Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 47

การวิเคราะห์ การไหลของ Power Flow Analysis

กําลังไฟฟ้าในระบบไฟฟ้า

Power Flow Analysis

1 2

9 Bus , 3 Generators Power System การศึกษาการไหลของกําลังไฟฟ้า


(Power Flow Studying)
• การศึกษาภาวะการส่ งและรับกําลังไฟฟ้ าที่บสั ต่างๆ ในระบบ
• คํานวณหา ค่าแรงดัน มุมของแรงดัน กําลังไฟฟ้ าจริ ง และ
กําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ ที่บสั ต่างๆ ในระบบ
• สามารถศึกษาได้ท้ งั ภาวะปกติ (Steady State) และ ในภาวะไม่
ปกติ (Fault) เช่น เกิดการลัดวงจรในระบบ

ลูกศร คือ ทิศทางการไหล • สามารถนําข้อมูลที่ได้จากการศึกษา ไปช่วยตัดสิ นใจในเรื่ อง


ของกําลังไฟฟ้าในระบบ3 เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ า (Power System Stability) 4
Load Flow Calculation for Power System
30 MW

130 km
50 MW
30 MW
50 MW
ก่ อนเปิ ดสวิตช์

30 MW
50 MW

50 MW
5 หลังเปิ ดสวิ
6 ตช์

ข้ อมูลสํ าหรับการศึกษาการไหลของกําลังไฟฟ้า
(Information for Power Flow Studying)
1. เมตริ กแอดมิตแตนซ์ [Y] และเมตริ กอิมพีแดนซ์ [Z] ของระบบ
2. บัสแกว่ ง, บัสอ้ างอิง (Swing Bus, Slack Bus)
คือ บัสอ้างอิงของระบบ (Reference Bus) ที่บสั นี้จะ
กําหนดค่าแรงดัน และ มุมของแรงดันไว้ (V , d )
3. บัสภาระไฟฟ้า (Load Bus)
คือ บัสที่มีภาระไฟฟ้ าต่ออยู่ ที่บสั นี้จะกําหนดค่า
กําลังไฟฟ้ าจริ ง และ กําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ (P, Q)
7 8
ข้ อมูลสํ าหรับการศึกษาการไหลของกําลังไฟฟ้า ค่ าทีก่ าํ หนดให้ และ ค่ าทีต่ ้ องคํานวณทีบ่ ัสต่ างๆ
(Information for Power Flow Studying)
4. บัสที่มีแรงดันคงที่ (Voltage Magnitude Constant Bus, Generator Bus)
คือ บัสที่มีเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าต่ออยู่ จะกําหนดค่า บัส ค่ าทีก่ าํ หนดมาให้ ค่ าทีต่ ้ องคํานวณ
กําลังไฟฟ้ าจริ ง และ ขนาดของแรงดัน (P, V) Swing Bus V d P Q

5. อิมพีแดนซ์อนุกรมและแอดมิตแตนซ์ขนานของสายส่ ง เวลา Load Bus P Q V d


เพิ่มอุปกรณ์เข้ามาในระบบ Gen. Bus P V Q d

6. ข้อมูลอื่นๆ เช่น พิกดั กําลังไฟฟ้ าและอิมพีแดนซ์ของหม้อ คือ มุมเฟสของแรงดันที่บสั นั้นๆ


d
แปลง, พิกดั ตัวเก็บประจุขนาน และ การตั้ง tap ของหม้อแปลง
ใช้ ค9 วบคุม 10

สมการการไหลของกําลังไฟฟ้า (Power Flow Equation) • สามารถเขียนสมการกระแสใหม่ ได้เป็ น


• จากระบบไฟฟ้ าที่มีระบบสายส่ งแบบ p ดังรู ป n n

Vi V1
I i = Vi å yij - å yijV j เมื่อ j¹i
yi1 j=0 j=1

yi2 V2
[ I ] = [Y ][V ]
Ii
• กําลังไฟฟ้ าจริ ง (P) และ กําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ (Q) ที่บสั i เป็ น
 yin Vn
Pi + jQi = Vi I i*
yi0

( Pi + jQi )
*
Pi - jQi
หรื อ Ii = =
จะได้ I i = yi 0Vi + yi1 (Vi -V1 ) + yi 2 (Vi -V2 ) + ... + yin (Vi -Vn ) Vi *
Vi *

= ( yi 0 + yi1 + yi 2 + ... + yin )Vi - yi1V1 - yi 2V2 - ... - y11inVn 12


การคํานวณการไหลของกําลังไฟฟ้า
 เขียนสมการการไหลของกําลังไฟฟ้ า ได้เป็ น ; (Power Flow Calculation)
Pi - jQi n n
• การคํานวณใช้หลักการหาคําตอบโดยวิธีอิทเทอเรชัน่ (Iteration)
= Vi å ijy - å yijV j **
Vi * j=0 j=1

1. วิธีเกาส์ – ไซเดล (Gauss – Seidel)


2. วิธีนิวตัน - ราฟสัน (Newton - Raphson)
 จากสมการที่ได้ พบว่า :
- สมการที่ได้เป็ นสมการที่ไม่เป็ นเชิงเส้น (Non Linear Equation) จะเลือกใช้ วธิ ีไหน ขึน้ กับ :
- สามารถหาคําตอบของสมการ (P, Q และ V) ได้ดว้ ยการคํานวณแบบ 1. ความเร็ วในการคํานวณ
iterative (การหาค่าคําตอบซํ้า หลายๆครั้ง) 2. ความแม่นยํา หรื อ ความถูกต้องในการคํานวณ
13
3. ความจุของข้อมูลที่ใช้ (ขนาดระบบ) 14

หลักการหาคําตอบด้ วยวิธี Iteration การ iteration เพือ่ หาคําตอบ x = f ( x)

จากสมการที่ไม่เป็ นเชิงเส้น (Non Linear Equation)


x = f ( x)

สามารถแยกสมการออกเป็ น 2 สมการ คือ


y=x

และ y = f ( x)

** คําตอบของสมการ คือ “จุดตัดกันของสมการทั้งสอง”


15 คําตอบของสมการ 16
ขั้นตอนการหาคําตอบด้ วยวิธี Iteration  สามารถตรวจสอบค่า x ได้จากอสมการ นี้

x( k )  x( k 1)

1. กําหนดค่า x0 ขึ้นมา โดยคาดหวังว่า x0 จะเป็ นคําตอบที่ตอ้ งการ x( k )

2. หา y0ซึ่ งได้จากการแทน x0 ใน f (x) นัน่ คือ y0 = f (x0)


เมือ่ k คือ จํานวนครั้งที่ ของการ iteration
3. เมื่อได้ค่า y0 ย่อมได้ค่า x ค่าใหม่ เป็ น x1 นัน่ คือ x1 = y0  คือ ค่าความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ได้ (tolerance)
4. นําค่า x1 ไปแทนใน y = f (x) จะได้ y1 = f (x1) xk คือ ค่า x ที่ได้จากการ iteration ครั้งที่ k

** ทําต่อไป จนกว่าค่า x ที่ได้จะมีค่าใกล้เคียงกัน ** ** ถ้าอสมการเป็ นจริ ง คําตอบ x = f(x) คือ x(k+1) นัน่ เอง
17 18

Gauss – Seidel Method

• เป็ นการคํานวณแบบซํ้าๆ หลายๆ ครั้ง โดยมีข้นั ตอนดังนี้


Power Flow Calculation by using 1. สมมติค่าเริ่ มต้นของตัวแปรที่ตอ้ งการหา

Gauss – Seidel Method 2. แทนค่าเข้าไปในสมการเพื่อหาค่าตัวแปร


3. เปรี ยบเทียบระหว่างค่าตัวแปรที่สมมติกบั ที่คาํ นวณออกมาได้ ถ้าไม่
เท่ากันหรื อไม่ใกล้เคียงกัน ให้นาํ ตัวแปรใหม่ที่หาได้แทนเข้าสมการอีก
4. ทําซํ้าๆ หลายๆครั้ง จะค่าตัวแปรที่หาได้จากสมการแต่ละครั้งมีค่าไม่
เปลี่ยนแปลง หรื อมีค่าเปลี่ยนแปลงน้อยมาก จะได้คาํ ตอบของตัวแปรนั้น
19 20
Gauss – Seidel Method Gauss – Seidel Method

1. จัดสมการที่ไม่เป็ นเชิงเส้น ให้อยูใ่ นรู ป 4. ตรวจสอบคําตอบที่ได้ ว่าถูกต้องหรื อไม่ โดยใช้


f ( x)  0 x(k  1)  x(k )  

2. จากนั้นเขียนสมการข้างต้นเป็ น ถ้า ผลต่างที่ได้ ไม่ เกิน ค่า


  แสดงว่า คําตอบถูกต้ อง
x  g ( x)
 ถ้า ผลต่างที่ได้ มากกว่ า ค่า  แสดงว่า คําตอบยังไม่ ถูกต้ อง
3. กําหนด x(k) เป็ นค่าเริ่ มต้น จากนั้นนําเข้ากระบวนการ iteration
x  k 1  g ( x  k  ) ทําซํ้า 1-4 ต่อไปเรื่ อยๆ จนผลต่าง ไม่เกิน 
21 22

ตัวอย่ างที่ 1 พล็อตกราฟ y=x และ y = g ( x) จะได้


จงหาคําตอบของสมการที่ให้มา โดยวิธี Gauss-Seidel
x3 - 6 x 2 + 9 x = 4

วิธีทาํ
- เขียนสมการที่ให้มา ให้อยูใ่ นรู ป f (x) = 0 จะได้
f ( x) = x3 - 6 x 2 + 9 x - 4 = 0

- เขียนสมการให้อยูใ่ นรู ป x = g (x) จะได้


1 6 4
x = - x3 + x 2 +
9 9 9
= g ( x) 23
คําตอบของสมการคือ 1 และ 4 24
• หาคําตอบในวิธี Gauss – Seidel โดยใช้ ค่าเริ่ มต้น x (0) = 2 • ทํานองเดียวกัน จะได้

Iteration # 1 x (1) = g ( x (0) ) กําหนดเอง Iteration # 3 x (3) = 2.8966

= g (2) Iteration # 4 x (4) = 3.3376


1 3 6 2 4
= - ( 2) + ( 2) + Iteration # 5 x (5) = 3.7398
9 9 9
= 2.2222
Iteration # 6 x (6) = 3.9568

Iteration # 2 x (2) = g (2.2222)


Iteration # 7 x (7) = 3.9988

1 6 4 Iteration # 8 x (8) = 4.000


= - (2.2222) + (2.2222) +
3 2
ค่าไม่เปลี่ยนแปลง
9 9 9
Iteration # 9 x (9)
= 4.000 เป็ นคําตอบของสมการ
= 2.517 25 26

การเขียนโปรแกรมเพื่อใช้วเิ คราะห์ตวั อย่างที่ 1  จาก ตัวอย่างที่ 1 พบว่า วิธี Gauss – Seidel :


- ใช้จาํ นวนครั้งในการ iteration มาก
- ไม่ยนื ยันว่าจะได้คาํ ตอบของสมการทุกครั้ง เพราะจะต้อง
ขึ้นอยูก่ บั การเลือกใช้ค่าเริ่ มต้นด้วย
เช่น เลือก x = 6 จะพบว่า การทํา iteration แต่ละครั้ง ค่า
(0)

คําตอบที่ได้ ไม่ล่เู ข้าหาค่าคําตอบของสมการ

- คําตอบลู่เข้า  Convergence

27
- คําตอบลู่ออก  Divergence 28
Acceleration Factor ตัวอย่ างที่ 2
จาก ตัวอย่างที่ 1 จงใช้วธิ ี Gauss – Seidel หาคําตอบของสมการ โดย
ในวิธี Gauss – Seidel จะมีการใช้ “ตัวเร่ ง (acceleration factor)” ใช้ตวั เร่ ง a = 1.25 (กําหนดค่าเริ่ มต้น x = 2 และ e = 0.005)
เพื่อช่วยให้การ iteration ลู่เข้าหาคําตอบของสมการได้ไวขึ้น
Iteration # 1 1 3 6 2 4
g ( 2) = - ( 2) + ( 2) +
9 9 9
จะได้ x ( k +1) = x ( k ) + a éê g ( x(k ) ) - x(k ) ùú
ë û = 2.2222

จะได้ x(1) = x(0) + a éê g ( x(0) ) - x(0) ùú


ë û
โดยที่ a >1
= 2 + 1.25´[ 2.2222 - 2]
29 = 2.2778 30

• ทํานองเดียวกัน จะได้ :
Iteration # 2 1 6
g (2.2778) = - (2.2778) + (2.2778) +
3 2 4 Iteration # 3 x (3) = 3.0801
9 9 9
= 2.5902 Iteration # 4 x (4) = 3.1831

Iteration # 5 x (5) = 3.7238

จะได้ x(2) = x(1) + a éê g ( x(1) ) - x(1) ùú


ë û Iteration # 6 x (6) = 4.0084

= 2.2778 + 1.25´[ 2.5902 - 2.2778] Iteration # 7 x (7) = 3.9978 x (8) - x (7) = 0.0027

= 2.6683 Iteration # 8 x (8) = 4.0005


x (8) - x (7) £ 0.005 (e)

31 ** ลดลําดับการ Iteration ไปได้ 1 ครั้ง !!!!!!! 32


• การลู่เข้า (Converge) ของคําตอบ เมื่อมีการใช้ตวั เร่ ง  ในกรณี ที่ระบบมีสมการ n สมการ และตัวแปร n ตัว

จะได้ f1 ( x1 , x2 , , xn ) = c1
f 2 ( x1 , x2 , , xn ) = c2 n สมการ

f n ( x1 , x2 , , xn ) = cn

• หาค่าตัวแปรแต่ละตัวในแต่ละสมการจะได้
x1 = c1 + g1 ( x1 , x2 , , xn )
x2 = c2 + g 2 ( x1 , x2 , , xn ) n ตัวแปร

xn = cn + g n ( x1 , x2 , , xn )
33 34

การ Iteration, n สมการ โดยวิธี Gauss – Seidel สามารถทําได้ โดย : x1 = c1 + g1 ( x1 , x2 ,, xn )


จาก
x2 = c2 + g 2 ( x1 , x2 , , xn )
1. กําหนดค่าเริ่ มต้นของตัวแปรแต่ละตัว คือ 
initial  ( x , x , , x
(0)
1
( 0)
2
(0)
n ) xn = cn + g n ( x1 , x2 , , xn )

2. หาค่าคําตอบของตัวแปรแต่ละตัว ในแต่ละการ iteration


Iteration #1 x1(1) = c1 + g1 ( x1(0) , x2(0) ,, xn(0) )
interation #1  ( x1 , x2 , , xn
(1) (1) (1)
)
x2(1) = c2 + g 2 ( x1(1) , x2(0) , , xn(0) )

** ในแต่ละครั้งที่ทาํ การ interation จะมีการใช้ตวั แปรที่ได้
xn = cn + g n ( x1(1) , x2(1) , , xn(0) )
(1)

ก่อนหน้ามาแทนในสมการที่กาํ ลังคํานวณด้วย
35 36
การวิเคราะห์ การไหลของกําลังไฟฟ้าด้ วยวิธี Gauss - Seidel
3. เปรี ยบเทียบค่าตัวแปรทั้งหมดที่ได้จากการ iteration แต่ละครั้ง
(k+1) กับค่าตัวแปรที่ได้จากการ iteration ก่อนหน้า (k) • สมการการไหลของกําลังไฟฟ้ า
Pi - jQi n n
= Vi å ijy - å yijV j
Vi * j=0 j=1
จบการคํานวณ >> ผลต่างของค่าตัวแปรทุกตัว ต้องไม่เกิน (£ e)
และแต่ละบัส ไม่รู้ค่าตัวแปร 2 ตัว ดังตาราง
บัส ค่ าทีก่ าํ หนดมาให้ ค่ าทีต่ ้ องคํานวณ
4. เพื่อให้การหาคําตอบลู่เข้าไวขึ้น สามารถใช้ตวั เร่ งช่วยในการ
คํานวณแต่ละครั้งได้ Swing Bus V d P Q

Load Bus P Q V d
xi(k +1) = xi(k ) + a ( xi(,kcal) - xi(k ) )

37
Gen. Bus P V Q d 38

•หาแรงดันทีบ่ ัส i ด้ วยวิธี Gauss – Seidel จาก ถ้ากําหนดทิศกระแสที่ไหลเข้าบัส i ให้มีค่าเป็ น “ค่ าบวก (positive)”

Pi sch - jQisch
+ å yijV j(k )
กรณี Generator Bus
เมื่อ
*( k )
Vi
Vi(k +1) = j¹i P,Q
- กําลังไฟฟ้ าจริ งและกําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟไหลเข้าบัส i
å yij
i - ค่า Pi sch และ Qisch เป็ น ค่ าบวก (+)

เมือ่ yij คือ ค่าแอดมิตแตนซ์ระหว่างบัส i กับ j (p.u.) กรณี Load Bus


Pi sch คือ กําลังไฟฟ้ าจริ งสุ ทธิที่บสั i (p.u.) P,Q
- กําลังไฟฟ้ าจริ งและกําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟไหลออกจากบัส i
Qisch คือ กําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟสุ ทธิที่บสั i (p.u.) i - ค่า Pi sch และ Qisch เป็ น ค่ าลบ (-)
39 40
 ค่ ากําลังไฟฟ้าจริงและกําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟทีบ่ ัส i หาได้ จาก • จากเมตริ กแอดมิตแตนซ์ [Y] ของระบบไฟฟ้ ากําลัง พบว่า :
Pi - jQi
- สมาชิกส่ วน Off - Diagonal Yij = - yij
จาก
n n
= Vi å ijy - å yijV j
Vi * j=0 j=1
- สมาชิกส่ วน Diagonal Yii = å yij
é n n ù
จะได้ Pi - jQi = Vi* êVi å yij - å yijV j ú
ê j=0 ú  จากสมการแรงดันบัส i
ë j=1 û
Pi sch - jQisch
+ å yijV j(k )
• เมื่อใช้วธิ ี Gauss – Seidel จะได้ Vi(k +1) =
Vi
*( k )

å yij
ì
ï n n üï
Pi(k +1) = Re ïíVi *(k )[Vi(k ) å yij - å yijV j(k ) ]ïý j¹i
สามารถเขียนใหม่ได้เป็ น
ï
ï
î j=0 j=1 ïþï 
Pi sch - jQisch
ìï n n üï *( k )
- å j¹i YijV j(k )
Qi(k +1) = - Im ïíVi *(k )[Vi(k ) å yij - å yijV j(k ) ]ïý
Vi
j¹i Vi(k +1) =
ïîï j=0 j=1 ïþï 41 Yii 42

เขียนสมการกําลังไฟฟ้ าจริ งและกําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ ได้ใหม่ เป็ น : เขียนสมการกําลังไฟฟ้ าจริ งและกําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ ได้ใหม่ เป็ น :

ìï üï
เดิม Pi (k +1)
ì
ï *(k ) (k ) n
= Re ï
n
íVi [Vi å yij - å yijV j ]ïý
ü
(k ) ï
j¹i
เดิม n n
Qi(k +1) = - Im ïíVi *(k )[Vi(k ) å yij - å yijV j(k ) ]ïý j¹i
ï ïþï ïîï j=0 j=1 ïþï
ï
î j=0 j=1

ì
ï ü
ï
ì
ï ü
ï ï n ï
ï ï ï (k ) ï
= - Im íVi [Vi Yii + å YijV j ]ý
ใหม่ Pi (k +1) * k ) ( k )
n
= Re íVi [Vi Yii + å YijV j ]ï
ï ( ( k )
ý j¹i ใหม่ Qi (k +1)
ï
*(k ) (k )
ï
j¹i
ï ï ï
ï
j=1 ï
ï
ï
ï
j=1 ï
ï î j¹i þ
î j¹i þ

43 44
การกําหนดค่ าเริ่มต้ น (Initial Condition)
เพือ่ การหาคําตอบด้ วยวิธี Gauss-Seidel P-Q Bus (Load Bus)
 ค่ าแรงดัน (Voltage)
- ทราบค่า Pi sch และ Q sch

- Swing Bus และ Gen Bus จะรู ้ค่าแรงดัน (กําหนดมา)


i

- โดยปกติที่ Load Bus แรงดันมักจะมีค่าน้อยกว่า Swing Bus และ Gen - หาค่าแรงดัน Vi(k +1) จาก Pi sch และ Qisch ที่ทราบค่า
Bus โดยทัว่ ไปมักกําหนดค่าเริ่ มต้นเป็ น 1.0 + j 0.0
บัส ค่ าทีก่ าํ หนดมาให้ ค่ าทีต่ ้ องคํานวณ
Swing Bus V d P Q

Load Bus P Q V d

Gen. Bus P V Q d 45 46

P-V Bus (Gen Bus) เฉพาะขนาด Vi   ei   j  fi  สามารถใช้ตวั เร่ ง เพื่อให้การ iteration ลู่เข้าหาคําตอบได้ไวขึ้น
- ทราบค่า Pi sch และ Vi
Vi ( k 1)  Vi ( k )   Vi ,(cal
k)
 Vi ( k ) 
1. หาค่า Q( ) โดยใช้ P
i
k +1
i
sch
และ Vi ที่ทราบ
2. ใช้ค่า Q( i
k +1)
ที่ได้ มาหาค่า V ( i
k +1)
ต่อ • โดยทัว่ ไปจะกําหนดค่า  ระหว่าง 1.3 ถึง 1.7 ***
3. แต่ Vi คงที่ และค่า V ( i
k +1)
เปลี่ยนเฉพาะ “ส่ วนจิ นตภาพ”
e
i   f
( k 1) 2
i 
( k 1) 2
 Vi
2

ค่าแรงดันส่ วนจริ ง e( k 1) 2


  Vi   fi ( k 1) 
2 2
i

47 48
คําตอบจะถูกต้ อง และ ยอมรับได้ เมือ่
Line Flow and Line Loss
 กรณี แรงดันไฟฟ้าแต่ ละบัส (V)
จากวงจรระบบไฟฟ้ ากําลัง มีทิศทางต่างๆ ดังรู ป
e( k 1)
i e (k )
i  และ fi ( k 1)
 fi (k )
 Vi Il Vj
Iij Iji

เมื่อ Vi ( k 1)  ei( k 1)  j  fi ( k 1) 


Ii0 yij Ij0

yi0 yj0
ค่า  มีค่าระหว่าง 0.00001 ถึง 0.00005 p.u.

 กรณี กําลังไฟฟ้าจริง (P) และ กําลังไฟฟ้ารีแอคทีฟ (Q) จาก บัส i ไป บัส j พบว่า I ij  I l  I i 0  yi j (Vi  V j )  yi 0Vi

ค่า  ของ P และ Q เท่ากับ 0.001 p.u. 49


และ Sij  Vi I ij*
50

Iij
Vi Il Vj
Iji
Line Loss
Ii0 Ij0
• กําลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยในสายส่ ง ระหว่าง บัส i กับ บัส j มีค่าเท่ากับ
yi0 yj0
S L ,ij  Sij  S ji

จาก บัส j ไป บัส i พบว่า I ji   I l  I j 0  yi j (V j  Vi )  yi 0V j


Vi Il Vj
Iij Iji

และ S ji  V I *
j ji
Ii0 Ij0

yi0 yj0

51 52
ตัวอย่ างที่ 3 วิเคราะห์ โดยวิธี Gauss – Seidel
ระบบไฟฟ้ าในรู ป ต่อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่บสั 1 เข้ากับโหลดที่บสั 2 ผ่านสาย
ส่ งซึ่ งมีค่าอิมพีแดนซ์ 0.1+j0.5 p.u. โดยไม่มีแอดมิตแตนซ์ขนานในระบบ Pi sch - jQisch
- å j¹i YijV j(k )
สมมติให้บสั 1 เป็ นบัสอ้างอิง (Swing Bus) โดยมีแรงดันคงที่ 1.00 โดยที่ จาก Vi(k +1) =
Vi
*( k )

บัส 2 ระบบไฟฟ้ าจ่ายค่ากําลังไฟฟ้ าจริ ง (P) 0.3 p.u. และจ่ายค่ากําลังไฟฟ้ ารี Yii

แอคแตนซ์ (Q) 0.2 p.u. จงหาแรงดันที่บสั ต่างๆ เมื่อมีการจ่ายโหลด


(1) (2) สิ่ งที่ตอ้ งรู ้ • เมตริ กซ์แอดมิตแตนซ์ [Y] ของระบบ
• ค่า P, Q และ V ของบัสที่ทาํ การวิเคราะห์
Z1 Load 2
G1
53 54

• กรณี มีบสั เชื่อมกัน 2 บัส หาเมตริ กแอดมิตแตนซ์ [Y]ได้จาก

Y Y  y  y   y12  
[Y ]   11 12    10 12
Y21 Y22     y21  y20  y21 
 หาแอดมิตแตนซ์ ระหว่ างบัส
1
• จากโจทย์ ไม่มีแอดมิตแตนซ์ขนานอยู่  y10 = y20 = 0
yline  y12  y21 
Z line
 0  y12   y12  
จะได้ Y    
   y21  0  y21 
1

0.1  j 0.5
 0.3846  j1.9231 0.3846  j1.9231
 0.3846  j1.9231  
 0.3846  j1.9231 0.3846  j1.9231 
55 56
• หาแรงดันที่บสั 2 (V2)โดยวิธี Gauss – Seidel (แทน i = 2)

Pi sch - jQisch
- å j¹i YijV j(k )
จาก Vi(k +1) =
Vi *( k )

บัส 1  Swing Bus – รู ้ V กับ  V  1.00 Yii

บัส 2  Load Bus – รู ้ P กับ Q


P2 - jQ2
- Y21V1
P2 = - 0.3 p.u. จะได้ : V2(k +1)
=
V2*( k )
Y22
Q2 = - 0.2 p.u.

57 58

P2 - jQ2
แทนค่าต่างๆ ไปใน (k +1) V2*( k )
- Y21V1 กําหนด : ค่าแรงดันบัส 2 เริ่ มต้น เท่ากับ 1.00
V2 =
Y22 ค่า   0.0005
โดยที่ : P2  0.3 p.u. Q2  0.2 p.u. Iteration #1 :
Y21  0.3846  j1.9231 Y22  0.3846  j1.9231 1 æ 0.3603146.3 ö
V2(1) = ççç - (1.9612101.3)÷÷÷
1.9612- 78.8 è V2*(0)
ø
V1  1.00
1 æ 0.3603146.3 ö
æ-0.3 + j (0.2) ö = çç - (1.9612101.3)÷÷÷
V2(k +1) =
1 çç -[(-0.3846 + j1.9231)(1.00)]÷÷÷ 1.9612- 78.8 è 1.0- 0 ø
0.3846 - j1.9231èç V2*( k )
ø
 0.8797  8.499
1 æ 0.3603146.3 ö
V2(k +1) = çç - (1.9612101.3)÷÷÷
1.9612- 78.8 çè V2*( k )
ø
59 60
Iteration #3 :
Iteration #2 :
æ ö
V2(3) =
1 çç 0.3603146.3 - (1.9612101.3)÷÷
æ ö 1.9612- 78.8 çèç(0.8412- 8.499)* ÷
1 çç 0.3603146.3 - (1.9612101.3)÷÷ ø÷
V2(2) =
1.9612- 78.8 èç ø÷
*(1)
V2
 0.8345  8.962
æ 0.3603146.3 ö
ççç - (1.9612101.3)÷÷÷
1
=
1.9612- 78.8 çè(0.8797- 8.499)*
ø÷ Iteration #4 :
æ 0.3603146.3 ö æ 0.3603146.3 ö
çç - (1.9612101.3)÷÷÷
1 1
= ç
ç - (1.9612101.3)÷÷÷ V2(4) = ç
1.9612- 78.8 è 0.8797 + 8.499 ø 1.9612- 78.8 çè(0.8345- 8.962) ø÷
*

 0.8320  8.962
 0.8412  8.499

61 62

• แรงดันแต่ละบัสในระบบเป็ น : V1  1.00
Iteration #5 :
æ 0.3603146.3 ö÷ V2  0.8315  8.994
V2(5)
=
1 çç - (1.9612101.3) ÷÷
1.9612- 78.8 çèç(0.8320- 8.962)*
ø÷
สามารถตรวจสอบคําตอบ (V2)โดยหาจากกําลังไฟฟ้ าเชิงซ้อนที่บสั 2
 0.8315  8.962
I1 V1  V2 
I1 
Z1
V2 4   V25  0.8320  0.8315  0.005  0.005
10  0.8315  8.994

 2   2  8.962   8.962   0
 4  5
 0.005 0.1  j 0.5

 0.4333  42.65
** ความแตกต่างน้อยกว่า 0.005  ยอมรับได้ !!!! 63 64
ตัวอย่ างที่ 4
• กําลังไฟฟ้ าเชิงซ้อน (S), ที่ระบบจ่ายเข้าไปที่บสั 2
S  VI * จากระบบดังรู ป ซึ่งค่าอิมพีแดนซ์ p.u. คิดจาก ค่าฐาน 100 MVA โดย
ที่ระบบไม่คิดแอดมิตแตนซ์ขนาน
  0.8315  8.994  0.4333  42.65 
*

(1) (2)
0.02 + j0.04
  0.8315  8.994  0.4333  42.65 
256.6 MW

 0.2999  j 0.1997
0.01 + j0.03 0.0125 + j0.025 110.2 Mvar

ใกล้เคียงกับ 0.3  j 0.2 Slack Bus


V1  1.050 (3)

138.6 45.2
65 66
MW Mvar

จงหา : • เมตริกซ์ แอดมิตแตนซ์ [Y]


é y10 + y12 + y13 - y12 - y13 ù
1. แรงดัน (V) และ มุมเฟสแรงดัน ( d ) ที่บสั 2 และ 3 (P-Q bus) ê
[Y ] = ê - y21 y20 + y21 + y23 - y23
ú
ú
ê ú
โดยใช้วธิ ี Gauss – Seidel (คิดทศนิยม 4 ตําแหน่ง) êë - y31 - y32 y30 + y31 + y32 úû

2. ค่ากําลังไฟฟ้ าจริ ง (P) และกําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ (Q) ที่ Slack 1


y12 = y21 = = 10 - j 20
Bus 0.02 + j 0.04

3. ทิศทางและขนาดกําลังไฟฟ้ าที่ไหลในระบบ และค่ากําลังสู ญเสี ย y13 = y31 =


1
0.01 + j 0.03
= 10 - j 30
ในสายส่ ง (Line Loss)
1
y23 = y32 = = 16 - j 32
0.0125 + j 0.025
67 68
(1) (2)

Load Bus (P-Q Bus) หาค่า P, Q ในรู ป p.u.


y12 = 10 - j20

256.6 MW

y13 = 10 - j30 y23 = 16 - j32 110.2 Mvar


(256.6 + j110.2)
Slack Bus บัส 2 S 2sch = -
100
V1  1.050 (3)
ไม่ มี Y ขนาน = -2.566 - j1.102 p.u.
138.6 45.2
MW Mvar

é 20 - j 50 -10 + j 20 -10 + j 30ù


บัส 3 S3sch = -
(138.6 + j 45.2)
ê ú 100
[Y ] = ê-10 + j 20 26 - j 52 -16 + j 32ú
ê ú
êë-10 + j 30 -16 + j 32 26 - j 62 úû = -1.386 - j 0.452 p.u.
69 70

Pi sch - jQisch
- å j¹i YijV j(k )
สามารถหาแรงดันที่ Load Bus ได้จาก Iteration #1 จาก Vi(k +1) =
Vi *( k )

Yii
Pi sch - jQisch
- å j¹i YijV j(k )
Vi *( k )
บัส 2
Vi(k +1) =
Yii P2sch - jQ2sch
*(0)
- Y21V1 - Y23V3(0)
V2
V2(1) =
Pi sch - jQisch Y22
+ å i¹ j yijV j(k )
หรื อ Vi(k +1) =
Vi
*( k )

å yij -2.566 + j1.102


1.0 - j 0
- (-10 + j 20)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(1.0 + j 0)
=
(26 - j 52)

 กําหนดค่ าเริ่มต้ น : V2(0) = V3(0) = 1.0 + j 0.0 = 0.9825 - j 0.0310

71 72
Pi sch - jQisch
- å j¹i YijV j(k )
Iteration #1 จาก Vi *( k ) Iteration #2
Vi(k +1) =
Yii
-2.566 + j1.102
- (-10 + j 20)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)V3(1)
บัส 3 V2(2) =
V2
*(1)

(26 - j 52)
P3sch - jQ3sch
*(0 )
- Y31V1 - Y32V2(1)
V3 -2.566 + j1.102
V3(1) = 0.9826 + j 0.0310
- (-10 + j 20)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(1.0011- j 0.0353)
Y33 =
(26 - j 52)
-1.386 + j 0.452
- (-10 + j 30)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(0.9825 - j 0.0310)
1.0 - j 0
= = 0.9816 + j 0.0520
(26 - j 62)

= 1.0011- j 0.0353

73 74

Iteration #2 คํานวณไปทีละ iteration จนคําตอบลู่เข้า (converged) โดยที่ e £ 5´10 -5

V2(3) = 0.9808 - j 0.0578 V3(3) = 1.0004 - j 0.0488


-1.386 + j 0.452
- (-10 + j 30)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)V2(2)
V *(1)
V2(4) = 0.9803 - j 0.0594 V3(4) = 1.0002 - j 0.0497
V3(2) = 3
(26 - j 62) V2(5) = 0.9801- j 0.0598 V3(5) = 1.0001- j 0.0499

-1.386 + j 0.452 V2(6) = 0.9801- j 0.0599 V3(6) = 1.0000 - j 0.0500


- (-10 + j 30)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(0.9816 - j 0.0520)
1.0011 + j 0.0353
= V2(7) = 0.9800 - j 0.0600 V2(7) = 1.0000 - j 0.0500
(26 - j 62)

= 1.0008 - j 0.0459 คําตอบสุ ดท้าย คือ


V2 = 0.9800 - j 0.0600 = 0.98183- 3.5035

V3 = 1.0000 - j 0.0500 = 1.00125- 2.8624


75 76
• P และ Q ที่ Slack Bus หาจาก : • หาทิศทางและการไหลของกําลังไฟฟ้ า (Line Flow)

Pi - jQi n n จาก I ij  I l  I i 0  yi j (Vi  V j )  yi 0Vi


= Vi å ijy - å yijV j
Vi * j=0 j=1

I12 = y12 (V1 -V2 ) = (10 - j 20)[(1.05 + j 0) - (0.98 - j 0.06) ]


P1 - jQ1 = V1* [V1 ( y12 + y13 ) - ( y12V2 + y13V3 )] = 1.9 - j 0.8

= 1.05[1.05(20 - j 50) - (10 - j 20)(0.98 - j 0.06) -


(10 - j 30)(1.0 - j 0.05)] I 21 = -I12 = -1.9 + j 0.8

= 4.095 - j1.890
77 78

I13 = y13 (V1 -V3 ) = (10 - j 30)[(1.05 + j 0) - (1.0 - j 0.05) ] Line Flows
= 2.0 - j1.0
S12 = V1 I12* S 21 = V2 I 21
*

I 31 = -I13 = -2.0 + j1.0


= (1.05 + j 0.0)(1.9 + j 0.8) = (0.98 - j 0.06)(-1.9 - j 0.8)

= 1.995 + j 0.84 p.u. = -1.91- j 0.67 p.u.


I 23 = y23 (V2 -V3 ) = (16 - j 32)[(0.98 - j 0.06) - (1.0 - j 0.05) ]

= -0.64 - j 0.48 = 199.5 MW + j84.0 Mvar = -199.0 MW - j 67.0 Mvar

I 32 = -I 23 = 0.64 - j 0.48
79 80
S13 = V1 I13* S31 = V3 I 31
*

Line Losses
= (1.05 + j 0.0)(2.0 + j1.0) = (1.0 - j 0.05)(-2.0 - j1.0)

p.u. p.u.
= 2.1 + j1.05 = -2.05 - j 0.90
S L ,ij  Sij  S ji
= 210.0 MW + j105.0 Mvar = -205.0 MW - j 90.0 Mvar

S L ,12 = S12 + S 21 = 8.5 MW + j17.0 Mvar


S 23 = V2 I 23
*
S32 = V3 I 32
*

= (1.0 - j 0.05)(0.64 + j 0.48) S L ,13 = S13 + S31 = 5.0 MW + j15.0 Mvar


= (0.98 - j 0.06)(-0656 + j 0.48)

= -0656 - j 0.432 p.u. = 0.664 + j 0.448 p.u. S L ,23 = S 23 + S32 = 0.8 MW + j1.60 Mvar

= -65.6 MW - j 43.2 Mvar = 66.4 MW + j 44.8 Mvar

81 82

• เขียนแผนภาพแสดงทิศทางและขนาดการไหลของกําลังไฟฟ้ าใน ตัวอย่ างที่ 5


ระบบได้เป็ น
8.5+j17.0
(1) 199.5+j84.0 191+j67.0 (2)
จากระบบดังรู ป ซึ่งค่าอิมพีแดนซ์ p.u. คิดจากค่าฐาน 100 MVA โดย
409.5+j189.0
ที่ระบบไม่คิดแอดมิตแตนซ์ขนาน
256.6 MW
(1) (2)
0.02 + j0.04
210.0+j105.0 65.6+j43.2
110.2 Mvar 400 MW
Slack Bus

205+j90 66.4+j44.8
(3) 0.01 + j0.03 0.0125 + j0.025 250 Mvar
5+j15 0.8+j1.6 Slack Bus
138.6 45.2
MW Mvar V1  1.050 (3)
200
83 MW V3  1.04 84
• เมตริ กซ์แอดมิตแตนซ์ [ Y ] เท่ากับ กําหนดค่าแรงดันเริ่ มต้น ของ บัส 2 และ บัส 3 เท่ากับ
V  1.0  j 0.0 และ V  1.04  j 0.0
2
(0)
3
(0)

é 20 - j 50 -10 + j 20 -10 + j 30ù


ê ú
[Y ] = ê-10 + j 20 26 - j 52 -16 + j 32ú Iteration #1
ê ú
êë-10 + j 30 -16 + j 32 26 - j 62 úû บัส 2
P2sch - jQ2sch
*(0)
- Y21V1 - Y23V3(0)
V
V2(1) =
• ค่า กําลังไฟฟ้ าเชิงซ้อน (S) และ กําลังไฟฟ้ าจริ ง (P) ในรู ป p.u.
2
Y22

 400  j 250  -4.0 + j 2.5


S 2sch    4.0  j 2.5 p.u. 1.0 - j 0
- (-10 + j 20)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(1.04 + j 0)
100 =
(26 - j 52)
P3sch 
200  2.0 p.u.
100 = 0.97462 - j 0.042307
85 86

Iteration #1
บัส 3 หาค่า Q ที่บสั 3 ก่อน จาก นําค่า Q ที่ได้ ไปแทน
(1)
3 Q3sch เพื่อหาค่าแรงดันเชิงซ้อนที่บสั 3
ì
ï ü
ï
ï
ï
n ï
(k ) ï P3sch - jQ3sch
Qi(k +1)
= - Im íVi [Vi Yii + å YijV j ]ý
*(k ) (k )
- Y31V1 - Y32V2(1)
ï
ï ï
ï V *(0)

ï
î
j=1
j¹i ï
þ Vc(31) = 3
Y33

Q3(1) = - Im {V3*(0)[V3(0)Y33 + Y31V1 + Y32V2(1) ]} 2.0 - j1.16


- (-10 + j 30)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(0.97462 - j 0.042307)
1.04 - j 0
=
(26 - j 62)
  Im{(1.04  j 0)[(1.04  j 0)(26  j 62)  (10  j 30)(1.05  j 0) 
(16  j 32)(0.97462  j 0.042307)]}
= 1.03783 - j 0.005170
 1.16

87 3  1.0378
Vc(1)  1.04 88
• แต่ขนาดแรงดันทีบสั 3 มีขนาดคงที่ |V3| = 1.04 และแรงดันเปลี่ยน Iteration #2
แต่ในส่ วนจินตภาพอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงค่า Q บัส 2
1
3  f3  0.005170
Im Vc(1) -4.0 + j 2.5
- (-10 + j 20)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)V3(1)
V2*(1)
V2 =
(2 )

• ค่าแรงดันส่ วนจริ งของบัส 3 (26 - j 52)

e31  1.04    0.005170  -4.0 + j 2.5


2 2
- (-10 + j 20)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(1.039987 - j 0.005170)
0.97462 + j 0.042307
=
(26 - j 52)
 1.039987

= 0.971057 - j 0.043432
• แรงดันที่บสั 3 จากการ iteration #1 เท่ากับ
V31  1.039987  j 0.005170
89 90

Iteration #2 Iteration #2
บัส 3 บัส 3

Q3(2) = - Im {V3*(1)[V3(1)Y33 + Y13V1 + Y23V2(2 ) ]} P3sch - jQ3sch


*(1)
- Y31V1 - Y32V2(2)
V3
Vc(31) =
Y33
  Im{(1.039987  j 0.005170)[(1.039987  j 0.005170)(26  j 62)
 (10  j 30)(1.05  j 0)  (16  32)(0.971057  j 0.043432)]} 2.0 - j1.38796
- (-10 + j 30)(1.05 + j 0) - (-16 + j 32)(0.971057 - j 0.043432)
1.039987 + j 0.00517
=
(26 - j 62)
 1.38796
= 1.03908 - j 0.00730

จากนั้นนํา Q( ) ไปหาแรงดัน
3
2
V3(2)

91 92
แต่ขนาดแรงดันที่บสั 3 มีขนาดคงที่ |V3| = 1.04 และแรงดันเปลี่ยน  ทําการ iteration จนคําตอบลู่เข้า คิดที่   5 105
แต่ในส่ วนจินตภาพอันเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงค่า Q
 2
3  f3
Im Vc(2)  0.00730 V2(3)  0.97073  j 0.04479 Q3(3)  1.42904 V3(3)  1.03996  j 0.00833

V2(4)  0.97065  j 0.04533 Q3(4)  1.44833 V3(4)  1.03996  j 0.00873


หาค่าแรงดันส่ วนจริ งของบัส 3 ได้จาก
V2(5)  0.97062  j 0.04555 Q3(5)  1.45621 V3(5)  1.03996  j 0.00893
e3 2  1.04    0.00730 
2 2

V2(6)  0.97061  j 0.04565 Q3(6)  1.45947 V3(6)  1.03996  j 0.00900


 1.039974
V2(7)  0.97061  j 0.04569 Q3(7)  1.46082 V3(7)  1.03996  j 0.00903

จะได้แรงดันที่บสั 3 จากการ iteration #2 เท่ากับ


V3 2   1.039974  j 0.00730
93 94

 หา Line Flow และ Line Loss เหมือนใน ตัวอย่างที่ 4


 สามารถหาค่าต่างๆในระบบได้เป็ น
Line Flow
บัส 1 : S1  2.1842  j1.4085 S12  179.36  j118.734 S 21  170.97  j101.947

S13  39.06  j 22.118 S31  38.88  j 21.569


บัส 2 : V2  0.97168  2.6948
S32  238.88  j167.746
S 23  229.03  j148.05

บัส 3 : S3  2.0  j1.4617 Line Losses


V3  1.04  0.498 S L ,13  0.18  j 0.548
S L ,12  8.39  j16.79

S L ,23  9.85  j19.69


95 96
แผนภาพแสดงขนาดและทิศทางการไหลของกําลังไฟฟ้า

Power Flow Calculation by using


Newton – Raphson Method

Real Power
Reactive Power
97 98

Newton – Raphson Method Newton – Raphson Methode

• วิธีคาํ นวณยุง่ ยากกว่าวิธี Gauss - Seidel จากสมการ 1 มิติ (1 ตัวแปร, 1 สมการ)


• อาศัยทฤษฎีอนุกรมเทย์เลอร์ (Taylor’s series) f ( x) = c

• มีประสิ ทธิภาพมากกว่าวิธี Gauss – Seidel คือ ได้ผลลัพธ์โดย กําหนดให้ x (0) คือ ค่าคําตอบเริ่ มต้น (initial estimate of solution)
ใช้จาํ นวนรอบการคํานวณน้อยกว่า Dx (0)
คือ ขนาดความแตกต่างของค่าเริ่ มต้นกับคําตอบ
จริ ง (small deviation from the correct solution)
• เหมาะสําหรับการวิเคราะห์ระบบที่มีขนาดใหญ่ๆ และซับซ้อน
• เหมาะสําหรับใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ในการคํานวณ  สามารถเขียนสมการได้ ใหม่ เป็ น
f ( x (0) + Dx (0) ) = c
99 100
• นําสมการที่ได้ มากระจายในรู ปอนุกรมเทย์เลอร์ จะได้
Dc(0)
æ df ö( ) 1 æd 2 f ö
( ) 0 จะได้ Dx(0)
æ df ö( )
0 0
f ( x(0) ) + çç ÷÷÷ Dx(0) + çç 2 ÷÷÷ (Dx(0) ) 2 + ... = c ç ÷÷
è dx ø 2!çè dx ø çè dx ÷ø

สมมติ Dx (0) ให้มีค่าน้อยมากๆ เทอมที่มีการยกกําลังสามารถตัดทิ้งได้  จากสมการ Dx(0) ที่ได้ นํามาหาคําตอบของสมการ โดย


æ df ö( ) (0)
0

f ( x ) + çç ÷÷÷ Dx
(0)
c x (1) = x(0) + Dx(0)
è dx ø
æ df ö( ) (0)
0
ç ÷÷ Dx c - f ( x ( 0) ) Dc(0)
çè dx ÷ø = x( 0 ) +
æ df ö( )
0
çç ÷÷
æ df ö( ) (0) è dx ÷ø
0
çç ÷÷ Dx Dc(0)
è dx ø÷
Dc(0) = c - 101
f ( x( 0) ) 102

 อัลกอริ ทึมสําหรับการวิเคราะห์ Newton – Raphson เป็ นดังนี้ ตัวอย่ างที่ 6


Dc ( k ) = c - f ( x ( k ) )
จงใช้วธิ ี Newton – Raphson หาคําตอบของสมการต่อไปนี้
Dc(k )
Dx(k ) =
æ df ö( )
k x3 - 6 x 2 + 9 x = 4
ç ÷÷
çè dx ø÷
โดยกําหนดค่าเริ่ มต้น x (0) = 6
 จัดรู ปใหม่ได้เป็ น
æ df ö(
k)

Dc(k ) = j ( k )Dx(k ) เมื่อ j ( k ) = çç ÷÷÷


è dx ø วิธีทาํ f ( x) = x3 - 6 x 2 + 9 x - 4 = 0

 หาคําตอบในแต่ละรอบการคํานวณ df ( x)
= 3 x 2 -12 x + 9
dx
x(k +1) = x(k ) + Dx(k )
103 104
จาก Iteration #1  สามารถหาค่า Dx (0) ได้จาก Iteration #1
 หาค่า Dc (0)

Dc (0) = c - f ( x (0) ) Dc (0)


Dx (0) =
æ df ö
(0)
ç ÷ ÷
= c - éë ( x (0) )3 - 6( x (0) ) 2 + 9 x (0) - 4ùû çè dx ø

= 0 - éë(6)3 - 6(6) 2 + 9(6) - 4ùû -50


= = -1.1111
= -50 45

 คําตอบสมการจากการ iteration # 1 เท่ากับ


æ df ö
(0)

และ çç ÷÷
è dx ø÷
= 3( x (0) ) 2 -12 x (0) + 9
x (1) = x (0) + Dx (0)
= 3(6) -12(6) + 9
2

= 6 -1.1111
= 45
105 = 4.8889 106

 หาค่า Dc (1) จาก Iteration #2  สามารถหาค่า Dx ได้จาก


(0)
Iteration #2
Dc (1) = c - f ( x (1) ) Dc (1)
Dx (1) =
æ df ö
(1)

= c - éë ( x (1) )3 - 6( x (1) ) 2 + 9 x (1) - 4ùû ç ÷


çè dx ÷ø

= 0 - éë(4.8889)3 - 6(4.8889) 2 + 9(4.8889) - 4ùû -13.4431


= = -0.6100
22.037
= -13.4431

 คําตอบสมการจากการ iteration # 2 เท่ากับ


æ df ö
(1)

และ ç ÷÷ = 3( x (1) ) 2 -12 x (1) + 9


çè dx ÷ø x (2) = x (1) + Dx (1)
= 3(4.8889) 2 -12(4.8889) + 9 = 4.8889 - 0.6100

= 22.037 107 = 4.2789 108


ทําการ iteration ไปเรื่ อยๆ จนคําตอบของสมการไม่เปลี่ยนแปลง กราฟแสดงการหาคําตอบด้วยวิธี Newton - Raphson

#3 x (3) = x (2) + Dx (2)


2.9981
= 4.2789 - = 4.0405
12.5797

#4 x (4) = x (3) + Dx (3)


0.3748
= 4.0405 - = 4.0011
9.4914

#5 x (5) = x (4) + Dx (4)


** พบว่าวิธี Newton – Raphson ใช้รอบการ iteration น้อยกว่า วิธี
= 4.0011-
0.0095 = 4.0000
109
Gauss - Seidel 110
9.0126

 การเขียนโปรแกรม เพื่อใช้วเิ คราะห์ ตัวอย่างที่ 6 สําหรับกรณี ระบบที่พิจารณา มีตวั แปร n ตัวแปร และสมการ n สมการ
f1 ( x1 , x2 , , xn ) = c1
f 2 ( x1 , x2 , , xn ) = c2

f n ( x1 , x2 , , xn ) = cn

สามารถกระจายโดยใช้อนุกรมเทย์เลอร์(ตัดพจน์อนั ดับสูง) ได้เป็ น


(0) (0) (0)
 f   f   f 
( f1 )(0)   1  x1(0)   1  x2(0)  ...   1  xn(0)  c1
 x1   x2   xn 
(0) (0) (0)
 f   f   f 
( f 2 )(0)   2  x1(0)   2  x2(0)  ...   2  xn(0)  c2

 1
x 
 2
x  xn 


(0) (0) (0)
 f   f   f 
( f n )(0)   n  x1(0)   n  x2(0)  ...   n  xn(0)  cn
111  x1   x2   xn  112
(0) (0) (0)
 f1   f1   f 
 x  x1   x 
 1
(0)

 2
x(0)
2  ...   1 
 xn 
xn(0)  c1  ( f1 )( 0) กําหนดให้
(0) (0) (0)
 f 2   f 2   f 2   x1( k )   c1  ( f1 )( k ) 
ย้ ายข้ างสมการ  x  x1   x  x2  ...   x  xn  c2  ( f 2 )
(0) (0) (0) ( 0)

 1  2  n  (k )   
  X ( k )
x
 2 
  
และ C ( k )

c  ( f 2 )( k ) 
 2

 f n 
(0)
 f n 
(0)
 f n 
(0) 
 (k )   (k ) 
 x  x1   x  x2  ...   x  xn  cn  ( f n )
(0) (0) ( 0) ( 0)

 1  2  n  xn  cn  ( f n ) 

เขียนในรู ปเมตริ กได้เป็ น   f (0) (0) (0) 


  f ( k )  f1 
(k )
 f1 
(k ) 
 f1   f   1      x  
 1      1    x1   x2   n 
  x1   x2   xn    
 c1  ( f1 )    (k ) (k )
(0)
(0)   x1 
(0)
 f   f2   f 2  
(k )

 (0) 
 f 
(0)
 f 2 
(0)
 f2   (0)  
  x 
2
      Jacobian Matrix
   x2 
2 J (k )
c
 2 ( f 2 )    x       1  x2   xn  
    1   x2   xn       
   (0)     
 (0)       
cn  ( f n )     xn   (k ) (k ) (k ) 
 (0) (0) (0)   fn   fn   f 
  n 
 f n   f n   f 
  n   x   
 xn  
c  x 
1


 2
x

 xn   113 1 
 2
x
114

จะได้ C ( k )  J ( k ) X ( k )
ตัวอย่ างที่ 7
จงใช้วธิ ี Newton – Raphson หาจุดตัดของ 2 สมการนี้
หรื อ 1
X ( k )   J ( k )  C ( k )
x12  x22  4
e x1  x2  1
 สามารถหาคําตอบสมการ n มิติ (n สมการ n ตัวแปร) โดยวิธี C ( k )  J ( k ) X ( k )

Newton – Raphson ได้โดยหา วิธีทาํ   f ( k )  f1 


(k )
 f1 
(k ) 
 1      x 
  x1   x2   n 
 c1  ( f1 )( k )   
( k )  x1 
X ( k 1)  X ( k )  X ( k )
(k )
(k ) (k )
 (k ) 
 f   f 2   f 2    x ( k ) 
 c2  ( f 2 )    x 
2
      2 
    1   x2   xn     
 (k ) 
    
  (k ) 
 cn  ( f n )     xn 
** สิ่ งสําคัญคือ หาจาโคเบียนเมตริ ก (Jacobian Matrix)ให้ได้ !!! **  (k ) (k ) (k ) 
 f n   f n   f n  
 x      
115
1  x2   xn   116
• จากโจทย์ พบว่า :  กําหนดค่าเริ่ มต้น x1(0)  0.5 และ x2(0)  1.0

n2 และ c1  4 c2  1 Iteration #1


 x1( 0 ) 
f1(0)   x1(0)    x2(0)  f 2(0)  e   x2(0) 
2 2
• หา Jacobian Matrix [ J ]
  0.5    1.0 
2 2
 e 0.5   1.0 
   x  x  
2 2
   x  x  
2 2
 f1   f1   
1

2

1 2
 
 x   x   x1 x2  1.25  0.6487
 1  2     
J   
 f   f 2      e  x2      e  x2   
x1 x1

 2   x         จะได้สมาชิกของ C ( k ) เป็ น


 x1   2     x1   x2 
c1(0)  c1  ( f1 )( k )  4  1.25  2.7500
2 x 2 x2 
  x11 c2(0)  c2  ( f 2 )( k )  1  0.6487  0.3513
e 1  117 118

Iteration #1
Iteration #1
 หา J (0) จะได้   f (0)
 1 
 f1 
(0)
 f1  
(0) 
    x 
  x1   x2   n 
 c1  ( f1 )(0)   (0) (0)

(0)   x1 
(0)
 f 
 2 x1(0) 2 x2(0)   2  0.5  2  1  
 (0)   f 2    f 
  2    x2 
 (0) 
จาก  2
J (0)   x( 0 )     0.5 
c
 2 ( f 2 )    x  



   1   2
x  x n    
 e 1 1   e 1 


   (0) 
(0)     
 cn  ( f n )     xn 
 (0) (0) (0) 
1.0000 2.0000   f n   f n   f 
  n 
   x  
 x2 

 xn  
1
1.6487 1.0000 

 2.7500  1.0000 2.0000   x1 


(0)

จะได้ 
 0.3513 1.6487 1.0000   x (0) 
    2 
119 120
 สามารถหา X ( k ) ได้เท่ากับ เมื่อทําการ iteration ไปเรื่ อย พบว่าคําตอบจะหยุดที่ iteration #5
1
 x1(0)  1.0000 2.0000   2.7500 
 (0)   1.6487 1.0000   0.3513 
 x2     

 0.8034 
 
 0.9733

 คําตอบสมการจากการ iteration # 1 เท่ากับ


ค่าเริ่ มต้น
x1(1)  x1(0)  x1(0)  0.5  0.8034  1.3034

x2(1)  x2(0)  x2(0)  1   0.9733  1.9733


121 122

เปรี ยบเทียบคําตอบที่ได้ระหว่าง Newton – Raphson กับการพล็อตกราฟ


 การเขียนโปรแกรม เพื่อใช้วเิ คราะห์ ตัวอย่างที่ 7
(-1.8, -0.8) iter = 0 ; % Iteration Counter

(1, -1.7)

[1.0042,-1.7296]
123 124
การวิเคราะห์ การไหลของกําลังไฟฟ้า  สมมติค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ในรู ปเชิงขั้ว (Polar form)
ด้ วยวิธี Newton-Raphson
Vi  Vi  i V j  V j  j Yij  Yij ij

• จากสมการการไหลของกําลังไฟฟ้ า N

จะได้ i j Yij   ij   j   i 
Pi  jQi   VV
N j 1
Pi  jQi  Vi (ViYii   YijV j )
*
( j  i)
j 1

 กําลังไฟฟ้ าจริ ง (P) และกําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ (Q) หาได้ดงั นี้


• ถ้ากําหนดให้ j เท่ากับ i ได้  จะได้สมการเป็ น N

i jYij cos  ij   j   i 
Pi   VV  f1  i , Vi 
N

Y V
j 1
Pi  jQi  Vi *
ij j ( j  i)
j 1 N

i jYij sin  ij   j   i 
Qi   VV  f 2  i , Vi  126
125 j 1

• รู ปเมตริ กเพื่อการวิเคราะห์ Newton - Raphson เขียนได้เป็ น • กรณี กาํ หนด บัส 1 เป็ นบัสอ้างอิง จะได้

 P2( k ) P2( k ) P2( k ) P2( k ) 


 Pi    i   
 Q    J   
 
 2
 n  V2  Vn 

 i   Vi   P2   
(k ) J1
   J2     2( k ) 
   (k )  
    Pn 
Pn( k ) Pn( k )

Pn( k )    
 Pn( k )    2  n  V2  Vn    n 
(k )

• สําหรับ “บัสอ้างอิง (Swing Bus)” จะไม่นาํ มาใช้ในการคํานวณ  (k )    (k )  (k ) 


 Q2   Q2 Q2( k ) Q2( k ) Q2( k )    V2 
 
เนื่องจากทราบค่า V และ  แล้ว      2  n  V2  Vn    
 
 (k )  
 Qn    J3
   J4     Vn( k ) 
 (k ) 
 Qn Q Q Qn( k ) 
(k ) (k )
 n n

  2  n  V2  Vn 
127 128
การหา J1 ได้ จาก การหา J1 ได้ จาก (ต่ อ)
N

i jYij cos  ij   j   i 
Pi   VV ( j  i) N

i j Yij cos  ij   j   i 
i iYii cos  ii   i   i    VV
j 1 Pi  VV ( j  i)
j 1

 สามารถเขียนใหม่ได้เป็ น
N
จะได้
i jYij cos  ij   j   i 

i iYii cos  ii   i   i    VV
Pi  VV ( j  i)
j 1 0
Pi   N

i iYii cos  ii   i   i    VV i jYij cos  ij   j   i  
  VV ( j  i)
 จะได้ j เดียวกัน  i  i  j 1 
N
   i 
i jYij sin  ij   j   i 
Pi   N
   VV ( j  i)
i iYii cos  ii   i   i    VV i jYij cos  ij   j   i  
  VV ( j  i)  i
 j  j  j 1  j 1

i jYij sin  ij   j   i 
  VV
i jYij sin  ij   j   i 
  VV ( j  i) ( j  i)
j 1
129 130

การหา J2 ได้ จาก การหา J3 ได้ จาก


N

i jYij sin  ij   j   i 
Qi   VV
Pi   N
 ( j  i)
i iYii cos  ii   i   i    VV i jYij cos  ij   j   i  
  VV ( j  i)
 Vi Vi  j 1 
j 1

N
 2 Vi Yii cos ii    V jYij cos ij   j   i 
 สามารถเขียนใหม่ได้เป็ น
( j  i)
j 1 N

i j Yij sin  ij   j   i 
i iYii sin  ii   i   i    VV
Qi   VV ( j  i)
j 1

จะได้
Pi   N


j เดียวกัน
i iYii cos  ii   i   i    VV i jYij cos  ij   j   i  
  VV ( j  i)
 V j V j  j 1  Qi   N

i iYii sin  ii   i   i    VV i jYij sin  ij   j   i  
   VV ( j  i)
 j  j  j 1 
 Vi Yij cos ij   j   i  ( j  i)
i jYij cos  ij   j   i 
  VV ( j  i)
131 132
การหา J3 ได้ จาก (ต่ อ) การหา J4 ได้ จาก
จาก
Qi   N

 i jYij sin  ij   j   i  
N
    ( j  i)
i j Yij sin  ij   j   i 
    
i iYii sin  ii   i   i    VV
Qi   VV ( j  i) 
 Vi Vi 
VV Y
i i ii sin ii i i VV
j 1
j 1 
N
 2 Vi Yii sin ii    V jYij sin ij   j   i  ( j  i)
 จะได้ j 1

0
Qi   N

 i jYij sin  ij   j   i   j เดียวกัน
   VV Y sin        VV ( j  i)
 i  i 
i i ii ii i i
j 1 
Qi   N

N
   i   i iYii sin  ii   i   i    VV
  VV i jYij sin  ij   j   i   ( j  i)
i jYij cos  ij   j   i 
  VV ( j  i)  V j V j  j 1 
j 1  i

  Vi Yij sin ij   j   i  ( j  i)


N

i jYij cos  ij   j   i 
  VV ( j  i)
j 1
133 134

ตัวอย่ างที่ 8  หา [ Y ]
é Y11q11 Y12q12 Y13q13 ù แปลงจากเลขเชิงซ้อน
ê ú
จงหาสมาชิกแต่ละตัวของ [ J ] ของระบบไฟฟ้ าในรู ป [Y ] = êY21q21 Y22q11 Y23q23 ú
ê ú
เป็ นเชิงขั้ว
êëY31q31 Y32q32 Y33q33 úû
(1) (2)
y12
** ไม่ใช้ บัส 1 ในการหา [ J ] เนื่องจากเป็ น Slack Bus

Load bus  หา Pi, Qi จาก


y13 y23
N

i j Yij cos  ij   j   i 
Pi   VV ( j  i)
Slack Bus j 1
(3)
N

i jYij sin  ij   j   i 
Qi   VV ( j  i)
Load bus 135
j 1
136
N
หา Q2, Q3 i jYij sin  ij   j   i 
Qi   VV
N

i jYij cos  ij   j   i 
 หา P2 , P3 Pi   VV ( j  i)  ( j  i)
j 1 j 1

P2 = V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 V2 Y22 cos (q22 + d2 - d2 ) + Q2 = - V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 V2 Y22 sin (q22 + d2 - d2 ) -
V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 ) V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )

= - V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 Y22 sin (q22 ) -


2
= V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 Y22 cos (q22 ) +
2

V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 ) V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )

P3 = V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) + Q3 = - V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) -
V3 V3 Y33 cos (q33 + d3 - d3 ) V3 V3 Y33 sin (q33 + d3 - d3 )

= V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) + = - V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) -
V3 Y33 sin (q33 )
2
V3 Y33 cos (q33 )
2
137 138

หาสมาชิกแต่ละตัวใน [ J ] จาก ¶P2


=

[ V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 Y22 cos (q22 ) +
2

¶d2 ¶d2
V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )]
 P2 P2 P2 P2 
   3  V2  V3 
 2  = V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) + V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )
 P2   P3 P3 P3 P3    2 
 P     3  V2  V2    3 
 3 2  
 Q2   Q2 Q2 Q2 Q2    V2 
¶P2 ¶
 Q     3  V2  V3    V3  [ V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 Y22 cos (q22 ) +
2
 3  2 =
 ¶d3 ¶d3
 Q3 Q3 Q3 Q3  V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )]
   3  V2  V3 
 2
= - V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )
จาโคเบียน 139 140
¶P2 ¶ ¶P3 ¶
= [ V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 Y22 cos (q22 ) +
2
= [ V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) +
¶ V2 ¶ V2 ¶d2 ¶d2
V3 Y33 cos (q33 )]
2
V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )]

= V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + 2 V2 Y22 cos (q22 ) + = - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 )


V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )]

¶P3 ¶
= [ V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) +
¶P2 ¶ ¶d3 ¶d3
[ V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 Y22 cos (q22 ) +
2
=
¶ V3 ¶ V3
V3 Y33 cos (q33 )]
2

V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )]

= V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 )


= V2 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )
141 142

¶P3 ¶ ¶Q2 ¶
= [ V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) + = [- V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 Y22 sin (q22 ) -
2

¶ V2 ¶ V2 ¶d2 ¶d2
V3 Y33 cos (q33 )]
2
V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )]

= V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )


= V3 Y32 cos (q32 + d2 - d3 )

¶P3 ¶ ¶Q2 ¶
= [ V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) + [- V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 Y22 sin (q22 ) -
2
=
¶ V3 ¶ V3 ¶d3 ¶d3
V3 Y33 cos (q33 )]
2
V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )]

= V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) + = - V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )


2 V3 Y33 cos (q33 )
143 Q
144
¶Q2 ¶ ¶Q3 ¶
[- V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 Y22 sin (q22 ) -
2
= = [- V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) -
¶ V2 ¶ V2 ¶d2 ¶d2
V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )] V3 Y33 sin (q33 )]
2

= - V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - 2 V2 Y22 sin (q22 ) -


= - V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 )
V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )]

¶Q3 ¶
¶Q2 ¶ = [- V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) -
[- V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 Y22 sin (q22 ) -
2
= ¶d3 ¶d3
¶ V3 ¶ V3
V3 Y33 sin (q33 )]
2
V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )]

= - V2 Y23 sin (q23 + d3 - d2 ) = V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 )


145 146

¶Q3 ¶
=
¶ V2 ¶ V2
[- V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) - • ส่ วน P และ Q คือ ผลต่างของค่าจริ งๆที่บสั นั้น
i
(k )
i
(k )

V3 Y33 sin (q33 )]


2 (Scheduled) กับ ค่าที่ได้จากการคํานวณแต่ละรอบของการ iteration

= - V3 Y32 sin (q32 + d2 - d3 )


• มีชื่อเรี ยกผลต่างนี้วา่ “Power Residuals”
Pi ( k )  Pi sch  Pi ( k )

¶Q3 ¶
Qi( k )  Qisch  Qi( k )
= [- V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) -
¶ V3 ¶ V3
V3 Y33 sin (q33 )]
2

โดยที่ :
N
Pi  k    Vi ( k )V j( k )Yij( k ) cos ij( k )   j( k )   i( k ) 
j 1
= - V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) -
N
2 V3 Y33 sin (q33 ) Qi( k )   Vi ( k )V j( k )Yij( k ) sin ij( k )   (j k )   i( k ) 
j 1
จบตัวอย่ าง 8 !!
147 148
• รู ้ [ J (k) ] , P และ Q
(k ) (k )
-- > หา  i( k )  Vi ( k ) ได้ กรณี มีบัสแรงดันคงที่ (Gen Bus) ในระบบทีว่ เิ คราะห์ ด้วย
i i

  i( k )  ( k ) 1  Pi
(k )
 • เนื่องจากแรงดันของ Gen Bus มีค่าคงที่ จะไม่ตอ้ งหา V Gen Bus
 (k )      (k ) 
ทําให้สามารถตัดในสมาชิก P และ Q ในจาโค
 J 
  Vi   Qi 
i i
V V
เบียนเมตริ ก [ J ] ได้ Gen Bus Gen Bus

• จะได้ขนาดแรงดัน Vi และมุมเฟสแรงดัน  i ที่บส


ั ใหม่ เป็ น
 ( k 1)
 (k )
  (k ) • เนื่องจากไม่ทราบ Q ของ Gen Bus จึงไม่นาํ Q
sch
มา Gen Bus
i i i
คิดในการคํานวณ แต่จะมาหาค่า Q ภายหลังจากทราบแรงดันแต่ละ
Vi ( k 1)  Vi ( k )   Vi ( k )
บัสแล้ว

• ทํา iteration ต่อไปเรื่ อยๆ จนคําตอบอยูใ่ นเกณฑ์ยอมรับได้ 149 150

ยกตัวอย่าง ระบบ 3 บัส ซึ่ งมีบสั 1 เป็ นบัสแกว่ง บัส 2 และ 3 เป็ น ยกตัวอย่าง ระบบ 3 บัส ซึ่งมีบสั 1 เป็ น Swing Bus, บัส 2 เป็ น Load
Load Bus จะได้ Bus และ บัส 3 เป็ น Gen Bus จะต้อง
Pi Qi
 P2 P2 P2 P2  • ไม่คิด  V3
และ  V3
   3  V2  V3 
 2 

 2   P3
P P3 P3 P3    2  • ไม่ตอ้ งหา Q3
 P     3  V2  V3    3 
 3 2  
 Q2   Q2 Q2 Q2 Q2    V2   P2 P2 P2 
 Q     3  V2  V3    V3   
 3  2   3  V2 
 P2      2 
2
 Q3 Q3 Q3 Q3 
   P    P3 P3 P3   
 2  3  V2  V3  จะได้  3    2   3 
 3  V2  
 Q2    V2 
Q2 Q2 Q2 
 
151
  2  3  V2 
152
กรณี ระบบมีท้ งั หมด n บัส และประกอบด้วย Swing Bus 1 บัส (sure !!) สรุป ขั้นตอนการวิเคราะห์โหลดโฟล์วด้วยวิธี
และประกอบด้วย Gen Bus m บัส Newton - Raphson
 ในการวิเคราะห์ Newton – Raphson พบว่ า 1. ที่ Load Bus
1. ต้องวิเคราะห์หาค่ากําลังไฟฟ้ าจริ ง (P) จํานวน n - 1 ตัว
1.1 ทราบค่า Pi sch และ Qisch
2. ต้องวิเคราะห์หาค่ากําลังไฟฟ้ ารี แอคทีฟ (Q) จํานวน n - 1 - m ตัว
1.2 กําหนดค่าแรงดันบัสเริ่ มต้น
3. เมตริ กจาโคเบียน [ J ] มีขนาด (2n-2-m) x (2n-2-m) โดยแบ่ งเป็ น
- กําหนดให้เท่า Swing Bus
- J1 มีขนาด (n-1) x (n-1) - J2 มีขนาด (n-1) x (n-1-m)
หรื อ - กําหนด Vi (0) = 1 และ di(0) = 0
- J3 มีขนาด (n-1-m) x (n-1) - J4 มีขนาด (n-1-m) x (n-1-m)
153 154

สรุ ป Newton - Raphson สรุ ป Newton - Raphson


2. ที่ Gen Bus
1. ที่ Load Bus (ต่ อ)
1.1 ทราบค่า Pi sch
N
1.3 หาค่า จาก i jYij cos  ij   j   i 
Pi   VV
Pi ( k ) , Qi( k )
j 1 1.2 กําหนดค่ามุมเฟสแรงดันบัสเริ่ มต้น
N

i jYij sin  ij   j   i 
Qi   VV - กําหนดให้เท่าของ Swing Bus
j 1

หรื อ - กําหนด di(0) = 0


1.4 หาค่า DP i
(k )
, DQi( k ) จาก Pi ( k )  Pi sch  Pi ( k )
N
1.3 หาค่า จาก i jYij cos  ij   j   i 
Pi   VV
Pi ( k )
Q i
(k )
Q i
sch
Qi
(k )
j 1

1.4 หาค่า DPi ( k ) จาก Pi ( k )  Pi sch  Pi ( k )


155 156
สรุ ป Newton - Raphson สรุ ป Newton - Raphson
3. หาสมาชิกแต่ละตัวในเมตริ กซ์จาโคเบียน [ J ] 5. หา  i( k 1)   i( k )   i( k )

éJ J2 ù Vi ( k 1)  Vi ( k )   Vi ( k )
[J ]= ê 1 ú
êë J 3 J 4 úû

โดยแทนค่า Vi ( k )  i( k ) ,V j( k )  (j k ) , Yij( k ) ij( k )


6. กลับไปทํา ขั้นตอนที่ 1 ใหม่ โดยใช้  i( k 1) , Vi ( k 1)

7. ทําไปเรื่ อยๆ จนกระทั้ง


4. หาค่า Ddi( k ) , D Vi ( k ) จาก
DPi ( k ) £ e และ DQi( k ) £ e
  i( k )  ( k ) 1  Pi
(k )

 (k )   
 J 
  (k ) 
  Vi   Qi  157 เมื่อ e เท่ากับ 2.5 x 10-4 p.u. 158

ตัวอย่ างที่ 9 • เมตริ กซ์แอดมิตแตนซ์ [Y] เท่ากับ


é 20 - j 50 -10 + j 20 -10 + j 30ù
จากระบบไฟฟ้ าของ ตัวอย่างที่ 5 จงวิเคราะห์การไหลของกําลังไฟฟ้ า ê ú
[Y ] = ê-10 + j 20 26 - j 52 -16 + j 32ú
ด้วยวิธี Newton-Raphson ê ú
êë-10 + j 30 -16 + j 32 26 - j 62 úû
(1) (2)
0.02 + j0.04
• เขียน [Y] ในรู ปเชิงขั้ว (Polar Form) ได้เป็ น
400 MW

é53.85165-1.9029 22.360682.0344 31.622781.8925 ù


ê ú
0.01 + j0.03 0.0125 + j0.025 250 Mvar [Y ] = ê 22.360682.0344 58.13777-1.1071 35.777092.0344 ú
ê ú
êë 31.622781.8925 35.777092.0344 67.23095-1.1737úû
Slack Bus
V1  1.050 (3)
200 ค่าฐาน 100 MVA
MW V3  1.04
159
มุมเป็ น เรเดียน ** เขียนเป็ นองศา (o)ได้ 160
จากวงจร พบว่ า N
• หาค่า P ที่บสั 2 และ 3 ได้จาก i jYij cos  ij   j   i 
Pi   VV
j 1

• บัส 1 เป็ น Swing Bus  ไม่นาํ มาคิด


P2 = V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 V2 Y22 cos (q22 + d2 - d2 ) +
• บัส 3 เป็ น Gen Bus  ไม่นาํ Q3 , V3 มาคิด V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )

= V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 Y22 cos (q22 ) +


2

 P2 P2 P2 


  V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )
 3  V2 
 2 
    2 
2
P
จะได้  P    P3 P3 P3   
 3    2    3 
 3  V3  P3 = V3 V1 Y31 cos (q31 + d1 - d3 ) + V3 V2 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) +
 Q2    V2 
 Q2 Q2 Q2  V3 Y33 cos (q33 )
2
 
  2  3  V2 
161 162

N  P2 P2 P2 


• หาค่า Q ที่ บัส 2 ได้จาก i jYij sin  ij   j   i 
Qi   VV    3  V2 
j 1  2 
 P P3 P3 
หาสมาชิกแต่ ละตัวในเมตริกจาโคเบียน J    3
Q2 = - V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 V2 Y22 sin (q22 + d2 - d2 ) -   2  3  V3 
V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )  Q2 Q2 Q2 
 
  2  3  V2 
= - V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) - V2 Y22 sin (q22 ) -
2

¶P2
V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 ) = V2 V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) + V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )
¶d2
¶P2
• นําสมการที่ได้ ไปหาสมาชิกแต่ละตัวใน เมตริ กจาโคเบียน [ J ] ¶d3
= - V2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 )

¶P2
• สมการ P และ Q ที่หามาได้ จะนําค่า Vi ( k )  i( k ) ,V j( k )  j( k ) , Yij( k ) ij( k )
¶ V2
= V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + 2 V2 Y22 cos (q22 ) +

มาแทนในสมการ V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )


แถว 1
163 164
 P2 P2 P2   P2 P2 P2 
   3  V2     3  V2 
 2   2 
 P P3 P3   P P3 P3 
หาสมาชิกแต่ ละตัวในเมตริกจาโคเบียน J    3 หาสมาชิกแต่ ละตัวในเมตริกจาโคเบียน J    3
  2  3  V3    2  3  V3 
 Q2 Q2 Q2   Q2 Q2 Q2 
   
  2  3  V2    2  3  V2 

¶Q2
¶P3 = V2 V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2 ) + V2 V3 Y23 cos (q23 + d3 - d2 )
= - V3 V1 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) ¶d2
¶d2
¶Q2
= - V2 V3 Y23 cos(q23 + d3 - d2 )
¶P3 ¶d3
= V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) + V3 V1 Y31 sin (q32 + d2 - d3 )
¶d3
¶Q2
= - V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2 ) + 2 V2 Y22 sin (q22 ) -
¶P3 ¶ V2
¶ V2
= V3 Y32 cos (q32 + d2 - d3 ) แถว 2 V3 Y23 sin (q23 + d3 - d2 ) แถว 3
165 166

• หาค่า P sch ของบัส 2, 3 และ Q sch


ของบัส 2  หา P2(0) , P3(0) และ Q2(0)

(400 + j 250)
บัส 2 S 2sch = - = -4.0 - j 2.5 p.u. P2(0) = V2(0) V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2(0) ) + V2(0) Y22 cos (q22 ) +
2

100
V2(0) V3 Y23 cos (q23 + d3(0) - d2(0) )
บัส 3 P3sch =
200
= 2.0 p.u.
100 = 1.0 1.05 22.36068 cos ( 2.0344 + 0 - 0) + 1.0 58.13777 cos (-1.1071) +
2

1.0 1.04 35.77709 cos ( 2.0344 + 0 - 0)


• กําหนดค่าเริ่ มต้นของ บัส 2 และ บัส 3
บัส 1  V = 1.05 และ d = 0 1
= -1.14
นําไปแทนใน
1

V2(0) = 1 และ d2(0) = 0 Pi , Qi และ [J ]  ทํานองเดียวกัน จะได้


บัส 2 
P3(0) = 0.5616 Q2(0) = -2.28
บัส 3  V3 = 1.04 และ d (0)
3 =0
167 168
หาสมาชิกแต่ละตัวในเมตริ กจาโคเบียน [ J ]
สามารถหา Power Residuals ที่บส
ั ต่างๆ ได้เท่ากับ
 P2 (0) P2
(0)
P2 
(0)

   3  V2 
 2 
P2(0)  P2sch  P2(0) = -4.0 - (-1.14)  P (0) P3
(0)
P3
(0) 
 J (0)    3 
= -2.8600   2  3  V3 
 (0) 
 Q2 Q2 Q2 
(0) (0)

= 2.0 - (0.5616)   2  3  V2 
P3(0)  P3sch  P3(0)
= 1.4384 ¶P2
(0)
= V2(0) V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2(0) ) + V2(0) V3 Y23 sin (q23 + d3(0) - d2(0) )
¶d2
= 1.0 1.05 22.36068 sin (2.0344 + 0 - 0) +
Q2(0)  Q2sch  Q2(0) = -2.5 - (-2.28)
1.0 1.04 35.77709 sin (2.0344 + 0 - 0)
= -0.2200
คําตอบยังไม่ O.K.
169
= 54.2800 170

 ทําในทํานองเดียวกัน จะหาสมาชิกทั้งหมดใน [ J ] ได้เป็ น • แทนค่าต่างๆ จะได้


 54.28000 33.28000 24.86000 
  2(0)   54.28000 33.28000 24.86000  1  2.8600 
 J (0)
   33.2800 66.04000 16.64000    
    
  3    33.2800 66.04000 16.64000   1.4384 
(0)
 27.14000 16.64000 49.72000 
  V (0)   27.14000 16.64000 49.72000   0.2200 
 2  
 จะสามารถหา Dd2(0) , Dd3(0) และ D V2(0) จาก
 Pi ( k )    i( k )   จะได้ค่าต่างๆ เท่ากับ
จาก  ( k )    J    V ( k ) 
(k )

 Qi   i 
Dd2(0) = -0.045263 Dd3(0) = -0.007718

  i( k )  ( k ) 1  Pi
(k )

จะได้    
 J 
  (k ) 
D V2(0) = -0.026548
  Vi   Qi 
(k )

171 172
จะได้ค่าต่างๆ จากการ iteration #1 เป็ นดังนี้ หา P2(1) , P3(1) และ Q2(1)

P2(1) = V2(1) V1 Y21 cos (q21 + d1 - d2(1) ) + V2(1) Y22 cos (q22 ) +
2

= 0 + (-0.045263) = -0.045263 V2(1) V3 Y23 cos (q23 + d3(1) - d2(1) )


d2(1) = d2(0) + Dd2(0)
= 0.97345 1.05 22.36068 cos (2.0344 + 0 - (-0.045263)) +
0.97345 58.13777 cos (-1.1071) +
2
d3(1) = d3(0) + Dd3(0) = 0 + (-0.007718) = -0.007718
0.97345 1.04 35.77709 cos (2.0344 + (-0.007718) - (-0.045263))

V2(1) = V2(0) + D V2(0) = 1 + (-0.026548) = 0.97345 = -3.900782

 ทํานองเดียวกัน จะได้
P3(1) = 1.978285 Q2(1) = -2.449086
173 174

 สามารถหา Power Residuals ที่บสั ต่างๆ ได้เท่ากับ  หาสมาชิกแต่ละตัวในเมตริ กจาโคเบียน [ J ]


 P2 (1) P2
(1)
P2 
(1)

   3  V2 
P2(1)  P2sch  P2(1) = -4.0 - (-3.900782)  2 
 P (1) P3
(1)
P3
(1) 
= -0.099218  J (1)    3 
  2  3  V3 
 (1) 
 Q2 Q2 Q2 
(1) (1)

P 3
(1)
P 3
sch
P
3
(1) = 2.0 - (1.978285)   2  3  V2 
= 0.021715
¶P2
(1)
= V2(1) V1 Y21 sin (q21 + d1 - d2(1) ) + V2(1) V3 Y23 sin (q23 + d3(1) - d2(1) )
¶d2
Q2(1)  Q2sch  Q2(1) = -2.5 - (-2.449086) = 0.97345 1.05 22.36068 sin (2.0344 + 0 - (-0.045263)) +
= -0.050914 0.97345 1.04 35.77709 sin (2.0344 + (-0.007718) - (-0.045263))

175 = 51.724675 176


ทําในทํานองเดียวกัน จะหาสมาชิกทั้งหมดใน [ J ] ได้เป็ น
จะได้ค่าต่างๆ จากการ iteration #2 เป็ นดังนี้
 51.724675 31.765618 21.302567 
 J    32.981642 65.656383 15.379086 
(1)
  d2(2) = d2(1) + Dd2(1) = (-0.045263) + (-0.001795)
 28.538577 17.402838 48.103589 
= -0.047058
จะสามารถหา Dd (1)
2 , Dd3(1) และ D V2(1) จาก
  2(1)   51.724675 31.765618 21.302567  1  0.099218  d3(2) = d3(1) + Dd3(1) = (-0.007718) + (-0.000985)
     
  3    32.981642 65.656383 15.379086   0.021715 
(1)
= -0.00870
  V (1)   28.538577 17.402838 48.103589   0.050914 
 2  

V2(2) = V2(1) + D V2(1) = (0.973451) + (-0.001767)


Dd2(1) = -0.001795 D V2(2) = -0.001767
= 0.971684
Dd3(1) = -0.000985 177 178

สําหรับการ iteration #3 จะได้


พบว่า ผลต่างกําลังไฟฟ้ า < 2.5 x 10-4  คําตอบ O.K. แล้ว
 0.000216   51.596701 31.693866 21.147447    2 
(2)

 0.000038    32.933865 65.597585 15.351628  (2) 



จะได้ V2 = 0.97168- 2.696 V3 = 1.04- 0.4988
    3 
 0.000143  28.548205 17.396932 47.954870    V2(2) 
 

จะได้ Dd2(2) = -0.000038 D V2(2) = -0.0000044 สามารถนําค่าแรงดันบัสต่างๆ ที่ได้ มาหาค่า P1, Q1 และ Q3 ได้จาก
N

i jYij cos  ij   j   i 
Pi   VV
Dd3(2) = -0.0000024
j 1

และ d2(3) = (-0.047058) + (-0.0000038) = -0.04706 P1 = V1 V1 Y11 cos (q11 + d1 - d1 ) + V1 V2 Y12 cos (q12 + d2 - d1 ) +
d3(3) = (-0.008703) + (-0.0000024) = -0.008705 V1 V3 Y13 cos (q13 + d3 - d1 )

= (0.971684) + (-0.0000044) = 0.97168


V2(2)
179
= 2.1842 p.u. 180
จาก จะได้
N

 i jYij sin  ij   j   i 
Qi   VV
j 1

Q1 = - V1 V1 Y11 sin (q11 + d1 - d1 ) - V1 V2 Y12 sin (q12 + d2 - d1 ) -


V1 V3 Y13 sin (q13 + d3 - d1 )

= 1.4085 p.u. การประยุกต์ ใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์


Q3 = - V3 V1 Y31 sin (q31 + d1 - d3 ) - V3 V2 Y32 sin (q32 + d2 - d3 ) - ในการวิเคราะห์ Power Flow
V3 V3 Y33 sin (q33 + d3 - d3 )

= 1.4617 p.u.
จากนั้น สามารถหา Line Flows และ Line Loss ได้เหมือนใน ตัวอย่างที่ 181
5 !!! 182

IEEE 30 Buses
Initial
Condition

183 184
Line Data
Gauss – Seidel
Method

185 186

Newton – Raphson IEEE 118 Buses


Method

187 188

You might also like