Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

ภาวะผู้นําเชิงระบบ (System be made.

Professional management and dedicated


to all personnel of the Personal Mastery. Moreover,
Leadership) : รูปแบบที่มุ่งคุณธรรม it focuses on morality and ethics. Use creative
สู่ความเป็ นมืออาชีพ thinking to develop school in order to make the
difference in every aspect. Improving education
ดร.สมชาย เทพแสง1
system and enhance the standard of higher
Dr.Somchai Thepsaeng1
1 education not only own school but other school
หัวหน้าภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะ
network and nearby community. The improving
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
education system is to improve teaching system,
curriculum, teaching materials and technology,
บทคัดย่อ environment and atmosphere, facility included
ภาวะผูน้ ําเชิงระบบ เป็ นรูปแบบภาวะผูน้ ําสมัยใหม่ teaching activity. Having commitment to achieve
โดยเน้นการทํางานเป็ นระบบ ใช้ความคิดเชิงระบบ สร้าง sustainable change in education system, support
ความสัมพันธ์กบั หน่วยงาน ชุมชนและคนอื่นๆ โดยสร้าง education reform, focus on building relationship,
ความแตกต่างทีส่ ามารถทําได้ บริหารงานแบบมืออาชีพ restructuring of the school and independence, using
และมุ่งให้บคุ ลากรทุกคนเป็ นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ที่ participation and network building, empowerment to
สําคัญเน้นด้านคุณธรรมและจริยธรรม ใช้ความคิด personnel and foster collaboration with other
เชิงระบบสร้างสรรค์ในการพัฒนาโรงเรียนให้เกิดความ schools. Leadership motivate all staff to their
แตกต่างทุกด้าน มีการปรับปรุงระบบการศึกษา ยกระดับ professional development to lead school toward
มาตรฐานการศึกษาให้สงู ขึน้ ไม่ใช่เฉพาะโรงเรียนตนเอง quality school.
เท่านัน้ รวมถึงโรงเรียนอื่นๆ ในเครือข่ายหรือชุมชน
ใกล้เคียงด้วย โดยปรับปรุงระบบการเรียนการสอน Keywords: System Leadership, Professionalism
ปรับปรุงหลักสูตร สือ่ การสอน เทคโนโลยี สภาพ
แวดล้อมและบรรยากาศของโรงเรียน สิง่ อํานวยความ บทนํา
สะดวก รวมถึงกิจกรรมการเรียนการสอน มีความมุ่งมัน่
“ภาวะผูน้ ําคือการเปลีย่ นแปลงวิสยั ทัศน์ไปสูก่ าร
เปลีย่ นแปลงระบบการศึกษาให้บรรลุผลสําเร็จ สนับสนุน
ปฏิบตั ทิ เ่ี ป็ นจริง” การบริหารจัดการในระบบองค์การใด
การปฏิรปู การศึกษา เน้นการสร้างมนุษยสัมพันธ์ การ
ก็ตาม เพื่อไปสูเ่ ป้าหมาย ทุกคนต่างยอมรับว่า ผูน้ ําย่อม
ปรับปรุงโครงสร้างของโรงเรียนและความเป็ นอิสระ ใช้
มีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนองค์การไปสูค่ วามสําเร็จ
หลักการมีสว่ นร่วมและการสร้างเครือข่าย เสริมสร้าง
โดยเฉพาะรูปแบบภาวะผูน้ ําทีเ่ หมาะสมกับบริบทกับ
พลังอํานาจแก่บคุ ลากร สนับสนุนความร่วมมือกับ
องค์การของตน ดังนัน้ รูปแบบภาวะผูน้ ํานับว่ามีความ
โรงเรียนอื่นๆ ผูน้ ําจะจูงใจให้บุคลากรทุกคนพัฒนาตน
จําเป็ นทีผ่ นู้ ําแต่ละระดับต้องทราบและรูจ้ กั เลือกใช้อย่าง
สูม่ อื อาชีพเพื่อนําพาโรงเรียนสูโ่ รงเรียนคุณภาพ
เหมาะสม [1] โดยเฉพาะยุคปจั จุบนั ทีม่ ุ่งเน้นคุณธรรมและ
ความเป็ นมืออาชีพ ดังนัน้ จําเป็นต้องทราบความหมาย
คําสําคัญ : ภาวะผูน้ ําเชิงระบบ ความเป็นมืออาชีพ ของภาวะผูน้ ําและทราบถึงรูปแบบภาวะผูน้ ําเป็ นพืน้ ฐาน

Abstract
System Leadership is a form of modern
leadership by focusing on a systematic work. Using
ภาวะผู้นําคืออะไร
systems thinking to build relationship with division,
community and others. Make a difference which can ภาวะผูน้ ําเป็ นความสามารถในการเผชิญกับ
ภาวะการเปลีย่ นแปลงได้อย่างมันคง
่ โดยผูน้ ําจะสร้าง
วิสยั ทัศน์เป็ นตัวกํากับทิศทางขององค์การในอนาคต การตัดสินใจ การนําไปสูป่ ระชามติ และการกระจาย
จากนัน้ จึงจัดวางคนพร้อมทัง้ สือ่ ความหมายให้เข้าใจ อํานาจในการตัดสินใจ
วิสยั ทัศน์ สร้างแรงดลใจแก่บุคลากรเหล่านัน้ ให้สามารถ 3. ภาวะผูน้ ําแบบการเมือง (Political
ชนะอุปสรรคเพื่อไปสูว่ สิ ยั ทัศน์อย่างชัดเจนและประสบ Leadership) ผูน้ ําจะเน้นการแลกเปลีย่ น การพัฒนา
ผลสําเร็จ [2] , [3] ภาวะผูน้ ํา เป็ นความสามารถ ในการมี กลุ่มการเจรจา การมีสว่ นร่วมในนโยบาย และการ
อิทธิพลต่อกลุ่มเพื่อให้ดาํ เนินงานได้บรรลุเป้าหมาย ทัง้ นี้ แก้ปญั หาความขัดแย้ง
แหล่งทีม่ าของการมีอทิ ธิพล อาจเป็ นอย่างทางการ เช่น 4. ภาวะผูน้ ําแบบอัตวิสยั (Subjective
ได้มาจากตําแหน่งทางบริหารขององค์การนัน้ หรือได้รบั Leadership) ผูน้ ําจะเน้นการบริการสมัยใหม่ การพัฒนา
มอบหมาย เป็ นต้น ดังนัน้ การได้รบั บทบาทการเป็ นผูน้ ํา ทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาประสบการณ์ และความเป็ น
ในตําแหน่งบริหารทําให้บุคคลนัน้ ได้รบั อํานาจและเกิด มืออาชีพ
อิทธิพลต่อผูอ้ ่นื อีกทัง้ Hanson [4] สนับสนุนว่า ไม่ใช่ 5. ภาวะผูน้ ําแบบคลุมเครือ (Ambiguity
ผูน้ ําทุกคนทีส่ ามารถเป็ นผูบ้ ริหาร (Not All Leaders Are Leadership) ผูน้ ําจะเน้นการบริหารงานตามสถานการณ์
Managers) และไม่ใช่ผบู้ ริหารทุกคนทีส่ ามารถเป็ นผูน้ ํา และการสร้างบรรยากาศและสิง่ แวดล้อมทางบวก
(Not all Managers Are Leaders) การทีไ่ ด้รบั 6. ภาวะผูน้ ําแบบวัฒนธรรม (Cultural
มอบหมายตําแหน่งหน้าทีไ่ ม่ได้หมายความว่าจะสามารถ Leadership) ผูน้ ําจะเน้นคุณธรรม และการถ่ายทอด
ั ยแวดล้อม
เป็ นผูน้ ําได้อย่างมีคุณภาพ ทัง้ นี้อาจมีปจจั คุณธรรม จริยธรรม วัฒนธรรม ประเพณี ปทัสถาน และ
ภายนอกทีม่ ผี ลมากระทบมากกว่าอิทธิพลทีก่ าํ หนดตาม อุดมคติ
โครงสร้างขององค์การก็ได้ อีกทัง้ ผูน้ ําสามารถเกิดขึน้ Bolman & Deal [7] จําแนกภาวะผูน้ ําทีเ่ น้น
จากการยอมรับนับถือก็ได้ ในองค์การทีด่ จี าํ เป็ นต้องมีทงั ้ พฤติกรรมออกเป็ น 4 แบบ ดังนี้
ภาวะผูน้ ําและการบริหารจัดการทีเ่ ข้มแข็งจึงจะทําให้เกิด 1. ภาวะผูน้ ําแบบโครงสร้าง (Structural
คุณภาพ โดยเฉพาะสภาพของโลกทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง Leadership) ผูน้ ําจะมีการวิเคราะห์และออกแบบ
อย่างรวดเร็ว ย่อมต้องการผูน้ ําทีท่ า้ ทาย มีความสามารถ โครงสร้างขององค์การ พัฒนาโครงสร้างและกลยุทธ์
ในการสร้างวิสยั ทัศน์และสร้างแรงบันดาลใจ กระตุน้ ให้ การพัฒนาสภาพแวดล้อมและบรรยากาศขององค์การ
เกิดความมุง่ มันต่่ อความสําเร็จตามวิสยั ทัศน์ โดยเฉพาะ และมีการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง
รูปแบบของภาวะผูน้ ํามีความสําคัญต่อการบริหารจัดการ 2. ภาวะผูน้ ําแบบพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ให้ประสบผลสําเร็จ รูปแบบภาวะผูน้ ําช่วยให้เราเข้าใจ (Human Resource Leadership) ผูน้ ําเป็ นตัวกระตุน้ และ
เกีย่ วกับการทํากิจกรรมและการดําเนินงานของผูน้ ําว่าไป ให้การบริการแก่บุคลากร รวมทัง้ ให้การสนับสนุน มีการ
ทิศทางใด โดยรูปแบบเป็ นทัง้ รูปแบบคุณลักษณะ เพิม่ พลังอํานาจ โดยมีความเชื่อว่า มนุษย์มคี ุณค่าและมี
พฤติกรรม หรือตามสถานการณ์ รูปแบบภาวะผูน้ ําเป็ น ความสามารถในการพัฒนา โดยเน้นการทํางานแบบมี
วิธกี ารและโครงสร้างทีแ่ นะนําและตัดสินใจอย่างมี ส่วนร่วม รวมทัง้ ส่งเสริมการพัฒนาแก่บุคลากรอย่าง
ประสิทธิผลภายในองค์การ มีการพัฒนาเปลีย่ นแปลงไป ทัวถึ
่ งและเป็ นธรรม
ตามเวลา [5] โดยมีนกั วิชาการแบ่งรูปแบบของภาวะผูน้ ํา 3. ภาวะผูน้ ําแบบการเมือง (Political
ไว้อย่างหลากหลาย ดังนี้ Leadership) ผูน้ ําจะเป็ นตัวแทนของบุคลากร มีการสร้าง
Bush [6] จําแนกรูปแบบภาวะผูน้ ําเป็ น 6 แบบ กลุ่มหรือเครือข่าย สร้างความชัดเจนในการปฏิบตั งิ าน
ได้แก่ โดยการหาความร่วมมือด้วย ประชามติในการตัดสินใจ
1. ภาวะผูน้ ําแบบทางการ (Formal Leadership) มีการใช้หลักของการมีสว่ นร่วมกับผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียและ
ผูน้ ําจะเน้นระบบ โครงสร้าง ขัน้ ตอนในการทํางาน มีทกั ษะในการเจรจาต่อรองเพื่อแก้ปญั หาความขัดแย้ง
รวมทัง้ ใช้หลักของเหตุผลทีส่ ามารถอธิบายได้ 4. ภาวะผูน้ ําแบบสัญลักษณ์ ( Symbolic
2. ภาวะผูน้ ําแบบการมีสว่ นร่วม (Collegial Leadership) ผูน้ ําเป็ นนักพยากรณ์ทส่ี ามารถสร้างแรง
Leadership) ผูน้ ําจะเน้นการมีสว่ นร่วม การเปลีย่ นแปลง บันดาลใจแก่บุคลากร ภาวะผูน้ ําสัญลักษณ์เป็ นเวทีหรือ
โรงมหรสพทีต่ วั ละครหรือผูแ้ สดงๆตามบทบาทเพื่อให้
บุคลากรประทับใจ สร้างแรงจูงใจให้บุคลากรตัง้ ใจทํางาน มีเจตคติทเ่ี น้นการให้ความช่วยเหลือ ความรัก ความ
โดยใช้ประสบการณ์และการสือ่ สารวิสยั ทัศน์เพื่อให้ เมตตากับบุคคลทุกระดับ
บุคลากรทํางานด้วยความทุ่มเท เสียสละนําพาไปสู่ 2. ภาวะผูน้ ํากลยุทธ์ (Strategic Leadership)
เป้าหมายทีว่ างไว้อย่างชัดเจน เป็ นภาวะผูน้ ําทีม่ าจากการทําศึกสงครามและแวดวง
Bass [8] นําเสนอภาวะผูน้ ํา 5 รูปแบบ ดังนี้ ธุรกิจนําไปใช้ในองค์การเพื่อการบริหารการเปลีย่ นแปลง
1. ภาวะผูน้ ําแบบกํากับ (Directive Leadership) และใช้การวางแผนกลยุทธ์ ความคิดเชิงกลยุทธ์ เพื่อ
ผูน้ ําจะบอกให้ผตู้ ามทําและแนะนําวิธที ท่ี าํ อย่างถูกต้อง พัฒนาองค์การให้พฒ ั นาก้าวหน้า
โดยผูน้ ํากําหนดมาตรฐานงานเฉพาะให้ผตู้ ามปฏิบตั ิ 3. ภาวะผูน้ ําคุณภาพ (Quality Leadership)
2. ภาวะผูน้ ําแบบให้คาํ ปรึกษา ( Consultative เป็ นภาวะผูน้ ําทีม่ าจากแนวคิดในการจัดการคุณภาพ
Leadership ) ผูน้ ําให้คาํ แนะนําและปรึกษากับทีมงาน โดยรวม (Total Quality Management) โดยมุง่ เน้น
ทุกคนก่อนตัดสินใจทีท่ มี งานจะนําไปปฏิบตั ิ มุ่งทีผ่ ลงาน ผลผลิตและการบริการให้เป็ นทีป่ ระทับใจแก่ลกู ค้า
โดยให้คาํ แนะนําปรึกษาตลอดเวลา 4. ภาวะผูน้ ําวิชาการ (Instructional Leadership)
3. ภาวะผูน้ ําแบบมีสว่ นร่วม (Participative เป็ นภาวะผูน้ ําทีม่ กี ารมุง่ เน้นการพัฒนาระบบการเรียน
Leadership) ผูน้ ําให้สมาชิกทุกคนร่วมกันอภิปรายก่อน การสอนให้เกิดคุณภาพในโรงเรียน ผูน้ ําจะเน้นการ
การตัดสินใจในแต่ละเรื่อง หาประชามติก่อนปฏิบตั ิ โดยที่ ทํางานเป็ นระบบ ใช้ความคิดเชิงระบบ และสร้าง
ทุกคนให้การสนับสนุนเหมือนเป็นเจ้าของความคิด ความสัมพันธ์ทด่ี ี
ร่วมกัน 5. ภาวะผูน้ ําแห่งการเรียนรู้ ( Learning
4. ภาวะผูน้ ําแบบเจรจา (Negotiative Leadership) เป็ นภาวะผูน้ ําทีม่ าจากการพัฒนาองค์การสู่
Leadership ) ผูน้ ําแบบเจรจาเน้นการแลกเปลีย่ น องค์การแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) โดย
เรียนรูร้ ่วมกัน พูดคุยกันอย่างเป็นกันเอง สนใจบุคลากร ผูน้ ําจะต้องมีความรอบรู้ ทําให้บุคลากรเกิดวัฒนธรรม
เป็ นรายบุคคล ในการตัดสินใจเน้นความชัดเจนก่อนการ แห่งการเรียนรู้ เน้นความคิดเชิงระบบ ตลอดจนสร้าง
ปฏิบตั ิ สังคมแห่งการเรียนรูใ้ นโรงเรียน
5. ภาวะผูน้ ําแบบมอบอํานาจ (Delegative 6. ภาวะผูน้ ําอัจฉริยภาพ (Brand Leadership)
Leadership) ผูน้ ําจะมอบอํานาจในการตัดสินใจให้ ภาวะผูน้ ําทีส่ ร้างภาพลักษณ์แก่บุคลากรและลูกค้าให้เกิด
บุคลากร และคอยดูแลการดําเนินงานอย่างใกล้ชดิ ความประทับใจและสร้างความภักดีของบุคลากรต่อผูน้ ํา
โดยสรุปภาวะผูน้ ํามีการแบ่งประเภททีห่ ลากหลาย และองค์การ
ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นในสามเรื่องได้แก่ การมุ่งเน้นคน 7.ภาวะผูน้ ําประชาธิปไตย ( Democratic
มุ่งเน้นงาน และเน้นการปฏิสมั พันธ์หรือมนุษยสัมพันธ์ Leadership) เป็ นรูปแบบภาวะผูน้ ําทีเ่ น้นการมีสว่ นร่วม
ในการบริหารจัดการ ใช้ประชามติในการตัดสินใจ กํากับ
ควบคุมบุคลากรในการทํางาน มุ่งเน้นบุคลากรและความ
เป็ นประชาธิปไตยไปพร้อมๆกัน
ภาวะผู้นําสมัยใหม่ (Modern Leadership) :
8.ภาวะผูน้ ําเชิงระบบ (System Leadership)
กุญแจสู่ความเป็ นเลิ ศ เป็ นรูปแบบภาวะผูน้ ําทีเ่ น้นการพัฒนาคุณธรรมสูค่ วาม
ภาวะผูน้ ําสมัยใหม่ (Modern Leadership) เป็ น เป็ นมืออาชีพ โดยยกระดับการศึกษาของนักเรียนใน
รูปแบบของภาวะผูน้ ําทีม่ กี ารพัฒนารูปแบบจากภาวะ โรงเรียนและชุมชน นับว่าสอดคล้องกับการปฏิรปู
ผูน้ ําในทฤษฎีแบบดัง้ เดิมนํามาพัฒนาและสร้างเป็ น การศึกษาเพื่อให้ไปสูเ่ ป้าหมาย มุ่งพัฒนาภาวะผูน้ ํา
รูปแบบต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทของสังคม เพราะถือว่าผูน้ ําเป็ นตัวขับเคลื่อนนโยบายสูก่ ารปฏิบตั ไิ ด้
ปจั จุบนั และสอดคล้องกับองค์การ มีการนําไปปฏิบตั ไิ ด้ เป็ นอย่างดี เป็ นผูน้ ําจริยธรรม เน้นการพัฒนาระบบ
อย่างชัดเจนยิง่ ขึน้ ตัวอย่างของภาวะผูน้ ําสมัยใหม่ มีดงั นี้ โรงเรียนอย่างแท้จริง ทีส่ าํ คัญพัฒนาผูน้ ําสูค่ วามเป็ นมือ
1. ภาวะผูน้ ําแบบรับใช้ (Servant Leadership) อาชีพ
เป็ นภาวะผูน้ ําทีม่ าจากคัมภีรไ์ บเบิล้ ในศาสนาคริสต์
ความหมายของภาวะผูน้ ําเชิ งระบบ (System โรงเรียนและชุมชน
Leadership) 3. ความรับผิดชอบทางเชาวน์ปญั ญา (Intelligent
ภาวะผูน้ ําเชิงระบบ เป็ นการบริหารงานแบบ Accountability) ในระบบโรงเรียนมีการสนับสนุน และ
มืออาชีพและมุ่งให้บุคลากรทุกคนเป็ นบุคคลแห่งการ อํานวยความสะดวกด้านการบริการ การจัดการศึกษาใน
เรียนรู้ ทีส่ าํ คัญเน้นด้านคุณธรรม และจริยธรรม [9] เรื่องต่างๆ ทัง้ ระบบเพื่อให้มกี ารพัฒนาความรู้
ความสามารถ และสติปญญาของนัั กเรียนและบุคลากร
ภาวะผูน้ ําเชิงระบบเป็ นภาวะผูน้ ําทีม่ รี ปู แบบทีแ่ ตกต่าง
กับอื่นๆ เพราะต้องหลุดพ้นจากวัฒนธรรมโรงเรียนแบบ 4.การสอนอย่างมืออาชีพ (Professional
เก่าๆ โดยใช้ความคิดเชิงระบบในการพัฒนาโรงเรียนให้ Teaching) ในระบบโรงเรียนมีการมุ่งพัฒนาบุคลากรไปสู่
เกิดความแตกต่างทุกด้าน [10] ผูน้ ําเน้นการปรับปรุง มืออาชีพ โดยใช้วธิ กี ารทีห่ ลากหลาย โดยมุ่งเน้นคุณธรรม
ระบบการศึกษา ยกระดับมาตรฐานการศึกษาให้สงู ขึน้ จริยธรรมเป็ นวัตถุประสงค์หลัก
ไม่ใช่เฉพาะโรงเรียนตนเองเท่านัน้ รวมถึงโรงเรียนอื่นๆใน
เครือข่ายหรือชุมชนใกล้เคียงด้วย โดยปรับปรุงระบบการ รูปแบบของภาวะผู้นําเชิ งระบบ
เรียนการสอน ปรับปรุงหลักสูตร สือ่ การสอนและ ภาวะผูน้ ําเชิงระบบ (System Leadership) เป็ น
เทคโนโลยี สภาพแวดล้อมและบรรยากาศของโรงเรียน รูปแบบภาวะผูน้ ําสมัยใหม่ ทีเ่ น้นการพัฒนาคุณธรรมสู่
สิง่ อํานวยความสะดวก รวมถึงกิจกรรมการเรียนการสอน ความเป็ นมืออาชีพ โดยยกระดับการศึกษาของนักเรียน
[11] มุ่งมันเปลี
่ ย่ นแปลงระบบการศึกษาให้บรรลุผลสําเร็จ ในโรงเรียนและชุมชน ภาวะผูน้ ําเป็ นตัวขับเคลื่อน
เน้นความเป็ นมืออาชีพ สนับสนุนการปฏิรปู การศึกษา นโยบายสูก่ ารปฏิบตั ิ เป็ นต้นแบบทางด้านคุณธรรม
เน้นการสร้างมนุษยสัมพันธ์ การปรับปรุงโครงสร้างของ จริยธรรม ดังแผนภูมดิ า้ นล่าง
โรงเรียนและความเป็ นอิสระ [12], [13] ใช้หลักการมีสว่ น
ร่วมและการสร้างเครือข่าย เสริมสร้างพลังอํานาจแก่
บุคลากร [14] สนับสนุนความร่วมมือกับโรงเรียนอื่นๆ
การเปลีย่ นแปลงโครงสร้างและระบบให้สอดคล้องกับการ
เปลีย่ นแปลง มีความเต็มใจทีป่ รับปรุงระบบโรงเรียนให้
นักเรียนประสบผลสําเร็จ ผูน้ ําจะจูงใจให้บุคลากรทุกคน
พัฒนาตนสูม่ อื อาชีพเพื่อนําพาโรงเรียนสูโ่ รงเรียนที่
ยิง่ ใหญ่ (A Great School) [15]
ปัจจัยในการขับเคลื่อนภาวะผูน้ ําเชิ งระบบ
ภาวะผูน้ ําเชิงระบบมีปจจัั ยสําคัญทําให้การ
ขับเคลื่อนไปสูเ่ ป้าหมาย คือ วัตถุประสงค์เชิงจริยธรรม 4
ประการ ดังนี้ [16]
1.การเรียนรูใ้ นแต่ละบุคคล (Personalized
Learning) ในระบบโรงเรียนบุคลากรทุกคนมีการ
แสวงหาความรูอ้ ย่างต่อเนื่อง มีความมุง่ มันในการพั
่ ฒนา
ตนเองอย่างชัดเจนเป็ นระบบ
2. เครือข่ายและการมีสว่ นร่วม (Networks and
Collaboration) ในระบบโรงเรียนมีการสร้างเครือข่าย
ความร่วมมือและใช้หลักของการมีสว่ นร่วมในการพัฒนา

รูปแบบของภาวะผูน้ ําเชิ งระบบ


Lead an Innovation
and Improvement Partnership
Partner a low Act as a
achieving community
school Personal Development leader
Managing Developing
teaching organizations
and learning Moral
purpose

Strategic acumen

Lead Network Improve a school


Developing people in challenging
context

Work as a Change Agent

ภาพประกอบ 4 แผนภาพรูปแบบของภาวะผูน้ ําเชิงระบบ


ทีม่ า : Hopkins, David. & Higham, Rob. ( 2007, April). Leadership and Management. 27 (2) : 147.
จากภาพเป็ นรูปแบบทีแ่ สดงเหตุผลทีข่ บั เคลื่อนจากภายในสูภ่ ายนอก ทีจ่ ุดศูนย์กลาง ผูน้ ําได้แรงหนุนจาก
วัตถุประสงค์จริยธรรม( Moral Purpose) ทีเ่ กีย่ วข้องกับการเพิม่ ประสิทธิภาพการเรียนของนักเรียน ผูน้ ําพยายามทีจ่ ะ
เสริมสร้างพลังอํานาจให้ครูและคนอื่นๆ รวมทัง้ กระตุน้ ให้ครูมกี ารพัฒนาชุมชน โดยแสดงให้เห็นว่าการพัฒนา
การศึกษาทีย่ งยืั ่ นนัน้ ผูน้ ําต้องมีความเต็มใจทีจ่ ะรับบทบาทความเป็ นผูน้ ําในวงกว้างและเป็ นผูท้ ด่ี แู ลเกีย่ วกับการ
ทํางานและความสําเร็จของโรงเรียนอื่นๆ เช่นเดียวกับโรงเรียนของตนเอง นอกจากนี้ผนู้ ําเชิงระบบจะมีคุณลักษณะ
พฤติกรรม และทักษะ ดังทีแ่ สดงในวงทีส่ องของแผนภาพนี้ โดยแบ่งเป็ นสองประการ ได้แก่ ประการแรกผูน้ ํามีสว่ น
ร่วมในการพัฒนาบุคคล (Personal Development) ให้มคี วามรู้ ความสามารถ และมีการพัฒนาทักษะพืน้ ฐานเพื่อ
ตอบสนองต่อบริบททีพ่ วกเขาทํางานอย่างเป็ นระบบ ประการทีส่ อง ผูน้ ําเชิงระบบจะมีความสามารถเชิงกลยุทธ์ทเ่ี ฉียบ
แหลม (Strategic Acumen) โดยสามารถเปลีย่ นแปลง วิสยั ทัศน์ หรือวัตถุประสงค์ทางจริยธรรมเป็ นหลักการในการ
ดําเนินงานทีม่ ผี ลลัพธ์ทจ่ี บั ต้องได้ สําหรับในแหวนวงทีส่ ามของรูปแบบ วัตถุประสงค์จริยธรรม คุณภาพส่วนบุคคลที่
เกิดจากการพัฒนา และความสามารถเชิงกลยุทธ์ของผูน้ ําเชิงระบบ จะเน้นการพัฒนาโรงเรียนสามด้าน คือ การจัดการ
กระบวนการเรียนการสอน (Managing Teaching and Learning) การพัฒนาบุคลากรทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียน
(Developing People) โดยเน้นความเป็ นมืออาชีพ พัฒนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ทมี งานให้เข้มแข็ง และการ
พัฒนาองค์การ (Developing Organizations) โดยพัฒนาโรงเรียนให้เป็ นชุมชนของแหล่งเรียนรู้ มีการรวบรวม
บุคลากรทีเ่ ป็ นมืออาชีพ มีการสร้างเครือข่ายชุมชนทีเ่ ข้มแข็ง จัดสวัสดิการให้ครอบคลุมเพื่อสนับสนุนการทํางานอย่าง
มืออาชีพ เสริมสร้างศักยภาพของโรงเรียนทัง้ ระบบ
ในวงแหวนรอบนอกของรูปแบบภาวะผูน้ ําเชิงระบบ ผูน้ ําจะเป็ นผูน้ ําของการเปลีย่ นแปลง การทํางาน
เพื่อเปลีย่ นบริบทอื่นๆ (Work as a Change Agent) โดยมีสว่ นร่วมกับระบบทีก่ ว้างขึน้ ในวงแหวนรอบนอกภาวะผูน้ ํา
เชิงระบบจะมุง่ เน้นบทบาทในการเป็ นผูน้ ําชุมชน (Act as a Community Leader) มีการนําด้านนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีและการปรับปรุงหุน้ ส่วนทางการศึกษา (Lead an Innovation and Improvement Partnership) นําด้าน
การสร้างเครือข่าย (Lead Network) มุ่งมันที ่ จ่ ะช่วยปรับปรุงโรงเรียนให้เกิดความเจริญก้าวหน้าในบริบททีท่ า้ ทาย
(Improve a School in Challenging Context) ตลอดจนการเป็นหุน้ ส่วนกับโรงเรียนทีบ่ รรลุผลในระดับตํ่ากว่า
(Partner a Low Achieving School) โดยมีความร่วมมือกันเพื่อช่วยยกระดับการศึกษาให้สงู ขึน้ ทัง้ ระบบ
ภาวะผูน้ ําเชิงระบบนับว่าเป็ นรูปแบบภาวะผูน้ ําทีส่ อดคล้องกับการปฏิรปู การศึกษาทีม่ งุ่ เน้นการพัฒนาคุณภาพ
ผูเ้ รียนไม่เพียงแต่ในโรงเรียนของตนเองเท่านัน้ ผูน้ ํายังร่วมมือในการพัฒนาโรงเรียนอื่นๆในสังคมอีกด้วย ผูน้ ํา
มุ่งเน้นการยกระดับการศึกษาทัง้ ระบบ โดยเฉพาะภาวะผูน้ ําเชิงระบบมีวตั ถุประสงค์สาํ คัญในการพัฒนาสูค่ ุณธรรม
จริยธรรม และความเป็ นมืออาชีพ จึงสมควรให้ผนู้ ําทุกระดับได้ศกึ ษา วิเคราะห์ วิจยั ให้เกิดความชัดเจนยิง่ ขึน้ และ
นําไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในโอกาสต่อไป

เอกสารอ้างอิ ง

[1] Kotter, J.P. (1990). A Force for Change: How


Leadership Differs Management.
New York: The Free Press.
[2] Busher, Hugh. (2006). Understanding
Educational Leadership. New York:
Open University Press.
[3] Margaret, Preedy & Others. (2012). Educational
Leadership. Los Angeles: Sage.
[4] Hanson, Mark, E. (2003). Educational
Administration and Organizational Behavior.
Boston: Pearson.
[5] Gronn, P. (2003). The New Work of Education
Leaders. London: Paul Chapman.
[6] Bush, Tony. (2011). Theories of Educational
Leadership and Management. London:
Paul Chapman.
[7] Bolman, L. & Deal, T. (1991). Reframing
Organizations. San Francisco: Jossey- Bass.
[8] Bass, B. M. (1985). Leadership and
Performance Beyond Expectation.
New York: Free Press.
[9] Davis, Brent. (2005). The Essentials of School
Leadership. London: Paul Chapman.
[10] Fullan, M. (2005). Leadership and
Sustainability: System Thinkers in Action.
London: Sage.
[11] Dunford, J. (2005). Watering the Plants:
Leading Schools and Improving the System,
Address to The National Conference of the
Specialist Schools and Academies Trust.
[12] Katz, D. & Kahn, R. L. (1996). The Social
Psychology of Organizations. New York:
Wiley.
[13] Senge, P. (1990). The Fifth Discipline.
New York: Doubleday.
[14] Hill, R. (2006). Leadership that Lasts:
Sustainable School Leadership in the 21st
Century. London: ASCL.
[15] Hopkins, David. & Higham, Rob.(2007, April).
System Leadership : Mapping the
landscape Institute of Education, University
of London, England System School.
Leadership and Management, 27 (2) :
145-152.
[16] Hopkins, David. (2007). Every School a Great
School. Buckingham: Open University Press.

You might also like