรสมมูลตอหนวยของระบบกําลังไฟฟาแสดงดังรูปที่ 3.17

I pu Iline 0.0087 pu j0.026 pu Iload


IG Zline
VG = 1∠0 Zload = 1.736∠30 per unit

I G,pu = Iline,pu = I load,pu = lpu

รูป 3.17 วงจรสมมูลตอหนวยของตัวอยางที่ 3.2

( ค ) หากําลังที่จายไปยังภาระในระบบไฟฟานี้ โดยเบื้องตนหากระแสตอหนวยที่ไหลใน
ระบบกําลังไฟฟาไดดังนี้

V
p.u.
I =
p.u. Z
total, p.u.

1∠0°
=
(0.0087 + j0.026) + (1.736∠30°)

1∠0°
=
(0.0087 + j0.026) + (1.503 + j0.868)

1∠0° 1∠0°
= =
1.512 + j0.894 1.757∠30.6°

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
99

ดังนั้นกําลังไฟฟาตอหนวยของภาระคือ

=I
2
P R
load,p.u. p.u. p.u.

= ( 0.569 ) (1.503)
2

= 0.487 p.u

และกําลังไฟฟาจริงที่จายไปยังภาระคือ

P =P S
load load, p.u. base

= ( 0.487 )(10,000VA )

= 4,870 W

( ง ) หากําลังสูญเสียในสายสงไฟฟา โดยเบื้องตนหากําลังสูญเสียตอหนวยในสายสง
ไฟฟาไดดังนี้

P = I2 R
line, p.u. p.u. line, p.u.

= ( 0.569 ) ( 0.0087 )
2

= 0.00282

และกําลังไฟฟาจริงที่สูญเสียในสายสงไฟฟา

P =P S
line line, p.u. base

= ( 0.00282 )(10, 000VA )

= 28.2 W

**********************************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
100

ตัวอยางที่ 3.3 ระบบกําลังไฟฟามีการตอหมอแปลง T1, T2, T3 และ T4 เปQนแบบ 3 เฟส 4 สาย


(∆-Y) เมื่อหมอแปลงแตละตัวมีพิกัด 1,000 MVA, 500 kV Y / 20kV ∆ โดยคาตอหนวยของ
รีแอกแตนซของหมอแปลงแตละตัว (T1-T4) มีคาเทากับ 0.1 และมีหมอแปลง T5 ตอแบบ 3 เฟส
Y-Y โดยมีคาตอหนวยของรีแอกแตนซเทากับ 0.1 เมื่อไมพิจารณาความตานทาน มุมเลื่อนเฟส
และรีแอกแตนซแมกนีไทสซิ่งของหมอแปลง กําหนดคาฐานของทางดานแรงดันสูงเทากับ 1000 MVA
และ 500 kV จงหาคารีแอกแตนซตอหนวยของหมอแปลงแตละตัวในระบบไฟฟานี้

∆/ Y Y/ Y
×

วิธีทํา
S base = 1, 000 MVA ; V = 500kV
base H
จากสมการ
2
(VA) base2  Vbase1 
(R,X, Z ) = (R,X, Z )
p.u.(base2) p.u.(base1) (VA)  V 
base1  base2 

แทนคาหารีแอกแตนซตอหนวยของหมอแปลง X T1-T4 เมื่อแรงดันฐาน base2 = base1

ดังนั้นจะได

 1,000MVA   500kV  2
X T1 = X T2 = X T3 = X T4 = (0.1)  ⋅
 1,000MVA   500kV 
 

= 0.1

แทนคาหารีแอกแตนซตอหนวยของหมอแปลง X T5 เมื่อแรงดันฐาน base2 = base1 ดังนั้นจะได

 1,000MVA   500kV  2
= (0.1)  ⋅
 1,500MVA   500kV 
X
T5
 

= 0.0667

**********************************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
101

3.2.2 ประสิทธิภาพและการเบี่ยงเบนของศักดาไฟฟา
การหาประสิ ท ธิ ภ าพของกํ า ลั ง ไฟฟาที่ ส งออกจากหมอแปลงจายไปยั ง โหลดตอ
กําลังไฟฟาที่ปอนเขาหมอแปลงจากแหลงจายไฟ หาไดจากสมการที่ (3.37)
Output Power
Efficiency(η) =
Input Power

=
Pout (3.37)
Pin

โดยที่กําลังไฟฟาที่สงออกจากหมอแปลงจายไปยังโหลดหาไดจากสมการที่ (3.38) และ


กําลังไฟฟาที่ปอนเขาหมอแปลงจากแหลงจายไฟหาไดจากสมการที่ (3.39)

Output Power(Pout ) = V2 I2 cos θ 2 (3.38)

Input Power(Pin ) = V1I1 cos θ1 (3.39)


เมื่อกําหนดให
cos θ1 คือ คาตัวประกอบกําลังไฟฟาทางดานปฐมภูมิ
cos θ 2 คือ คาตัวประกอบกําลังไฟฟาทางดานทุติยภูมิ

ซึ่งเมื่อเขียนประสิทธิภาพเปQนเปอรเซ็นตจะเขียนไดดังสมการที่ (3.40)

Pout
% efficiency(η) = × 100 (3.40)
Pin

ความสูญเสียในหมอแปลงไฟฟา เปQนสาเหตุของการที่กําลังไฟฟาสงออกไปหาภาระทางไฟฟา
( Pout ) มีคานอยกวากําลังไฟฟาที่ปอนเขาจากแหลงจายไฟสลับ ( Pin ) โดยที่ความสูญเสียในหมอ
แปลงไฟฟาประกอบดวย 2 สวนหลั ก คื อ ความสู ญ เสี ย จากคาความตานทานของลวดทองแดง
(Copper loss) ซึ่งจะเกิดขึ้นที่ขดลวดทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิ โดยเขียนเปQนสมการความสูญเสีย
จากคาความตานทานของลวดทองแดงไดดังสมการที่ (3.41)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
102

P
CU(Loss)
= I12 R 1 + I22 R 2 (3.41)

กําลังไฟฟาสูญเสียในแกนเหล็ก P
Core(Loss)
คือกําลังไฟฟาสูญเสียที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ของสนามแมเหล็กในแกนเหล็ก ซึ่งหาจากสมการที่ (3.42)

P
Core(Loss)
= Ic2 R c (3.42)

ดังนั้นหาเปอรเซ็นตประสิทธิภาพทั้งหมดในหมอแปลงไฟฟาไดจากสมการที่ (3.43)

Pout
%η = ×100 (3.43)
Pout + Ptotal loss

ประสิทธิภาพของหมอแปลงไฟฟาในระบบจําหนายของการไฟฟาจะคิดเปรียบเทียบกับเวลา
ที่ใชงานเชนทํางานใน 1 วัน เปQนตน ซึ่งหาไดจากสมการที่ (3.44)

energy output over 24 hours (3.44)


η =
AD
energy input over 24 hours

จากการที่หมอแปลงไฟฟามีคาความตานทานของขดลวดและมีสนามแมเหล็กรั่วไหลทําให
เกิ ด รี แอกแตนซรั่ ว ไหล เปQ นผลทํ าใหเกิ ดแรงดั นตกครอมในวงจรสมมู ล จะมีผ ลทํ าใหเมื่ อใสภาระ
ทางดานทุติยภูมิแลวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงแรงดันที่ขั้วของขดลวดทุติยภูมิ ( V2 ) ซึ่งในทางอุดมคติ
แลวขณะที่ ไมมี ภ าระ แรงเคลื่ อนไฟฟาเหนี่ ย วนํ า E 2 จะมี คาเทากั บ V2 และเมื่อใสภาระแลวคา
แรงดัน V2 จะเปลี่ยนไป โดยหาคาเปอรเซ็นตการปรับแรงดันไฟฟาขึ้น ( % Voltage Regulation up )
ไดจากสมการที่ (3.45) และหาเปอรเซ็นตการปรับแรงดันไฟฟาลง ( % Voltage Regulation down )
ไดจากสมการที่ (3.46)

E 2 − V2 V1 − V2′
%Voltage Regulation up = × 100 % หรือเทากับ × 100 % (3.45)
V2 V2′

E 2 − V2 V1 − V2′
%Voltage Regulation down = ×100 % หรือเทากับ × 100 % (3.46)
E2 V1

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
103

3.2.3 พิกัดของหมอไฟฟา
การกําหนดคาตางๆ ของหมอแปลงไฟฟาเปQนการบอกถึงพิกัดของหมอแปลงวามีพิกัด
เทาไร โดยหมอแปลงไฟฟาที่ใชงานโดยทั่วไปมีอยู 2 แบบคือ แบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส ซึ่งใน
ระบบการผลิตและสงจายกระแสไฟฟาจะเปQนระบบ 3 เฟส สวนจะเปQนระบบ 3 เฟส 3 สาย หรือ 3
เฟส 4 สาย ก็ขึ้นอยูกับความตองการของวงจรที่จะใชงาน แตเมื่อมาถึงผูใชงานก็อาจจะเลือกใชเพียง
1 เฟส หรือ 3 เฟส ก็ไดขึ้นอยูกับความเหมาะสม ทางดานการกําหนดเรื่องเฟสของหมอแปลงไฟฟาจะ
มีผลตอการคํานวณ ถาเปQน 1 เฟสก็คํานวณแบบปกติ แตถาเปQน 3 เฟส ขอมูลที่ตองการเพิ่มเติมคือ
ระบบการตอวาเปQนแบบสตาร (Y) หรือเดลตา (∆) เพื่อเลือกใชวิธีการคํานวณ แตในการคํานวณและ
การเขียนวงจรสมมูลเราจะแปลงคาเปQนคาตอเฟส พิกัดตางๆของหมอแปลงไฟฟาจะประกอบดวย
พิกัดหลักๆ ดังตอไปนี้คือ

3.2.3.1 พิกัดความถี่ (Rated frequency)


โดยปกติ ใ นทางดานไฟฟากํ า ลั ง ความถี่ ที่ ใ ชงานในปL จ จุ บั น จะมี ค วามถี่
50 Hz และ 60 Hz ขี้นอยูกับการวางระบบสงจายกําลังในประเทศนั้นๆ ซึ่งในประเทศไทยใชระบบ
50 Hz โดยความถี่มีผลตอการใชหมอแปลงในระบบไฟฟาดังนี้
(1) ทางดานการเหนี่ ย วนํ า ไฟฟาจะเห็ น วาความถี่ สั ม พั น ธโดยตรงกั บ ศั ก ดาไฟฟา
เหนี่ยวนํา ถาศักดาไฟฟาที่ปอนเขามีคาคงที่ เมื่อเพิ่มความถี่มากขึ้นจะมีผลทําใหคาสูงสุดของเสนแรง
แมเหล็กลดลง หรือในทางตรงขาม ถาลดความถี่ลงจะทําใหคาสูงสุดของเสนแรงแมเหล็กมีคาเพิ่มขึ้น
ดังนั้นการนําหมอแปลงที่พิกัดความถี่สูงมาใชงานที่ความถี่ต่ําลง จะตองระวังเรื่องสนามแมเหล็กอิ่มตัว
(Saturated) เพราะในการออกแบบถาตองการใหหมอแปลงไฟฟามีขนาดเล็กและประหยัดตนทุนก็
จะตองออกแบบจุดทํางานของสนามแมเหล็กสูงสุดใหมีคาใกลเคียงจุดอิ่มตัว
(2) ทางดานความสู ญ เสี ย ในแกนเหล็ ก ถาดู จ ากเสนกราฟความสั ม พั น ธระหวาง
สนามแมเหล็กกับความถี่ จะเห็นวาเมื่อใหสนามแมเหล็กสูงสุดมี่คาคงที่แลวเพิ่มความถี่มากขี้น จะ
ทําใหความสูญเสียในแกนเหล็กเพิ่มขั้น ดังนั้นในจุดที่นํามาใชงานที่พิกัดไฟฟาคงเดิม เมื่อเพิ่มความถี่
จะมีผลทางดานสนามแมเหล็กสูงสุด ซึ่งตองนํามาคํานวณดูวาที่ความหนาแนนสนามแมเหล็กสูงสุดที่
ลดลงจะมีคาของความสูญเสียเปQนวัตตตอกิโลกรัม (W/Kg) มีคาเพิ่มขึ้นหรือลดลงขึ้นอยูกับจุดทํางาน
ของหมอแปลงที่ออกแบบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
104

3.2.3.2 พิกัดแรงดันไฟฟา ( Rated Voltage)


พิ กัด แรงดั น ไฟฟาจะขึ้ น อยู กั บ แรงดั น ไฟฟาเหนี่ ย วนํ า ในขดลวดของหมอ
แปลงไฟฟาวามี ค าสู ง สุ ด เทาไหรโดยที่ ห มอแปลงไฟฟาไมเสี ย หาย โดยคํ า นวณจากสมการ
แรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําทางดานปฐมภูมิ คือ

E1 = 4.44 f N1Bmax A c (3.47)

และสมการแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําทางดานทุติยภูมิ คือ

E 2 = 4.44 f N 2 Bmax A c (3.48)

เมื่อ
E1 คือ คาอารเอ็มเอสของแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในขดลวดดานปฐมภูมิ
มีหนวยเปQนโวลต
f คือ ความถี่ของไฟที่ปอนเขาขดลวดดานปฐมภูมิ มีหนวยเปQนเฮริทช
N1 คือ จํานวนรอบขดลวดดานปฐมภูมิ มีหนวยเปQนรอบ
N 2 คือ จํานวนรอบขดลวดดานทุติยภูมิ มีหนวยเปQนรอบ
Bmax คือ คาสูงสุดของความหนาแนนสนามแมเหล็ก มีหนวยเปQนเวเบอรตอตารางเมตร
A c คือ พื้นที่หนาตัดของแกนเหล็กที่พันขดลวด มีหนวยเปQนตารางเมตร

จะพบวาทั้งจํานวนรอบ ( N1, N 2 ) และพื้นที่หนาตัดของแกนเหล็ก ( Ac ) มีคาคงที่ ถาเปQน


หมอแปลงไฟฟาที่ออกแบบมาเพื่อใชงานที่ความถี่ 50 Hz คงที่ แรงดันไฟฟาเหนี่ยวนําที่ขดลวดแตละ
ดานก็จะคงที่ ซึ่งคาความหนาแนนของสนามแมเหล็กสูงสุด ( Bmax ) ที่เลือกโดยแกนเหล็กไมอิ่มตัว
หาไดจากคุณลักษณะของเสนกราฟความสัมพันธระหวาง B-H curve ของวัสดุที่ใชทําแกนเหล็กหมอ
แปลงไฟฟา
นอกจากพิกัดแรงดันไฟฟาจะขึ้นอยูกับคาสูงสุดของความหนาแนนสนามแมเหล็ก ( Bmax )
แลวยังขึ้นอยูกับฉนวนที่นํามาใชในการปองกันการลัดวงจรในขดลวดและระหวางขดลวดรวมไปถึง
ขดลวดกับแกนเหล็กดวย และโครงสรางของหมอแปลงไฟฟาตองสามารถมีความสอดคลองกับการใช
งานที่ พิ กั ด ที่ ห าไดจากสมการแรงดั น ไฟฟาเหนี่ ย วนํ า ขางตนดวย โดยใหมี ก ระแสรั่ ว ไหลไมเกิ น
มาตรฐานและไมทําใหเกิดการลัดวงจร

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
105

ในการแสดงพิกัดแรงดันไฟฟาของหมอแปลงไฟฟา จะรวมไปถึงการแสดงอัตราสวนระหวาง
ขดลวดของหมอแปลงไฟฟาไปดวยในตัว โดยคาที่แสดงเปQนคาขณะไมมีภาระดังนั้นอัตราสวนระหวาง
แรงดันไฟฟาทางดานปฐมภูมิตอทางดานทุติยภูมิจะเทากับ N1 / N 2 ดังนั้นการกําหนดวาหมอแปลง
ไฟฟา 1 เฟส มีอัตราสวน 22,000 : 400 V เปQนการกําหนดคาอัตราสวนหมอแปลง (transformer
ratio, a) เทากับ
V1 N1
transformer ratio(a) = = (3.49)
V2 N2

22,000
= = 55
400

ในทางดานการใชงานสามารถนําหมอแปลงไฟฟาไปใชงานที่แรงดันไฟฟาต่ํากวาพิกัดได แต
หามนําไปใชงานที่แรงดันไฟฟาสูงกวาพิกัดแรงดันไฟฟาของหมอแปลง ถานํามาใชงานที่ต่ํากวาพิกัด
ไฟฟาจะมีผลทําใหพิกัดกําลังของหมอแปลงไฟฟาลดลงเปQนอัตราสวนกับแรงดันไฟฟาที่ลดลง

3.2.3.3 พิกัดกําลังไฟฟา (Rated Power)


พิกัดกําลังของหมอแปลงไฟฟาจะกําหนดใหเปQนคาโวลต-แอมปt (VA) ซึ่งเปQน
ผลคูณระหวางแรงดันไฟฟากับกระแสไฟฟา ในทางดานไฟฟากําลังนิยมใชคําวากิโลโวลต-แอมปt
(KVA) ยกตัวอยางเชนเมื่อกําหนดพิกัดกําลังและพิกัดแรงดันของหมอแปลงไฟฟาทําใหสามารถหาคา
พิกัดกระแสที่จายออกมาจากหมอแปลงไฟฟาไปยังโหลดได โดยที่พิกัดกําลัง (kVA) จะเปQนคาพิกัด
ทางดานจายกําลังไฟฟาออกของหมอแปลงในระบบ 3 เฟส และ 1 เฟส ซึ่งคํานวณหากระแสที่จาย
ออกมาจากหมอแปลงไฟฟาในระบบ 3 เฟสและ 1 เฟสไดตามสมการที่ (3.50) และ (3.51)
เมื่อเปQนระบบ 3 เฟส
rated kVA ×103
Rated current per phase = (3.50)
3 × rated voltage per phase

เมื่อเปQนระบบ 1 เฟส

rated kVA ×103


Rated current = (3.51)
rated voltage per phase

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
106

3.2.4 การหาขั้วหมอแปลงไฟฟา
การหาขั้วของหมอแปลงไฟฟามีประโยชนในดานการนําหมอแปลงไฟฟามาตอขนานกัน
จําเปQนตองรูขั้วหมอแปลงไฟฟา และเพื่อใชในการตอหมอแปลงไฟฟาจาก 1 เฟส ใหเปQนหมอ
แปลงไฟฟา 3 เฟส หรือนําไปใชประโยชนในทางดานอิเล็กทรอนิกสกําลัง ซึ่งหมอแปลงไฟฟาที่ใช
ในการสงผานกําลังไฟฟาจําเปQนตองทราบขั้วของหมอแปลงไฟฟากอน โดยการนําโวลตมิเตอรมาตอ
ตามรูปที่ 3.18 (ข) แลวนําปลายสายของหมอแปลงทั้งสองดานมาตอรวมกัน และจายไฟเขาทางดาน
แรงดันสูง ( V1 ) ที่พิกัด ถาโวลตมิเตอรอานคาไดเทากับ ( V1 − V2 ) แสดงวาขั้วของหมอแปลงไฟฟามี
ขั้วตามรูปที่ 3.18 (ก)

I1 I2 X1
H1 + +
load
- -
H2
X2
(ก)

+ +

V1 V2
- -

V3

V3 =V1 − V2 (sudtractive polarity)

(ข)

รูปที่ 3.18 การทดสอบหาขั้วของหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส


(ก) อักษรระบุขั้วที่กําหนดบนขดลวดของหมอแปลงทั้งสองดาน
(ข) การตอวงจรทดสอบหาขั้ว

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
107

3.2.5 การทดสอบหมอแปลงไฟฟา
การทดสอบหาวงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟา จะสามารถหาไดโดยการทดสอบขณะ
เปuดวงจรหรือไมมีโหลด และการทดสอบขณะลัดวงจร โดยนําขอมูลจากการทดสอบมาคํานวณหา
คาพารามิเตอรตางๆ ของวงจรสมมูล
1) การทดสอบหมอแปลงไฟฟาขณะเปKดวงจร
การทดสอบแบบเปuดวงจรหรือการทดสอบแบบไมมีโหลด โดยปรกติจะนิยมเปuดวงจร
ทางดานแรงดันสูง (High voltage side, H.V. side) และจายไฟฟากระแสสลับปอนเขาทางดาน
แรงดันต่ํา (Low voltage side, L.V. side) ดังแสดงในรูปที่ 3.19 โดยเครื่องมือวัดจะอยูทางดาน
แรงดันไฟฟาต่ํา

Woc A
I oc

Voc

รูปที่ 3.19 การทดสอบหมอแปลงไฟฟาขณะเปuดวงจร


ทํ า การปรั บ คาแรงดั น ไฟฟาปอนเขาจนถึ ง คาพิ กั ด แรงดั น ไฟฟาทางดานแรงดั น ต่ํ า ซึ่ ง
คากระแสที่ไหลเขาหมอแปลงไฟฟา จะเปQนคากระแสไฟฟากระตุนของหมอแปลงไฟฟา โดยจะมี
คาประมาณ 3 - 5 % ของพิกัดกระแส ทําการบันทึกขอมูลที่พิกัดศักดาไฟฟาทางดานแรงดันต่ําซึ่ง
ประกอบไปดวย Voc , Ioc และ Woc นําขอมูลเหลานี้มาคํานวณหาคา R c และ X m ไดดังนี้

 Woc 
θ oc = cos −1   (3.52)
 Voc i Ioc 
Ic, L = Ioc cos θ oc (3.53)
I m,L = Ioc sin θ oc (3.54)

R c, L =
Voc
= R oc,L (3.55)
Ic,L

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
108

X m, L =
Voc
= X oc, L (3.56)
Im, L

และเมื่อยายคา (transfer) มาอยูทางดานแรงดันไฟฟาสูงจะได

R c, H = a 2 R c,L (3.57)

X m, H = a 2 X m, L (3.58)

2) การทดสอบหมอแปลงไฟฟาขณะลัดวงจร
การทดสอบลัดวงจรของหมอแปลงไฟฟา สวนใหญนิยมลัดวงจรทางดานแรงดันไฟฟาต่ํา
โดยใหแหลงจายแรงดันไฟฟาและเครื่องมือวัดอยูทางดานแรงดันไฟฟาสูง วิธีทดสอบโดยการลัดวงจร
ขดลวดทางดานแรงดันไฟฟาต่ํา แลวปรับแรงดันไฟฟาจากแหลงจายที่สามารถปรับคาแรงดันไฟฟาได
เขาที่ขดลวดดานแรงดันไฟฟาสูง โดยตอเครื่องมือวัดประกอบดวยแอมมิเตอร วัตตมิเตอร โวลต
มิ เ ตอร ดั ง แสดงในรู ป ที่ 3.20 แลวเริ่ ม ทํ า การทดสอบโดยคอย ๆ เพิ่ ม แรงดั น ไฟฟาที่ ป อนเขา
จนกระทั่งมีคาเทากับพิกัดกระแสของหมอแปลงไฟฟา และบันทึกขอมูลของ Isc , Vsc และ Wsc ใน
การทดสอบโดยการลัดวงจรไฟฟา แรงดันไฟฟาที่ปอนเขาทางดานแรงดันสูงของหมอแปลงไฟฟาจะ
ใชแรงดันประมาณ 2 - 12 % ของพิกัดแรงดันไฟฟาของหมอแปลงไฟฟาที่ทดสอบ ดังนั้นการ
ทดสอบลัดวงจรจะทําใหสามารถหาคาอิมพิแดนซพารามิเตอรในวงจรสมมูลได

Wsc A
Isc

Vsc

รูปที่ 3.20 การทดสอบหมอแปลงไฟฟาขณะลัดวงจร

จากขอมูลที่ไดจากการทดสอบนํามาหาคาอิมพิแดนซพารามิเตอรไดโดยการคํานวณดังนี้

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
109

 Wsc 
θ sc = cos −1   (3.59)
 Vsc i Isc 
Vsc ∠0
Zsc = (3.60)
Isc ∠ − θ sc

Vsc
= i ∠θ sc (3.61)
Isc

R sc = Zsc i cos θ sc (3.62)

X sc = Zsc i sin θsc (3.63)

สรุปไดวา

R eq ,H = R H + R ′L = R sc (3.64)

X eq ,H = X H + X′L = X sc (3.65)

VH
กําหนดใหอัตราสวนหมอแปลงไฟฟา ( a ) มีคาเทากับ
VL
จะได
R eq ,L =
1
R eq, H (3.66)
a2

และ
X eq ,L =
1
X eq ,H (3.67)
a2

ดังนั้นจึงสามารถสรุปวงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟาที่ไดจากการทดสอบดังแสดงในรูปที่
3.21 ซึ่งอยูทางดานแรงดันไฟฟาสูงและแรงดันไฟฟาต่ํา

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
110

R eq,H jx eq,H

+ +

VH R C,H jx m,H VL′

- -
(ก)

+ +
R eq,L jx eq,L
VH′ R C,L jx m,L VL

- -
(ข)
รูปที่ 3.21 วงจรสมมูลที่ยายพารามิเตอรตาง ๆ มาไวทางดานปฐมภูมิ และทางดานทุติยภูมิ
(ก) เปQนวงจรสมมูลที่ยายพารามิเตอรตาง ๆ มาไวทางดานปฐมภูมิ
(ข) เปQนวงจรสมมูลที่ยายพารามิเตอรตาง ๆ มาไวทางดานทุติยภูมิ

ตัวอยางที่ 3.4 ทําการทดสอบหมอแปลง 1 เฟส ขนาด 4 kVA , 400 : 220 V , 50 Hz


มีขอมูลจากการทดสอบขณะเปuดวงจรและลัดวงจรดังนี้

Open circuit test , เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงดันไฟฟาต่ํา (220 V )


Voc = 220 V
I oc = 0.8 A
Poc = 80 W

Short circuit test , เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงดันไฟฟาสูง (400 V)


Vsc = 15 V
Isc = 10 A
Psc = 120 W

ใหคํ า นวณหาคาอิ มพี แดนซของวงจรสมมู ล ที่ ย ายคามาอยู ดานแรงดั น ไฟฟาต่ํ า และดาน


แรงดันไฟฟาสูง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
111

วิธีทํา
จากการทดสอบเปKดวงจร (Open circuit test)
 Woc 
θ oc = cos −1  
 Voc i Ioc 
 80 
= cos −1   = 63
 220 × 0.8 
Ic, L = Ioc cos θ oc = 0.8cos 63 = 0.36 A

I m,L = Ioc sin θ oc = 0.8sin 63 = 0.71 A


Voc 220
R c, L = = = 611 Ω ตอบ
I c,L 0.36
Voc 220
X m, L = = = 310 Ω ตอบ
I m,L 0.71

หาคาพารามิเตอรที่ยายมาอยูทางดานแรงดันไฟฟาสูง
หาอัตราสวนหมอแปลง ( a )
400
a = = 1.82
220

R c, H = a 2 R c, L = (1.82 ) × 611 = 2, 024 Ω


2

ตอบ
และ
X m, H = a 2 X m,L = (1.82 ) × 310 = 1, 027 Ω
2

ตอบ

จากการทดสอบลัดวงจร (Short circuit test)


 Wsc 
θ sc = cos −1  
 Vsc i Isc 
 120 
= cos −1   = 37
 15 ×10 
Vsc ∠0
Zsc =
Isc ∠ − θ sc

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
112

15∠0
= = 1.5∠37
10∠ − 37

= 1.198 + j0.903 Ω

R eq ,H = R H + R ′L = R sc = 1.198 Ω ตอบ
X eq ,H = X H + X′L = X sc = 0.903 Ω ตอบ

หาคาพารามิเตอรของความตานทานสมมูลและรีแอกแตนซสมมูลที่ยายคามาอยูทางดาน
แรงดันไฟฟาต่ําจะได
1
R eq ,L = R eq, H = 0.36 Ω ตอบ
a2
และ
1
X eq ,L = X eq, H = 0.27 Ω ตอบ
a2

R eq,H jx eq,H

VH R C,H x m,H V'L

วงจรสมมูลสมมูลของหมอแปลงไฟฟาที่ยายมาอยูทางดานแรงดันไฟฟาสูง

+ R eq,L jx eq,L +

V'H R C,L x m,L VL

- -

วงจรสมมูลสมมูลของหมอแปลงไฟฟาที่ยายมาอยูทางดานแรงดันไฟฟาต่ํา

***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
113

ตัวอยางที่ 3.5 จากหมอแปลงในตัวอยางที่ 3.4 นําภาระมาตอทางดานแรงดันไฟฟาต่ํา (220 V)


ที่พิกัดแรงดันไฟฟา และตัวประกอบกําลังไฟฟาของโหลดคือ 0.85 ลาหลัง ใหคํานวณหาแรงดัน
อินพุต กระแสอินพุต เปอรเซ็นตประสิทธิภาพ และเปอรเซ็นตโวลตเตจเรกกูเรชั่น
วิธีทํา
กําหนดใหทางดานแรงดันไฟฟาสูงเปQน V1 และแรงดันไฟฟาต่ําเปQน V2 หาพิกัดกระแส
ของภาระไดดังนี้
4, 000
I2 = = 18.2 A
220
1 18.2
I′2 = I2 = = 10 A
a 1.82

ในกรณีที่ตัวประกอบกําลังไฟฟาของโหลดเทากับ 0.85 ลาหลัง

θ = cos −1 0.85 = 31.8

กําหนดใหแรงดันไฟฟาที่ขั้วของโหลด ( V2 ) เปQนตัวอางอิง , V2 = 220∠0 จากการหาพิกัด


กระแสของโหลดขางตน จะได

I2 = 18.2∠ − 31.8 A
และ
I2′ = 10∠ − 31.8 A

หาคาแรงดันอินพุตไดจาก

V1 = V2′ + I′2 ( R eq, H + jX eq, H )

แทนคา จะได
V1 = 400∠0 + (10∠ − 31.8 ) (1.198 + j0.903)
= 400 + (10∠ − 31.8 )(1.5∠37 )
= 400 + (15∠5.2 )
= 400 + (14.94 + j1.36 )
= 415∠0.2 ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
114

หากระแสรวมของกระแสที่ทําใหเกิดความสูญเสียในแกนเหล็ก ( Ic ) และกระแสกระตุนที่ทํา
ใหเกิดเสนแรงแมเหล็กในแกนเหล็ก ( Im ) ไดจาก
Iφ = Ic + Im
V1 V
= + 1
R c jX m
415∠0.2 415∠0.2
= +
2, 024 1, 027∠90
= 0.205∠0.2 + 0.404∠ − 89.8
= ( 0.205 + j0.0007 ) + ( 0.0014 − j0.404 )
= 0.2064 − j0.4033 A
หากระแสอินพุตไดดังนี้
I1 = I′2 + I φ
= (10∠ − 31.8 ) + ( 0.2064 − j0.4033)
= (8.4989 − j5.2695) + ( 0.2064 − j0.4033)
= 8.70 − j5.67
= 10.38∠ − 33.1 A ตอบ
หาเปอรเซ็นตโวลตเตจเรกกูเรชั่น (% Voltage regulation)ไดดังนี้
V1 − V2′
% Vreg = ×100
V2′
415 − 400
= ×100
400
= 3.75 % ตอบ
หาเปอรเซ็นตประสิทธิภาพ (% Efficiency) ไดดังนี้
V2 I2 cos θ 2
% Efficiency = × 100
V1I1 cos θ1
220 ×18.2 × 0.85
= ×100
415 ×10.38 × 0.836
= 94.5 % ตอบ
***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
115

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผูสอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ และวิธีการทดสอบตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝ}กหัด
6. ใหงานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
- Mulukutla S. Sarma, Electric Machines, West Publishing Company, 1994.
- Vincent Del Toro, Basic Electric Machines, Prentice-Hall International, Inc.,
1990.
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill,
Inc.,1985.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝ}กหัดทายบทเรียน
2. ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเขาชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝ}กหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
116

แบบฝ_กหัด
1. ระบบไฟฟากําลังดังแสดงในรูปลาง มีเครื่องกําเนิด 1 เฟส มีแรงดันที่ขั้วจายไฟของเครื่อง
กําเนิด 220 โวลตตออยูกับหมอแปลง 1 เฟสแบบแปลงขึ้นที่มีอัตราสวน 1 : 10 โดยขดลวดทางดาน
ทุติยภูมิตอผานสายสงไฟฟามาที่หมอแปลงแบบแปลงลงที่มีอัตราสวน 20:1 โดยขดลวดทางดานทุติย
ภูมิของหมอแปลงตัวนี้ตอไปยังภาระที่มีคาอิมพีแดนซเทากับ 5∠20 Ω และคาอิมพีแดนซของสาย
สงเทากับ 5 + j10 Ω เมื่อเลือกคาฐานสําหรับระบบนี้ที่เครื่องกําเนิดเทากับ 220 V และ 2 kVA
จงหา
(ก) คาฐานของแรงดัน , กระแส , อิมพีแดนซ และกําลังไฟฟาปรากฏที่ทุกๆ จุดในระบบ
ไฟฟานี้
(ข) แปลงระบบไฟฟานี้ใหอยูในรูปวงจรสมมูลของคาตอหนวย
(ค) กําลังที่จายไปยังภาระในระบบไฟฟานี้
(ง) กําลังสูญเสียในสายสงไฟฟา
Iline 5Ω j10Ω Iload Zload = 5∠20 Ω
IG Zline
VG 220∠0 V

Region 1 Region 2 Region 3

2. ทําการทดสอบหมอแปลง 1 เฟส ขนาด 50 kVA , 2400 : 120 V , 50 Hz มีขอมูล


จากการทดสอบขณะเปuดวงจรและลัดวงจรดังนี้
Open circuit test , เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงดันไฟฟาต่ํา (220 V )
Voc = 120 V
Ioc = 9.65 A
Poc = 396 W

Short circuit test , เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงดันไฟฟาสูง (2400 V)


Vsc = 92 V
Isc = 20.8 A
Psc = 810 W
จงหาคาอิมพีแดนซของวงจรสมมูลที่ยายคามาอยูดานแรงดันไฟฟาต่ําและดานแรงดันไฟฟาสูง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง คาตอหนวย พิกัดของหมอไฟฟา และการทดสอบหมอแปลงไฟฟา
117

3. จากหมอแปลงในแบบฝ}กหัดขอที่ 2 เมื่อนําภาระมาตอทางดานแรงดันไฟฟาต่ํา (120


V) ที่พิกัดแรงดันไฟฟา และตัวประกอบกําลังไฟฟาของโหลดคือ 0.8 ลาหลัง ใหคํานวณหาแรงดัน
อินพุต กระแสอินพุต เปอรเซ็นตประสิทธิภาพ และเปอรเซ็นตโวลตเตจเรกกูเรชั่น
4. จงบอกพิกัดตางๆ ของหมอแปลงไฟฟาในการนําไปใชงานที่ควรคํานึงถึงวาประกอบดวย
พิกัดหลักๆ อะไรบางมาพอเขาใจ
5. จงบอกวิธีการหาขั้วของหมอแปลงไฟฟา 1 เฟสมาพอเขาใจ
6. จงบอกวิธีการทดสอบหมอแปลงไฟฟา 1 เฟสมาพอเขาใจ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
118

บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส


จุดประสงคการสอน
3.3 เขาใจเรื่องเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
3.3.1 อธิบายโครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
3.3.2 อธิบายการตอหมอแปลงไฟฟาสามเฟส
3.3.3 อธิบายการหาคาพารามิเตอรของหมอแปลงไฟฟาสามเฟส

3.3 หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
3.3.1 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
ระบบไฟฟา 3 เฟส ในแตละเฟสจะมีการเปลี่ยนแปลงเป5นสัญญาณรูปคลื่นซายนโดยมีขนาด
ของแรงดันไฟฟาเทากันทุกเฟส และมีมุมระหวางเฟสหางกันเทากับ 120 ดังนั้นหมอแปลงไฟฟาที่
ใชในระบบไฟฟา 3 เฟส จึงมีอัตราสวนระหวางขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิเทากันทุกเฟส และ
จะตองมีขดลวดทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิอยางนอยดานละ 3 ขด ซึ่งโครงสรางของหมอแปลง
ไฟฟาสามเฟสที่มีขดลวดดานปฐมภูมิและทุติยภูมิพันอยูบนแกนเหล็กแบบคอรแสดงดังรูปที่ 3.22

C c

B b

A a

รูปที่ 3.22 โครงสรางแกนเหล็กแบบคอรของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟสที่มีขดลวดดานปฐมภูมิและ


ทุติยภูมิพันอยูบนแกนเหล็ก

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
119

สวนโครงสรางของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟสที่มีขดลวดดานปฐมภูมิและทุติยภูมิพันอยูบนแกน
เหล็กแบบแบบเชลลแสดงดังรูปที่ 3.23

A a B b C c

รูปที่ 3.23 โครงสรางแกนเหล็กแบบเชลลของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟสที่มีขดลวดดานปฐมภูมิและ


ทุติยภูมิพันอยูบนแกนเหล็ก

โครงสรางของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ที่สรางจากหมอแปลงไฟฟา 1 เฟสไดโดยการนําหมอ


แปลงไฟฟา 1 เฟส จํานวน 3 ตัวที่มีพิกัดไฟฟาเหมือนกันนํามาตอแบบวาย-วาย (Y-Y) หรือตอแบบ
เดลตา-เดลตา (∆-∆) ตามรูปที่ 3.24

รูปที่ 3.24 โครงสรางของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ที่สรางจากหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส 3 ตัว


(ก) ตอแบบวาย-วาย (Y-Y) (ข) ตอแบบเดลตา-เดลตา (∆-∆)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
120

การทํางานของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟสเมื่อจายไฟฟากระแสสลับ 3 เฟส เขาขดลวด


ทางดานปฐมภูมิจะทําใหเกิดเสนแรงแมเหล็กไหลในแกนเหล็ก ซึ่งในสภาวะจายโหลดสมดุล จะทําให
เกิดเสนแรงแมเหล็กรวมกันเทากับศูนย โดยมีหลักการจากระบบไฟ 3 เฟสที่ปอนเขา ผลรวมของเสน
แรงแมเหล็กที่เกิดจากแตละเฟสจะเทากับศูนย (φA + φB +φC = 0) ดังแสดงในรูปที่ 3.25 ซึ่งจาก
รูปจะเป5นหมอแปลงไฟฟาที่มีแกนเหล็กเป5นแบบคอร โดยมีแกนเหล็กของทั้ง 3 เฟสรวมกันอยู ทําให
แกนกลางตามรูปที่ 3.25 ไมจําเป5นตองมี เมื่อพิจารณาจากโครงสรางของแกนแลวจะพบวาหมอแปลง
ไฟฟา 3 เฟสแบบคอรจะมีราคาถูกกวา และขนาดรวมของหมอแปลงจะเล็กกวา

φB φ A + φ B + φC
φC

φA

รูปที่ 3.25 การทํางานของหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ในสภาวะจายโหลดสมดุล

3.3.2 การต)อหมอแปลงไฟฟาสามเฟส
หมอแปลงไฟฟาที่ใชกับระบบไฟฟาสามเฟส อาจใชหมอแปลงเฟสเดียว 3 ตัว หรือหมอ
แปลงสามเฟสก็ตาม จะตองตอขดลวดแตละเฟสใหเป5นระบบไฟฟาสามเฟสทั้งสิ้น การตอขดลวดเขา
ดวยกันนี้ เรียกเป5นภาษาอังกฤษวา Transformer Connections หรือ Transformer Bank การตอ
หมอแปลงไฟฟาสามเฟสจะแบงไดเป5น 5 ลักษณะดังนี้
1) การตอแบบวาย-วาย (Y- Y)
2) การตอแบบเดลตา-เดลตา (∆-∆)
3) การตอแบบวาย-เดลตา (Y -∆)
4) การตอแบบเดลตา-วาย (∆-Y)
5) การตอแบบโอเพนเดลตา (V-V)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
121

1) การต)อแบบวาย-วาย (Wye-Wye Connection, Y- Y)


การตอแบบวาย-วาย (Y-Y) จะมีการตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟาทางดาน
ปฐมภูมิและทุติยภูมิดังรูปที่ 3.26
IL I′L

Vp′
VL′
VL′

VL′

รูปที่ 3.26 การตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟาทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเป5นแบบวาย-วาย

ตารางที่ 3.1 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟาระหวางสายของการตอหมอแปลงแบบ Y-Y

ทางดานขดลวดปฐมภูมิ ทางดานขดลวดทุติยภูมิ
VL = 3 × VP VL′ = 3 × VP′
IL = IP I′L = I′P

เมื่อ
VP คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
IP คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase
current”
IL คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”
VP′ คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL′ คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
I′P คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา“Phase
current”
I′L คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
122

2) การต)อแบบเดลตา-เดลตา (Delta- Delta Connection, ∆-∆)


การตอแบบเดลตา-เดลตา (∆-∆) จะมีการตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟา
ทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิดังรูปที่ 3.27

IL I′L
R x
Vp
H1
A a X1 V ′
H2 X2 p V ′
VL L

VL VL′
อินพุต S y เอาต์พุต
H1 X1
B b
H2 X2
VL อินพุต VL′

T z
H1 X
C c 1
H2 X2

รูปที่ 3.27 การตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟาทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเป5นแบบเดลตา-เดลตา

ตารางที่ 3.2 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟาระหวางสายของการตอหมอแปลงแบบ ∆-∆


ทางดานขดลวดปฐมภูมิ ทางดานขดลวดทุติยภูมิ
VL = VP VL′ = VP′
IL = 3 × IP I′L = 3 × I′P

เมื่อ
VP คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
IP คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase current”
IL คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”
VP′ คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL′ คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
I′P คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา“Phase current”
I′L คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
123

3) การต)อแบบวาย-เดลตา (Wye- Delta Connection, Y -∆)


การตอแบบวาย-เดลตา (Y -∆) จะมีการตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟาทางดาน
ปฐมภูมิและทุติยภูมิดังรูปที่ 3.28

IL I′L
R x
Vp
H1
A a X1 V ′
H2 X2 p V ′
VL L

VL VL′
อินพุต S H1 X1
y เอาต์พุต
B b
H2 X2
VL VL′

T z
H1 X1
C c
H2 X2
N

รูปที่ 3.28 การตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟาทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเป5นแบบวาย-เดลตา

ตารางที่ 3.3 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟาระหวางสายของการตอหมอแปลงแบบ Y -∆


ทางดานขดลวดปฐมภูมิ ทางดานขดลวดทุติยภูมิ
VL = 3 × VP VL′ = VP′
IL = IP I′L = 3 × I′P

เมื่อ
VP คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
IP คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase current”
IL คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”
VP′ คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL′ คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
I′P คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา“Phase current”
I′L คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
124

4) การต)อแบบเดลตา-วาย (Delta - Wye Connection, ∆ - Y)


การตอแบบเดลตา-วาย (∆ - Y) จะมีการตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟา
ทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิดังรูปที่ 3.29

IL I′L

Vp′
VL′
VL′

VL′

รูปที่ 3.29 การตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟาทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเป5นแบบเดลตา-วาย

ตารางที่ 3.4 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟาระหวางสายของการตอหมอแปลงแบบ ∆ - Y


ทางดานขดลวดปฐมภูมิ ทางดานขดลวดทุติยภูมิ
VL = VP VL′ = 3 × VP′
IL = 3 × IP I′L = I′P

เมื่อ
VP คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
IP คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase current”
IL คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”
VP′ คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL′ คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
I′P คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา“Phase current”
I′L คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
125

5) การต)อแบบโอเพนเดลตา (Open - Delta Connection, V - V)


การตอแบบโอเพนเดลตา (V-V) จะมี การตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟา
ทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิดังรูปที่ 3.30
IL I′L

Vp′V′
L
VL′

VL′

รูปที่ 3.30 การตอขดลวดของหมอแปลงไฟฟาทางดานปฐมภูมิและทุติยภูมิเป5นแบบโอเพนเดลตา

ตารางที่ 3.5 เปรียบเทียบแรงดันและกระแสไฟฟาระหวางสายของการตอหมอแปลงแบบ V-V


ทางดานขดลวดปฐมภูมิ ทางดานขดลวดทุติยภูมิ
VL = VP VL′ = VP′
IL = IP I′L = I′P

เมื่อ
VP คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
I P คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาขดลวดดานปฐมภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase current”
I L คือ กระแสไฟฟาที่ไหลเขาสายดานอินพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”
VP′ คือ แรงดันไฟฟาที่ขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา “Phase voltage”
VL′ คือ แรงดันไฟฟาระหวางสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line voltage”
I′P คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกขดลวดดานทุติยภูมิของแตละเฟส เรียกวา“Phase current”
I′L คือ กระแสไฟฟาที่ไหลออกสายดานเอาตพุตของหมอแปลง เรียกวา “Line current”

หมายเหตุ พิกัดกําลังไฟฟาของการตอหมอแปลงไฟฟาแบบโอเพนเดลตา (V-V) จะมีพิกัดกําลังไฟฟา


เป5น 58 เปอรเซ็นต ของการตอหมอแปลงไฟฟาแบบเดลตา-เดลตา (∆-∆)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
126

3.3.3 การหาค)าพารามิเตอรของหมอแปลงไฟฟาสามเฟส
หมอแปลงไฟฟาสามเฟสมีการทดสอบหาคาพารามิเตอรตางๆ คลายการทดสอบหมอ
แปลงไฟฟา 1 เฟส แตกตางกันที่การตอเครื่องมือวัด และการคํานวณหาคาตางๆ จะไมเหมือนกัน
โดยการตอเครื่องมือวัดและการคํานวณหาคาพารามิเตอรตางๆจะตองใชหลักการวิเคราะหในระบบ
วงจรไฟฟาแบบ 3 เฟส ซึ่งนักศึกษาไดผานการเรียนในรายวิชาวงจรไฟฟามาแลว ในที่นี้จึงขอ
ยกตัวอยางการทดสอบหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส ที่มีการทดสอบในสภาวะเปiดวงจรและลัดวงจรและวัด
คาแรงดันสาย กระแสในสาย กําลังไฟฟารวมทั้ง 3 สาย เพื่อหาคาพารามิเตอรของขดลวดทางดาน
ปฐมภูมิและทุติยภูมิในคาตอเฟส และหาคาแรงดันไฟฟาและกระแสไฟฟาทางดานปฐมภูมิเมื่อนําหมอ
แปลงไฟฟาสาม เฟสในตัวอยางนี้ไปตอใชงานจายโหลดตามตัวอยางนี้

ตัวอย)างที่ 3.6 หมอแปลงไฟฟาแบบ 3 เฟส ขนาด 12 kVA ; 60 Hz ; 480/120 V (Line-to line)


ตอแบบ ∆/Y โดยมีขอมูลทดสอบดังตอไปนี้
Short Circuit Test : เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงสูง H.V. (480 V)
VSC = 73 V (line to line)
ISC = 25 A
PSC = 940 W
Open Circuit Test : เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงต่ํา L.V. (120 V)
VOC = 120 V (line to line)
IOC = 1.71 A
POC = 72 W

เมื่อนําโหลดมาตอทางดานทุติยภูมิที่พิกัดศักดาไฟฟา (120 V) และพิกัดกําลังที่ตัว


ประกอบกําลังโหลด 0.8 ลาหลัง จงคํานวณหา
ก) แรงดันไฟฟาที่ปอนเขาทางดานปฐมภูมิ
ข) กระแสไฟฟาที่ปอนเขาทางดานปฐมภูมิ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
127

วิธีทํา

Short Circuit Test : ดานปฐมภูมิตอแบบเดลตา (∆)

VSC/ phase = 73V


25
ISC/phase = = 14.43 A
3
940
PSC/phase = = 313 W
3
VSC / phase
ZSC/ phase =
ISC / phase
73
= = 5.06 Ω / Phase
14.43
PSC /phase
R SC,H = R 1 + R ′2 =
(ISC /phase ) 2
940
= = 1.50 Ω / Phase
( 25)
2

(Z ) − (R )
2 2
XSC,H = X1 + X′2 = SC,H SC,H

= 5.062 − 1.52 = 4.83 Ω / Phase

Open Circuit Test : ดานทุติยภูมิตอแบบวาย (Y)

120
VOC/phase = = 69.28 V
3
IOC/phase = 1.71 A
72
POC/phase = = 24 W
3
 POC / phase 
= cos −1 
 (VOC / phase ). (IOC / phase ) 
θ OC
 
 72 
= cos −1  
 69.28 × 1.71 
= 52.6°

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
128

IC,L/ phase = IO,C cos θOC

= 1.71× cos 52.6°

= 1.04 A / Phase

I m,L/ phase = IO,C sin θOC

= 1.04 × sin 52.6°

= 0.83 A / Phase
VOC / Phase
R C,L =
IC,L
69.28
= = 66.6 Ω / Phase
1.04
VOC / Phase
X m,L =
I m, L
69.28
= = 83.5 Ω / Phase
0.83

V1/ Phase
จากอัตราสวนหมอแปลง (a) =
V2/ Phase
480 V
=
69.28 V
= 6.93
R C,H = a × R C,L
2

( 6.93)
2
= × 66.6 = 3,198 Ω / Phase
X m,H = a 2 × X m,L
( 6.93)
2
= × 83.5 = 4, 010 Ω / Phase
เมื่อจายโหลดที่พิกัดกําลัง
VA
I′L =
3 × (V / Phase)
12, 000 VA
=
3 × 480 V
= 8.33 A / Phase

θL = cos −1 ( 0.8 ) = 36.9°

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
129

กําหนดใหแรงดันเอาตพุต ( Vout ) เป5นตัวอางอิง ดังนั้นจะได

V2′ = ′
VOUT
= 480∠0° V / Phase
I′2 = I′L
= 8.33∠ − 36.9° A / Phase
VIN = V2′ + I′2 ( ZSC,H )
= 480∠0° + 8.33∠ − 36.9° (1.5 + j4.83)
= 480∠0° + 8.33∠ − 36.9° ( 5.06∠72.7° )
= 480∠0° + 42∠35.8°
= 480 + j0 + 34 + j25
= 514 + j25
= 515∠2.8°

(ก) คาแรงดันไฟฟาระหวางสายที่ปอนเขาดานปฐมภูมิมีคาเทากับแรงดันตอเฟส = 515 V ตอบ


(ข) คากระแสไฟฟาปอนเขาดานปฐมภูมิ
Ii/p = I2′ + Iφ

= I2′ + ( IC,H + Im,H )

 515∠2.8° 515∠2.8° 
= (8.33∠ − 36.9° ) +  + 
 3,198 j4, 010 
515∠2.8°
= ( 6.66 + j5 ) + ( 0.16∠2.8° ) +
j4, 010
= ( 6.66 + j5 ) + ( 0.16∠2.8° ) + ( 0.13∠ − 87.2° )
= ( 6.66 + j5 ) + ( 0.159 + j0.0078 ) + ( 0.0063 − j0.1298 )

= ( 6.82 + j4.878 )
= 8.385∠35.6° A / Phase

Ii/L = 3 × Ii/ p
= 3 × 8.385
= 14.5 A ตอบ
***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
130

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผูสอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝvกหัด
6. ใหงานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
- Vincent Del Toro, Basic Electric Machines, Prentice-Hall International, Inc.,
1990.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.
- สมพงษ ศรีลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องจักรกลไฟฟา 1 รหัสวิชา
2312305, กรุงเทพฯ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝvกหัดทายบทเรียน
2. ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเขาชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝvกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบสามเฟส
131

แบบฝYกหัด
1. จงอธิบายโครงสรางของหมอแปลงไฟฟาแบบ 3 เฟสมาพอเขาใจ
2. จงบอกการตอหมอแปลงไฟฟาแบบ 3 เฟส วาสามารถตอไดกี่แบบ อะไรบาง
3. จงเขียนวงจรการตอหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส ใหเป5นหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส แบบ ∆-Y
4. จงอธิบายการหาคาพารามิเตอรของหมอแปลงไฟฟาสามเฟสวามีวิธีการหาอยางไร
5. หมอแปลงไฟฟาแบบ 3 เฟส ขนาด 30 kVA ; 60 Hz ; 2400/240 V (Line-to line)
ตอแบบ ∆/Y โดยมีขอมูลทดสอบดังตอไปนี้
Short Circuit Test : เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงสูง H.V. (2400 V)
VSC = 70 V (line to line)
ISC = 18.8 A
PSC = 1050 W
Open Circuit Test : เครื่องมือวัดอยูทางดานแรงต่ํา L.V. (240 V)
VOC = 240 V (line to line)
IOC = 3.0 A
POC = 230 W
เมื่ อนํ าโหลดมาตอทางดานทุ ติ ยภู มิที่พิกัด ศั กดาไฟฟา (240 V) และพิ กัด กํ าลั งที่
ตัวประกอบกําลังโหลด 0.8 ลาหลัง จงคํานวณหา
ก) แรงดันไฟฟาที่ปอนเขาทางดานปฐมภูมิ
ข) กระแสไฟฟาที่ปอนเขาทางดานปฐมภูมิ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
132

บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต


จุดประสงคการสอน
3.4 เขาใจเรื่องเกี่ยวกับหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.4.1 อธิบายวงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.4.2 อธิบายพิกัดแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และกําลังไฟฟา
3.4.3 อธิบายขอดีและขอเสียของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต

3.4 หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
3.4.1 วงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
หมอแปลงไฟฟาแบบออโต เป7นหมอแปลงไฟฟาที่มีขดลวดทางดานปฐมภูมิกับทุติยภูมิ
ตอถึงกัน ซึ่งจะแยกขดลวดออกเป7น 2 ขด คือ ขดลวดชุดที่ 1 และชุดที่ 2 โดยมีจํานวนรอบของ
ขดลวดเทากับ N1 และ N2 ตามลําดับ ขดลวดชุดที่ 1 สวนใหญจะถูกเรียกวาขดลวดชุดอนุกรม
(Series coil) และขดลวดชุดที่ 2 จะถูกเรียกวาขดลวดชุดรวม (Common coil) ในการเปลี่ยนแปลง
แรงดันไฟฟาดานออกทําไดโดยการเลื่อนปรับแท็ป (Tap) ใหเคลื่อนที่ โดยอธิบายการทํางานของหมอ
แปลงไฟฟาแบบออโต 1 เฟสได 2 แบบ คือหมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟา
ลง และแบบแปลงแรงดันไฟฟาขึ้นไดดังนี้
3.4.1.1) หมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟาลง
เป7นหมอแปลงไฟฟาที่วงจรทางดานปฐมภูมิกับทางดานทุติยภูมิตอถึงกัน
แสดงตามรูปที่ 3.31
I1
+ a

N1 − N 2
V1 I2
N1 b
+
N2 V2

− c I
X −

รูปที่ 3.31 วงจรสมมูลหมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟาลง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
133

3.4.1.2) หมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟาขึ้น
เป7นหมอแปลงไฟฟาที่วงจรทางดานปฐมภูมิกับทางดานทุติยภูมิ
ตอถึงกันแสดงตามรูปที่ 3.32

I2
a +

N 2 − N1

I1 V2
N2
+ b

V1 N1
− IX −
c

รูปที่ 3.32 วงจรสมมูลหมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟาขึ้น

3.4.2 พิกัดแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และกําลังไฟฟา


จากวงจรสมมูลของหมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟาลงตาม
รูปที่ 3.31 แหลงจายไฟฟากระแสสลับจะตอเขาทางดานขั้วของ V1 และจะโหลดจะตอเขาทางดาน
V2 เมื่อไมพิจารณาความสูญเสียตางๆ จะหาอัตราสวนหมอแปลง ( a ) ไดดังนี้

V1 N1
= =a (3.68)
V2 N 2

V1 I2
= =a (3.69)
V2 I1

โดยถา a > 1 จะเป7นการทํางานของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต 1 เฟส แบบแปลงแรงดันไฟฟาลง


ดังนั้นคา N1 > N 2 จากสมการที่ (3.68) และ (3.69) ยายขางสมการจะได

V1I1 = V2 I 2 (3.70)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
134

จากรูปที่ 3.31 หากระแสที่ไหลในขดลวดชุดรวมไดจากสมการที่ (3.71)

I X = I2 − I1 (3.71)
จากทฤษฎีวงจรแมเหล็ก เมื่อใหแรงเคลื่อนแมเหล็กของขดลวดชุดอนุกรมและขดลวดชุดรวม
มีคาสมดุลกันจะได

N 2 I X = ( N1 − N 2 ) I1 (3.72)
หรือ
 N − N2  (3.73)
IX =  1  I1 = ( a − 1) I1 = I 2 − I1
 N2 

โดยที่
I1 =
I2 (3.74)
a

=
N2
I2 (3.75)
N1

หรือ
I2
=a (3.76)
I1

เมื่อ
N1 N C1 + NS1
a= = (3.77)
N2 N C1

ดังนั้น
I 2 N C1 + NS1 (3.78)
=
I1 N C1

เมื่อ
N C1 คือ จํานวนรอบของขดลวดชุดรวม เทากับ N 2
NS1 คือ จํานวนรอบของขดลวดชุดอนุกรม เทากับ N1 − N 2

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
135

ในทํานองเดียวกัน
V2 N C1
= (3.79)
V1 N C1 + NS1

กําลังไฟฟาปรากฏที่จายไปโหลด สามารถหาไดจากสมการที่ (3.80)

Sout = V2 I2 (3.80)
จากสมการที่ (3.71) จัดรูปใหมจะได

I 2 = I1 + I X = I1 + ( I2 − I1 ) (3.81)
แทนสมการที่ (3.81) ในสมการที่ (3.80) จะได

Sout = V2 I1 + V2 ( I 2 − I1 ) (3.82)
= Scond + Sind (3.83)
เมื่อ
คือ การสงผานกําลังไฟฟาไปยังโหลด (Conductively transferred power) โดยผาน
Scond
ทางขดลวดชุดรวม N 2 มีคาเทากับ V2 I1
Sind คื อ การสงผานกํ า ลั งไฟฟาจากการเหนี่ ย วนํ าไปยั งโหลด (Inductively transferred
power) โดยผานทางขดลวดชุดอนุกรม N1 − N 2 มีคาเทากับ V2 ( I2 − I1 )

โดย Scond และ Sind มีความสัมพันธกับ Sout ดังนี้


Sind I 2 − I1 a −1 (3.84)
= =
Sout I2 a
NS1
= (3.85)
N C1 + NS1
N1 − N 2
= (3.86)
N1
และ
Scond I1 1 N2
= = = (3.87)
Sout I2 a N1

เมื่อ a >1 หมอแปลงไฟฟาแบบออโต 1 เฟส จะเป7นแบบแปลงแรงดันไฟฟาลง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
136

แตถา a < 1 จะเป7นการทํางานของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต 1 เฟส แบบแปลง


แรงดันไฟฟาขึ้นดังรูปที่ 3.32 ดังนั้นคา N1 < N 2
ในการหาสมการตางๆ ของหมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟาขึ้นจะมี
วิธีคิดคลายกับการหาสมการตางๆ ของหมอแปลงไฟฟาแบบออโตทํางานแบบแปลงแรงดันไฟฟาลง
ดังนี้
I X = I2 − I1 (3.88)
ดังนั้น
I1 = I 2 − IX = I 2 − ( I2 − I1 ) = I 2 + ( I1 − I 2 ) (3.89)
Sin = V1I1 (3.90)
แทนสมการที่ (3.89) ลงในสมการที่ (3.90) จะได
Sin = V1I 2 + V1 ( I1 − I2 ) (3.91)
Sin = Scond + Sind (3.92)
เมื่อ
คือ การสงผานกําลังไฟฟาไปยังโหลด (Conductively transferred power) โดยผาน
Scond
ทางขดลวดชุดรวม N1 มีคาเทากับ V1I2
Sind คื อ การสงผานกํ า ลั งไฟฟาจากการเหนี่ ย วนํ าไปยั งโหลด (Inductively transferred
power โดยผานทางขดลวดชุดอนุกรม N 2 − N1 มีคาเทากับ V1 ( I1 − I2 )
โดย Scond และ Sind มีความสัมพันธกับ Sin ดังนี้
Sind I1 − I2 (3.93)
= = 1− a
Sin I1
และ
Scond I2
= =a (3.94)
Sin I1
เมื่อ
N C2
a = (3.95)
N C2 + NS2

เมื่อ a <1 หมอแปลงไฟฟาแบบออโต 1 เฟส จะเป7นแบบแปลงแรงดันไฟฟาขึ้น โดยที่


N C2 คือ จํานวนรอบของขดลวดชุดรวม เทากับ N1
NS2 คือ จํานวนรอบของขดลวดชุดอนุกรม เทากับ N 2 − N1
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
137

3.4.3 ขอดีและขอเสียของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต
การนําหมอแปลงแบบออโตไปใชงานเมื่อเปรียบเทียบกับหมอแปลงไฟฟาแบบพันแยก
ขดลวดก็จ ะมีขอดี คือ คารี แอกแตนซรั่ วไหลต่ํ า กวา กํ า ลังไฟฟาสู ญ เสี ย ต่ํา กวา ขนาดของกระแส
กระตุนมีคานอยกวา และราคาถูกกวา พิกัดกําลังไฟฟาดานออกสูงกวา เมื่อเทียบที่พิกัดกําลังไฟฟา
ของหมอแปลงเทากัน แตมีขอเสียที่เมื่อเกิดกระแสลัดวงจรทางดานใดดานหนึ่งของหมอแปลงไฟฟา
แบบออโตก็จะทําใหเกิดการรบกวนกันเป7นผลทําใหเกิดความเสียหายอีกดานหนึ่งของหมอแปลงไฟฟา
ได เพราะวาขดลวดพันเชื่อมตอถึงกันเป7นขดเดียวกัน

ตัวอย0างที่ 3.7 หมอแปลงไฟฟา 1 เฟส มี 2 ขดลวดแยกกัน ขนาด 100 kVA , 2400 / 240V นํามา
ตอเป7นหมอแปลงไฟฟาแบบออโตแบบแปลงลง ที่มีพิกัดแรงดันทางดานปฐมภูมิ 2640 V และพิกัด
แรงดนทางดานทุติยภูมิเทากับ 2400 V ใหคํานวณหาพิกัดกําลังทั้งทางดานเอาตพุต และกําลังไฟฟาที่
สงผานขดลวดชุดอนุกรมและชุดรวม
วิธีทํา
พิกัดกระแสไฟฟาของขดลวดที่ทางดานแรงดันไฟฟา 240 V คือ

100, 000 VA
I1 = = 416.67 A
240 V

พิกัดกระแสไฟฟาของขดลวดที่ทางดานแรงดันไฟฟา 2400 V คือ

100, 000 VA
IX = = 41.67 A
2, 400 V

หากระแสที่จายไปยังโหลดไดดังนี้

I 2 = I1 + I X

= 416.67 + 41.67
= 458.34 A

หรือหากระแสที่จายไปยังโหลดอีกวิธี โดยหาจากอัตราสวนหมอแปลงไดดังนี้
 2, 640 
a = 
 2, 400 
= 1.10

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
138

ดังนั้นจะไดกระแสที่จายไปยังโหลด
I 2 = aI1
 2, 640 V 
=  ( 416.67 A )
 2, 400 V 
= 458.34 A

พิกัด kVA ทางดานขาออก (Sout) ของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต หาไดจาก


Sout,Auto = V2 I 2
2, 400 V × 458.34 A
=
1, 000
= 1,100 kVA

ขอสังเกต หมอแปลงไฟฟาแบบขดลวดแยกกันมีอัตราพิกัดกําลัง 100 kVA เมื่อนํามาตอเป7นหมอ


แปลงไฟฟาแบบออโตจะหาจํานวนเทาของพิกัดกําลังไดดังนี้
Sout,Auto 1,100 kVA
= = 11
Sout,Two wing 100 kVA

ดังนั้นพิกัดกําลังของหมอแปลงไฟฟาเมื่อนําหมอแปลงแบบแยกขดมาตอเป7นหมอแปลงแบบ
ออโต จะทําใหมีพิกัดกําลังเพิ่มขึ้นเป7น 11 เทาของการตอเป7นหมอแปลงแบบแยกขด หาการสงผาน
กําลังไฟฟาจากการเหนี่ยวนําไปยังโหลด (Inductively transferred power) โดยผานทางขดลวดชุด
อนุกรมไดดังนี้
Sind = V2 ( I 2 − I1 )
= 2, 400 ( 458.34 − 416.67 )
= 100 kVA ตอบ

หรือหาอีกวิธี คือ
 a −1 
Sind =   s out ,Auto
 a 
 1.10 − 1 
=  × 1,100
 1.10 
= 100 kVA ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
139

หาการสงผานกําลังไฟฟาไปยังโหลด (Conductively Transferred Power) โดยผานทาง


ขดลวดชุดรวม
Sout,Auto
Scond =
a
1,100 kVA
=
1.10
= 1, 000 kVA ตอบ
***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
140

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผูสอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝjกหัด
6. ใหงานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
- Vincent Del Toro, Basic Electric Machines, Prentice-Hall International, Inc.,
1990.
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill,
Inc.,1985.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝjกหัดทายบทเรียน
2. ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเขาชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝjกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง หมอแปลงไฟฟาแบบออโต
141

แบบฝNกหัด
1. จงเขียนอธิบายวงจรสมูลของหมอแปลงไฟฟาแบบออโต 1 เฟส ชนิดแปลงขึ้น และ
แปลงลง
2. จงอธิบายพิกัดแรงดันไฟฟา กระแสไฟฟา และกําลังไฟฟาของหมอแปลงไฟฟาแบบ
ออโต 1 เฟส วาขึ้นอยูกับตัวแปรอะไรบาง
3. จงอธิบายขอดีและขอเสียของหมอแปลงไฟฟาแบบออโตมาพอสังเขป
4. หมอแปลงไฟฟา 1 เฟส มี 2 ขดลวดแยกกัน ขนาด 100 kVA ; 11,500 / 2300V
นํามาตอเป7นหมอแปลงไฟฟาแบบออโตแบบแปลงลง ที่มีพิกัดแรงดันทางดานปฐม
ภูมิ 13,800 V และพิกัดแรงดนทางดานทุติยภูมิเทากับ 11,500 V ใหคํานวณหา
พิกัดกําลังทั้งทางดานปฐมภูมิ และทางดานทุติยภูมิ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
142

บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดค"าทางไฟฟา และการขนาน


หมอแปลงไฟฟา
จุดประสงคการสอน
3.5 รูหลักการประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และรูหลักการขนาน
หมอแปลงไฟฟา
3.5.1 บอกวิธีใชหมอแปลงกระแสในการวัดคาทางไฟฟา
3.5.2 บอกวิธีใชหมอแปลงแรงดันในการวัดคาทางไฟฟา
3.5.3 บอกวิธีการขนานหมอแปลงไฟฟา

3.5 การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดค"าทางไฟฟา
หมอแปลงไฟฟานอกจากจะมีประโยชนทางดานการเพิ่มหรือลดแรงดันไฟฟาแลว ยังสามารถ
นํ า มาประยุ ก ตใชในงานทางดานการวั ด คาแรงดั น และกระแสไฟฟา เนื่ อ งจากหมอแปลง
ไฟฟามีคุณสมบัติทางดานขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิแยกจากกัน และคาของอัตราสวนหมอแปลง (a)
สามารถนํามาลดระดับแรงดันไฟฟาหรือลดขนาดกระแสไฟฟา เพื่อใหเหมาะสมกับเครื่องวัดและเกิด
ความปลอดภัยซึ่งมี 2 แบบหลัก ๆ คือ หมอแปลงกระแส (Current Transformer, C.T.) และหมอ
แปลงแรงดัน (Potential Transformer, P.T.)

3.5.1 หมอแปลงกระแสในการวัดค"าทางไฟฟา
หมอแปลงกระแส (Current Transformer, C.T.) เปQนอุปกรณที่ใชในการลดขนาด
กระแสไฟฟาใหลดลงมาอยูในชวงที่เหมาะสมกับเครื่องมือวัด โดยทางดานปฐมภูมิจะตออนุกรมกับ
วงจรที่ตองการวัด (ในทางปฏิบัติจะเปQนสายไฟรอยผานชองของ C.T.) สวนทางดานทุติยภูมิจะทํา
การลัดวงจรโดยผานแอมปTมิเตอร ซึ่งในการออกแบบ C.T. จะตองใหมีคุณสมบัติใกลเคียงกับอุดมคติ
เพื่อใหคาอิมพีแดนซที่ถูกยายมาตออนุกรมกับวงจรที่ตองการวัดมีคานอยมาก ๆ ใกลเคียงศูนย และ
กระแสที่ไหลในวงจรทางดานทุติยภูมิจะเปQนอัตราสวนเทากับผลคูณของอัตราสวนหมอแปลง (a) กับ
กระแสที่ไหลผานในขดลวดดานปฐมภูมิ นอกจากนี้ขอดีของ C.T. ในการที่จะนํามาใชเพื่อลดขนาด
กระแสแลว ยั ง ทํ าใหสะดวกและปลอดภั ย ในการวั ด รวมไปถึ งความสะดวกในการติ ด ตั้ งอุ ป กรณ
เครื่องมือวัดในตูควบคุมดวย โดยมีวงจรการตอใชงานของหมอแปลงกระแสในการวัดคากระแสไฟฟา
แบบตอขดลวดปฐมภูมิอนุกรมกับวงจรที่จะวัดคากระแสไฟฟาแสดงดังรูปที่ 3.33 (ก) และวงจรการ
ตอใชงานของหมอแปลงกระแสในการวัดคากระแสไฟฟาแบบไมตองตอขดลวดปฐมภูมิอนุกรมกับ
วงจรที่จะวัดคากระแสไฟฟา เพียงแตสอดหรือคลองผานแกนเหล็กของหมอแปลงกระแส (C.T.) ดัง
แสดงในรูปที่ 3.33 (ข)
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
143

A
A

รูปที่ 3.33 การตอหมอแปลงกระแสในการวัดคาทางไฟฟา


(ก) หมอแปลงกระแสแบบตอขดลวดปฐมภูมิอนุกรมกับวงจรที่จะวัดคากระแส
(ข) หมอแปลงกระแสแบบสอดหรือคลองสายผานแกนเหล็กของหมอแปลงกระแส

ยกตัวอยางหมอแปลงกระแสที่มีอัตราสวนหมอแปลงเปQน 100 : 1 เมื่อนําไปใชวัดกระแส


ที่มีคาสูงแลวแอมปTมิเตอรอานคาได 0.5 A แสดงวามีกระแสไหลทางดานปฐมภูมิของขดลวดที่ตอ
อนุกรมกับวงจรที่จะวัดคากระแส มีคาเทากับ 50 A เปQนตน

3.5.2 หมอแปลงแรงดันในการวัดค"าทางไฟฟา
หมอแปลงแรงดัน (Potential Transformer, P.T.) เปQนหมอแปลงไฟฟาที่ทําหนาที่ลด
แรงดั น ไฟฟากระแสสลั บ จากจุ ด ที่ ต องการวั ด ใหไปเปQ น คาแรงดั น ไฟฟาที่ เ หมาะสมกั บ เครื่ องวั ด
แรงดันไฟฟา เพื่อความปลอดภัยจากการวัดเนื่องจากแรงดันไฟฟาในจุดที่วัดมีคาสูงมาก ๆ และวงจร
ทางดานเครื่องมือวัดจะตองตออยูกับกราวดเพื่อปองกันกระแสรั่วจากทางดานแรงดันไฟฟาสูง ในการ
ปองกันการเบรกดาวนของแรงดันดานปฐมภูมิผานฉนวนทําความเสียหายใหขดลวดไหม หรือเพื่อ
ความปลอดภัยจากการถูกไฟฟาดูดของผูปฏิบัติงาน โดยสวนมากวัสดุที่ใชทําฉนวนทางดานขดลวด
ปฐมภูมิของหมอแปลงแรงดันจะทําจากน้ํามันหมอแปลง กระดาษชุบน้ํามันฉนวน เรซินสังเคราะห
เปQนตน โดยมีวงจรการตอใชงานของหมอแปลงแรงดันในการวัดคาแรงดันไฟฟาแบบตอขดลวดปฐม
ภูมิขนานกั บวงจรที่ จ ะวัด คาแรงดั นไฟฟาแสดงดั งรูป ที่ 3.34 โดยสวนใหญหมอแปลงแรงดัน จะมี
อัตราสวนหมอแปลงเปQน 10:1 , 20:1 , 100:1 , 120:1 เปQนตน

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
144

ขดลวดแรงสูง (พั นรอบมาก)


หม้ อแปลงแรงดั น
H1 X1

สายส่งแรงสูง V
H2 X2

ขดลวดแรงตํ า (พั นรอบน้อย)

รูปที่ 3.34 หมอแปลงแรงดันแบบตอขดลวดปฐมภูมิขนานกับวงจรที่จะวัดคาแรงดัน

ยกตัวอยางหมอแปลงแรงดันที่มีอัตราสวนหมอแปลงเปQน 100 : 1 เมื่อนําไปใชวัดแรงดันที่มี


คาสูงแลวโวลตมิเตอรอานคาได 120 V แสดงวามีแรงดันทางดานปฐมภูมิของขดลวดที่ตอขนานกับ
วงจรที่จะวัดคาแรงดัน มีคาเทากับ 12,000 V เปQนตน
ในการนําหมอแปลงกระแส และหมอแปลงแรงดันไปใชงานรวมกันในการวัดคากําลังไฟฟาใน
ระบบที่มีแรงดันสูง กระแสสูง จะมีวิธีการตอใชงานดังรูปที่ 3.35

รูปที่ 3.35 การประยุกตใชหมอแปลงกระแส และหมอแปลงแรงดันไปตอผานวัตตมิเตอร

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
145

ตัวอย"างที่ 3.8 เมื่อนําหมอแปลงแรงดันที่มีอัตราสวนหมอแปลงเปQน 100 : 1 และ หมอแปลง


กระแสที่มีอัตราสวนหมอแปลงเปQน 80 : 5 ไปใชงานโดยมีการตอวงจรดังรูปที่ 3.35 ถาแอมมิเตอร
โวลตมิเตอร และวัตตมิเตอร อาคาได 4 A, 110V และ 352 W ตามลําดับ จงหา
(ก) กระแสในสาย
(ข) แรงดันระหวางสาย
(ค) กําลังไฟฟาที่สงผานสายสงไปยังโหลด
วิธีทํา
(ก) จากโจทยระบุอัตราสวนหมอแปลงกระแสเปQน 80 : 5 เทากับ 16 : 1 เมื่ออาคาจาก
แอมมิเตอรได 4 A ดังนั้นกระแสที่สงผานสายสงไปยังโหลดมีคาเทากับ 64 A ตอบ
(ข) จากโจทยระบุอัตราสวนหมอแปลงแรงดันเปQน 100 : 1 เมื่ออาคาจากโวลตมิเตอรได
110 V ดังนั้นแรงดันระหวางสายสงมีคาเทากับ 110 × 100 = 11,000 V ตอบ

(ค) หากําลังไฟฟาที่สงผานสายสงไปยังโหลดไดดังนี้
กําลังที่แปลงจากกําลังจริงผานเครื่องวัดกระแส และแรงดันมีคาเทากับ

100 × 16 = 1,600 W

ดังนั้นหากําลังไฟฟาที่สงผานสายสงไปยังโหลดไดเทากับ

1,600 × 352 = 563.2 kW ตอบ

*******************************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
146

3.6 การขนานหมอแปลงไฟฟา และการปองกันหมอแปลงไฟฟา


3.6.1 การขนานหมอแปลงไฟฟา
การขนานหมอแปลงไฟฟาทําใหพิกัดกําลังไฟฟาของหมอแปลงเพิ่มขึ้น ทําใหจายโหลด
ไดเพิ่มขึ้น โดยในระบบจําหนายไฟฟาทั่วไปจะมีทั้งระบบไฟฟา 1 เฟส และระบบไฟฟา 3 เฟส ซึ่งใน
การการขนานหมอแปลงไฟฟาในระบบดังกลาวจะมี ขอพิจารณาในการขนานหมอแปลงไฟฟาเขา
ดวยกันแตกตางกันดังนี้
3.6.1.1 การขนานหมอแปลงไฟฟาในระบบ 1 เฟส
การขนานหมอแปลงไฟฟาในระบบ 1 เฟส สามารถทําไดโดยใชหมอแปลงตั้งแต
สองตัวขึ้นไปนํามาตอกันดังรูปที่ 3.36

รูปที่ 3.36 การตอขนานหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส สองตัวเขาดวยกัน


(ก) เครื่องหมายที่ขั้วหมอแปลงเปQนแบบแอดดิตีฟ โพลาริตี้
(ข) เครื่องหมายที่ขั้วหมอแปลงเปQนแบบซับแทรคตีฟ โพลาริตี้

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
147

ขอควรคํานึงถึงในการขนานหมอแปลงไฟฟาจํานวนสองตัว หรือมากกวาเขาดวยกัน มีดังนี้


1. พิกัดแรงดันไฟฟาของดานปฐมภูมิและทุติยภูมิของหมอแปลงไฟฟาทั้งสองตองเทากัน หรือ
อาจจะถือวามีอัตราสวนแรงดันของหมอแปลงเหมือนกัน
2. หมอแปลงไฟฟาทั้งสองตัวตองมีขั้วเหมือนกัน
3. คาเปอรเซ็นตอิมพีแดนซของหมอแปลงไฟฟา 1 เฟสทั้งสองควรมีคาเทากัน
4. การขนานหมอแปลงไฟฟาจะตองมีแรงดันทางดานทุติยภูมิของหมอแปลงไฟฟาทั้งสองตอง
อินเฟสกัน และลําดับเฟสของหมอแปลงทั้งสองตองเหมือนกัน
โดยในการพิจารณาถึงความสําคัญในแตละขอนั้น สิ่งสําคัญและจําเปQนที่สุดสําหรับการขนาน
หมอแปลงก็คือ ขอ 2 และขอ 4 สําหรับขอ 1 นั้นถามีคาใกลเคียงกันก็สามารถนํามาขนานกันได สวน
ขอ 3 นั้นถาหมอแปลงทั้งสองตัวมีเปอรเซ็นตอิมพีแดนซเทากันหรือใกลเคียงกันมากเทาใด ก็ยิ่งทําให
การแบงโหลดเปQนไปตามอัตราสวนของพิกัดกําลังไฟฟาปรากฏ (kVA) ของหมอแปลงไฟฟาแตละตัว
3.6.1.2 การขนานหมอแปลงไฟฟาในระบบ 3 เฟส
การขนานหมอแปลงไฟฟาในระบบ 1 เฟส สามารถทําไดโดยใชหมอแปลงตั้งแต
สองตัวขึ้นไปนํามาตอกันดังรูปที่ 3.37 โดยมีหลักเกณฑในการตอขนานหมอแปลงไฟฟาสามเฟส
ดังตอไปนี้
1. ลําดับเฟสทางดานขดลวดทุติยภูมิตองเหมือนกัน
2. แรงดันไฟฟาทางดานทุติยภูมิตองอินเฟสกัน
3. แรงดันไฟฟาทางดานทุติยภูมิตองเทากัน
4. คาเปอรเซ็น ตอิมพีแดนซของหมอแปลงไฟฟาสามเฟสแตละตัว ที่นํ า มาขนานกั นควรมี คา
เทากัน
ถาการขนานหมอแปลงไฟฟาสามเฟส ไมเปQนไปตามขอ 1 , 2 และ 3 จะทําใหเกิดการ
ลัดวงจรทางดานขดลวดทุติยภูมิ ถาการขนานกันไมเปQนไปตามขอ 4 การจายกําลังไฟฟาของหมอ
แปลงไฟฟาสามเฟสตัวใดตัวหนึ่ง จะเกิดสภาวะจายโหลดเกินพิกัดกําลังของหมอแปลงไฟฟาตัวที่มี
อิมพีแดนซต่ํากวาได

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
148

L1 L2 L3

L1′ L′2 L′3

รูปที่ 3.37 การตอขนานหมอแปลงไฟฟาสามเฟสสองตัวเขาดวยกันแบบวาย-วาย (Y-Y)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
149

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผูสอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผูสอนตั้งคําถามใหผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝjกหัด
6. ใหงานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
..
- Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Second Edition, Taylor
& Francis Group, LLC., 2012.
- Vincent Del Toro, Basic Electric Machines, Prentice-Hall International, Inc.,
1990.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝjกหัดทายบทเรียน
2. ศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟา
การวัดผล
1. พิจารณาการเขาชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเขารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝjกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 3 ทฤษฎีและการวิเคราะหหมอแปลงไฟฟาหนึ่งเฟสและสามเฟส
บทเรียน เรื่อง การประยุกตหมอแปลงไฟฟาไปใชในการวัดคาทางไฟฟา และการขนานหมอแปลงไฟฟา
150

แบบฝNกหัด
1. จงบอกวิธีการตอหมอแปลงกระแสในการวัดคากระแสสูงๆ ในวงจรที่ทําการวัด
2. จงบอกคากระแสไฟฟาจริงที่ไหลในวงจร เมื่อนําหมอแปลงกระแสที่มีอัตราสวนหมอ
แปลง 50 : 1 ไปใชวัดกระแสผานแอมปTมิเตอร โดยอานคาจากแอมปTมิเตอรได 0.5 A
3. จงบอกวิธีการตอหมอแปลงแรงดันในการวัดคาแรงดันไฟฟาสูงๆ ในวงจรที่ทําการวัด
4. จงบอกคาแรงดันไฟฟาจริงที่ไหลในวงจร เมื่อนําหมอแปลงกระแสที่มีอัตราสวนหมอ
แปลง 120 : 1 ไปใชวัดกระแสผานโวลตมิเตอร โดยอานคาจากโวลตมิเตอรได 20 V
5. เมื่อนําหมอแปลงแรงดันที่มีอัตราสวนหมอแปลงเปQน 120 : 1 และ หมอแปลงกระแสที่มี
อัตราสวนหมอแปลงเปQน 50 : 1 ไปใชงานโดยมีการตอวงจรดังรูปที่ 3.35 ถาแอมมิเตอร
โวลตมิเตอร และวัตตมิเตอร อาคาได 5 A, 100V และ 400 W ตามลําดับ จงหา
(ก) กระแสในสาย
(ข) แรงดันระหวางสาย
(ค) กําลังไฟฟาที่สงผานสายสงไปยังโหลด
6. จงบอกวิธีการขนานหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส จํานวน 2 ตัว เขาดวยกันในระบบไฟฟา
1 เฟส พรอมทั้งเขียนวงจรการตอขนานหมอแปลงไฟฟา 1 เฟส สองตัวเขาดวยกัน
ประกอบการอธิบายดวย
7. จงบอกวิธีการขนานหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส จํานวน 2 ตัว เขาดวยกันในระบบไฟฟา
3 เฟส พรอมทั้งเขียนวงจรการตอขนานหมอแปลงไฟฟา 3 เฟส สองตัวเขาดวยกัน
ประกอบการอธิบายดวย

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
151
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

หนวยที่ 4
หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน
เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
จุดประสงค#การสอน
4.1 รู"หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ-าชนิดหมุน เครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรง
4.1.1 บอกโครงสร"างและสวนประกอบของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรง
4.1.2 บอกหลักการทํางานของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรง
4.1.3 เขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนํา
4.1.4 เขียนสมการแรงบนตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก

4.1 หลักการเบื้องตนเกี่ยวกับเครื่องกลไฟฟ(ากระแสตรง
เครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงอาศัยหลักการของสนามแมเหล็กเป6นสําคัญในการทํางาน โดยการ
เปลี่ยนจากพลังงานกลเป6นพลังงานไฟฟ-าเรียกวา “เครื่องกําเนิดไฟฟ-ากระแสตรง” และถ"าเปลี่ยนจาก
พลังงานไฟฟ-าเป6นพลังงานกลเรียกวา “มอเตอร;ไฟฟ-ากระแสตรง” ซึ่งเครื่องกําเนิดไฟฟ-ากระแสตรงมี
ใช" งานกั นแพรหลายในอดี ต แตป>จ จุบั นได"มีการพลั งงานทางด" านอิเ ล็กทรอนิ กส; กํา ลังขึ้น มาทําให"
อุปกรณ;สวิตชิ่งมีการทนกระแสสูง ทนแรงดันสูง ทําให"เปลี่ยนไปใช"ระบบแปลงกระแสไฟฟ-าสลับเป6น
ไฟฟ-ากระแสตรงโดยผานวงจรเรกติไฟร;แล"วในป>จจุบัน สวนมอเตอร;ไฟฟ-ากระแสตรงในอดีตก็มีการใช"
งานกันมากเนื่องจากควบคุมความเร็วรอบที่เพลามอเตอร;ได"งาย ไมยุงยากซับซ"อนมากนักเทามอเตอร;
ไฟสลับ แตในป>จจุบันมีการนํามอเตอร;ไฟสลับเข"ามาทํางานแทนมอเตอร;ไฟตรงในงานอุตสาหกรรม
หรือการขับเคลื่อนทางราง เพราะวาได"มีการพัฒนาทางด"านอิเล็กทรอนิกส;กําลังขึ้นมาทําให"ราคาของ
อุ ป กรณ; ค วบคุ ม ความเร็ ว มอเตอร; ไ ฟสลั บ มี ร าคาเทากั น หรื อ ถู ก กวามอเตอร; ไ ฟตรง อี ก ทั้ ง คา
บํารุ งรักษามอเตอร;ไฟสลับ ก็มีราคาถู กกวามอเตอร;ไฟตรงถ" าเทียบที่ขนาดพิกัด กํา ลังเอาต;พุต ของ
มอเตอร;เทากัน แตในป>จจุบันมอเตอร;ไฟตรงก็ยังพอมีใช"งานกันบ"างในงานขับเคลื่อนของยานพาหนะ
ตางๆบนท"องถนนทั่วไป เชน รถจักรยานไฟฟ-า สกูตเตอร; รถยนต;ที่ชาร;ทด"วยไฟฟ-า หรือ ของเด็กเลน
เชน รถบังคับ เครื่องบินบังคับด"วยสัญญาณคลื่นตางๆเป6นต"น

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
152
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

4.1.1 โครงสรางและสวนประกอบของเครื่องกลไฟฟ(ากระแสตรง
โครงสร"างของเครื่องกลไฟฟ-าชนิดหมุนจะมีลักษณะเป6นแกนเหล็กรูปทรงกระบอกโดยมี
สวนประกอบหลักอยู 2 สวนคือ สวนที่อยูกับที่ เรียกวา “สเตเตอร; (Stator)” และสวนที่หมุน
เรียกวา “โรเตอร; (Rotor)” โดยทําให"เกิดชองวางระหวางสเตเตอร;กับโรเตอร;ที่มีระยะหางที่เทากัน
ซึ่งเรียกวา ชองวางอากาศ (Air gap) โดยเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงจะมีแปรงถาน (Brush) กับซี่คอม
มิวเตเตอร; (Commutator) ทํ าหน"าที่จัด เรียงกระแสจากไฟฟ-า กระแสสลั บในขดลวดอาเมเจอร;
(Armature coil) ให"เป6นไฟฟ-ากระแสตรงออกจากตัวเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงจึงทํางานเป6นเครื่อง
กํ า เนิ ด ไฟฟ- า กระแสตรง แตถ" า ป- อ นไฟตรงเข" า ที่ ขั้ ว อาเมเจอร; ที่ มี แ รงดั น ไฟฟ- า ที่ ขั้ ว สู ง กวา
แรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนํา ต"านกลับในอาเมเจอร;ของมอเตอร; ไฟตรง จะทําให"เ กิดกระแสไหลจาก
แหลงจายไฟตรงเข"าไปในมอเตอร;ไฟฟ-ากระแสตรงเกิดแรงบิดที่อาเมเจอร;ทําให"มอเตอร;ไฟตรงหมุน
ซึ่งสวนประกอบหลักตางๆ ของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงเมื่อมองภาพตัดด"านข"างแสดงดังรูปที่ 4.1

รูปที่ 4.1 สวนประกอบหลักตางๆ ของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงเมื่อมองภาพตัดด"านข"าง

ภาพตัดด"านหน"าของสวนประกอบตางๆ ของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงที่มีจํานวน 4 ขั้ว


แสดงดังรูปที่ 4.2 สวนขั้วแมเหล็กของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงที่มีการพันด"วยขดลวดแสดงดังรูปที่
4.3

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
153
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

S S

รูปที่ 4.2 สวนประกอบหลักตางๆ ของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงเมื่อมองภาพตัดด"านหน"า

รูปที่ 4.3 ขั้วแมเหล็กของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงที่มีการพันด"วยขดลวด

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
154
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

4.1.2 หลักการทํางานของเครื่องกลไฟฟ(ากระแสตรง
การทํางานของเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงพิจารณาโครงสร"างพื้นฐานดังรูปที่ 4.4 ซึ่ง
ประกอบด"วยสนามแมเหล็ก B ที่ได"จากขั้วแมเหล็ก 2 ขั้ว หรืออาจจะมากกวาก็ได"แตต"องมีลักษณะ
เป6นคูขั้วเสมอ (ขั้วเหนือและขั้วใต") และสวนลวดตัวนําซึ่งถูกดัดให"เป6นรูปทรงที่ประกอบไปด"วยด"าน 2
ด"านวางอยูในสนามแมเหล็ก B จากรูปกําหนดให"สวนของลวดตัวนําที่วางอยูภายใต"ขั้วแมเหล็กทั้งสอง
ขั้วเป6นลวดตัวนําความยาว l จํานวน 2 ชุด ซึ่งเมื่อขดลวดตัวนําทั้งสองวางอยูในลักษณะที่ตั้งฉากกับ
แนวสนามแมเหล็ก B เสมอ

B
I ωm
I
S N

F
+ eind

รูปที่ 4.4 โครงสร"างพื้นฐานเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรง

4.1.2.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ(ากระแสตรง
เครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงเมื่อทํางานเป6นเครื่องกําเนิดไฟฟ-า โดยการให"
พลั งงานกลกั บ ขดลวดในลั กษณะที่ ทํ าให" ข ดลวดหมุ น รอบตั ว เองในทิ ศ ทางตามเข็ ม นาฬิ ก า โดย
พิจารณาจากการเคลื่อนที่ของลวดตัวนําทั้งสองด"านดังรูปที่ 4.4 จะเห็นได"วาที่ตําแหนงนี้ลวดตัวนําที่
อยูภายใต"ขั้วเหนือ (N) จะเคลื่อนที่ตัดในแนวตั้งฉากกับสนามแมเหล็กในทิศทางพุงลง และลวดตัวนํา
ที่อยูภายใต"ขั้วใต" (S) จะเคลื่อนที่ตัดในแนวตั้งฉากกับสนามแมเหล็กในทิศทางพุงขึ้น ดังนั้นลวดตัวนํา
ทั้งสองจะเกิดคาแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนํามากที่สุด ซึ่งแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่ทั้งสอง
ด"านจะมีทิศทางที่ตรงกันข"ามกัน แตเนื่องจากเป6นลวดตัวนําเส"นเดียวกันจะทําให"คาแรงเคลื่อนไฟฟ-า
ทั้งสองนี้มีทิศทางที่เสริมกันในลวดตัวนํา เมื่อเส"นลวดตัวนํานี้ตอกับโหลดวงจรภายนอกจะทําให"เกิด
การไหลของกระแสไปยังโหลดจากปลายลวดตัวนําที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําเป6นขั้วบวกไปยัง
โหลดกลั บ คื น มายั ง อี ก ปลายหนึ่ ง ของตั ว นํ า ที่ มี แ รงเคลื่ อ นไฟฟ- า เหนี่ ย วนํ า เป6 น ขั้ ว ลบ ทํ า ให" จ าย
กําลังไฟฟ-าไปยังโหลดได"

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
155
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

เมื่ อเกิด กระแสไหลในลวดตั วนํ าจะทํ าให" เกิ ดแรงกระทํา ที่ต" านกั บแนวการเคลื่อนที่ ทําให"
ต"องการกําลังทางกลเพิ่มเข"ามา อยางไรก็ตามถ"าขดลวดไมครบวงจรไฟฟ-าก็จะไมเกิดกระแสไหลทําให"
ไมเกิดแรงกระทําต"าน จึงไมต"องการกําลังทางกลเพิ่มเข"ามา ดังนั้นกําลังทางกลที่ป-อนเข"ามาจะขึ้นอยู
กับกําลังไฟฟ-า หรือกระแสไฟฟ-าที่ต"องการจายไปยังโหลดภายนอก จะเห็นวาหลักการนี้เป6นการ
เปลี่ยนรูปพลังงานกลที่ใช"ในการหมุนขดลวดให"เคลื่อนที่ในแนวเชิงมุม ไปเป6นพลังงานไฟฟ-าเนื่องเกิด
แรงเคลื่ อ นไฟฟ- า เหนี่ ย วนํ า ขึ้ น เครื่ อ งกลไฟฟ- า นี้ จึ งทํ า งานเป6 น เครื่ องกํ า เนิ ด ไฟฟ- า โดยมี รู ป คลื่ น
แรงดั น ไฟฟ- า เป6 น รู ป คลื่ น ซายน; ซึ่ ง เป6 น ไฟสลั บ นั่ น เอง โดยจากรู ป ที่ 4.5 แสดงให" เ ห็ น วาคา
แรงเคลื่ อนไฟฟ- า เหนี่ย วนํา ที่เ กิ ดขึ้ นจะมี ขนาดเปลี่ย นแปลงไปตามการเคลื่อนที่ ของลวดตัว นํา ณ
ตําแหนงมุมองศา (θ) ตางๆ

180°
135° 225°
B
90° ωm 270°
S N
45°
315°

eind 360°

(ก)
eind

45° 135° 225° 315°


0 θ
90° 180° 270° 360°

(ข)
รูปที่ 4.5 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําในตัวนําที่เคลื่อนที่ในสนามแมเหล็ก
(ก) ลักษณะการหมุนของตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก
(ข) สัญญาณแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้น ณ ตําแหนงมุมองศาตางๆ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
156
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

เมื่อต"องการให"ได"สัญญาณแรงดันไฟฟ-ากระแสตรง เพื่อจายให"กับโหลดภายนอก จะสามารถ


กระทําได"โดยการเพิ่มสวนประกอบที่เรียกวา สวนวงแหวนแยก (Split-ring หรือ Commutator) และ
สวนแปรงถาน (Brush) ดังรูปที่ 4.6 (ก) จากรูปจะเห็นได"วาลวดตัวนําแตละตัวจะตออยูกับวงแหวน
แตละชิ้น และจะมีแปรงถานจํานวน 2 ชิ้นวางอยูกับที่ โครงสร"างลักษณะนี้เป6นการกําหนดให"แปรง
ถานแตละชิ้นจะเลือกสัมผัสเฉพาะวงแหวนที่กําหนดให"เทานั้น นั่นคือ แรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําที่ได"
จะมีทิศทางเดิมเสมอ โดยจะเห็นได"วาสัญญาณแรงดันไฟฟ-าที่ได"จากแปรงถานทั้งสองชิ้นจะมีลักษณะ
เป6นสัญญาณเพียงทิศทางเดียวดังรูปที่ 4.6 (ข) ในกรณีนี้แปรงถานด"านลางจะมีศักย;แรงดันไฟฟ-าสูง
กวาแปรงถานด"านบนเสมอ ทําให"ได"สัญญาณแรงดันไฟฟ-าที่มีลักษณะเป6นสัญญาณไฟฟ-ากระแสตรง
จากแปรงถานทั้งสองชิ้น


B N
S ωm
I

(ก)
eind

45° 135° 225° 315°


0 θ
90° 180° 270° 360°

(ข)
รูปที่ 4.6 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ-าในตัวนําเคลื่อนที่ในสนามแมเหล็กที่ตออยูกับวงแหวนผาซีก
(ก) ลักษณะการวางของแปรงถานบนซี่คอมมิวเตเตอร;
(ข) สัญญาณแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําที่ได"จากแปรงถานที่ตําแหนงมุมองศาตางๆ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
157
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

4.1.2.2 มอเตอร#ไฟฟ(ากระแสตรง
เมื่อเครื่องกลไฟฟ-ากระแสตรงทํางานเป6นมอเตอร;ไฟฟ-ากระแสตรง โดย
การป-อนไฟฟ-ากระแสตรงเข"าที่ขดลวดโดยผานแปรงถานและซี่คอมมิวเตเตอร; ดังรูปที่ 4.7 จะเห็นได"
วาตําแหนงนี้ลวดตัวนําที่อยูภายใต"ขั้วเหนือ (N) จะมีทิศทางของกระแสที่ตรงกันข"ามกับลวดตัวนําที่
อยูภายใต"ขั้วใต" (S) ดังนั้นลวดตัวนําทั้งสองจะเกิดแรงกระทําซึ่งจะมีทิศทางตรงกันข"าม โดยลวดตัวนํา
ด"านซ"ายมือจะมีทิศทางพุงขึ้น และด"านขวามือจะมีทิศทางพุงลง ทําให"ลวดตัวนําเกิดการเคลื่อนที่หมุน
ในทิศทางตามเข็มนาฬิกาทําให"เกิดกําลังทางกลได"ถ"าตอเชื่อมกับเพลาที่หมุนโดยมี แบริ่งลูกปaนชวย
ลดแรงเสียดทาน เมื่อลวดตัวนําเคลื่อนที่ตัดผานสนามแมเหล็กจะทําให"เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนํา
(eind) ขึ้นมามีทิศทางที่ตรงกันข"ามกับแหลงจายไฟภายนอก (VT) ทําให"ต"องการกําลังไฟฟ-าขึ้นมาตาม
กํ า ลั ง ทางกลที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ซึ่ ง จะเห็ น ได" ว าหลั ก การนี้ เ ป6 น การเปลี่ ย นรู ป พลั ง งานทางไฟฟ- า จาก
แรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําไปเป6นพลังงานทางกลซึ่งคือแรงกระทําที่ขดลวดของเครื่องกลไฟฟ-านี้จํา
ทํางานเป6นมอเตอร;


B ωm N
S
I

VT
+

รูปที่ 4.7 หลักการทํางานของมอเตอร;ไฟฟ-ากระแสตรง

ถ"ากําหนดไฟที่ป-อนเข"าแปรงถานด"านลางเป6นขั้วบวก และไฟเข"าแปรงถานด"านบนเป6นขั้วลบ
กระแสจากแหลงจายจะมีทิศทางไหลจากขั้วบวกผานลวดตัวนําไปยังขั้วลบเสมอ จะเห็นได"วาจาก
โครงสร"างของวงแหวนแยกและแปรงถานที่วางตามรูปที่ 4.7 นี้ จะทําให"ลวดตัวนําใดก็ตามที่เคลื่อนที่
มาอยูภายใต"ขั้วเหนือ (N) และขั้วใต" (S) จะต"องมีทิศทางเดิมเสมอ ทําให"แรงกระทําที่เกิดขึ้นจะมี
ทิศทางไมเปลี่ยนแปลงโดยขดลวดจะเกิดการหมุนในทิศทางเดิมเสมอ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
158
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

4.1.3 สมการแรงเคลื่อนไฟฟ(าเหนี่ยวนํา

+
××××××××× ×××××××××
××××××××× eind ×××××××××
××××××××× I Fmech
×××××××××
××××××××× ×××××××××
RL ××××××××× v
×××××××××
Felec
××××××××× ×××××××××
××××××××× ×××××××××
B
××××××××× ×××××××××

รูปที่ 4.8 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ-า

หลักการเบื้องต"นของการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ-า โดยนํา
แทงตัวนําไปวางในสนามแมเหล็กที่มีขนาด B เทสลา และตอสายไฟจากปลายแทงตัวนําทั้งสองไปยัง
ภาระทางไฟฟ-า (RL) จากนั้นทําการผลักแทงตัวนํา ( Fmech ) ให"เคลื่อนที่ด"วยความเร็ว ( v ) ดังรูปที่
4.8 โดยจากรู ป แทงตั ว นํ า ถู ก ทํ า ให" เ คลื่ อ นที่ ไ ปในทิ ศ ทางขวามื อ และตั้ ง ฉากกั บ ทิ ศ ทางของ
สนามแมเหล็ ก ( B ) ที่ พุ งเข" า หากระดาษ โดยหาแรงเคลื่ อ นไฟฟ- า เหนี่ ย วนํ า ( eind ) ได" จ าก
สมการที่ (4.1)
eind = l.v ⊗ B (4.1)

เมื่อ
eind คือ เวกเตอร;ของแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนํา มีหนวยเป6นโวลต; (V)
l คือ ความยาวของแทงตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก มีหนวยเป6นเมตร (m)
v คือ เวกเตอร;ของความเร็วที่แทงตัวนําเคลื่อนที่ มีหนวยเป6นเมตรตอวินาที (m/s)
B คือ เวกเตอร;ของสนามแมเหล็ก มีหนวยเป6นเทสลา (T)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
159
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

ถ"าระบบการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟ-ากระแสตรงไมมีการสูญเสียจะได"

Pinput = Fmech × v (4.2)


= Felec × v = ( I.l.B ) × v (4.3)
= I ( l.v.B ) × = I × eind (4.4)
Pinput = Poutput (4.5)

เมื่อ
Pinput คือ กําลังไฟฟ-าที่ป-อนเข"า มีหนวยเป6นวัตต; (W)
Fmech คือ แรงที่ป-อนภาระทางกล มีหนวยเป6นนิวตัน (N)
Felec คือ แรงบนตัวนําที่เกิดจากสนามแมเหล็ก มีหนวยเป6นนิวตัน (N)
Poutput คือ กําลังไฟฟ-าด"านออก มีหนวยเป6นวัตต; (W)

4.1.4 สมการแรงบนตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก
I

+
××××××××× ×××××××××
××××××××× ×××××××××
××××××××× v
×××××××××
VT ××××××××× ×××××××××
Fmech
××××××××× Felec
×××××××××
××××××××× ×××××××××
××××××××× I ×××××××××
B
××××××××× ×××××××××

รูปที่ 4.9 การเกิดแรงบนตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็กในมอเตอร;ไฟฟ-า

หลักการเบื้องต"นของการเกิดแรงบนตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็กในมอเตอร;ไฟฟ-า
โดยนําแทงตัวนําไปวางในสนามแมเหล็กที่มีขนาด B เทสลา และตอสายไฟจากปลายแทงตัวนําทั้ง
สองไปยังแหลงจายไฟฟ-ากระแสตรง ( VT ) ดังรูปที่ 4.9 โดยจากรูปเมื่อป-อนไฟฟ-ากระแสตรงเข"าไปจะ
ทําให"เกิดแรงบนตัวนํา ( Felec ) ทําให"แทงตัวนําเคลื่อนที่ไปทางขวามือด"วยความเร็ว ( v ) โดยหาแรงบน
ตัวนําที่มีกระแสไหลผาน ( I ) และวางอยูในสนามแมเหล็กได"จากสมการที่ (4.6)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
160
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

Felec = I.l ⊗ B (4.6)

เมื่อ
Felec คือ เวกเตอร;ของแรงบนตัวนําที่เกิดจากสนามแมเหล็ก มีหนวยเป6นนิวตัน (N)
I คือ เวกเตอร;ของกระแสที่ไหลผานแทงตัวนํา มีหนวยเป6นแอมแปร; (A)
l คือ ความยาวของแทงตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็ก มีหนวยเป6นเมตร (m)
B คือ เวกเตอร;ของสนามแมเหล็ก มีหนวยเป6นเทสลา (T)

ในกรณีเครื่องกลไฟฟ-าทํางานเป6นมอเตอร; ระบบการทํางานจะสมดุลเมื่อ

Felec = Fmech (4.7)

เมื่อ
Felec คือ แรงบนตัวนําที่เกิดจากสนามแมเหล็ก มีหนวยเป6นนิวตัน (N)
Fmech คือ แรงที่ป-อนภาระทางกล มีหนวยเป6นนิวตัน (N)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
161
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู"สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู"สอนตั้งคําถามให"ผู"เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝkกหัด
6. ให"งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
- Vincent Del Toro, Basic Electric Machines, Prentice-Hall International, Inc.,
1990.
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill,
Inc.,1985.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟ(า 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล"าเจ"า
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- สมพงษ; ศรีลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องจักรกลไฟฟ(า 1 รหัสวิชา
2312305, กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ(า 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร; และคอมพิวเตอร;
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝkกหัดท"ายบทเรียน
2. ศึกษาค"นคว"าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ-า
การวัดผล
1. พิจารณาการเข"าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข"ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝkกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
162
บทเรียน เรื่อง หลักการเบื้องต"นเกี่ยวกับ

แบบฝQกหัด
1. จากรูปจงบอกสวนประกอบตางๆ ตามหมายเลขที่ระบุในภาพตั้งแตเลข (1) ถึง (9)

(3) (1)
(4) (7)
(2)
(8)
(5)
(6)

(9)
2. จงบอกหลักการทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟ-ากระแสตรงมาพอเข"าใจ
3. จงบอกหลักการทํางานของมอเตอร;ไฟฟ-ากระแสตรงมาพอเข"าใจ
4. จงเขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟ-าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่แทงตัวนําตามรูป
I

+
××××××××× ×××××××××
××××××××× eind ×××××××××
××××××××× I Fmech
×××××××××
××××××××× ×××××××××
RL ××××××××× v
×××××××××
Felec
××××××××× ×××××××××
××××××××× ×××××××××
B
××××××××× ×××××××××

5. จงเขียนสมการแรงบนตัวนําที่มีกระแสไฟฟ-าไหลผานวางอยูในสนามแมเหล็กตามรูป
I

+
××××××××× ×××××××××
××××××××× ×××××××××
××××××××× v
×××××××××
VT ××××××××× ×××××××××
Fmech
××××××××× Felec
×××××××××
××××××××× ×××××××××
××××××××× I ×××××××××
B
××××××××× ×××××××××

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ-า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
163

บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง


จุดประสงคการสอน
4.2 เข/าใจเรื่องเกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
4.2.1 อธิบายชนิดของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
4.2.2 อธิบายการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ$า
4.2.3 อธิบายสมการแรงดันไฟฟ$าในเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงชนิดตางๆ
4.2.4 อธิบายการสูญเสียและประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
4.2.5 อธิบายคุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
4.2.6 อธิบายการขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง

4.2 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงทําหน/าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป:นพลังงานไฟฟ$า เชน ไดนาโม
เป:นต/น
4.2.1 ชนิดของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบงตามการกระตุ/นสนามแมเหล็ก ออกเป:น 2 แบบคือ
4.2.1.1 แบบกระตุ/นสนามแมเหล็กจากภายนอก เป:นเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
แบบขดลวดสนามแมเหล็กถูกกระตุ/นจากแหลงจายไฟฟ$ากระแสตรงภายนอกที่
ไมใชแหลงจายไฟฟ$ากระแสตรงที่ป$อนวงจรอาร=เมเจอร=
4.2.1.2 แบบกระตุ/นสนามแมเหล็กจากภายใน เป:นเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบ
ขดลวดสนามแมเหล็กถูกกระตุ/นจากแหลงจายไฟฟ$ากระแสตรงที่เป:นแหลงจาย
เดียวกับแหลงจายไฟฟ$ากระแสตรงที่ป$อนวงจรอาร=เมเจอร=
โดยแบงตามลั ก ษณะการตอขดลวดกระตุ/ น สนามแมเหล็ ก กั บ อาร= เ มเจอร=
ออกเป:น 3 แบบ คือ
1) เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท=
2) เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบซีรีส=
3) เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบคอมปาวด= แบงออกได/เป:น 2 แบบคือ
3.1) แบบชAอตชั้นท=คอมปาวด=
3.2) แบบลองชั้นท=คอมปาวด=

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
164

4.2.2 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟา
การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดสามารถอธิบายได/จากรูปที่ 4.10 ดังนี้

la

eind
Nr
S ra N la
φp eind

รูปที่ 4.10 โครงสร/างของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง

เมื่อให/ความเร็วของแทงตัวนําที่เคลื่อนตัวในแนวสัมผัสของวงกลมจากรูปคือ

v=
N r × 2πra (4.8)
60

เมื่อกําหนดให/
v คือ ความเร็วของแทงตัวนําที่เคลื่อนตัวในแนวสัมผัสของวงกลม มีหนวยเป:นเมตรตอ
วินาที (m/s)
N r คือ ความเร็วรอบของตัวหมุน มีหนวยเป:นรอบตอนาที (rpm)
ra คือ รัศมีของอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นเมตร (m)

ในการหาคาความหนาแนนของสนามแมเหล็กโดยเฉลี่ย ( Bav ) ของแตละขั้วแมเหล็ก จะหา


ได/จากคาเฉลี่ยของเส/นแรงแมเหล็กในแตละขั้ว ( φp ) หารด/วยพื้นที่ของหน/าขั้วแมเหล็ก ซึ่งหาได/จาก
พื้นผิวของอาเมเจอร= ( 2πra la ) หารด/วยจํานวนของขั้วแมเหล็ก(P) จะเขียนได/ดังสมการที่ (4.9)

Bave =
φp .P (4.9)
2πra la

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
165

เมื่อกําหนดให/
Bave คือ ความหนาแนนของสนามแมเหล็กโดยเฉลี่ย มีหนวยเป:นเทสลา (T)
φp คือ คาเฉลี่ยของเส/นแรงแมเหล็กในแตละขั้ว มีหนวยเป:นเวเบอร= (Wb)
P คือ จํานวนของขั้วแมเหล็ก มีหนวยเป:นขั้ว (Pole)
la คือ ความยาวของแทงตัวนําที่วางอยูในสนามแมเหล็กตามแนวแกนของอาร=เมเจอร=
มีหนวยเป:นเมตร (m)

จากรูปที่ 4.10 เมื่อให/ทิศทางการเคลื่อนที่ของแทงตัวนําตั้งฉากกับทิศทางของสนามแมเหล็ก


ดังนั้นหาคาแรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในแตละแทงตัวนํา (eind) ได/จากสมการที่ (4.10) ดังนี้

eind = v.la .Bave (4.10)

แทนคาสมการที่ (4.8) และ (4.9) ลงในสมการที่ (4.10) จะได/

 2πra   φp P  (4.11)
eind =  N r la  
 60   2πra la 

 N Pφ 
= r p  (4.12)
 60 

 N r Pφ p 
ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ$าตอแทงตัวนํามีคาเทากับ   โวลต=
 60 

การพันขดลวดอาเมเจอร=จะทําให/ทราบถึงจํานวนแทงตัวนําทั้งหมดในอาเมเจอร= ( Za ) และ
จํานวนวงจรขนาน ( a ) ทําให/สามารถหาจํานวนแทงตัวนําที่ตออนุกรมกันได/ดังสมการที่ (4.13)

Za
จํานวนแทงตัวนําที่ตออนุกรม = (4.13)
a

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
166

ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดอาเมเจอร= ( E a ) จะหาได/จาก

Z 
E a = eind  a  (4.14)
 a 

แทนสมการ (4.12) ลงในสมการ (4.14) จะหาแรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวด


อาเมเจอร=ได/จากสมการที่ (4.15) และสมการที่ (4.16)

 N Pφ   Z 
Ea =  r p   a  (4.15)
 60   a 

 Pφ Z N 
=  p a r (4.16)
 60a 

เมื่อกําหนดให/ความเร็วเชิงมุมที่เพลาของตัวหมุนหาได/จาก

2πN r
ωr = (4.17)
60

แทนสมการ (4.17) ลงในสมการ (4.16) จะหาแรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวด


อาเมเจอร= ( E a ) ได/จากสมการที่ (4.18)

 Pφ Z ω 
Ea =  p a r  (4.18)
 2πa 

เมื่อ
Ea คือ แรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดอาเมเจอร= มีหนวยเป:นโวลต= (V)
Za คือ จํานวนตัวนําทั้งหมดของอาร=เมเจอร= เทากับจํานวนสล็อตคูณจํานวนตัวนําตอสล็อต
ωr คือ ความเร็วรอบเชิงมุมของตัวหมุน มีหนวยเป:นเรเดียลตอวินาที (rad/sec)
a คือ จํานวนทางขนาน กรณีพันแบบแลป จํานวนทางขนานเทากับจํานวนขั้ว (P)
กรณีพันแบบเวฟ จํานวนทางขนานเทากับสอง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
167

4.2.3 สมการแรงดันไฟฟาในเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงชนิดต-างๆ
เมื่อกําหนดให/ไมพิจารณาแรงดันตกครอมแปรงถาน หาสมการแรงดันไฟฟ$าในเครื่อง
กําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงชนิดตางๆ ได/ดังนี้
4.2.3.1 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแม-เหล็กจากภายนอก
Ia Ra IL

If

VF Rf Ea VT RL

ωm
Tp
Te

รูปที่ 4.11 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแมเหล็กจากภายนอก

สมการแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแมเหล็กจาก
ภายนอกเขียนได/ดังนี้

VT = E a − ( Ia R a ) (4.19)
เมื่อ
VT คือ แรงเคลื่อนไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:นโวลต= (V)
Ea คือ แรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นโวลต= (V)
Ia คือ กระแสไฟฟ$าที่ไหลในวงจรอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นแอมป\ (A)
Ra คือ ความต/านทานของขดลวดอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นโอห=ม (Ω)

โดย
Ia = I L (4.20)
เมื่อ
IL คือ กระแสไฟฟ$าที่ไหลไปยังโหลดทางไฟฟ$า มีหนวยเป:นแอมป\ (A)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
168

หรือหาสมการแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแมเหล็ก
จากภายนอกได/ดังนี้

VT = I L R L (4.21)
เมื่อ
VT คือ แรงเคลื่อนไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:นโวลต= (V)
RL คือ ความต/านทานของโหลด มีหนวยเป:นโอห=ม (Ω)
จากรูปที่ 4.11 แรงบิดทางไฟฟ$า ( Te ) จะมีทิศสวนทางกับแรงบิดทางกลที่ฉุดเพลาโรเตอร=
ของเครื่องกําเนิดให/เคลื่อนที่ ( Tp ) โดยหาได/จากสมการที่ (4.22)

Te = K T φp Ia (4.22)
เมื่อ
Te คือ แรงบิดทางไฟฟ$าของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:นนิวตันเมตร (Nm)
KT คือ คาคงที่ของเครื่องกําเนิด
และในกรณีที่ความสัมพันธ=ระหวาง If กับ φP เป:นลักษณะเชิงเส/น จะได/

Te = KIf Ia (4.23)
เมื่อ
K คือ คาคงที่ของเครื่องกําเนิดที่ได/จาก KT × Kf เมื่อ φP = K f I a

จากสมการความเร็ ว เชิ งมุ มการหมุ น ที่ เ พลาโรเตอร= ของเครื่ องกํ า เนิ ด ωr = ( 2πN r / 60 )
สามารถหากําลังทางกลที่แปลงรูปไปเป:นกําลังทางไฟฟ$า ( Pconv,e ) ได/ดังนี้

Pconv,e = Te ωm = E a Ia (4.24)
เมื่อ
Pconv,e คือ กําลังทางกลที่แปลงรูปไปเป:นกําลังทางไฟฟ$า มีหนวยเป:นวัตต= (W)
ωm คือ ความเร็วเชิงมุมของการหมุนที่เพลาโรเตอร=ของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:นเรเดียล
ตอวินาที (rad/sec)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
169

4.2.3.2 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแม-เหล็กจากภายใน
1) เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบชั้นท
Ia Ra IL

If

Ea R sh VT RL

ωm
Tp
Te

รูปที่ 4.12 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท=

สมการแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท= เขียนได/ดังนี้

VT = E a − ( Ia R a ) (4.25)

VT = I f R sh = I L R L (4.26)
โดย
Ia = I L + If (4.27)
เมื่อ
If คือ กระแสไฟฟ$าที่ไหลในขดลวดสนามแมเหล็ก (Shunt field) มีหนวยเป:นแอมป\ (A)

จากรูปที่ 4.12 จะเห็นได/วาแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดจะจายไฟให/กับขดลวดสร/าง


สนามแมเหล็ก (Shunt field) ที่ตอขนานกับวงจรอาร=เมเจอร= หากแรงดันที่ขั้วของเครื่องกําเนิดตกลง
ขณะจายโหลดก็จะทําให/แรงดันที่ป$อนเข/าขดลวดสร/างสนามแมเหล็กแบบชั้นท=มีคาลดลงไปด/วย แต
เครื่องกําเนิดแบบนี้มีข/อดีกวาเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแมเหล็กจากภายนอก
ตรงที่ไมต/องมีแหลงจายไฟภายนอกมาจายไฟให/กับขดลวดสร/างสนามแมเหล็ก

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
170

กําลังไฟฟ$าทางกลที่ป$อนเข/า ( PP ) หาได/จากสมการที่ (4.28)

PP = TP ωm (4.28)
PP = ( Te + Tmech,loss ) ωm (4.29)

เมื่อ
PP คือ กําลังไฟฟ$าทางกลที่ป$อนเข/า มีหนวยเป:นวัตต= (W)
TP คือ แรงบิดทางกลที่ฉุดเพลาโรเตอร=เครื่องกําเนิดให/หมุน มีหนวยเป:นนิวตันเมตร (Nm)
Tmech,loss คือ แรงบิดสูญเสียทางกลของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:นนิวตันเมตร (Nm)

เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท= เมื่อเกิดการลัดวงจรที่ขั้วจายไฟของเครื่องกําเนิด จะ
ทําให/กระแสอาร=เมเจอร= (Ia) มีคาไมสูงมากพอที่จะทําให/เกิดอันตรายแกเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
แบบนี้ เพราะจะทําให/แรงดันไฟตรงที่ป$อนเข/าขดลวดสร/างสนามแมเหล็กแบบชั้นท=มีคาลดลงทําให/
กระแสไหลเข/าขดลวดชั้นท=น/อยมากจึงทําให/แรงดันไฟตรงที่เข/ามีคาลดลงไปด/วย จึงไมทําให/เกิด
อันตรายตอเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบนี้

2) เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบซีรีส
Ia Ra R se IL

Ea VT RL

ωm
Tp
Te

รูปที่ 4.13 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบซีรีส=

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
171

สมการแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบซีรีส=เขียนได/ดังนี้

VT = E a − Ia ( R a + R se ) (4.30)
โดย
Ia = I L (4.31)
เมื่อ
R se คือ ความต/านทานของขดลวดซีรีส= มีหนวยเป:นโอห=ม (Ω)

จากรูปที่ 4.13 จะเห็นได/วากระแสที่ไหลผานขดลวดสร/างสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลงตาม


โหลดทางไฟฟ$า โดยถ/าโหลดเพิ่มขึ้นจะทําให/เส/นแรงแมเหล็กตอขั้วเพิ่มขึ้นด/วย จนกระทั่งถึงจุดที่
แกนเหล็กของขั้วแมเหล็กเกิดการอิ่มตัว ซึ่งมีผลทําให/แรงเคลื่อนไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟ$า
กระแสตรงแบบซีรีส=มีคาตกลง

3) เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบคอมปาวด
เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบคอมปาวด= แบงออกเป:นเครื่องกําเนิด
ไฟฟ$ากระแสตรงแบบชAอตชั้นท=คอมปาวด= และเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นท=คอมปาวด=
3.1) เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบช5อตชั้นทคอมปาวด
Ia Ra R se IL

If

Ea R sh VT RL

ωm
Tp
Te

รูปที่ 4.14 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชAอตชั้นท=คอมปาวด=

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
172

กําหนดให/เครื่องหมายจุด (•) ที่ขดลวดทั้งสองขดเป:นการกําหนดทิศทางการไหลของกระแส


เข/าขดลวด ดังนั้นสมการแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชAอตชั้นท=คอม
ปาวด=เขียนได/ดังนี้

VT = E a − Ia R a − IL R se (4.32)
โดย
E a − Ia R a = If R sh (4.33)

Ia = I L + If (4.34)

จากรู ป ที่ 4.14 จะสั งเกตเห็ น ได/ ว าเครื่ องกํ า เนิ ด แบบนี้ เ ป: น การตอสนามแมเหล็ ก ทั้ งสอง
ขดลวดเสริมกัน ซึ่งมีผลชวยในการลดแรงดันตกในขณะที่เครื่องกําเนิดทํางานจายโหลดทางไฟฟ$า
(Voltage Regulation)

3.2) เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด
Ia Ra R se IL

If

Ea R sh VT RL

ωm
Tp
Te

รูปที่ 4.15 วงจรสมมูลของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นท=คอมปาวด=

กําหนดให/เครื่องหมายจุด (•) ที่ขดลวดทั้งสองขดเป:นการกําหนดทิศทางการไหลของกระแส


เข/าขดลวด ดังนั้นสมการแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นท=คอม
ปาวด=เขียนได/ดังนี้

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
173

VT = E a − Ia ( R a + R se ) (4.35)
หรือ
VT = If R sh (4.36)
โดย
Ia = I L + If (4.37)
4.2.4 การสูญเสียและประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
4.2.4.1 การสูญเสียในเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
การสูญเสียในเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง ประกอบด/วย
1) การสูญเสียในแกนเหล็ก (Iron losses หรือ Core loss , Pcore) แบง
ออกเป:น 2 ชนิด คือ
1.1) การสูญเสียเนื่องจากฮีสเตอร=ริซีส (Hysteresis loss , Ph)
1.2) การสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน (Eddy current loss , Pe)
2) การสูญเสียในลวดทองแดง (Copper loss หรือ Cu. Loss , Pcu) แบง
ออกเป:น
2.1) การสูญเสียในลวดทองแดงที่อาร=เมเจอร= (Armature copper loss)
หาได/จาก Ia2Ra
2.2) การสูญเสียในลวดทองแดงที่ขดลวดชั้นท= (Shunt-filed loss)
หาได/จาก Ish2Rsh
2.3) การสูญเสียในลวดทองแดงที่ขดลวดซีรีส= (Series-filed loss)
หาได/จาก Ise2Rse
3) การสูญเสียทางกล ( Mechanical loss, Pfric ) แบงออกเป:น
3.1) การสูญเสียเนื่องจากความฝoดที่แบริ่งและคอมมิวเตเตอร= (Friction
losses)
3.2) การสูญเสียเนื่องจากแรงปะทะของลม หรือแรงต/านทานของลมเมื่อ
อาร=เมเจอร=หมุน (Windage loss)
4) การสูญเสียที่แปรงถาน(Brush losses) แบงออกเป:น
4.1) การสูญเสียในแปรงถาน (Inside brush loss)
4.2) การสูญเสียที่หน/าสัมผัสแปรงถาน (Contact loss)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
174

โดยการสูญเสียในแกนเหล็กและการสูญเสียทางกลเมื่อนํามารวมกันเราเรียกวา “การสูญเสีย
เนื่องจากการหมุน (Rotation loss)” และการสูญเสียปลีกยอยตางๆ ที่ไมได/กลาวข/างต/นแปรเปลี่ยน
ตามโหลดเราเรียกวา “การสูญเสียปลีกยอยตางๆเมื่อตอโหลด (Stray-load loss)”
เมื่อป$อนกําลังไฟฟ$าทางกลให/เครื่องกําเนิด (Pin=Pmechanical=Pshaft) จะมีการสูญเสียในการ
หมุนและความสูญเสียปลีกยอยตางๆ เกิดขึ้น (Rotation loss + stray-load loss) จากนั้นจะได/
กําลังไฟฟ$าที่แปลงมาจากกําลังทางกล (Developed power = Pd=EaIa) โดยหักการสูญเสียใน
ลวดทองแดงที่อาร=เมเจอร= (Armature copper loss) และการสูญเสียในแปรงถาน (Inside brush
loss) กับการสูญเสียที่หน/าสัมผัสแปรงถาน (Contact loss) จะทําให/ได/กําลังไฟฟ$าที่ขั้วของวงจรอาร=
เมเจอร= (Armature terminal power) จากนั้นนําไปลบกําลังสูญเสียในลวดทองแดงที่ขดลวดชั้นท=
(Shunt-filed loss) และขดลวดซีรีส= (Series-filed loss) จะได/กําลังไฟฟ$าเอาต=พุตออกมาที่จายไปยัง
โหลดทางไฟฟ$า(Pout=Pelectrical=VTIL) โดยเขียนเป:นแผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ$าในเครื่องกําเนิด
ไฟตรงได/ดังรูปที่ 4.16

Pd = E a Ia PTa = VTa Ia

Pout = Pelectrical = VT I L
Pin = Pmechanical = Pshaft

รูปที่ 4.16 แผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ$าในเครื่องกําเนิดไฟตรง


จากรูปที่ 4.16 กําหนดให/
Pin=Pshaft คือ กําลังไฟฟ$าทางกลที่ขับเพลาโรเตอร=ของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:นวัตต= (W)
Pd คือ กําลังไฟฟ$าที่แปลงจากกําลังทางกล มีหนวยเป:นวัตต= (W)
Ea คือ แรงดันไฟฟ$าที่ขดลวดอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นโวลต= (V)
Ia คือ กระแสไฟฟ$าที่ไหลในวงจรอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นแอมป\ (A)
PTa คือ กําลังไฟฟ$าที่สงจายจากขั้วอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นวัตต= (W)
VTa คือ แรงดันไฟฟ$าที่ขั้วอาร=เมเจอร= มีหนวยเป:นโวลต= (V)
Pout=Pelectrical คือ กําลังไฟฟ$าเอาต=พุตของเครื่องกําเนิดที่จายไปยังโหลด มีหนวยเป:นวัตต= (W)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
175

4.2.4.2 ประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
พิจารณาจากรูปที่ 4.16 ประสิทธิภาพของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
คือ อัตราสวนระหวางกําลังไฟฟ$าเอาต=พุตตอกําลังไฟฟ$าอินพุตของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง โดย
หาประสิทธิภาพ (Efficiency , η ) ได/จากสมการที่ (4.38)

Pout
η = (4.38)
Pin

โดยหากําลังไฟฟ$าเอาต=พุตได/จาก

Pout = Pin − ∑ Ploss (4.39)

ดังนั้น
η = 1−
∑P loss (4.40)
Pin

ดังนั้นหาเปอร=เซ็นต=ประสิทธิภาพได/ดังสมการที่ (4.41)

 ∑ P loss  (4.41)
%η =  1 −  × 100
 Pin
 

หรือหาเปอร=เซ็นต=ประสิทธิภาพได/ดังสมการที่ (4.42)

 Pout  (4.42)
%η =   × 100
 Pout + ∑ P 
 loss 

เมื่อ
%η คือ เปอร=เซ็นต=ประสิทธิภาพทางทั้งหมด หรือเปอร=เซ็นต=ประสิทธิภาพทางการค/า
ของเครื่องกําเนิดไฟตรง
∑ Ploss คือ ผลรวมของกําลังสูญเสียทั้งหมดของเครื่องกําเนิดไฟตรง มีหนวยเป:นวัตต= (W)
Pout คือ กําลังไฟฟ$าเอาต=พุตของเครื่องกําเนิดที่จายไปยังโหลด มีหนวยเป:นวัตต= (W)
Pin คือ กําลังไฟฟ$าอินพุตที่ขับเพลาโรเตอร=ของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:นวัตต= (W)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
176

4.2.5 คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟา
ในกรณี ที่ เ ครื่ อ งกลไฟฟ$ า กระแสตรงทํ า งานเป: น เครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ$ า กระแสตรง
ความสัมพันธ=ระหวางแรงเคลื่อนไฟฟ$าที่ขั้วตอภาระ (VL) และกระแสป$อนเข/าภาระ (IL) จะขึ้นอยูกับ
ชนิดของเครื่องกําเนิดไฟฟ$าวาตอขดลวดสร/างสนามแมเหล็กแบบใด ซึ่งลักษณะของความสัมพันธ=
แสดงดังรูปที่ 4.17 โดยการเปรียบเทียบคากับพิกัดเป:นเปอร=ยูนิต (Per-unit , p.u.) เมื่อเครื่องกําเนิด
ไฟตรงทํางานที่ตําแหนง 1.0 p.u. หมายความวาได/ทํางานอยูในตําแหนงที่พิกัด

Vt

IL

รูปที่ 4.17 คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ$าแตละชนิดตามความสัมพันธ=


ของกระแสโหลดและแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิด

จากรูป ที่ 4.17 จะเห็นได/ว าเครื่องกํ าเนิดไฟฟ$ ากระแสตรงแบบกระตุ/ นสนามแมเหล็กจาก


ภายนอก (Separately Excited Generator) จะมีแรงดันไฟฟ$าตกที่ขั้วขณะจายโหลดน/อยกวาเครื่อง
กําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท= (Shunt Generator) เนื่องจากแหลงจายแรงดันที่ป$อนขดลวด
สนามแมเหล็กเป:นคนละแหลงจายกับที่ป$อนเข/าวงจรอาร=เมเจอร=ของเครื่องกําเนิด สวนเครื่องกําเนิด
ไฟฟ$ากระแสตรงแบบซีรีส= (Series Generator) จะมีแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วเพิ่มขึ้นตามกระแสโหลดที่
เพิ่ ม ขึ้ น และเครื่ องกํ า เนิ ดไฟฟ$ า กระแสตรงแบบคอมปาวด= (Compound Generator) จะมี
แรงดันไฟฟ$าตกที่ขั้วขณะจายโหลดน/อยกวาเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบอื่นๆ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
177

แรงดั น ไฟฟ$ า ที่ ขั้ ว ของเครื่ อ งกํ า เนิ ด ขณะจายกระแสไปยั ง โหลดจะมี แ รงดั น ที่ ขั้ ว ลดลง
เนื่องมาจากการเกิดแรงดันตกครอมในความต/านทานของขดลวดอาเมเจอร= และจากปฏิกิริยาจากอาร=
เมเจอร= มีผลทําให/เกิดการลดลงของสนามแมเหล็กจากขั้วแมเหล็ก และทําให/สนามแมเหล็กที่กระจาย
สม่ําเสมอเสียรูปไป โดยหาเปอร=เซ็นต=แรงดันตกที่ขั้วของเครื่องกําเนิด (%Vreg) ได/จากสมการที่
(4.43)
 V − VT,fl  (4.43)
%Vreg =  T,nl  × 100
 V
 T,fl 

เมื่อ

%Vreg คือ เปอร=เซ็นต=แรงดันตกที่ขั้วของเครื่องกําเนิดขณะจายโหลดทางไฟฟ$า


VT,nl คือ แรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดขณะยังไมตอโหลด มีหนวยเป:นโวลต= (V)
VT,fl คือ แรงดันไฟฟ$าที่ขั้วของเครื่องกําเนิดขณะตอโหลด มีหนวยเป:นโวลต= (V)

ตัวอย-างที่ 4.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแมเหล็กจากภายนอก หรือแบบ


แยกขดลวดกระตุ/น มีคาความต/านทานของขดลวดอาร=เมเจอร=เทากับ 0.1 โอห=ม ถูกนําไปทดสอบ
ขณะที่ ไมมี โ หลดที่ พิ กัด ความเร็ ว 1,200 รอบตอนาที คงที่ ได/ ข/อมู ล ความสั มพั น ธ= ร ะหวางกระแส
กระตุ/น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ$า ( E a ) ดังตารางที่ 4.1 ดังนี้

ตารางที่ 4.1 ความสัมพันธ=ระหวางกระแสกระตุ/น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ$า ( E a ) ที่ความเร็ว


รอบเพลาโรเตอร=หมุนเทากับ 1,200 รอบตอนาที

E a (V) 70 140 195 235 260 276


I f (A) 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

จงหา
ก) ความสัมพันธ=ระหวาง I f กับ E a เมื่อขับตัวหมุนด/วยความเร็ว 1,000 รอบตอนาที
ข) ป$อนกระแสกระตุ/น ( I f ) เทากับ 2.5 A ถ/าใสภาระ ( R L ) มีคาเทากับ 10 โอห=ม
ครอมอาเมเจอร= ให/ คํ า นวณหาแรงดั น ไฟฟ$ า ที่ ขั้ ว ( VT ) และเปอร= เ ซ็ น ต= แ รงดั น ตก
(voltage regulation)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
178

วิธีทํา
N2
ก) ที่คา If เดียวกัน หาแรงเคลื่อนไฟฟ$า E 2 = E1
N1
N2 = 1,000 rpm , N1 = 1,200 rpm
จะได/ความสัมพันธ=ระหวาง If กับ Ea ดังตารางที่ 4.2 ดังนี้
ตารางที่ 4.2 ความสัมพันธ=ระหวางกระแสกระตุ/น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ$า ( E a ) ที่ความเร็ว
รอบเพลาโรเตอร=หมุนเทากับ 1,000 รอบตอนาที

E a (V) 58 117 163 196 217 230


I f (A) 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

ตอบ ข) ขณะที่เครื่องกําเนิดถูกฉุดให/เพลาโรเตอร=หมุนที่ความเร็วรอบเทากับ 1,000 รอบตอนาที


คงที่ เมื่อใสภาระ RL = 10 โอห=ม และป$อนกระแสกระตุ/น ( I f ) เทากับ 2.5 A หากระแส อาร=
เมเจอร=ได/ดังนี้
Ea
Ia =
(Ra + RL )
217
= = 21.5 A
( 0.1 + 10 )
คํานวณหาแรงดันไฟฟ$าที่ขั้ว ( VT ) ได/ดังนี้
VT = Ia R L

= 21.5 × 10
= 215 V
ตอบ
คํานวณหาเปอร=เซ็นต=แรงดันตก (Voltage regulation) ได/ดังนี้
 V − VT,fl 
%VReg =  T,nl  × 100
 V
 T,fl 

 235 − 215 
=   × 100
 215 
= 9.3 % ตอบ
***********************************************
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
179

ตัวอย-างที่ 4.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นท=คอมปาวด=มีขนาด 100 kW , 250 V ถูก


ทําให/ โรเตอร= หมุนที่ ความเร็ วพิกัด 1,800 รอบตอนาที โดยมี คาความต/ านทานของขดลวดสร/า ง
สนามแมเหล็กแบบอนุกรม (R se ) เทากับ 0.006 โอห=ม คาความต/านทานของขดลวดอาเมเจอร=
เทากับ 0.018 โอห=ม คาความต/านทานของขดลวดสร/างสนามแมเหล็กแบบขนาน (R sh ) เทากับ
100 โอห= ม ขณะทํ างานที่กําลั ง , แรงดัน ไฟฟ$า และความเร็ วรอบที่พิกัด โดยมีคาความสู ญเสี ย
เนื่องจากการหมุน (Prot ) เทากับ 3 kW และความสูญเสียปลีกยอยตางๆ ( Pstray-load loss ) เทากับ 1
% ของกําลังไฟฟ$าเอาต=พุต ให/คํานวณหา
ก) คากระแสในขดลวดอาเมเจอร= (Ia )
ข) การเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟ$า (Ea )
ค) แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
ง) แรงบิดที่ป$อนเข/า (Ti/p )
จ) กําลังไฟฟ$าที่ป$อนเข/า (Pi/p )
ฉ) ประสิทธิภาพ (η)
Ia Ra R se IL

If

Ea R sh VT RL

ωm
Tp
Te

วิธีทํา
100,000 W
กระแสสงออกให/ภาระ (IL ) = = 400 A
250 V
250 V
If = = 2.5 A
100 A
Ia = IL + If = 402.5 A

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
180

∴ คากระแสไฟฟ$าที่ไหลในวงจรอาเมเจอร= (Ia ) = 402.5 A


Ea = Vt + Ia (R a + R se )
= 250 + 402.5 (0.018 + 0.006)
∴ แรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนํา (E a ) = 260 V
2⋅π ⋅ N
ω =
60
(2 ⋅ π ⋅1,800)
= = 188.5 rad / s
60
Pd E a ⋅ Ia
Te = =
ω ω

∴ แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
260V× 402.5A
Te =
188.5rad / sec

= 555.2 N.m

∴ กําลังไฟฟ$าที่ป$อนเข/า (Pi/p ) = E a Ia + Prot + Pstray-load loss

 1 
= (260× 402.5) + 3, 000 +  × 100, 000 
 100 

= 108, 650 W

แรงบิดที่ป$อนเข/า (Ti/p ) = (Pi/p / ω)

108, 650W
= = 576.4 N.m
188.5rad / sec

∴ ประสิทธิภาพ (η) = (Po/p / Pi/p )

100, 000W
= = 0.92 = 92 %
108, 650W

***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
181

4.2.6 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง
การขนานเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ$ า กระแสตรงจะกระทํ า เพื่ อ เพิ่ ม การจายกํ า ลั ง ไฟฟ$ า
กระแสตรงให/สูงขึ้น ตามโหลดที่เพิ่มขึ้น โดยมีหลั กการตอขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงเข/ า
ด/วยกันดังนี้
1. ต/องตอขั้วเหมือนกันเข/าด/วยกัน
2. แรงดันไฟฟ$าที่ขั้วจะต/องมีคาเทากัน
IL
+
+
IG1 IG 2 VL Load
IL
− −

S1 V1 S V2
2

A1 A2

R1 R2

G1 R f 1 G2 R f 2

รูปที่ 4.18 วงจรขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท=

จากรูปที่ 4.18 เป:นการขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท= 2 ตัวเข/าหากัน โดยมี


โวลต=มิเตอร= V1 และ V2 เป:นตัวตรวจวัดขั้ว และแรงดันของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท=ตัว
ที่สอง (G2) วามีขั้ว และแรงดันไฟฟ$าเหมือนกัน และเทากันกับเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบ
ชั้นท=ตัวที่หนึ่ง (G1) หรือไม ถ/าขั้วและแรงดันเหมือนกัน โวลต=มิเตอร=ทั้งสองตัวจะอานคาแรงดันได/
เทากับศูนย=โวลต= จึงทําการสับสวิตซ= S2 ขนานเข/ากับเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท=ตัวที่หนึ่ง
ได/ทําให/จายกระแสไปยังโหลดมากขึ้นได/โดยจะต/องดูพิกัดการจายกําลังไฟฟ$าของเครื่องกําเนิดไฟตรง
ทั้งสองตัวไมให/มีการจายกระแสเกินพิกัดไปยังโหลด เพราะจะทําให/เครื่องกําเนิดไฟตรงตัวใดตัวหนึ่ง
หรือทั้งสองตัวเสียหายได/

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
182

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู/สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู/สอนตั้งคําถามให/ผู/เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝ•กหัด
6. ให/งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
..
- Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Second Edition, Taylor
& Francis Group, LLC., 2012.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล/าเจ/า
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- สมพงษ= ศรีลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องจักรกลไฟฟา 1 รหัสวิชา
2312305, กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร= มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร= และคอมพิวเตอร=
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝ•กหัดท/ายบทเรียน
2. ศึกษาค/นคว/าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ$า
การวัดผล
1. พิจารณาการเข/าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข/ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝ•กหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรง
183

แบบฝZกหัด
1. เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบงตามการกระตุ/นสนามแมเหล็ก ออกได/เป:นกี่ชนิด
อะไรบ/าง
2. เครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ$ า กระแสตรงแบงตามลั ก ษณะการตอของขดลวดกระตุ/ น
สนามแมเหล็กกับอาร=เมเจอร= ออกได/เป:นกี่ชนิด อะไรบ/าง
3. จงเขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดอาเมเจอร= ( E a ) เมื่อ
กําหนดให/
E a คือ แรงเคลื่อนไฟฟ$าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดอาเมเจอร=
Za คือ จํานวนตัวนําทั้งหมดของอาร=เมเจอร=
ωr คือ ความเร็วรอบเชิงมุมของตัวหมุน
a คือ จํานวนทางขนาน
4. จงเขียนสมการแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วจายไฟของเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงชนิดตางๆ
ดังนี้
4.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ/นสนามแมเหล็กจากภายนอก
4.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท=
4.3 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบซีรีส=
4.4 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบชAอตชั้นท=คอมปาวด=
4.5 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นท=คอมปาวด=
5. จงเขียนแผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ$าในเครื่องกําเนิดไฟตรง
6. จากรูปลาง จงอธิบายคุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ$าแตละชนิดมาพอเข/าใจ
Vt

IL

7. จงบอกหลักการตอขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงเข/าด/วยกันมาพอเข/าใจ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
184

บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง


จุดประสงค"การสอน
4.3 คํานวณคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
4.3.1 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบกระตุ1น
สนามแมเหล็กจากภายนอก
4.3.2 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบชั้นท5
4.3.3 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบคอมปาวด5

4.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรง


เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงทํา หน1าที่เปลี่ย นพลังงานกลเป7นพลังงานไฟฟ%า แบงตามการ
กระตุ1นสนามแมเหล็ก ออกเป7น 2 แบบคือ แบบกระตุ1นสนามแมเหล็กจากภายนอก และแบบกระตุ1น
สนามแมเหล็กจากภายใน เมื่อแบงตามลักษณะการตอขดลวดกระตุ1นสนามแมเหล็กกับอาร5เมเจอร5
จะแบงออกเป7น 3 แบบ คือ เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบชั้นท5 เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
แบบซีรีส5 และเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบคอมปาวด5 ซึ่งเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบ
คอมปาวด5 ยังแบงออกได1เป7น 2 แบบคือ แบบช<อตชั้นท5คอมปาวด5 และแบบลองชั้นท5คอมปาวด5 ใน
บทนี้จะกลาวถึงการหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบชั้นท5 เครื่องกําเนิดไฟฟ%า
กระแสตรงแบบลองชั้นท5คอมปาวด5 ดังตัวอยางที่ 4.1 ถึงตัวอยางที่ 4.3 ดังนี้
4.3.1 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบกระตุ'นสนามแมเหล็กจาก
ภายนอก
ตัวอยางที่ 4.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบกระตุ1นสนามแมเหล็กจากภายนอก หรือแบบ
แยกขดลวดกระตุ1น มีคาความต1านทานของขดลวดอาร5เมเจอร5เทากับ 0.1 โอห5ม ถูกนําไปทดสอบ
ขณะที่ ไมมี โ หลดที่ พิ กัด ความเร็ ว 1,200 รอบตอนาที คงที่ ได1 ข1อมู ล ความสั มพั น ธ5 ร ะหวางกระแส
กระตุ1น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ%า ( E a ) ดังตารางที่ 4.1 ดังนี้

ตารางที่ 4.1 ความสัมพันธ5ระหวางกระแสกระตุ1น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ%า ( E a ) ที่ความเร็ว


รอบเพลาโรเตอร5หมุนเทากับ 1,200 รอบตอนาที

E a (V) 70 140 195 235 260 276


I f (A) 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
185

จงหา
ก) ความสัมพันธ5ระหวาง I f กับ E a เมื่อขับตัวหมุนด1วยความเร็ว 1,000 รอบตอนาที
ข) ป%อนกระแสกระตุ1น ( I f ) เทากับ 2.5 A ถ1าใสภาระ ( R L ) มีคาเทากับ 10 โอห5ม
ครอมอาเมเจอร5 ให1คํานวณหาแรงดันไฟฟ%าที่ขั้ว ( VT ) และเปอร5เซ็นต5แรงดันตก
(voltage regulation)
วิธีทํา
N2
ก) ที่คา If เดียวกัน หาแรงเคลื่อนไฟฟ%า E 2 = E1
N1
N2 = 1,000 rpm , N1 = 1,200 rpm
จะได1ความสัมพันธ5ระหวาง If กับ Ea ดังตารางที่ 4.2 ดังนี้
ตารางที่ 4.2 ความสัมพันธ5ระหวางกระแสกระตุ1น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ%า ( E a ) ที่ความเร็ว
รอบเพลาโรเตอร5หมุนเทากับ 1,000 รอบตอนาที
E a (V) 58 117 163 196 217 230
I f (A) 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0
ตอบ
ข) ขณะที่เครื่องกําเนิดถูกฉุดให1เพลาโรเตอร5หมุนที่ความเร็วรอบเทากับ 1,000 รอบตอนาที
คงที่ เมื่อใสภาระ RL = 10 โอห5ม และป%อนกระแสกระตุ1น ( I f ) เทากับ 2.5 A หากระแสอาร5เมเจอร5
ได1ดังนี้
Ea
Ia =
(Ra + RL )
217
= = 21.5 A
( 0.1 + 10 )
คํานวณหาแรงดันไฟฟ%าที่ขั้ว ( VT ) ได1ดังนี้
VT = Ia R L

= 21.5 × 10
= 215 V ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
186

คํานวณหาเปอร5เซ็นต5แรงดันตก (Voltage regulation) ได1ดังนี้


 V − VT,fl 
%VReg =  T,nl  × 100
 V
 T,fl 

 235 − 215 
=   × 100
 215 
= 9.3 % ตอบ
***********************************************
4.3.2 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบชั้นท"

ตัวอยางที่ 4.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบชั้นท5มีขนาด 50 kW , 250 V ถูกทําให1โรเตอร5


หมุนที่ความเร็วพิกัด 1,000 รอบตอนาที โดยมีคาความต1านทานของขดลวดอาเมเจอร5เทากับ 0.02
โอห5ม คาความต1า นทานของขดลวดสร1า งสนามแมเหล็กแบบขนาน (R sh ) เทากั บ 100 โอห5 ม
ขณะทํางานที่กําลัง , แรงดันไฟฟ%า และความเร็วรอบที่พิกัด โดยมีคาความสูญเสียเนื่องจากการหมุน
(Prot ) เทากับ 2 kW และความสูญเสียปลีกยอยตางๆ ( Pstray-load loss ) เทากับ 1 % ของกําลังไฟฟ%า
เอาต5พุต ให1คํานวณหา
ก) คากระแสในขดลวดอาเมเจอร5 (Ia )
ข) การเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟ%า (E a )
ค) แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
ง) แรงบิดที่ป%อนเข1า (Ti/p )
จ) กําลังไฟฟ%าที่ป%อนเข1า (Pi/p )
ฉ) ประสิทธิภาพ (η)
Ia Ra IL

If

Ea R sh VT RL

ωm
Tp
Te

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
187

วิธีทํา
50,000 W
กระแสสงออกให1ภาระ (IL ) = = 200 A
250 V
250 V
If = = 2.5 A
100 A
Ia = IL + If = 202.5 A

∴ คากระแสไฟฟ%าที่ไหลในวงจรอาเมเจอร5 (Ia ) = 202.5 A


Ea = Vt + ( Ia R a )
= 250 + ( 202.5 × 0.02 )
∴ แรงเคลื่อนไฟฟ%าเหนี่ยวนํา (E a ) = 254.05 V
2⋅π ⋅ N
ω =
60
(2 ⋅ π ⋅1,000)
= = 104.72 rad / s
60
Pd E a ⋅ Ia
Te = =
ω ω
∴ แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
254.05V× 202.5A
Te =
104.72rad / sec

= 491.26 N.m

∴ กําลังไฟฟ%าที่ป%อนเข1า (Pi/p ) = E a Ia + Prot + Pstray-load loss

 1 
= (254.05× 202.5) + 2, 000 +  × 50, 000 
 100 

= 53, 945 W

แรงบิดที่ป%อนเข1า (Ti/p ) = (Pi/p / ω)

53,945W
= = 515 N.m
104.72rad / sec

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
188

∴ ประสิทธิภาพ (η) = (Po/p / Pi/p )

50, 000W
= = 0.93 = 93 %
53,945W

***********************************************
4.3.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสตรงแบบคอมปาวด"
เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบคอมปาวด5 แบงออกได1เป7น 2 แบบคือ แบบช<อตชั้นท5
คอมปาวด5 และแบบลองชั้นท5คอมปาวด5 ในที่นี้จะกลาวถึงการหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%า
กระแสตรงแบบลองชั้นท5คอมปาวด5 ดังตัวอยางที่ 4.3 ดังนี้

ตัวอยางที่ 4.3 เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบลองชั้นท5คอมปาวด5มีขนาด 100 kW , 250 V ถูก


ทําให1 โรเตอร5 หมุนที่ ความเร็ วพิกัด 1,800 รอบตอนาที โดยมี คาความต1 านทานของขดลวดสร1า ง
สนามแมเหล็กแบบอนุกรม (R se ) เทากับ 0.006 โอห5ม คาความต1านทานของขดลวดอาเมเจอร5
เทากับ 0.018 โอห5ม คาความต1านทานของขดลวดสร1างสนามแมเหล็กแบบขนาน (R sh ) เทากับ
100 โอห5 ม ขณะทํ างานที่กําลั ง , แรงดัน ไฟฟ%า และความเร็ วรอบที่พิกัด โดยมีคาความสู ญเสี ย
เนื่องจากการหมุน (Prot ) เทากับ 3 kW และความสูญเสียปลีกยอยตางๆ ( Pstray-load loss ) เทากับ 1
% ของกําลังไฟฟ%าเอาต5พุต ให1คํานวณหา
ก) คากระแสในขดลวดอาเมเจอร5 (Ia )
ข) การเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟ%า (Ea )
ค) แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
ง) แรงบิดที่ป%อนเข1า (Ti/p )
จ) กําลังไฟฟ%าที่ป%อนเข1า (Pi/p )
ฉ) ประสิทธิภาพ (η)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
189

Ia Ra R se IL

If

Ea R sh VT RL

ωm
Tp
Te

วิธีทํา
100,000 W
กระแสสงออกให1ภาระ (IL ) = = 400 A
250 V
250 V
If = = 2.5 A
100 A
Ia = IL + If = 402.5 A

∴ คากระแสไฟฟ%าที่ไหลในวงจรอาเมเจอร5 (Ia ) = 402.5 A


Ea = Vt + Ia (R a + R se )
= 250 + 402.5 (0.018 + 0.006)
∴ แรงเคลื่อนไฟฟ%าเหนี่ยวนํา (E a ) = 260 V
2⋅π ⋅ N
ω =
60
(2 ⋅ π ⋅1,800)
= = 188.5 rad / s
60
Pd E a ⋅ Ia
Te = =
ω ω
∴ แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
260V× 402.5A
Te =
188.5rad / sec

= 555.2 N.m

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
190

∴ กําลังไฟฟ%าที่ป%อนเข1า (Pi/p ) = E a Ia + Prot + Pstray-load loss

 1 
= (260× 402.5) + 3, 000 +  × 100, 000 
 100 

= 108, 650 W

แรงบิดที่ป%อนเข1า (Ti/p ) = (Pi/p / ω)

108, 650W
= = 576.4 N.m
188.5rad / sec

∴ ประสิทธิภาพ (η) = (Po/p / Pi/p )

100, 000W
= = 0.92 = 92 %
108, 650W

***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
191

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู1สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู1สอนตั้งคําถามให1ผู1เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝdกหัด
6. ให1งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and
Transformers, Third Edition, Oxford University Press, Inc., 2001.
- Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Second Edition, Taylor
& Francis Group, LLC., 2012.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล1าเจ1า
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- สมพงษ5 ศรีลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องจักรกลไฟฟา 1 รหัสวิชา
2312305, กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร5 และคอมพิวเตอร5
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝdกหัดท1ายบทเรียน
2. ศึกษาค1นคว1าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ%า
การวัดผล
1. พิจารณาการเข1าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข1ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝdกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
192

แบบฝNกหัด
1. เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบกระตุ1นสนามแมเหล็กจากภายนอก หรือแบบ
แยกขดลวดกระตุ1น มีคาความต1านทานของขดลวดอาร5เมเจอร5เทากับ 1.5 โอห5ม ถูก
นําไปทดสอบขณะที่ไมมีโหลดที่พิกัดความเร็ว 1,500 รอบตอนาทีคงที่ ได1
ข1อมูลความสัมพันธ5ระหวางกระแสกระตุ1น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ%า ( E a )
ดังตารางข1างลางนี้

E a (V) 10 50 100 175 220 245 262


I f (A) 0 0.5 1.0 2.0 3.0 4.0 5.0

จงหา
ก) ความสัมพันธ5ระหวาง I f กับ E a เมื่อขับตัวหมุนด1วยความเร็ว 1,000 รอบ
ตอนาที
ข) ป%อนกระแสกระตุ1น ( I f ) เทากับ 3 A ถ1าใสภาระ ( R L ) มีคาเทากับ
10 โอห5ม ครอมอาเมเจอร5 ให1คํานวณหาแรงดันไฟฟ%าที่ขั้ว ( VT ) และ
เปอร5เซ็นต5แรงดันตก (Voltage regulation)
2. เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบชั้นท5มีขนาด 50 kW , 250 V ถูกทําให1โรเตอร5
หมุนที่ความเร็วพิกัด 1200 รอบตอนาที โดยมีคาความต1านทานของขดลวดอา
เมเจอร5เทากับ 0.02 โอห5ม คาความต1านทานของขดลวดสร1างสนามแมเหล็กแบบ
ขนาน (R sh ) เทากับ 100 โอห5ม ขณะทํางานที่กําลัง , แรงดันไฟฟ%า และความเร็ว
รอบที่พิกัด โดยมีคาความสูญเสียเนื่องจากการหมุน (Prot ) เทากับ 2 kW และความ
สูญเสียปลีกยอยตางๆ ( Pstray-load loss ) เทากับ 1 % ของกําลังไฟฟ%าเอาต5พุต ให1
คํานวณหา
ก) คากระแสในขดลวดอาเมเจอร5 (Ia )
ข) การเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟ%า (Ea )
ค) แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
ง) แรงบิดที่ป%อนเข1า (Ti/p )
จ) กําลังไฟฟ%าที่ป%อนเข1า (Pi/p )
ฉ) ประสิทธิภาพ (η)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 4 หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน เครื่องจักรกลกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับเครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรง
193

3. เครื่องกําเนิดไฟฟ%ากระแสตรงแบบลองชั้นท5คอมปาวด5มีขนาด 100 kW , 660 V


ถูกทําให1โรเตอร5หมุนที่ความเร็วพิกัด 1,000 รอบตอนาที โดยมีคาความต1านทาน
ของขดลวดสร1างสนามแมเหล็กแบบอนุกรม (R se ) เทากับ 0.05 โอห5ม คาความ
ต1านทานของขดลวดอาเมเจอร5เทากับ 0.1 โอห5ม คาความต1านทานของขดลวดสร1าง
สนามแมเหล็ ก แบบขนาน (R sh ) เทากั บ 200 โอห5 ม ขณะทํ า งานที่ กํ า ลั ง ,
แรงดั นไฟฟ% า และความเร็ว รอบที่ พิกัด โดยมี คาความสู ญ เสีย เนื่ องจากการหมุ น
(Prot ) เทากับ 2 kW และความสูญเสี ยปลีกยอยตางๆ ( Pstray-load loss ) เทากั บ
1 % ของกําลังไฟฟ%าเอาต5พุต ให1คํานวณหา
ก) คากระแสในขดลวดอาเมเจอร5 (Ia )
ข) การเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟ%า (Ea )
ค) แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te )
ง) แรงบิดที่ป%อนเข1า (Ti/p )
จ) กําลังไฟฟ%าที่ป%อนเข1า (Pi/p )
ฉ) ประสิทธิภาพ (η)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ%า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
194

หนวยที่ 5
วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง
และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
จุดประสงคการสอน
5.1 รู7เกี่ยวกับวงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
5.1.1 เขียนวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
5.1.2 บอกการสูญเสียในมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
5.1.3 บอกคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง

5.1 วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง


มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงเป:นเครื่องกลไฟฟ)ากระแสตรงที่อาศัยหลักการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ)า
เป:นพลังงานกล โดยเมื่อมีสนามแมเหล็กพุงตัดผานตัวนําที่มีกระแสไหลผาน จะทําให7เกิดแรงบนตัวนํา
ขึ้นจากหลักการของเฟลมมิ่ง ถ7าทราบทิศทางของเส7นแรงแมเหล็ก และทิศทางการไหลของกระแสใน
ตัวนํา จะทําให7ทราบทิศทางการเคลื่อนที่ของตัวนํานั้นดังทฤษฎีที่กลาวในบทกอนนั้น การใช7งานของ
มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงสวนใหญมีใช7ในระบบของรถยนต ยานพาหนะที่ใช7พลังงานจากแบตเตอรี่
และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่อาศัยพลังงานกลจากแรงดันไฟตรง
มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงมีโครงสร7างและสวนประกอบเชนเดียวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ)ากระแสตรง
โดยมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบงออกได7เป:น 4 แบบ คือ
1) มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบกระตุ7นแยก
2) มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชั้นท
3) มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบซีรีส
4) มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบคอมปาวด แบงออกได7เป:น 2 แบบคือ
4.1) แบบชEอตชั้นทคอมปาวด
4.2) แบบลองชั้นทคอมปาวด

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
195

5.1.1 วงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
เมื่อกําหนดให7ไมพิจารณาแรงดันตกครอมแปรงถาน เขียนวงจรสมมูลในมอเตอรไฟฟ)า
กระแสตรงชนิดตางๆ ได7ดังนี้
5.1.1.1 มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบกระตุ-นแยก
Ia Ra

If

VF Rf Ea VT Vdc

ωm
Tp
Te

รูปที่ 5.1 วงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบกระตุ7นแยก


จากรูปที่ 5.1 สามารถคํานวณหาคาตางๆได7ดังนี้

VT = E a + ( Ia R a ) (5.1)
เมื่อ
VT คือ แรงดันไฟฟ)าที่ขั้วของมอเตอรไฟตรง มีหนวยเป:นโวลต (V)
Ea คือ แรงเคลื่อนไฟฟ)าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดอารเมเจอร มีหนวยเป:นโวลต (V)
Ia คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลในวงจรอารเมเจอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)
Ra คือ ความต7านทานของขดลวดอารเมเจอร มีหนวยเป:นโอหม (Ω)
จากสมการหาแรงเคลื่อนไฟฟ)าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่อารเมเจอร

E a = K T φp ωm (5.2)
เมื่อ
KT คือ คาคงที่ของมอเตอรไฟตรง
φp คือ เส7นแรงแมเหล็กตอขั้วของมอเตอรไฟตรง
ωm คือ ความเร็วเชิงมุมของการหมุนที่เพลาโรเตอรของเครื่องกําเนิด มีหนวยเป:น
เรเดียลตอวินาที (rad/sec)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
196

แทนสมการที่ (5.2) ในสมการที่ (5.1) จะได7

ωm =
1
( VT − Ia R a ) (5.3)
K T φp

จากสมการแรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก

Te = K T φP Ia (5.4)
เมื่อ
Te คือ แรงบิดทางไฟฟ)าในมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบกระตุ7นแยกมีหนวยเป:นนิวตันเมตร (Nm)
5.1.1.2 มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชั้นท
Ia Ra IT

If

Ea R sh VT Vdc

ωm
Tp
Te

รูปที่ 5.2 วงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชั้นท


สมการแรงดันไฟฟ)าที่ขั้วของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชั้นท เขียนได7ดังนี้
VT = E a + ( Ia R a ) (5.5)

VT = If R sh (5.6)
โดย
IT = If + Ia (5.7)
เมื่อ
If คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลในขดลวดสนามแมเหล็ก (Shunt field) มีหนวยเป:นแอมปH (A)
IT คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลจากแหลงจายไฟตรงเข7ามอเตอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)
R sh คือ ความต7านทานของขดลวดชั้นท มีหนวยเป:นโอหม (Ω)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
197

จากรูปที่ 5.2 ถ7ากําหนดให7แรงดันไฟฟ)าที่ขั้วของมอเตอรไฟตรง ( VT ) มีคาคงที่ เส7นแรง


แมเหล็กตอขั้วของมอเตอรไฟตรง ( φp ) ก็ จะมี คาคงที่ด7ว ย ดังนั้นสมการก็จะเหมือนกับในมอเตอร
กระแสตรงแบบแยกขดลวดสนามแมเหล็กดังนี้

ωm =
1
( VT − Ia R a ) (5.8)
K T φp

จากสมการแรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก

Te = K T φP Ia (5.9)

เมื่อ
Te คือ แรงบิดทางไฟฟ)าในมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชั้นทมีหนวยเป:นนิวตันเมตร (Nm)

5.1.1.3 มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบซีรีส

Ia R R se IT
a

Ea VT Vdc

ωm
Tp
Te

รูปที่ 5.3 วงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบซีรีส

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
198

สมการแรงดันไฟฟ)าที่ขั้วของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบซีรีสเขียนได7ดังนี้
VT = E a + Ia ( R a + R se ) (5.10)

จากสมการของเส7นแรงแมเหล็กตอขั้ว

φP = KIa (5.11)
จากสมการหาแรงเคลื่อนไฟฟ)าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่อารเมเจอร
E a = K T φp ωm (5.12)
แทนสมการที่ (5.11) ลงในสมการที่ (5.12) จะได7

E a = K T KIa ωm (5.13)
แทนสมการที่ (5.13) ลงในสมการที่ (5.10) จะได7

VT − Ia ( R a + R se ) = K T KIa ωm (5.14)
จากสมการแรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก

Te = K T φP Ia (5.15)

แทนสมการที่ (5.11) ลงในสมการที่ (5.15) จะได7

Te = K T KIa2 (5.16)

เมื่อ
Te คือ แรงบิดทางไฟฟ)าในมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบซีรีสมีหนวยเป:นนิวตันเมตร (Nm)
K คือ คาคงที่
KT คือ คาคงที่

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
199

โดย
Ia = IT (5.17)

เมื่อ
Ia คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลในวงจรอารเมเจอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)
IT คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลจากแหลงจายไฟตรงเข7ามอเตอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)

มอเตอรแบบนี้เมื่อเพิ่มโหลดทางกล กระแสอารเมเจอรก็จะมีคาเพิ่มขึ้นตามโหลดทางกล เป:น


ผลทําให7เส7นแรงแมเหล็กตอขั้วมีคาเพิ่มขึ้นด7วย ทําให7ได7แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก ( Te ) มีคา
เพิ่มขึ้นมากวามอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชั้นทเมื่อนําไปใช7งานฉุดโหลดทางกลที่มีขนาดเทากัน
5.1.1.4 มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบคอมปาวด
มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบคอมปาวด แบงออกเป:นมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
แบบชEอตชั้นทคอมปาวด และมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด
1) มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบช5อตชั้นทคอมปาวด
Ia R R se IT
a

If

Ea R sh VT Vdc

ωm
Tp
Te

รูปที่ 5.4 วงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชEอตชั้นทคอมปาวด

กําหนดให7เครื่องหมายจุด (•) ที่ขดลวดทั้งสองขดเป:นการกําหนดทิศทางการไหลของกระแส


เข7าขดลวด ดังนั้นสมการแรงดันไฟฟ)าที่ขั้วของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชEอตชั้นทคอมปาวด
เขียนได7ดังนี้
VT = E a + Ia R a + IT R se (5.18)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
200

โดย
VT − IT R se = E a + Ia R a = If R sh (5.19)

IT = Ia + If (5.20)
เมื่อ
IT คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลจากแหลงจายไฟตรงเข7ามอเตอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)
Ia คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลในวงจรอารเมเจอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)
If คือ กระแสไฟฟ)าทีไ่ หลในขดลวดสนามแมเหล็ก (Shunt field) มีหนวยเป:นแอมปH (A)
2) มอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด
Ia Ra R se IT

If

R sh VT Vdc
Ea

ωm
Tp
Te

รูปที่ 5.5 วงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด

กําหนดให7เครื่องหมายจุด (•) ที่ขดลวดทั้งสองขดเป:นการกําหนดทิศทางการไหลของกระแส


เข7าขดลวด ดังนั้นสมการแรงดันไฟฟ)าที่ขั้วของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด
เขียนได7ดังนี้

VT = E a + Ia ( R a + R se ) (5.21)

หรือ
VT = Ia R sh (5.22)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
201

โดย
IT = Ia + If (5.23)
เมื่อ
R sh คือ ความต7านทานของขดลวดชั้นท มีหนวยเป:นโอหม (Ω)
R se คือ ความต7านทานของขดลวดซีรีส มีหนวยเป:นโอหม (Ω)
VT คือ แรงดันไฟฟ)าที่ขั้วของมอเตอรไฟตรง มีหนวยเป:นโวลต (V)
IT คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลจากแหลงจายไฟตรงเข7ามอเตอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)

5.1.2 การสูญเสียในมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
การสูญเสียในมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง ประกอบด7วย
1) การสูญเสียในแกนเหล็ก (Iron losses หรือ Core loss , Pcore) แบงออกเป:น 2 ชนิด
คือ
1.1) การสูญเสียเนื่องจากฮีสเตอรริซีส (Hysteresis loss , Ph)
1.2) การสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวน (Eddy current loss , Pe)
2) การสูญเสียในลวดทองแดง (Copper loss หรือ Cu. Loss , Pcu) แบงออกเป:น
2.1) การสูญเสียในลวดทองแดงที่อารเมเจอร (Armature copper loss)
หาได7จาก Ia2Ra
2.2) การสูญเสียในลวดทองแดงที่ขดลวดชั้นท (Shunt-filed loss
หาได7จาก Ish2Rsh
2.3) การสูญเสียในลวดทองแดงที่ขดลวดซีรีส (Series-filed loss)
หาได7จาก Ise2Rse
3) การสูญเสียทางกล (Mechanical loss, Pfric) แบงออกเป:น
3.1) การสูญเสียเนื่องจากความฝlดที่แบริ่งและคอมมิวเตเตอร (Friction losses)
3.2) การสูญเสียเนื่องจากแรงปะทะของลม หรือแรงต7านทานของลมเมื่อ
อารเมเจอรหมุน (Windage loss)
4) การสูญเสียที่แปรงถาน (Brush losses) แบงออกเป:น
4.1) การสูญเสียในแปรงถาน (Inside brush loss)
4.2) การสูญเสียที่หน7าสัมผัสแปรงถาน (Contact loss)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
202

โดยการสูญเสียในแกนเหล็กและการสูญเสียทางกลเมื่อนํามารวมกันเราเรียกวา “การสูญเสีย
เนื่องจากการหมุน (Rotation loss)” และการสูญเสียปลีกยอยตางๆ ที่ไมได7กลาวข7างต7นแปรเปลี่ยน
ตามโหลดเราเรียกวา “การสูญเสียปลีกยอยตางๆเมื่อตอโหลดทางกล (Stray-load loss)”
เมื่อจายกําลังไฟฟ)าอินพุตให7มอเตอร (Pin=VTIT) จะเกิดการสูญเสียในลวดทองแดงที่ขดลวดชั้นท
(Shunt-filed loss)และขดลวดซีรีส (Series-filed loss)จากนั้นจะได7กําลังไฟฟ)าที่สงจากขั้วอาร
เมเจอร (Armature terminal power = PTa=VTaIa) โดยหักการสูญเสียในลวดทองแดงที่อารเมเจอร
(Armature copper loss) และการสูญเสียในแปรงถาน (Inside brush loss) กับการสูญเสียที่
หน7าสัมผัสแปรงถาน (Contact loss) จะทําให7ได7กําลังไฟฟ)าทางกลที่แปลงมาจากกําลังทางไฟฟ)า
(Developed power = Pd=EaIa) โดยหักความสูญเสียในการหมุนและความสูญเสียปลีกยอยตางๆ ที่
เกิดขึ้น (Rotation loss + stray-load loss) จะได7กําลังไฟฟ)าเอาตพุตของมอเตอรที่ฉุดโหลดทางกล
ออกมา (Pout=Pmechanical=Pshaft) โดยเขียนเป:นแผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ)าในเครื่องกําเนิด
ไฟตรงได7ดังรูปที่ 4.24

PTa = VTa Ia Pd = E a Ia

Pout = Pmechanical = Pshaft


Pin = Pelectrical = VT IT

รูปที่ 5.6 แผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ)าในมอเตอรไฟตรง


จากรูปที่ 5.6 กําหนดให7
Pin=VTIT คือ กําลังไฟฟ)าอินพุตที่จายให7กับมอเตอร มีหนวยเป:นวัตต (W)
PTa คือ กําลังไฟฟ)าที่สงจายจากขั้วอารเมเจอร มีหนวยเป:นวัตต (W)
Pd คือ กําลังไฟฟ)าที่แปลงไปเป:นกําลังทางกล มีหนวยเป:นวัตต (W)
Ea คือ แรงดันไฟฟ)าที่ขดลวดอารเมเจอร มีหนวยเป:นโวลต (V)
Ia คือ กระแสไฟฟ)าที่ไหลในวงจรอารเมเจอร มีหนวยเป:นแอมปH (A)
VTa คือ แรงดันไฟฟ)าที่ขั้วอารเมเจอร มีหนวยเป:นโวลต (V)
Pout=Pshaft คือ กําลังไฟฟ)าเอาตพุตของมอเตอรที่ฉุดโหลดทางกล มีหนวยเป:นวัตต (W)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
203

ประสิทธิภาพของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง คือ อัตราสวนระหวางกําลังไฟฟ)าเอาตพุต


ตอกําลังไฟฟ)าอินพุตของมอตอรไฟฟ)ากระแสตรง โดยหาประสิทธิภาพ (Efficiency, η ) ได7จากสมการ
ที่ (5.24)
η =
Pout (5.24)
Pin
โดยหากําลังไฟฟ)าเอาตพุตได7จาก

Pout = Pin − ∑ Ploss (5.25)


ดังนั้น
η = 1−
∑P loss

Pin (5.26)
ดังนั้นหาเปอรเซ็นตประสิทธิภาพได7ดังสมการที่ (5.27 )

 ∑ P loss 
%η =  1 −  × 100 (5.27)
 Pin
 

หรือหาเปอรเซ็นตประสิทธิภาพได7ดังสมการที่ (5.28)
 Pout 
%η = 
 Pout + ∑ P
 × 100

(5.28)
 loss 
เมื่อ
%ηคือ เปอรเซ็นตประสิทธิภาพทางทั้งหมด หรือเปอรเซ็นตประสิทธิภาพทางการค7า
ของมอเตอรไฟตรง
∑ Ploss คือ ผลรวมของกําลังสูญเสียทั้งหมดของมอเตอรไฟตรง มีหนวยเป:นวัตต (W)
Pout คือ กําลังไฟฟ)าเอาตพุตของมอเตอรที่ฉุดโหลดทางกล มีหนวยเป:นวัตต (W)
Pin คือ กําลังไฟฟ)าอินพุตที่จายให7มอเตอร มีหนวยเป:นวัตต (W)

5.1.3 คุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
ในกรณีที่เครื่องกลไฟฟ)ากระแสตรงทํางานเป:นมอเตอรเพื่อขับโหลดทางกล ความสัมพันธ
ระหวางความเร็วรอบของตัวหมุน (Nr) กับแรงบิดที่ขับภาระ (TL) จะมีความสัมพันธดังนี้ คือความเร็ว
ของมอเตอรจะตกลงเมื่อภาระเพิ่มขึ้น โดยมอเตอรไฟตรงจะมีความเร็วรอบตกลงมากน7อยเพียงใดนั้น
ขึ้นอยูกับชนิดของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงวามีการตอขดลวดสร7างสนามแมเหล็กแบบใด โดยในการ
นํามอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงไปใช7งานจะต7องคํานึงถึงคุณลักษณะตางๆ ดังตอไปนี้

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
204

5.1.3.1 คุณลักษณะของการรักษาความเร็วรอบ
มอเตอรไฟตรงเมื่อนําไปใช7งานฉุดโหลดทางกลจะมีความเร็วรอบเปลี่ยนแปลงไป
เราจะสนใจในเรื่องของการควบคุมความเร็วรอบ (Speed regulation, SR) วามีคาเป:นอยางไร โดย
คํานวณหาได7จากสมการที่ (5.29)
 ω − ωfl 
% SR =  nl  ×100 (5.29)
 ωfl 
เมื่อ
% SR คือ เปอรเซ็นตของความเร็วรอบมอเตอรที่ลดลงขณะทํางานฉุดโหลด
ωnl คือ ความเร็วรอบเชิงมุมของมอเตอรขณะทํางานยังไมฉุดโหลด
มีหนวยเป:นเรเดียลตอวินาที
ωfl คือ ความเร็วรอบเชิงมุมของมอเตอรขณะทํางานฉุดโหลด
มีหนวยเป:นเรเดียลตอวินาที

ถ7าความเร็วรอบของมอเตอรวัดเป:นรอบตอนาทีก็สามารถหาเปอรเซ็นตของความเร็วรอบ
มอเตอรที่ลดลงขณะทํางานฉุดโหลดได7ดังสมการที่ (5.30)

 n − n fl 
% SR =  nl  × 100 (5.30)
 n fl 
เมื่อ
n nl คือ ความเร็วรอบของมอเตอรขณะทํางานยังไมฉุดโหลด มีหนวยเป:นรอบตอนาที
n fl คือ ความเร็วรอบของมอเตอรขณะทํางานฉุดโหลด มีหนวยเป:นรอบตอนาที

ขนาดของความเร็วมอเตอรเมื่อตอโหลดทางกลใช7งานที่ลดลงเป:นความชันลาดเอียงลงมาเรา
เรียกวา คุณลักษณะของแรงบิดกับความเร็ว

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
205

5.1.3.2 คุณลักษณะของความสัมพันธระหวางกระแสกับความเร็วของมอเตอร
โดยทั่วไปมอเตอรไฟตรงถูกออกแบบให7มีพิกัดกําลังม7าเอาตพุตที่ความเร็ว
รอบพิกัด ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ)าภายในมอเตอรจะเป:นฟ{งกชั่นกับความเร็วเชิงมุมดังสมการที่ (5.31)

Ea = K a × φp × ωm (5.31)

ย7ายข7างสมการที่ (5.31) จะได7

ωm =
Ea (5.32)
K a × φp

มอเตอรไฟตรงแตละชนิดมีคาแรงเคลื่อนไฟฟ)าภายใน ( E a ) แตกตางกัน เชนยกตัวอยาง


หากเป:นมอเตอรไฟตรงแบบขดลวดสนามแมเหล็กแยกกระตุ7น หรือมอเตอรไฟตรงแบบชั้นท เมื่อ
แทนสมการที่ (5.31) ลงในสมการที่ (5.32) จะได7

VT − Ia R a
ωm = (5.33)
K a × φp

เมื่อ
Ka คือ คาคงที่ของมอเตอร
φp คือ เส7นแรงแมเหล็กตอขั้วของมอเตอรไฟตรง มีหนวยป:นเวเบอรตอตารางเมตร

สมการที่ (5.33) คือสมการความเร็วของมอเตอร โดยความเร็วของมอเตอรขึ้นอยูกับแรงดันที่


ขั้วจายไฟให7กับมอเตอร ( VT ) กระแสอารเมเจอร ( Ia ) ความต7านทานอารเมเจอร ( R a ) เส7นแรง
แมเหล็กตอขั้ว ( φp ) และคาคงที่ของมอเตอร ( K a ) ซึ่งจากสมการที่ (5.33) สามารถนํามาเขียนแยก
เทอมได7ดังสมการที่ (5.34)

VT IR
ωm = − a a (5.34)
K a × φp K a × φp

โดยขณะไมมีโหลดทางกล เทอมที่สองขวามือจะกลายเป:นศูนยเพราะกระแสอารเมเจอรน7อย
จนอาจตัดทิ้งได7

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
206

คุ ณ ลั ก ษณะของความสั ม พั น ธระหวางกระแสกั บ ความเร็ ว ของมอเตอรไฟตรงแบบชั้ น ท


มอเตอรแบบซีรีส และมอเตอรแบบคอมปาวดที่ ตอวงจรขดลวดสร7า งสนามแมเหล็กแบบเสริมกั น
(Comulative compound) แสดงดังรูปที่ 5.7
ωm

Ia
0

รูปที่ 5.7 ความสัมพันธระหวางกระแสกับความเร็วของมอเตอร

5.1.3.3 คุณลักษณะของความสัมพันธระหวางแรงบิดที่เกิดขึ้นในอารเมเจอร
กับความเร็วของมอเตอร
ความเร็วของมอตอรไฟตรงแบบชั้นทจะมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน7อยประมาณน7อย
กวา 5% ในมอเตอรไฟตรงที่มีขนาดพิกัดกําลังเอาตพุตสูง หรือน7อยกวา 8% ในมอเตอรไฟตรงที่มี
พิกัดกําลังเอาตพุตต่ํา เพราะวามอเตอรไฟตรงแบบชั้นทเป:นมอเตอรชนิดที่มีความเร็วคอนข7างคงที่
ความแร็ ว ของมอเตอรไฟตรงมี ก ารเปลี่ ย นแปลงที่ ร วดเร็ ว ขณะที่ ฉุ ด โหลด หรื อ มี ก าร
เปลี่ยนแปลงแรงบิดที่โหลด อยางไรก็ตามมอเตอรไฟตรงชนิดคอมปาวดแบบตอขดลวดสนามแมเหล็ก
แบบเส7นแรงแมเหล็กเสริมกัน (Cumulative compound motor) จะรวมคุณลักษณะการทํางาน
ของมอเตอรแบบชั้นทและแบบซีรีสเข7าด7วยกัน
มอเตอรไฟตรงแบบซีรีสมีความเร็วสูงมากขณะไมตอโหลดทางกล ขณะที่ฉุดโหลด หรือมีการ
เปลี่ยนแปลงแรงบิดที่โหลดสูงขึ้นจะทําให7เกิดเส7นเส7นแรงแมเหล็กลดลง โดยความเร็วของมอเตอร
ไฟตรงแบบซีรีสจะมีความสูงกวามอเตอรไฟตรงแบบชั้นท และแบบคอมปาวดขณะยังไมตอโหลดทาง
กล หรือมีแรงบิดทางกลที่โหลดยังไมมากนัก แตเมื่อตอโหลดหรือเพิ่มแรงบิดทางกลที่โหลดให7สูงขึ้น
มอเตอรไฟตรงแบบซีรีสจะมีความเร็วลดลงมากกวามอเตอรไฟตรงแบบชั้นท และแบบคอมปาวด โดย

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
207

คุณลักษณะความสัมพันธระหวางแรงบิดที่เกิดขึ้นในอารเมเจอรกับความเร็วของมอเตอรแบบชั้นท
มอเตอรแบบซีรีส และแบบคอมปาวด แสดงดังรูปที่ 5.8
ωm

Shunt Motor

Cumulative
compound Motor

Series Motor

Td
0
รูปที่ 5.8 ความสัมพันธระหวางแรงบิดที่เกิดขึ้นในอารเมเจอรกับความเร็วของมอเตอร
5.1.3.4 คุณลักษณะของความสัมพันธระหวางกระแสกับแรงบิดที่เกิดขึ้นใน
อารเมเจอรของมอเตอร
ในขณะตอมอเตอรไฟตรงแบบซีรีสใช7งานฉุดโหลดทางกลที่มีแรงบิดฉุดโหลดน7อย
มอเตอรไฟตรงแบบซีรีสจะมีแรงบิดสูงกวามอเตอรไฟตรงแบบชั้นท และแบบคอมปาวดที่คากระแส
อารเมเจอรเดียวกัน ดังแสดงในรูปที่ 5.9
Td

Ia
0

รูปที่ 5.9 ความสัมพันธระหวางกระแสอารเมเจอรกับแรงบิดที่เกิดขึ้นในอารเมเจอรของมอเตอร

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
208

5.1.3.5 คุ ณ ลั ก ษณะของความสั ม พั น ธระหวางกระแสอารเมเจอรกั บ


แรงเคลื่อนไฟฟ)าภายในของมอเตอร
มอเตอรไฟตรงขณะทํางานจะมีแรงดันไฟฟ)าผลิตขึ้นมาภายในอารเมเจอร เรา
เรียกวา “แรงดันไฟฟ)าต7านกลับ หรือแรงเคลื่อนไฟฟ)าต7านกลับ (Back emf) โดยแรงเคลื่อนไฟฟ)าต7าน
กลับจะมีคาลดลงเมื่อมอเตอรทํางานฉุดโหลดทางกลเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีแรงดันไฟฟ)าตกครอมความ
ต7านทานในวงจรอารเมเจอร ในมอเตอรไฟตรงแบบอนุกรมและแบบลองชั้นทคอมปาวดจะมีความ
ต7านทานรวมในวงจรอารเมเจอรที่ได7มาจากความต7านทานของอารเมเจอร (Ra) และความต7านทาน
ของขดลวดซีรีส (Rse) ซึ่งคุณลักษณะความสัมพันธระหวางกระแสอารเมเจอรกับแรงเคลื่อนไฟฟ)า
ภายในของมอเตอรแบบชั้นท แบบซีรีส และแบบคอมปาวดที่มีการตอขดลวดสนามแมเหล็กแบบเส7น
แรงแมเหล็กเสริมกัน แสดงดังรูปที่ 5.10
Ea

VT

Ia
0

รูปที่ 5.10 ความสัมพันธระหวางกระแสอารเมเจอรกับแรงเคลื่อนไฟฟ)าภายในของมอเตอร

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
209

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู7สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู7สอนตั้งคําถามให7ผู7เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝ~กหัด
6. ให7งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
..
- Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Second Edition, Taylor
& Francis Group, LLC., 2012.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล7าเจ7า
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- สมพงษ ศรีลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 รหัสวิชา
2312305, กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา 04-112-206 เครื่องจักรกล
ไฟฟ)า 1, คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2555.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝ~กหัดท7ายบทเรียน
2. ศึกษาค7นคว7าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ)า
การวัดผล
1. พิจารณาการเข7าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข7ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝ~กหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง วงจรสมมูล การสูญเสีย และคุณลักษณะของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรง
210

แบบฝTกหัด
1. จงเขียนวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบกระตุ7นแยก
2. จงเขียนวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบกระตุ7นชั้นท
3. จงเขียนวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบกระตุ7นซีรีส
4. จงเขียนวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบชEอตชั้นทคอมปาวด
5. จงเขียนวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด
6. จงบอกการสูญเสียในมอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงวามีอะไรบ7าง มาพอสังเขป
7. จงเขียนแผนภาพการไหลของกําลังไฟฟ)าในมอเตอรไฟตรง
8. จงบอกคุณลักษณะตางๆ ในการนํามอเตอรไฟฟ)ากระแสตรงไปใช7งานจะต7องคํานึงถึง
อะไรบ7าง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ)า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
211
ไฟฟ"ากระแสตรง

บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร


ไฟฟากระแสตรง
จุดประสงคการสอน
5.2 เข1าใจการเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอรไฟฟ"า
กระแสตรง
5.2.1 อธิบายการเริ่มหมุนมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง
5.2.2 อธิบายการควบคุมความเร็วมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง
5.2.3 อธิบายการกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง

5.2 การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอรไฟฟากระแสตรง


5.2.1 การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟากระแสตรง
ในการเริ่มหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง เชนแบบขดลวดกระตุ1นแยก และแบบชั้นท
ให1เริ่มหมุนจะมีกระแสอารเมเจอรไหลมาก เนื่องจากแรงเคลื่อนไฟฟ"าต1านกลับ ( E b ) ในตัวมอเตอร
ขณะเริ่มหมุนมีคาเป6นศูนย จะทําให1กระแสอารเมเจอรมีคาสูงตามสมการที่ (5.35) , (5.36) และ
(5.37) ดังนั้นการเริ่มเดินมอเตอรจึงควรมีวิธีที่จะทําให1กระแสอารเมเจอรอยูในพิกัดที่จะไมทําให1เกิด
ความเสียหายตอมอเตอรได1 ซึ่งสามารถควบคุมแรงดันไฟตรงที่จายให1มอเตอร หรือควบคุมคาความ
ต1านทานที่ตอในวงจรอารเมเจอรอยางใดอยางหนึ่ง

VT − E b
Ia = (5.35)
Ra

VT − 0
= (5.36)
Ra

VT
= (5.37)
Ra

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
212
ไฟฟ"ากระแสตรง

5.2.2 การควบคุมความเร็วมอเตอรไฟฟากระแสตรง
วิธีการควบคุมความเร็วของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงสามารถทําได1โดย
1) วิธีการควบคุมกระแสฟAลด
2) วิธีการควบคุมความต1านทานวงจรอารเมเจอร
3) วิธีการควบคุมแรงดันไฟฟ"าที่ป"อนให1กับวงจรอารเมเจอร

ในหัวข1อนี้จะกลาวถึงเฉพาะการควบคุมความเร็วของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบขดลวด
แยกกระตุ1น ซึ่งเป6นมอเตอรที่นิยมใช1งานในการขับเคลื่อนในงานอุตสาหกรรมและงายตอการควบคุม
รวมถึงยานการควบคุมความเร็วจะกว1าง คือ เริ่มตั้งแตความเร็วเชิงมุมของโรเตอรที่ศูนยถึงความเร็ว
เชิงมุมของโรเตอรเทากับพิกัด ( ωr = 1.0 p.u.) ซึ่งชวงนี้เรียกวา ยานแรงบิดคงที่ (Constant
torque) สวนอีกชวงเริ่มตั้งแตความเร็วเชิงมุมของโรเตอรที่พิกัด ( ωr = 1.0 p.u.) ถึงที่สองเทาของ
พิ กั ด ความเร็ ว เชิ ง มุ ม ( ωr = 2.0 p.u.) เรี ย กยานการทํ า งานชวงนี้ ว า ยานกํ า ลั งคงที่ (Constant
power) ดังแสดงตามรู ปที่ 5.14 ซึ่งแตละชวงจะมี เป" าหมายและหลักการตางๆ ในการควบคุ ม
ความเร็วตามลักษณะการนํามอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงไปใช1งานแตกตางกัน
ในการควบคุมความเร็วของมอเตอรกระแสตรงแบบนี้ ในชวงความเร็วจากศูนยจนถึงพิกัดจะ
ป"อนกระแสเข1าขดลวดสร1างสนามแมเหล็กเป6นคาที่พิกัด ซึ่งมีผลให1คาเส1นแรงแมเหล็กตอขั้ว ( φp )
เป6นคาที่พิกัดและคงที่ตลอดการควบคุมในยานความเร็วนี้

Tp = φp

Tp = φp

Va If VT
1.0
Ea

ωr
0 1.0 2.0

รูปที่ 5.14 ชวงการควบคุมความเร็วของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบขดลวดแยกกระตุ1น

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
213
ไฟฟ"ากระแสตรง

ซึ่งการควบคุมยานความเร็วตั้งแตศูนยจนถึงพิกัดความเร็วมอเตอร เรียกวา “ยานแรงบิด


คงที่” การเพิ่มความเร็วในยานนี้ทําได1โดยการเพิ่มแรงดันไฟฟ"าที่ป"อนเข1าขดลวดอาเมเจอร ( VT )
เมื่อรักษาเส1นแรงแมเหล็กตอขั้วให1มีคาคงที่จะได1ความสัมพันธระหวางความเร็วเชิงมุม ( ωr ) กับ
แรงดันไฟฟ"าที่ขั้ว ( VT ) เป6นดังสมการที่ (5.38)

1
ωr = ( VT − Ia R a ) (5.38)
K T φp

เมื่อกําหนดให1
Za P
KT คือ คาคงที่ของมอเตอร มีคาเทากับ
2πa
Ia คือ คากระแสที่ไหลในขดลวดอาเมเจอร มีหนวยเป6นแอมปV (A)
Ra คือ คาความต1านทานของขดลวดอาเมเจอร มีหนวยเป6นโอหม (Ω)
ในการควบคุ มความเร็ ว ของมอเตอรไฟฟ" า กระแสตรงโดยไมเกิ ด ความเสี ย หายเนื่ องจาก
กระแสเกินพิกัดจึงจําเป6นต1องควบคุมให1กระแสป"อนเข1าขดลวดอาเมเจอร ( Ia ) ไมให1เกินพิกัด ดังนั้น
เมื่ อ ควบคุ ม ให1 เ ส1 น แรงแมเหล็ ก ตอขั้ ว มี ค าคงที่ แ ล1 ว จะได1 แ รงบิ ด ที่ เ กิ ด จากสนามแมเหล็ ก ที่ มี
ความสัมพันธกับกระแสอารเมเจอร ( Ia ) ดังนี้

Te = K T φp Ia (5.39)
เมื่อกําหนดให1
Te คือ แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็กภายในอารเมเจอร มีหนวยเป6นนิวตันเมตร(Nm)
ดังนั้นในการควบคุมความเร็วมอเตอรในยานแรงบิดคงที่จะพบวาเมื่อเพิ่มโหลดให1กับมอเตอร
ไฟฟ"ากระแสตรงจะทําให1กระแสอารเมเจอร ( Ia ) เพิ่มขึ้น โดยระบบการควบคุมความเร็วมอเตอร
จะต1องควบคุมไมให1กระแสเกินพิกัดของมอเตอร
ในทางปฏิบัติแล1ว เมื่อลดความเร็วรอบต่ํากวาพิกัดถ1าระบบระบายความร1อนใช1ใบพัดที่ติด
อยูกับเพลาของมอเตอรจะมีผลทําให1การระบายความร1อนแยลง ถ1าควบคุมให1กระแส ( Ia ) คงที่ก็จะ
ทําให1ความสูญเสียในขดลวดอาเมเจอร ( Ia2 R a ) คงที่ ดังนั้นจะทําให1อุณหภูมิของขดลวดอารเมเจอร
คงที่
ในยานการควบคุ มความเร็ วรอบมอเตอรตั้งแตความเร็ วที่ คาพิกัด จนถึงสองเทาของพิ กัด
ความเร็ว เรียกยานการควบคุมความเร็วนี้วา “ยานกําลังคงที่” เมื่อไมสามารถเพิ่มแรงดันไฟฟ"าที่
ขั้ว ( VT ) ให1สูงกวาแรงเคลื่อนไฟฟ"าต1านกลับภายในอารเมเจอรของมอเตอร ( E b ) ดังนั้นเมื่อ
เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
214
ไฟฟ"ากระแสตรง

ต1องการเพิ่มความเร็วรอบของมอเตอรจากสมการที่ (5.38) ทําได1โดยลดเส1นแรงแมเหล็กตอขั้ว ( φp )


ให1ต่ําลงกวาพิกัด ซึ่งจะมีผลทําให1แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็กลดลงตามคาของ ( φp ) ตามสมการ
ที่ (5.39) โดยคิดวาถ1าทําให1กระแสที่ป"อนเข1าขดลวดอาเมเจอร ( Ia ) มีคาคงเดิม
ข1อควรระวัง ในการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงในยานกําลังคงที่
จะเห็นได1จากรูปที่ 5.14 มอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงจะมีความเร็วรอบสูงขึ้น โดยการลดเส1นแรงแมเหล็ก
ตอขั้ว ( φp ) มีผลทําให1แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก ( Te ) มีคาลดลง และอีกกรณีเมื่อมอเตอร
หมุนที่ความเร็วสูงกวาพิกัด จะทําให1การทํางานด1านทางกลเกี่ยวกับการขัดสีของซี่คอมมิวเตเตอรกับ
แปรงถานมีคามากขึ้น รวมถึงลูกป]นจะทํางานหนักขึ้น ซึ่งควรได1รับการดูแลมอเตอรไฟฟ"ากระแส
ตรงที่ทํางานในยานนี้เป6นพิเศษ
5.2.3 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟากระแสตรง
การทําให1มอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง กลับทิศทางการหมุน สามารถทําได1โดยการสลับที่
ขั้วอารเมเจอร หรือที่ขั้วขดลวดสนามแมเหล็ก อยางใดอยางหนึ่งก็ได1 เพื่อให1เกิดความเข1าใจจะแสดง
การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบกระตุ1นแยก แบบชั้นท แบบซีรีส และแบบคอม
ปาวดดังนี้
5.2.3.1 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบกระตุ+นแยก
มอเตอรไฟฟ" า กระแสตรงแบบชั้ น ท กลั บ ทิ ศทางการหมุ น โดยการสลั บ ที่ ขั้ว อาร
เมเจอร หรือที่ขั้วขดลวดสนามแมเหล็ก อยางใดอยางหนึ่งดังรูปที่ 5.15
Ia R Ia R
a a

+
If If
+

VF Rf VT VF - Rf VT
+
Ea Vdc + Ea - Vdc

Te -
ωm
-
Tm
Te
ωm (ข)
Tm

รูปที่ 5.15 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบกระตุ1นแยก


(ก) มอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา (ข) มอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
215
ไฟฟ"ากระแสตรง

5.2.3.2 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบชั้นท
มอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบชั้นท กลับทิศทางการหมุนโดยการสลับที่ขั้วอาร
เมเจอร หรือที่ขั้วขดลวดสนามแมเหล็ก อยางใดอยางหนึ่งดังรูปที่ 5.16
Ra Ra
+ Ia If
Ia If IT IT
+
+
Ea VT - Vdc Ea VT Vdc

-
Te
ωm
-
Tm
Te
(ก) ωm
Tm

รูปที่ 5.16 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบชั้นท


(ก) มอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา (ข) มอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา

5.2.3.3 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบซีรีส
มอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบซีรีส กลับทิศทางการหมุนโดยการสลับที่ขั้ว
อารเมเจอร หรือที่ขั้วขดลวดสนามแมเหล็ก อยางใดอยางหนึ่งดังรูปที่ 5.17
Ra R se Ra R se

Ia IT Ia IT

Ea VT V Ea VT V

Te
ωm
Tm
Te
ωm
Tm

รูปที่ 5.17 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบซีรีส


(ก) มอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา (ข) มอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
216
ไฟฟ"ากระแสตรง

5.2.3.4 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบคอมปาวด
มอเตอรไฟฟ"า กระแสตรงแบบคอมปาวด กลับ ทิศทางการหมุนโดยการ
สลับที่ขั้วอารเมเจอร จะเป6นวิธีที่เหมาะสมที่สุด เพราะการกลับที่ขั้วขดลวดสนามแมเหล็กของมอเตอร
ไฟฟ"ากระแสตรงแบบคอมปาวดจะทําให1เกิดความยุงยากขึ้นได1 เนื่องจากมีขดลวดสนามแมเหล็กอยู
2 ชุด ดังรูปที่ 5.18

Ra R se Ise Ra R se Ise
Ia Ish + IT Ia IT
Ish
+

R sh
+
Ea VT - Vdc Ea R sh VT Vdc

ωm Te
-
Tm
Te - ωm
Tm
(ก)

รูปที่ 5.18 การกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบคอมปาวด


(ก) มอเตอรหมุนทวนเข็มนาฬิกา (ข) มอเตอรหมุนตามเข็มนาฬิกา

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
217
ไฟฟ"ากระแสตรง

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู1สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู1สอนตั้งคําถามให1ผู1เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝ`กหัด
6. ให1งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
- Bbag S. Guru .. and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and Transformers,
Oxford University Press, Inc., 2001.
- Mulukutla S. Sarma, Electric Machines, West Publishing Company, 1994.
- Vincent Del Toro, Basic Electric Machines, Prentice-Hall International, Inc.,
1990.
- Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill,
Inc.,1985.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล1าเจ1า
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝ`กหัดท1ายบทเรียน
2. ศึกษาค1นคว1าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ"า
การวัดผล
1. พิจารณาการเข1าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข1ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝ`กหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การเริ่มเดินมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรง และการควบคุมความเร็วมอเตอร
218
ไฟฟ"ากระแสตรง

แบบฝKกหัด
1. จงอธิบายการเริ่มเดินของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบขดลวดกระตุ1นแยก
2. จงอธิบายการเริ่มเดินของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบชั้นท
3. จงบอกวิธีการควบคุมความเร็วของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงมา 3 วิธี
4. จากรูปลาง จงอธิบายการควบคุมความเร็วของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงในยานแรงบิด
คงที่ และกําลังคงที่

5. จงบอกวิธีการกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบกระตุ1นแยก
6. จงบอกวิธีการกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบชั้นท
7. จงบอกวิธีการกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบซีรีส
8. จงบอกวิธีการกลับทางหมุนของมอเตอรไฟฟ"ากระแสตรงแบบคอมปาวด

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ"า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
219

บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟากระแสตรง


จุดประสงคการสอน
5.3 คํานวณคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
5.3.1 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ3นสนามแมเหล็ก
จากภายนอก
5.3.2 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท
5.3.3 คํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับเครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบคอมปาวด

5.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟากระแสตรง


มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงทําหน3าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ$าเป7นพลังงานกล แบงตามการกระตุ3น
สนามแมเหล็ก ออกเป7น 2 แบบคือ แบบกระตุ3นสนามแมเหล็กจากภายนอก และแบบกระตุ3น
สนามแมเหล็กจากภายใน เมื่อแบงตามลักษณะการตอขดลวดกระตุ3นสนามแมเหล็กกับอารเมเจอร
จะแบงออกเป7น 3 แบบ คือ มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบซีรีส
และมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบคอมปาวด ซึ่งมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบคอมปาวด ยังแบงออก
ได3เป7น 2 แบบคือ แบบช=อตชั้นทคอมปาวด และแบบลองชั้นทคอมปาวด ในบทนี้จะกลาวถึงการหา
คาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ3นสนามแมเหล็กจากภายนอก มอเตอรไฟฟ$า
กระแสตรงแบบชั้นท และมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบคอมปาวด ดังตัวอยางที่ 5.1 ถึงตัวอยางที่
5.5 ดังนี้
5.3.1 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบกระตุ&นสนามแมเหล็กจาก
ภายนอก
ตัวอยางการคํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ3นสนามแมเหล็กจาก
ภายนอก แสดงดังตัวอยางที่ 5.1
ตัวอยางที่ 5.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ$ากระแสตรงแบบตอขดลวดกระตุ3นแยกในตัวอยางที่ 4.1 มีคา
ความต3านทานของขดลวดอารเมเจอรเทากับ 0.1 โอหม โดยข3อมูลจากการทดสอบเครื่องกําเนิด
ไฟฟ$ากระแสตรงแบบตอขดลวดกระตุ3นแยกในตัวอยางที่ 4.1 ขณะที่ไมมีโหลดที่พิกัดความเร็ว 1,200
ร อ บ ต อ น า ที ค ง ที่ ไ ด3 ข3 อ มู ล ค ว า ม สั ม พั น ธ ร ะ ห ว า ง ก ร ะ แ ส ก ร ะ ตุ3 น ( If ) กั บ ก า ร เ กิ ด
แรงเคลื่อนไฟฟ$า ( E a ) ดังตารางที่ 5.1 ดังนี้

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
220

ตารางที่ 5.1 ความสัมพันธระหวางกระแสกระตุ3น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ$า ( E a ) ที่ความเร็ว


รอบเพลาโรเตอรหมุนเทากับ 1,200 รอบตอนาที
E a (V) 70 140 195 235 260 276
I f (A) 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0
เมื่ อนํา เครื่ องกํ า เนิ ดไฟฟ$ ากระแสตรงแบบตอขดลวดกระตุ3 น แยกในตั วอยางที่ 4.1 มา
ประยุกตใช3งานเป7นมอเตอรแบบชั้นท โดยปรับกระแสฟHลด (If) เทากับ 2 A คงที่ เมื่อป$อนแรงดันไฟ
ตรงจายให3มอเตอรที่ขั้วกอนนํามอเตอรไฟตรงตัวนี้ไปฉุดโหลดทางกลเทากับ 150 V , 200 V และ
250 V ตามลําดับ ซึ่งในแตละแรงดันที่จายไฟให3กับมอเตอร เมื่อนํามอเตอรตัวนี้ไปใช3งานฉุดโหลด
ทางกลที่กระแสพิกัดโหลดเทากับ 100 A สมมุติให3แรงดันไฟฟ$าตกครอมแปลงถานมีคาเทากับ 2 V
จงหา
(ก) แรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอรที่กระแสพิกัดโหลด 100 A
(ข) ความเร็วของมอเตอรในอุดมคติขณะไมมีโหลดทางกลในหนวยรอบตอนาที
(ค) ความเร็วของมอเตอรที่กระแสพิกัดในหนวยรอบตอนาที
(ง) วาดรูปความสัมพันธระหวางกระแสกับแรงบิดอารเมเจอรที่เกิดขึ้นในข3อ (ก)
(จ) วาดรูปความสัมพันธระหวางกระแสกับความเร็วมอเตอรที่เกิดขึ้นในข3อ (ข) และ (ค)
วิธีทํา
(ก) หาแรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอรที่กระแสพิกัดโหลด 100 A
จากความสัมพันธระหวางกระแสกระตุ3น ( If ) กับการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ$า ( E a ) ที่ความเร็ว
รอบเพลาโรเตอรหมุนเทากับ 1,200 รอบตอนาที ดังตารางที่ 5.1 ที่คากระแสกระตุ3นขดลวดสร3าง
สนามแมเหล็ก (If) เทากับ 2 A แรงเคลื่อนไฟฟ$า ( E a( mc) ) ที่เกิดขึ้นในอารเมเจอรมีคาเทากับ 235 V
ซึ่งสามารถหาความสัมพันธของความเร็วรอบมอเตอรตามการเปลี่ยนแปลงของแรงเคลื่อนไฟฟ$าที่
เกิดขึ้นในอารเมเจอรได3จาก
Ea ω
= m
E a ( mc ) ωmc
หรือ
E a E a ( mc)
=
ωm ωmc

เทอมด3านขวามือแทนกระแสกระตุ3นที่คงที่
E a = K a × φp × ωm

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
221

จาก
Ea
K a × φp =
ωm

ดังนั้นแรงบิดที่เกิดขึ้นหาได3จาก

Td = K a × φp × Ia
E 
=  a  Ia
 ωm 
 E a ( mc) 
=
 ω  a
I
 mc 

ดังนั้นหาแรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอรที่กระแสพิกัดโหลด 100 A ได3ดังนี้

Td =
( 235V )(100A )
2π 
(1200rpm )  
 60 
= 187 Nm

(ข) หาความเร็วของมอเตอรในอุดมคติขณะไมมีโหลดทางกลในหนวยรอบตอนาที

จากความสัมพันธ
Ea ω
= m
E a ( mc ) ωmc
หรือ
Ea n
= m
E a ( mc ) n mc

ดังนั้น
 E 
n m =  a  n mc
 E a ( mc ) 
 
เมื่อ
n mc = 1200 รอบตอนาที
E a ( mc ) = 235 โวลต

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
222

จากโจทยกําหนดให3รักษาคากระแสฟHลดไว3ที่ 2 A คงที่ ดังนั้นแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วจายไฟให3กับ


มอเตอร (VT) และแรงเคลื่อนไฟฟ$าที่ผลิตขึ้นภายในอารเมเจอร (Ea) จะมีคาเทากันในขณะยังไมฉุด
โหลดทางกลในอุดมคติ โดยหาได3ดังนี้

 150V 
nm =   × 1200 rpm
 235V 
= 766 rpm

ความเร็วของมอเตอรขณะไมมีโหลดในทางอุดมคติและขณะมีโหลดที่กระแสอารเมเจอรพิกัด
มีความสัมพันธกับแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วจายไฟให3กับมอเตอรดังตารางที่ 5.2

ตารางที่ 5.2 ความสัมพันธระหวางแรงดันไฟฟ$าที่ขั้วกับความเร็วของมอเตอรขณะไมมีโหลด และมี


โหลดที่กระแสพิกัด โดยที่ป$อนกระแสฟHลดคงที่ 2 A
Ia= 100A
Ia = 0A Ia= 100A If = 2.0A Ia = 0A Ia = 100A
VT (V) ∑Ra= 0.10 Ω E (V) E (V) E (V) n (rpm) n (rpm)
a,nl a,fl a,(mc) nl fl
∑IaRa (V)
150 10 150 138 235 766 705
200 10 200 188 235 1021 960
250 10 250 238 235 1277 1215

(ค) หาความเร็วของมอเตอรที่กระแสพิกัดในหนวยรอบตอนาที
ในทํานองเดียวกันหาความเร็วของมอเตอรขณะฉุดโหลดที่กระแสพิกัดได3ดังนี้
 E 
n fl =  a,fl  n mc
 E a ( mc ) 
 

เมื่อแรงดันไฟตรงที่ผลิตขึ้นภายในอารเมเจอร ( E a ,fl ) หาได3จาก

E a,fl = VT − ∑ Ia R a − 2.0

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
223

ถ3าป$อนแรงดันไฟตรงที่จายให3มอเตอรที่ขั้วเทากับ 150 V จะทําให3เกิดแรงดันไฟตรงที่ผลิต


ขึ้นภายในอารเมเจอร ( E a ,fl ) มีคาเทากับ

E a,fl = (150 V ) − (100 A )( 0.10 Ω ) − 2.0V

= 138 V

ดังนั้นหาความเร็วรอบของมอเตอรได3ดังนี้
 138V 
n fl =   (1200 rpm )
 235V 

= 705 rpm

(ง) วาดรูปความสัมพันธระหวางกระแสกับแรงบิดอารเมเจอรที่เกิดขึ้นในข3อ (ก)

Td
If > 2.0 A
If = 2.0 A
187 Nm
If < 2.0 A

93.5 Nm

Ia
0 50 A 100 A

รูปที่ 5.11 ความสัมพันธระหวางกระแสกับแรงบิดที่เกิดขึ้นในอารเมเจอรของมอเตอรตัวอยางที่ 5.1

รูปที่ 5.11 แสดงคุณลักษณะความสัมพันธระหวางกระแสกับแรงบิดที่เกิดขึ้นในอารเมเจอร


ของมอเตอรของตัวอยางที่ 5.1 ข3อ (ก) โดยจะเห็นได3วาถ3าเพิ่มกระแสกระตุ3นให3มากขึ้น ลักษณะกราฟ
จะมีความชันเพิ่มขึ้น เป7นผลทําให3แรงบิดสูงขึ้น และถ3ากระแสกระตุ3นมีคาลดลงลักษณะกราฟที่ได3จะ
มีความชันลดลง เป7นผลทําให3แรงบิดลดลง

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
224

(จ) วาดรูปความสัมพันธระหวางกระแสกับความเร็วมอเตอรที่เกิดขึ้นในข3อ (ข) และ (ค)


n

1277 rpm
VT = 250 V
1021 rpm
1215 rpm
VT = 200 V
766 rpm
960 rpm
VT = 150 V
705 rpm
If = 2.0 A constant
Ia
0 100 A
รูปที่ 5.12 ความสัมพันธระหวางกระแสกับความเร็วของมอเตอรตัวอยางที่ 5.1

รูปที่ 5.12 แสดงคุณลักษณะความสัมพันธระหวางกระแสกับความเร็วของมอเตอรตาม


ตัวอยางที่ 5.1 ข3อ (ข) และ (ค) โดยจะเห็นได3วาที่คากระแสกระตุ3นขดลวดฟHลดเทากับ 2 A คงที่ ที่
แรงดันไฟที่จายให3มอเตอรมีคาเทากับ 250 V จะมีความเร็วรอบลดลงจาก 1277 รอบตอนาที (rpm)
เหลือ 1215 รอบตอนาที ในลักษณะคล3ายกันเมื่อเปลี่ยนแปลงแรงดันไฟที่จายให3มอเตอรมีคาลดลง
เหลือ 200 V และ 150 V ก็จะทําให3ความเร็วรอบของมอเตอรมีคาลดลงจากขณะทํางานในสภาวะไม
มีโหลดทางกลในอุดมคติเชนกัน

E a ( 0 ) = 250 V n 0 = 1277 rpm


E a (100 ) = 238 V n100 = 1215 rpm
E a ( mc ) = 235 V n mc = 1200 rpm

If
0 2.0 A
รูปที่ 5.13 ความสัมพันธระหวางกระแสกระตุ3นกับแรงเคลื่อนไฟฟ$าภายในอารเมเจอรที่ความเร็วของ
มอเตอรในสภาวะไมมีโหลด มีโหลดเต็มพิกัด และที่ความเร็วรอบ 1200 rpm ในตัวอยางที่ 5.1 (จ)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
225

รูปที่ 5.13 แสดงคุณลั กษณะความสั มพั นธระหวางกระแสฟHล ดกั บแรงดัน ไฟฟ$ าภายใน
อารเมเจอรของมอเตอรตามตัวอยางที่ 5.1 ข3อ (จ) โดยจะเห็นได3วาที่คากระแสกระตุ3นขดลวดฟHลด
เทากับ 2 A ที่แรงดั นไฟที่จ ายให3มอเตอรในสภาวะไมมี โหลดทางกลในอุ ดมคติจ ะเทากั นกั บ
แรงดันไฟฟ$าภายในอารเมเจอรของมอเตอร กําหนดให3มีคาเทากับ 250 V ความเร็วรอบมอเตอรมีคา
เทากับ 1277 รอบตอนาที เมื่อเพิ่มโหลดทางกลขึ้นจนเทากับพิกัดกระแสอารเมเจอรของมอเตอร
แรงดันไฟที่จายให3มอเตอรมีคาลดลงเทากับ 238 V ความเร็วรอบของมอเตอรมีคาลดลงจาก 1277
รอบตอนาที เหลือ 1215 รอบตอนาที และที่การทดสอบตามตารางที่ 5.1 แรงดันไฟฟ$าภายในอาร
เมเจอรของมอเตอรตัวนี้เมื่อทํางานเป7นเครื่องกําเนิดไฟตรงมีคาเทากับ 235 V ที่การทดสอบในสภาวะ
ไมมีโหลดทางไฟฟ$าที่ความเร็วรอบของตัวต3นกําลังฉุดเครื่องกําเนิด มีคาเทากับ 1200 รอบตอนาที

5.3.2 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบชั้นท


ตัวอยางการคํานวณหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ3นสนามแมเหล็กจาก
ภายนอก แสดงดังตัวอยางที่ 5.2 ถึงตัวอยางที่ 5.4

ตัวอยางที่ 5.2 มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นทถูกนําไปใช3งานฉุดโหลดทางกลที่ความเร็วรอบ


1000 รอบตอนาที มอเตอรกินกระแสที่วงจรอารเมเจอรเทากับ 100 A และแรงดันไฟตรงที่ขั้วจายไฟ
เข3ามอเตอรมีคาเทากับ 240 V โดยคาความต3านทานของขดลวดอารเมเจอรมีคาเทากับ 0.1 Ω และ
แรงดันตกครอมแปรงถานโดยรวมมีคาเทากับ 2 V จงหา
(ก) แรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td)
(ข) ความเร็วที่เพลาโรเตอรหมุน (Nr) และกระแสในวงจรอารเมเจอร (Ia) ถ3าแรงบิดที่เกิดขึ้น
ในตัวอารเมเจอร (Td) มีคาเป7นสองเทาของข3อ (ก)
วิธีทํา
(ก) หาแรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร(Td)
จากสมการ
E a = VT − Ia R a − VBrush

แทนคาตางๆ จะได3
= 240 − (100 × 0.1) − 2
= 228

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
226

หาความเร็วเชิงมุมที่ความเร็วรอบมอเตอร 1000 รอบตอนาที


 2π 
ωm = (1000 rpm )  
 60 
= 104.72 rad / sec
จากสมการ
E a = K a × φp × ωm

Ea
K a × φp =
ωm
228V
=
104.72rad / sec

= 2.1772

ดังนั้นแรงบิดที่เกิดขึ้นที่อารเมเจอรหาได3ดังนี้
Td = K a × φp × Ia

= 2.1772 ×100

= 217.72 Nm ตอบ

(ข) หาความเร็วที่เพลาโรเตอรหมุน (Nr) และกระแสในวงจรอารเมเจอร (Ia) ถ3าแรงบิด


ที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td) มีคาเป7นสองเทาของข3อ (ก)

จากแรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td) ในข3อ (ก) มีคาเทากับ 217.72 นิวตันเมตร


ดังนั้นเมื่อแรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td) ในข3อ (ก) มีคาเพิ่มขึ้นเป7นสองเทา จะทําให3แรงบิดที่
เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอรมีคาเทากับ 435.44 นิวตันเมตร
Td
Ia =
K a × φp
435.44
=
2.1772

= 200 A

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
227

หาความเร็วเชิงมุมที่เพลาโรเตอรหมุนได3จาก
Ea
ωm =
K a × φp
V −I R
= T a a
K a × φp

240 − ( 200 × 0.1)


=
2.1772

= 101.05 rad / sec

หรือ
 60 
n m = (101.05 rad / sec )  
 2π 
= 964.96 rev / min ตอบ
***********************************************
ตัวอยางที่ 5.3 มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท ขนาด 10 kW, 220 V มีคาความต3านทานของ
ขดลวดอาเมเจอร (Ra) และคาความต3านทานของขดลวดชั้นท (Rsh) เทากับ 0.2 และ 220 โอหม
ตามลําดับ
ถ3าป$อนแรงดันไฟฟ$าที่พิกัด ขณะที่ไมมีโหลดทางกลในทางอุดมคติจะมีกระแสป$อนเข3าเทากับ
5 A และมอเตอรหมุนด3วยความเร็ว 1,000 รอบตอนาที
เมื่อเพิ่มโหลดทางกลจะมีกระแสไฟฟ$าป$อนเข3ามอเตอรเทากับ 30 A ให3คํานวณหาความเร็ว
รอบของเพลามอเตอร (Nm2) แรงบิดที่เกิดสนามแมเหล็ก (Te) และกําลังสงออก (Pout) โดย
กําหนดให3เส3นแรงแมเหล็กตอขั้ว (φp) และความสูญเสียจากการหมุน (Prot) มีคาคงที่
วิธีทํา
จากโจทยเขียนรูปวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นทได3ดังนี้
Ia R = 0.2 Ω IT
a

If

R sh = 220 Ω
Ea VT Vdc = 220V

ωm
Tp
Te

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
228

วิธีทํา
VT 220
If = = =1A
R f 220

Ia1 = IT − If = 5 − 1 = 4 A

E a1 = VT − Ia R a = 220 − ( 4 × 1) = 216 V

Prot = E a Ia = 216 × 4 = 864 W

เมื่อเพิ่มโหลดทางกล

Ia 2 = IT − If = 30 − 1 = 29 A

E a 2 = VT − Ia 2 R a = 220 − ( 29 × 1) = 191 V

จาก
Pφ p Z a N
Ea =
60a

เมื่อคา φp มีคาคงที่ จะได3ความสัมพันธดังนี้


E a1 N m1
=
Ea 2 Nm2

หาจํานวนรอบการหมุนขณะตอโหลดทางกลได3ดังนี้
Ea 2
N m2 = N m1
E a1
191
= 1000 ×
216
= 884 rpm ตอบ
หาความเร็วเชิงมุมของการหมุนขณะตอโหลดทางกลได3ดังนี้
2πN m 2
ωm2 =
60
2π× 884
=
60
= 92.57 rad / sec

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
229

หาแรงบิดที่เกิดสนามแมเหล็ก (Te2) ได3ดังนี้

E a 2 Ia 2
Te2 =
ωm2
191× 29
=
92.57
= 59.8 Nm

∴ แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te2) = 59.8 Nm ตอบ

หากําลังสงออก (Pout) ได3ดังนี้

Pout = E a Ia − Prot
= (191× 29 ) − 864
= 4, 675 W

∴ กําลังไฟฟ$าที่สงออก (Pout) = 4, 675 W ตอบ


***********************************************

ตัวอยางที่ 5.4 มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นท ขนาด 25 แรงม3า 250 โวลต มีคาความต3านทาน


ของขดลวดอารเมเจอร (Ra) มีคาเทากับ 0.2 โอหม และคาความต3านทานของขดลวดชั้นท (Rsh) มีคา
เทากับ 150 โอหม ตามลําดับ ถ3าให3แรงดันไฟตรงตกครอมที่หน3าสัมผัสแปรงถานทั้งหมด (Pbrush) มี
คาเทากับ 2 โวลต กําลังไฟฟ$าสูญเสียในแกนเหล็กและแรงเสียดทาน (Prot) มีคาเทากับ 500 วัตต
เมื่อนํามอเตอรตัวนี้ไปใช3งานฉุดโหลดทางกลที่พิกัด วัดกระแสที่ไหลจากแหลงจายไฟตรงเข3ามอเตอร
ได3เทากับ 50 A จงหา
(ก) กําลังไฟฟ$าสูญเสียในขดลวดชั้นทฟHลด (Pf)
(ข) กําลังไฟฟ$าสูญเสียในขดลวดอารเมเจอร (Pa)
(ค) กําลังไฟฟ$าสูญเสียทั้งหมดในมอเตอร (∑Ploss)
(ง) เปอรเซ็นตประสิทธิภาพของมอเตอร (%η)

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
230

วิธีทํา
หากําลังไฟฟ$าที่ป$อนเข3ามอเตอร (Pin) ได3ดังนี้

Pin = VT IT
= ( 250V )( 50A )
= 12,500 W

(ก) หากําลังไฟฟ$าสูญเสียในขดลวดชั้นทฟHลด (Psh) ได3ดังนี้


Pf = If2 R sh
(ข)

= Vf If
Vf2
=
R sh

เมื่อ Vf = VT = 250 V แทนคาในสมการข3างต3นจะได3

2502
Pf = = 417 W ตอบ
150

(ข) หากําลังไฟฟ$าสูญเสียในขดลวดอารเมเจอร (Pa) ได3ดังนี้


หากระแสฟHลดที่ไหลผานขดลวดชั้นท (If) ได3ดังนี้
Pf
If =
Vf
417 W
=
250 V
= 1.668 A

หากระแสอารเมเจอร (Ia) ขณะมอเตอรทํางานฉุดโหลดทางกลที่พิกัดได3ดังนี้


Ia = IT − If
= 50A − 1.668A
= 48.332 A

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
231

กําลังไฟฟ$าสูญเสียในขดลวดอารเมเจอร (Pa) หาได3ดังนี้

Pa = Ia2 R a

= ( 48.332A ) ( 0.1 Ω )
2

= 234 W ตอบ

(ค) หากําลังไฟฟ$าสูญเสียทั้งหมดในมอเตอร (∑Ploss)


หากําลังไฟฟ$าสูญเสียที่หน3าสัมผัสแปรงถานทั้งหมด (Pbrush) ได3ดังนี้
Pbrush = Vbrush Ia

= 2V × 48.332A

= 97 W

กําลังไฟฟ$าสูญเสียทั้งหมดในมอเตอร (∑Ploss) หาได3ดังนี้

∑P loss = Pf + Pa + Pbrush + Prot

= 417 + 234 + 97 + 500

= 1, 248 W

(ง) หาเปอรเซ็นตประสิทธิภาพของมอเตอร (%η) ได3ดังนี้


 ∑ Ploss 
%η = 1 −  × 100
 Pin 
 1, 248W 
= 1 −  × 100
 12,500W 

= 90 %

***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
232

5.3.3 การหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟากระแสตรงแบบคอมปาวด


มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบคอมปาวด แบงออกได3เป7น 2 แบบคือ แบบช=อตชั้นทคอม
ปาวด และแบบลองชั้นทคอมปาวด ในที่นี้จะกลาวถึงการหาคาตางๆ เกี่ยวกับมอเตอรไฟฟ$ า
กระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด ดังตัวอยางที่ 5.5 ดังนี้

ตัวอยางที่ 5.5 มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด ขนาด 10 kW, 220 V มีคาความ


ต3านทานของขดลวดสร3างสนามแมเหล็กแบบอนุกรม (R se ) เทากับ 0.02 โอหม คาความต3านทาน
ของขดลวดอาเมเจอรเทากับ 0.5 โอหม คาความต3านทานของขดลวดสร3างสนามแมเหล็กแบบขนาน
(R sh ) เทากับ 220 โอหม ตามลําดับ
ถ3าป$อนแรงดันไฟฟ$าที่พิกัด ขณะที่ไมมีโหลดทางกลในทางอุดมคติจะมีกระแสป$อนเข3าเทากับ
4 A และมอเตอรหมุนด3วยความเร็ว 1,000 รอบตอนาที
เมื่อเพิ่มโหลดทางกลจะมีกระแสไฟฟ$าป$อนเข3ามอเตอรเทากับ 20 A ให3คํานวณหาความเร็ว
รอบของเพลามอเตอร (Nm2) แรงบิดที่เกิดสนามแมเหล็ก (Te) และกําลังสงออก (Pout) โดย
กําหนดให3เส3นแรงแมเหล็กตอขั้ว (φp) และความสูญเสียจากการหมุน (Prot) มีคาคงที่
วิธีทํา
จากโจทยเขียนรูปวงจรสมมูลของมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด ได3ดังนี้
Ia Ra R se IT

If

Ea R sh VT Vdc = 220V

ωm
Tp
Te

วิธีทํา
VT 220
If = = =1A
R f 220

Ia1 = IT − If = 4 − 1 = 3 A

E a1 = VT − Ia ( R a + R se ) = 220 − 3 ( 0.5 + 0.02 ) = 218.44 V

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
233

Prot = E a Ia = 218.44 × 3 = 655 W

เมื่อเพิ่มโหลดทางกล

Ia 2 = IT − If = 20 − 1 = 19 A

E a 2 = VT − Ia 2 R a = 220 − (19 × 1) = 201 V

จาก
Pφ p Z a N
Ea =
60a

เมื่อคา φp มีคาคงที่ จะได3ความสัมพันธดังนี้

E a1 N m1
=
Ea 2 Nm2

หาจํานวนรอบการหมุนขณะตอโหลดทางกลได3ดังนี้

Ea 2
N m2 = N m1
E a1
201
= 1000 ×
218.44
= 920 rpm ตอบ

หาความเร็วเชิงมุมของการหมุนขณะตอโหลดทางกลได3ดังนี้

2πN m 2
ωm2 =
60
2π× 920
=
60
= 96.34 rad / sec

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
234

หาแรงบิดที่เกิดสนามแมเหล็ก (Te2) ได3ดังนี้

E a 2 Ia 2
Te2 =
ωm2
201× 19
=
96.34
= 39.6 Nm

∴ แรงบิดที่เกิดจากสนามแมเหล็ก (Te2) = 39.6 Nm ตอบ

หากําลังสงออก (Pout) ได3ดังนี้

Pout = E a Ia − Prot
= ( 201× 19 ) − 655
= 3,164 W

∴ กําลังไฟฟ$าที่สงออก (Pout) = 3,164 W ตอบ


***********************************************

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
235

วิธีการสอนและกิจกรรม
1. ผู3สอนบรรยายเนื้อหา
2. นักศึกษารวมอภิปราย
3. ผู3สอนตั้งคําถามให3ผู3เรียนมีสวนรวมในการเรียน
4. นักศึกษาสรุปสาระสําคัญตางๆ
5. นักศึกษาทําแบบฝiกหัด
6. ให3งานที่มอบหมาย
สื่อการสอน
1. หนังสือและเอกสารประกอบการสอน
..
- Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Second Edition, Taylor
& Francis Group, LLC., 2012.
- พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล3าเจ3า
คุณทหารลาดกระบัง, 2540.สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- สมพงษ ศรีลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องจักรกลไฟฟา 1 รหัสวิชา
2312305, กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
- พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
2. โสตทัศนวัสดุ
- เครื่องฉายโปรเจคเตอร และคอมพิวเตอร
งานที่มอบหมาย
1. ทําแบบฝiกหัดท3ายบทเรียน
2. ศึกษาค3นคว3าเพิ่มเติมจากหนังสือที่เกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ$า
การวัดผล
1. พิจารณาการเข3าชั้นเรียนตามเวลากําหนด สนใจเรียนและเข3ารวมกิจกรรมการเรียน
2. ตรวจแบบฝiกหัด การซักถาม-ตอบ

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


หนวยที่ 5 วิธีการเริ่มเดินมอเตอรกระแสตรง และวิธีการควบคุมความเร็วมอเตอรกระแสตรง
บทเรียน เรื่อง การหาคาตางๆ เกีย่ วกับมอเตอรไฟฟ$ากระแสตรง
236

แบบฝHกหัด
1. มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบกระตุ3นสนามแมเหล็กจากภายนอก หรือแบบแยกขดลวด
กระตุ3น มีคาความต3านทานของขดลวดอารเมเจอรเทากับ 1.5 โอหม ถูกนําไปใช3งานฉุด
โหลดทางกลที่ความเร็วรอบ 1200 รอบตอนาที มอเตอรกินกระแสที่วงจรอารเมเจอร
เทากับ 20 A และแรงดันไฟตรงที่จายเข3าวงจรอาเมเจอรและขดลวดแยกกระตุ3นของ
มอเตอรมีคาเทากับ 220 V เทากัน โดยคาความต3านทานของขดลวดอารเมเจอรมีคา
เทากับ 0.1 Ω และคาความต3านทานของขดลวดแยกกระตุ3นมีคาเทากับ 220 Ω มีแรงดัน
ตกครอมแปรงถานโดยรวมมีคาเทากับ 2 V จงหา
(ก) แรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td)
(ข) ความเร็วที่เพลาโรเตอรหมุน (Nr) และกระแสในวงจรอารเมเจอร (Ia) ถ3าแรงบิดที่
เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td) มีคาเป7นสองเทาของข3อ (ก)
2. มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบชั้นทถูกนําไปใช3งานฉุดโหลดทางกลที่ความเร็วรอบ 800
รอบตอนาที มอเตอรกินกระแสที่วงจรอารเมเจอรเทากับ 60 A และแรงดันไฟตรงที่ขั้ว
จายไฟเข3ามอเตอรมีคาเทากับ 220 V โดยคาความต3านทานของขดลวดอารเมเจอรมีคา
เทากับ 0.1 Ω และแรงดันตกครอมแปรงถานโดยรวมมีคาเทากับ 2 V จงหา
(ค) แรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td)
(ง) ความเร็วที่เพลาโรเตอรหมุน (Nr) และกระแสในวงจรอารเมเจอร (Ia) ถ3าแรงบิดที่
เกิดขึ้นในตัวอารเมเจอร (Td) มีคาเป7นสองเทาของข3อ (ก)
3. มอเตอรไฟฟ$ากระแสตรงแบบลองชั้นทคอมปาวด ขนาด 20 kW, 220 V มีคาความ
ต3านทานของขดลวดสร3างสนามแมเหล็กแบบอนุกรม (R se ) เทากับ 0.01 โอหม คาความ
ต3านทานของขดลวดอาเมเจอรเทากับ 0.2 โอหม คาความต3านทานของขดลวดสร3าง
สนามแมเหล็กแบบขนาน (R sh ) เทากับ 220 โอหม ตามลําดับ
ถ3 า ป$ อ นแรงดั น ไฟฟ$ า ที่ พิ กั ด ขณะที่ ไ มมี โ หลดทางกลในทางอุ ด มคติ จ ะมี ก ระแส
ป$อนเข3าเทากับ 3 A และมอเตอรหมุนด3วยความเร็ว 1,000 รอบตอนาที
เมื่อเพิ่มโหลดทางกลจะมีกระแสไฟฟ$าป$อนเข3ามอเตอรเทากับ 50 A ให3คํานวณหา
ความเร็วรอบของเพลามอเตอร (Nm2) แรงบิดที่เกิดสนามแมเหล็ก (Te) และกําลังสงออก
(Pout) โดยกําหนดให3เส3นแรงแมเหล็กตอขั้ว (φp) และความสูญเสียจากการหมุน (Prot)
มีคาคงที่

เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN2012203 เครื่องจักรกลไฟฟ$า 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร


บรรณานุกรม

สุกัลยา พลเดช, “การใชหนวยวัดระบบเอสไอ (SI Unit) อยางถูกตอง”, วารสารกรมวิทยาศาสตร+


บริการ ป-ที่ 60 ฉบับที่ 189 หนา 44-46.
ธวัชชัย อัตถวิบูลย+กุล, เครื่องกลไฟฟา 2 หมอแปลงไฟฟา, กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ+ศูนย+สงเสริมอาชีวะ,
2536.
พิชิต ลํายอง, เครื่องจักรกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร
ลาดกระบัง, 2540.
ธวัช เกิดชื่น, เครื่องกลไฟฟา 1. กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ+ฟFสิกส+เซ็นเตอร+, 2546.
สมพงษ+ ศรีลัด, เอกสารประกอบการสอน วิชา เครื่องจักรกลไฟฟา 1 รหัสวิชา 2312305,
กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน, 2551.
พูนศรี วรรณการ, เอกสารคําสอน รหัสวิชา EN 2012203 เครื่องจักรกลไฟฟา 1,
คณะวิศวกรรมศาสตร+ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร, 2562.
พูนศรี วรรณการ พนา ดุสิตากร อรุณ ชลังสุทธิ์ และนัฐโชติ รักไทยเจริญชีพ, “การทดสอบหา
ค*าพารามิเ ตอร- ของเครื่องกําเนิดไฟฟา 5 เฟสแบบเสนแรงแม*เหล็กไหลตามแนว
แกนเพลา,”การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟNา ครั้งที่ 42 (EECON-42), โรงแรม
เดอะกรีนเนอรี รีสอร+ท เขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา, 30 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน 2562,
หนา 37-40.
พูนศรี วรรณการ พนา ดุสิตากร นัฐโชติ รักไทยเจริญชีพ และ ธนารัตน+ ตันมณีประเสริฐ , “เครื่อง
กําเนิดไฟฟา 5 เฟสแบบเสนแรงแม*เหล็กไหลตามแนวแกนเพลาขนาด 1 กิโลวัตต-
ประยุกต-ใชกับพลังงานลมผลิตไฟฟา”, การประชุมวิชาการเครือขายวิศวกรรม ไฟฟNา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 11 (EENET 2019), โรงแรมกรุงศรีริเวอร+ อําเภอ
พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, 15-17 พฤษภาคม 2562, หนา 543-546.
P. Wannakarn, T. Tanmaneeprasert, N. Rugthaicharoencheep and S. Nedphograw,
“Design and Construction of Axial Flux Permanent Magnet Generator
for Wind Turbine Generated DC Voltage at Rated Power 1500 W”, The
Fourth International Conference on Electric Utility Deregulation and
Restructuring and Power Technologies (DRPT), Weihai, Shandong, China,
2011.
บรรณานุกรม (ต*อ)

Chapman, Stephen J., Electric Machinery Fundamentals, Mc Graw-Hill, Inc., 1985.


Vincent Del Toro, Basic Electric Machines, Prentice-Hall International, Inc., 1990.
Mulukutla S. Sarma, Electric Machines, West Publishing Company, 1994.
Bbag S. Guru and Huseyin R. Hiziroglu, Electric Machiney and Transformers,
Oxford University Press, Inc., 2001.
Turan Gonen, Electrical Machines with MATLAB, Second Edition, Taylor & Francis
Group, LLC., 2012.
Wayne Hartmann, Transformer Protection, 35TH Annual HANDS-ON Relay School,
March 12-16, Pullman, Washington, 2018.
ประวัติผูสอน

ผูชวยศาสตราจารย ดร.พูนศรี วรรณการ


Assistant Dr. Poonsri Wannakarn
ตําแหนง ผูชวยศาสตราจารย สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
e-mail: poonsri.w@rmutp.ac.th
คุณวุฒิทางการศึกษา
วศ.ด. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
วศ.ม. (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
วศ.บ (วิศวกรรมไฟฟา) สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
อส.บ (วิศวกรรมไฟฟา) วิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประวัติการทํางาน
พ.ศ.2537-2540 อาจารยประจําสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
วิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พ.ศ.2540-ปJจจุบัน อาจารยประจําสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา คณะวิศวกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
งานวิจัยที่สนใจ
ทํางานวิจัยดานเครื่องกลไฟฟา อิเล็กทรอนิกสกําลัง การขับเคลื่อนดวยไฟฟา และพลังงานทดแทน

You might also like