0 20210504-150454

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

หน่วยการเรียนรูแ้ ละแผนการจัดการเรียนรู้

แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อบ่มเพาะอุปนิสยั อยู่อย่างพอเพียง
ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท1ี่ รายวิชา สุขศึกษา2
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา

หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง วัยรุน่ กับโภชนาการเพือ่ สร้างเสริมสุขภาพ


จานวน 8 ชัว่ โมง
แผนจัดการเรียนรู้ 4 แผน

แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับอาหาร และโภชนาการ จานวน 2 ชัว่ โมง


แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2 โภชนบัญญัตแิ ละธงโภชนาการ จานวน 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 3 หลักการเลือกอาหารทีเ่ หมาะสมกับวัย จานวน 2 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4 ฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหาร จานวน 2 ชัว่ โมง

โรงเรียนบางเดือนสถิตย์พทิ ยาคม
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา สุราษฎร์ธานี ชุมพร
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยการเรียนรู้
แผ่นที่ 1 ผังโครงสร้างหน่วยการเรียนรูเ้ พือ่ เสริมสร้างคุณลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพียง
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง วัยรุ่นกับโภชนาการเพือ่ สร้าง
เสริมสุขภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 8 ชั่วโมง
แผนที่ 4 ( 2 ชั่วโมง) แผนที่ 1 ( 2 ชั่วโมง)
เรือ่ ง ฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหาร เรือ่ ง ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับอาหารและ
มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/1 เลือก โภชนาการ
กินอาหารที่เหมาะสมกับวัย มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/2 วิเคราะห์
ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดจาก ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการทีม่ ีผล
ภาวะโภชนาการที่มีผลต่อสุขภาพ ต่อสุขภาพ
ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ วัยรุน่ กับ
สาระการเรียนรู้ หลักการเลือก สาระการเรียนรู้ ปั ญหาที่เกิดจาก ภาวะ
โภชนาการเพือ่ สร้างเสริมสุขภาพ
อาหารทีเ่ หมาะสมกับวัย และ โภชนาการ
(4 แผน 8 ชั่วโมง)
ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ
สาระสาคัญ ในปัจจุบันปัญหาภาวะ แผนที่ 2 ( 2 ชั่วโมง)
แผนที่ 3 ( 2 ชั่วโมง) โภชนาการจะเกิดจากการรับประทาน เรือ่ ง โภชนบัญญัติและธงโภชนาการ
อาหารทีม่ ีผลกระทบต่อสุขภาพ มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/1 เลือกกิน
เรือ่ ง หลักการเลือกอาหารที่ นักเรียนจึงต้องมีความรู้ในการวิเคราะห์
เหมาะสมกับวัย อาหารทีเ่ หมาะสมกับวัย
ภาวะโภชนาการของตนเองเพื่อเลือก สาระการเรียนรู้ หลักการเลือกอาหาร
มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/1 เลือก รับประทานอาหารที่มีคุณค่าและ
กินอาหารที่เหมาะสมกับวัย ที่เหมาะสมกับวัย
เหมาะสม กับวัย
ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดจาก
ภาวะโภชนาการที่มีผลต่อสุขภาพ
สาระการเรียนรู้ ภาวะขาด
สารอาหาร และภาวะโภชนาการ
เกิน
สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาระงาน/ชิน้ งาน .
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย 1. ทาใบงานที1่ เรื่อง อาหาร
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ และภาวะโภชนาการ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. อยู่อย่างพอเพียง 2. ทาใบงานที2่ เรื่อง การ
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะ 4. มุ่งมั่นในการทางาน รับประทานอาหารเพือ่
ชีวิต สุขภาพที่ดีของคนไทย
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. ชิ้นงานเรื่องการอ่านฉลาก
ผลิตภัณฑ์อาหาร
4. การนาเสนอหน้าชั้นเรียน
แผ่นที่ 2 ผังภาพการออกแบบการเรียนรูแ้ บบย้อนกลับ (Backward Design)
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง วัยรุ่นกับโภชนาการเพือ่ สร้าง
เสริมสุขภาพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 8 ชัว่ โมง
1. เป้าหมายการเรียนรู้ 2. หลักฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวชี้วดั พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม
สุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริม ภาระงาน/ชิ้นงาน :
สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ -สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความหมายของของอาหารและโภชนาการ
ตัวชีว้ ดั ม.1/1 เลือกกินอาหารที่เหมาะสมกับวัย -ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เกี่ยวกับหลักการเลือกซื้ออาหารและการรับประทาน
ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการภาวะโภชนาการ อาหารให้ตรงตามหลักโภชนาการ
ที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ -การนาเสนอ
สาระสาคัญ ในปั จจุบนั ปั ญหาภาวะโภชนาการจะเกิดจากการ -ใบงาน
การวัดประเมินผล :
รับประทานอาหารที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ นักเรียนจึงต้ องมี
ประเด็น วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
ความรู้ในการวิเคราะห์ภาวะโภชนาการของตนเองเพื่อเลือก
ประเมิน
รับประทานอาหารที่มีคณ ุ ค่าและเหมาะสม กับวัย
ด้าน K การตรวจใบงาน,การ ใบงาน,ใบกิจกรรม ร้อยละ 60
จุดประสงค์การเรียนรู้ ตรวจใบกิจกรรม
1. (K.) นักเรียนสามารถจาแนกประเภทของภาวะโภชนาการ ด้าน P การนาเสนอผลงาน, แบบประเมินการ ร้อยละ 60
ได้ การสืบค้นข้อมูล นาเสนอผลงาน
2. (P)นักเรียนสามารถรับประทานอาหารให้ถูกต้องตามหลัก ด้าน A สังเกตพฤติกรรมการ แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
โภชนาการได้ ทางานรายบุคคลและ พฤติกรรม 2 ผ่านเกณฑ์
3. (A) นักเรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากภาวะ แบบกลุ่ม
โภชนาการที่มีผลกระทบต่อสุขภาพได้
สาระการเรียนรู้ 1.ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ
-ภาวะการขาดสารอาหาร
-ภาวะโภชนาการเกิน
2.หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัย
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
สมรรถนะสาคัญ วัยรุน่ กับโภชนาการเพือ่ สร้างเสริมสุขภาพ
1. ความสามารถในการสื่อสาร: นาเสนอ,การทางานกลุ่ม
2. ความสามารถในการคิด: การตอบคาถาม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา: แก้ปัญหาเฉพาะหน้า
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต:การทางานร่วมกับผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี: การสืบค้นข้อมูล 3. กิจกรรมการเรียนรู้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กิจกรรรมการเรียนรู้ : ศึกษาและสืบค้นความรู้เกี่ยวกับเรื่องอาหารและ
1. มีวินัย : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย โภชนาการ สารอาหารประเภทต่างๆ การอ่านฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร จาก
2. ใฝ่เรียนรู้ : ตั้งใจเรียน แสวงหาความรู้ใหม่ๆ หนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ,การนาเสนอหน้าชั้นเรียนศึกษาใบ
3. อยู่อย่างพอเพียง : คิดและตัดสินใจในการปฏิบัติกิจกรรม ความรู้,ทากิจกรรม
ที่ได้รับมอบหมายเหมาะสมกับศักยภาพตนเองและกลุม่ ใช้ สื่อเรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้ : หนังสือเรียนสุขศึกษา ม.1
ความรู้และสติปัญญาเตรียมพร้อมและวางแผนการปฏิบัติ แหล่งข้อมูลสารสนเทศ,บัตรภาพอาหารประเภทต่างๆ,บัตรภาพตัวอย่าง
กิจกรรมอย่างอดทน เป็นระบบ รอบคอบ สมเหตุสมผล ฉลากอาหาร,ใบงาน,ใบกิจกรรม, power point
เวลา : 8 ชั่วโมง
4. มุ่งมั่นในการทางาน : อดทนตั้งใจ รับผิดชอบหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
แผ่นที่ 3 กิจกรรมการเรียนรูเ้ พือ่ เสริมสร้างคุณลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพียง
แผนการเรียนรูแ้ บบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (แผนหน่วย)
สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง วัยรุน่ กับโภชนาการเพือ่ สร้างเสริม
สุขภาพ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 8 ชั่วโมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
กิจกรรมการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 (2 ชั่วโมง)
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน พร้อมทัง้ สร้างบรรยากาศให้มีความเป็น
2. ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพ แล้วให้นักเรียนตอบคาถามและแสดงความคิดเห็น
3. ครูพูดคุยกับนักเรียนในหัวข้อคุณค่าและประโยชน์ของอาหารที่มีต่อร่างกาย
(ครูและนักเรียน : มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน และสังคม)
4. ครูอธิบายความหมายของอาหารและความรู้ทั่วไปของอาหาร
5. ครูอธิบายความหมายของคาว่าโภชนาการรวมถึงปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการด้านต่างๆ
เช่น ภาวะโภชนาการเกิน ภาวการณ์ขาดสารอาหาร
(นักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล)
6. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุม่ กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ แล้วให้แต่ละกลุม่ ร่วมกันศึกษาและ
สืบค้นความรูเ้ กี่ยวกับอาหารและโภชนาการ จากหนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนการศึกษาและสืบค้นความรู้ โดยแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบตามความ
เหมาะสม
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , วัตถุ , สังคม , วัฒนธรรม)
8. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายในแต่ละประเด็น และผลัดกันซักถามข้อสงสัย จนได้รับคาตอบ
ที่ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจน จากนั้นสรุปความรู้ลงในสมุด
9. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 5.1 เรื่อง อาหารและภาวะโภชนาการ โดยให้สมาชิกกลุ่มหา
คาตอบด้วยตนเองจนครบทุกข้อ จากนั้นจับคู่กบั เพื่อนในกลุม่ เพื่อผลัดกันอธิบายคาตอบให้คู่ของตนฟัง
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , สังคม )
10. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการและอาหารที่
นักเรียนทานในแต่ละวัน
11. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนไป
(ครูและนักเรียน : มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน และสังคม)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 (2 ชั่วโมง)
12. ครูตั้งคาถามเพื่อกระตุ่นนักเรียน เกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นเรือ่ งโภชนบัญญัติและธงโภชนาการ
13. ครูให้นักเรียนดูวิดีโอ เรื่อง ธงโภชนาการ
(ครูและนักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน )
14. ครูอธิบายความรู้เรื่องโภชนบัญญัติ 9 ประการ
15. ครูอธิบายเกี่ยวกับหลักธงโภชนาการ การรับประทานอาหารแต่ละประเภทในปริมาณต่างๆทีเ่ หมาะสม
(นักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล)
16. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นความรู้เรื่อง โภชนบัญญัติและธงโภชนาการ จากหนังสือเรียน
และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามที่ได้วางแผนร่วมกันไว้
17. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนการศึกษาและสืบค้นความรู้ โดยแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบตามความ
เหมาะสม
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , วัตถุ , สังคม , วัฒนธรรม)
18. สมาชิกในแต่ละกลุม่ ตั้งคาถาม คนละ 1 ข้อ จากนั้นผลัดกันถาม-ตอบกับสมาชิกในกลุ่ม
19. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอธิบายแนวทางในการเลือกรับประทานอาหารตามข้อปฏิบัติในโภชน
บัญญัติ 9 ประการ จากนั้นส่งตัวแทนกลุ่มนาเสนอ หน้าชั้นเรียน
20. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 5.2 เรื่อง การรับประทานอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , สังคม )
21. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ป ความรู ้ความเข้าใจเรื่ องโภชนบัญญัติ 9 ประการ และเรื่ องธงโภชนาการ
22. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันสรุ ปความรู ้เกี่ยวกับข้อปฏิบตั ิในการบริ โภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคน
ไทย และหลักการเลือกรับประทานอาหารตามสัดส่วนของธงโภชนาการ
(ครูและนักเรียน : มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน และสังคม)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 (2 ชั่วโมง)
23. ครูตั้งคาถามเพื่อกระตุ่นการเรียนรู้ ในเรื่องหลักการเลือกรับประทานอาหารอย่างไรให้ได้รบั สารอาหาร
ครบถ้วน
24. ครูให้นักเรียนแต่ละคนบอกเมนูอาหารที่ได้รับประทานก่อนเข้าเรียน พร้อมบอกสารอาหารที่ได้รบั
(ครูและนักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน )
25. ครูอธิบายความรู้เรื่อง ประเภทของสารอาหาร
26. ครูอธิบายเกี่ยวกับชนิดของอาหารทีเ่ หมาะสมกับวัยรุ่น
27. ครูยกตัวอย่างปัญหาสุขภาพจากการรับประทานอาหารของวัยรุ่น
(นักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล)
28. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มวาดภาพอาหารที่ตนเองชอบรับประทานลงในกระดาษ
แล้วบอกรายละเอียดเกี่ยวกับอาหาร ดังนี้
- ชื่ออาหาร
- สารอาหารหลักและประโยชน์ของอาหาร
- ความเหมาะสมของอาหารกับสุขภาพร่างกายของตนเอง
29. สมาชิกในกลุ่มผลัดเปลี่ยนกันแสดงข้อมูลอาหารที่ตนเองชอบรับประทาน พร้อมอธิบายรายละเอียด
จากนั้นสมาชิกกลุม่ ร่วมกันพิจารณาถึงความเหมาะสมของอาหารกับสุขภาพร่างกายของเพื่อน
30. นักเรียนทุกคนทาใบงานที่ 5.3 เรื่อง อาหารทีเ่ หมาะสมกับวัยรุ่น เสร็จแล้วนาส่งครูตรวจ
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , วัตถุ , สังคม , วัฒนธรรม)
31. นักเรียนร่วมกันสรุปหลักในการเลือกอาหารที่เหมาะสมสาหรับวัยรุ่น และสารอาหารต่างๆ ที่วัยรุ่นควร
ได้รับในแต่ละวัน เพื่อนาความรู้ไปปรับใช้ในการเลือกรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับสุขภาพของ
ตนเอง
32. ครูตั้งประเด็นคาถามเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอธิบายและหาคาตอบร่วมกัน เช่น
-ถ้าร่างกายต้องใช้พลังงานในการทากิจกรรมต่างๆมากขึ้น ควรรับประทานอาหารประเภทใด
-เพราะเหตุใด ไขมันที่ได้จากพืชจึงมีคุณค่าทางโภชนาการมากกว่าไขมันที่ได้จากสัตว์
-การรับประทานไข่ วันละ 1 ฟอง มีประโยชน์ต่อร่างกายอย่างไร โดยให้แต่ละกลุ่มค้นคว้าหา
คาตอบ จากหนังสือเรียน ห้องสมุด และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , สังคม )
33. นักเรียนร่วมกันสรุปหลักในการเลือกอาหารที่เหมาะสมสาหรับวัยรุ่น และสารอาหารต่างๆ ที่วัยรุ่นได้รับ
ในแต่ละวัน เพื่อนาความรู้ไปปรับใช้ในการเลือกรับประทานอาหารทีเ่ หมาะสมกับสุขภาพของตนเอง
(ครูและนักเรียน : มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน และสังคม)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 (2 ชั่วโมง)
34. ครูติดตัวอย่างฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหาร บนกระดานแล้วถามนักเรียนว่า ฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหาร
ประกอบด้วยข้อมูลอะไรบ้าง
35. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด
(ครูและนักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน )
36. ครูอธิบายความรู้เรื่อง ความหมายของฉลากอาหาร และฉลากโภชนาการ
37. ครูอธิบายเกี่ยวกับกลุ่มและประเภทของอาหาร
38. ครูสอนให้นักเรียนอ่านฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหาร
39. ครูอธิบายเรื่องเลขสารบบอาหารในเครื่องหมาย อย.
(นักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล)
40. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ร่วมกันศึกษาและสืบค้นความรู้ จากหนังสือเรียน ห้องสมุด และแหล่งข้อมูล
สารสนเทศ ตามประเด็นที่กาหนด ดังนี้
1)ผลิตภัณฑ์อาหารที่ต้องมีฉลากตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
2)ข้อมูลโภชนาการบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหาร
3)เลขสารบบอาหารในเครื่องหมาย อย.
4)การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารสาหรับวัยรุ่น
41. สมาชิกแต่ละกลุม่ ร่วมกันวางแผนการศึกษาและสืบค้นความรู้
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , วัตถุ , สังคม , วัฒนธรรม)
42. ครูให้นักเรียนแต่ละคนสืบค้นฉลากอาหารจากอินเทอร์เน็ต จากนั้นให้นักเรียนบอกรายละเอียดต่างๆบน
ฉลากอาหาร
43. ครูตั้งประเด็นคาถามเพื่อให้สมาชิกในกลุ่มร่วมกันอธิบายและหาคาตอบ
44. ให้นักเรียนทาใบงาน 5.4
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , สังคม )
45. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรูเ้ รื่อง ฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหารและการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
สาหรับวัยรุ่น
46. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนไป
(ครูและนักเรียน : มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน และสังคม)
แผ่นที่ 4 ชุดคาถามกระตุ้นเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียง
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง วัยรุ่นกับโภชนาการ
เพือ่ สร้างเสริมสุขภาพ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 8 ชั่วโมง
คาถามกระตุน้ คิดเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียงก่อนเรียน
Q1. ครูพูดคุยกับนักเรียน เรือ่ งคุณค่าและประโยชน์ของอาหารมีผลต่อร่างกายอย่าไร ครูและนักเรียน
ร่วมกันอภิปราย (ความรู้ , เหตุผล)
Q2. อาหารและโภชนาการหมายถึงอะไร(ความรู้ , เหตุผล)
Q3. ธงโภชนาการคืออะไร(ความรู)้
Q4. เลือกรับประทานอาหารอย่างไรให้ได้รบั สารอาหารครบถ้วน(ความรู้ , เหตุผล)
Q5. ฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหารประกอบด้วยข้อมูลอะไรบ้าง(ความรู้ , เหตุผล)

คาถามกระตุน้ คิดเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียงระหว่างเรียน


Q6. นักเรียนจะเลือกรับประทานอาหารอย่างไรเพื่อให้ร่ากายได้รับสารอาหารครบถ้วนและเพียงพ่อต่อ
การทากิจกรรมในชีวิตประจาวัน(ภูมคิ มุ้ กัน , พอประมาณ)
Q7. การปฏิบัติกจิ กรรมให้สาเร็จตามที่ได้รบั มอบหมายงานจากกลุ่ม นักเรียนจาเป็นต้องปฏิบัติตนอย่างไร
บ้าง(คุณธรรม)
Q8. การทาใบงาน โดยไม่ลอกจากเพือ่ นคนอื่นจะส่งผลดีต่อนักเรียนอย่างไร และเป็นคุณธรรมด้านใด
(คุณธรรม)
Q9. นักเรียนจะนาความรู้เรื่องโภชนาการไปถ่ายทอดให้กับคนในชุมชนได้อย่างไร (สังคม)
Q10. ปัญหาทีเ่ กิดจากโรคภาวะทุพโภชนาการมีอะไรบ้าง(ความรู้ , เหตุผล)
Q11. การที่นักเรียนเข้าใจหลักโภชนบัญญัต9ิ ประการ จะส่งผลดีต่อนักเรียนอย่างไร(ความรู้ , คุณธรรม ,
เหตุผล , พอประมาณ)
Q12. นักเรียนจะมีวิธีปลูกฝังค่านิยมอย่างไร ให้คนรุ่นหลังหันมากินอาหารให้ตรงตามหลักโภชนาการ
(วัฒนธรรม)
Q13. นักเรียนจะมีวิธีการเลือกซื้ออาหารอย่างไรให้ไม่กระทบต่อสิง่ แวดล้อม(สิง่ แวดล้อม)
Q14. นักเรียนจะมีวิธีการเลือกอาหารอย่างไรให้เหมาะสมกับสุขภาพ(ความรู้ , เหตุผล)
Q15. สารอาหารประเภทใดเหมาะสมกับช่วยวัยรุ่นมากที่สดุ (ความรู้ , เหตุผล)
Q16. ถ้านักเรียนอ่านฉลากอาหารเป็นจะส่งผลดีต่อนักเรียนอย่างไร(ภูมคิ มุ้ กัน)
Q17. ฉลากอาหารหมายถึง(ความรู้ , เหตุผล)
Q18. ฉลากโภชนาการหมายถึง(ความรู้ , เหตุผล)
Q19. เลขสารบบอาหารในเครื่องหมาย อย. แต่ละหลักหมายถึงอะไร (ความรู้ , เหตุผล)

คาถามกระตุน้ คิดเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียงหลังเรียน


Q20. อาหารที่นักเรียนทานในแต่ละวันมีปริมาณและคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอหรือไม่(เหตุผล
,พอประมาณ)
Q21. อาหารเช้ามีความสาคัญอย่างไรกับร่างกาย(ความรู้ , ภูมคิ มุ้ กัน)
Q22. นักเรียนจะนาหลักธงโภชนาการไปถ่ายทอดให้กบั คนในชุมชนอย่างไร(ความรู้ , สังคม)
Q23. การเลือกซื้ออาหารเสริมต้องคานึงถึงอะไรบ้าง(ความรู้ , ภูมิคมุ้ กัน , เหตุผล)
Q24. เลขสารบบอาหาร มีความสาคัญอย่างไร(ความรู้ , ภูมคิ มุ้ กัน)
แผ่นที่ 5 แนวทางทีค่ รูนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จดั การเรียนรู้
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชื่อหน่วยการเรียนรู้ วัยรุน่ กับโภชนาการเพือ่ สร้างเสริม
สุขภาพ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 8 ชัว่ โมง
ครูผสู้ อนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ งั นี้
ความรูท้ คี่ รูตอ้ งมีกอ่ นสอน คุณธรรมของครูในการจัดกิจกรรม
1. ความรู้เรื่องอาหารประเภทต่างๆ 7. หลักการเลือกอาหารที่เหมาะสมกับวัยรุ่น การเรียนรู้
2. ความรู้ด้านโภชนาการ 8. กลุ่มอาหารประเภทต่างๆ 1. มีความรักเมตตาศิษย์
3. ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ 9. ฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ 2. มีความรับผิดชอบ
4. ความรู้ด้านสุขภาพ 10. การอ่านฉลากอาหารและฉลากโภชนาการ 3. มีความยุติธรรม
5. โภชนบัญญัต9ิ ประการ 11. เลขสารบบในเครื่องหมาย อย. 4. มีความตรงเวลา
6. ความรู้ด้านธงโภชนาการ 5.การเป็นแบบอย่างที่ดี
ประเด็น มีเหตุผล พอประมาณ มีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี
- เนื้อหาเรือ่ งแต่ละแผนการเรียนรูส้ อดคล้องกับ - ต้องการให้ผู้เรียนมีความรูเ้ รื่อง - สรุปเนื้อหาให้อ่านเข้าใจ
เนือ้ หา ผลการเรียนรู้ เหมาะสมกับเวลาทีก่ าหนดและ โภชนาการที่เหมาะสมกับวัยเพื่อ ง่าย โดยใช้แผนผังความคิด
วัยของผู้เรียน สร้างเสริมสุขภาพและนาไปใช้ - เรียงเนื้อหาตามลาดับการ
ในชีวิตประจาวันได้ เรียนรู้
- ใช้เวลาในการจัดการเรียนการสอนตาม - จัดการเรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่ - กาหนดเวลาในแต่ละ
เวลา กาหนด ออกแบบไว้ กิจกรรมไว้พอดี บวกลบ
เพิ่มเติมได้เล็กน้อย
- แบ่งกลุ่มผู้เรียนได้พอดีกบั จานวนนักเรียน - ต้องการให้ผู้เรียนปฏิบัติ - แบ่งกลุ่มคละ
การจัด - กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับเวลา กิจกรรมอย่างทั่วถึงตาม ความสามารถของนักเรียน
กิจกรรม ที่กาหนด ความสามารถ - เตรียมชุดคาถามให้พร้อม
- มอบหมายภาระงานและชิ้นงานเหมาะสมกับ - เพื่อต้องการให้ผเู้ รียนเกิดการ ตามลาดับกิจกรรมการเรียน
ความสามารถผู้เรียนและสอดคล้องกับ เรียนรู้ตามเป้าหมายที่กาหนด - สังเกตพฤติกรรมและให้
เป้าหมายการเรียนรู้ - ผู้เรียนนาความรู้ไป ความช่วยเหลือเมื่อนักเรียน
ประยุกต์ใช้กบั งานได้ มีปัญหา
- สื่อมีความหลากหลายเหมาะสมกับกิจกรรม - ผู้เรียนได้ใช้ สื่อและอุปกรณ์ - ตรวจสอบจานวน,ความ
สือ่ /อุปกรณ์ และปริมาณเพียงพอกับจานวนนักเรียน ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง เพียงพอและความพร้อมของ
อุปกรณ์ให้อยู่ใน
สภาพพร้อมใช้งาน
- เตรียม สื่ออุปกรณ์ให้
พร้อมก่อนการจัดกิจกรรม
- ใช้แหล่งเรียนรู้ที่มอี ยู่ในโรงเรียน นักเรียนได้สืบค้นข้อมูลจาก - เตรียมห้องเรียนให้พร้อม
แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ทมี่ ี่ใกล้ตัว ก่อนการเรียน

- จัดทาแบบประเมินผลงานและ - ต้องการประเมินผลการเรียนรู้ - วางแผนการวัดประเมินผล


ประเมินผล ประเมินพฤติกรรมได้เหมาะสมกับเป้าหมาย ตามเป้าหมาย ตามขั้นตอนของกิจกรรม
การเรียนรู้ - แบบประเมินผลมีการ
ตรวจสอบเที่ยงตรงในการวัด
ตามจุดประสงค์
แผ่นที่ 6 ผลทีจ่ ะเกิดขึ้นกับผูเ้ รียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา หน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง วัยรุน่ กับโภชนาการเพือ่
สร้างเสริมสุขภาพ ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 8 ชั่วโมง
6.1 ผู้เรียนจะได้ฝกึ คิดและฝึกปฏิบตั ติ ามหลัก ปศพพ. ดังนี้
ความรูท้ นี่ กั เรียนต้องมีกอ่ น คุณธรรมของนักเรียนทีจ่ ะทาให้การเรียนรูส้ าเร็จ
1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหาร 1. ความสามัคคีในกลุ่ม
2. สารอาหารประเภทต่างๆ 2. ความรับผิดชอบ
3. ความสาคัญของอาหาร 3. แบ่งปันและเอือ้ เฟือ้ เผื่อแผ่
4. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรค 4. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
5. ความรู้เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ 5. ความซื่อสัตย์
6. ความรู้ในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์อาหาร 6. ตรงต่อเวลา
7. มารยาทของผูฝ้ ังที่ดี
มีเหตุผล พอประมาณ มีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี
1.นักเรียนมีการวิเคราะห์การ 1.นักเรียนใช้เวลาเหมาะสมในการ 1. มีการวางแผนการดาเนินงาน
รับประทานอาหารของตัวเอง ทากิจกรรม 2. การเลือกใช้ข้อมูลจากสื่ออินเตอร์เน็ต
ในแต่ละวันได้อย่างมีเหตุผล 2.นักเรียนใช้วัสดุที่เหลือใช้มาทาเป็น 3. ศึกษาเนื้อหาทีเ่ รียนก่อนการทาใบงาน
2.นักเรียนเข้าใจและอธิบาย ชิ้นงาน
ถึงหลักการทางโภชนาการได้ 3.นักเรียนแบ่งหน้าที่กันภายในกลุ่ม
ได้อย่างเท่าเทียม

6.2 ผูเ้ รียนจะได้เรียนรูก้ ารใช้ชีวติ ทีส่ มดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง 4 มิตติ ามหลัก ปศพพ. ดังนี้
ด้าน สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงในด้านต่าง ๆ
องค์ประกอบ วัตถุ/เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม
-ความรู้ในเรื่องโรคทีเ่ กิดจากภาวะทุพ -สามารถนาความรู้ -มีความรู้ในด้าน -นาความรู้
K ความรู้ โภชนาการที่สง่ ผลต่อการใช้ชีวิตของ เรื่องโภชนาการไป การนาอาหารที่ เกี่ยวกับอาหาร
ผู้คนและการประกอบอาชีพ ถ่ายทอดให้กับคนใน เหลือจากการ และโภชนาการไป
ชุมชนต่อได้ รับประทานไปใช้ให้ ปลูกฝังให้คนรุ่น
- มีความรู้ในการ เกิดประโยชน์ หลังได้มีความ
ปฏิบัติตนที่จะทางาน เข้าใจ
ร่วมกับผู้อื่น
-มีทักษะในการบริโภคอาหารใน - ทางานร่วมกัน การรักษาความ - มีจิตสาธารณะ
P ทักษะ ชีวิตประจาวัน ภายในกลุ่มตามที่ สะอาดในการ - มีความเอื้อเฟื้อ
-มีทักษะในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ได้รับมอบหมายจน รับประทานอาหาร แบ่งปันความรู้
อาหาร สาเร็จและมีความสุข - เลือกใช้ภาชนะที่ และช่วยเหลือ
-สมารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง -รับฟังความคิดเห็น มีความเหมาะสม ผู้อื่น
ได้ ผู้อื่น กับประเภทอาหาร ด้วยความเต็มใจ
- เกิดความสัมพันธ์
อันดีต่อเพื่อน
ร่วมงาน
-เห็นคุณค่าของผลิตภัณฑ์อาหารที่มีอยู่ - มีความรับผิดชอบ - ปลูกฝังค่านิยมใน - เห็นคุณค่าใน
A ค่านิยม ในท้องถิ่น ต่อการทางานกลุม่ การรับประทาน การนา
-เห็นถึงความสาคัญในการทางานกลุม่ - ยอมรับความเห็น อาหารทีม่ าจาก ความรู้ไปปรับใช้
ซึ่งกันและกัน มี ธรรมชาติ ใน
ความเสียสละ อดทน ชีวิตประจาวัน
- ตระหนักถึง
อาหารทีม่ ีใน
ท้องถิ่นของตน

- มีความสามารถในการนาเสนอและ - ใช้กระบวนการใน -การถ่ายทอด


C สมรรถนะ อภิปราย การทางานร่วมกับ ความรู้สู่คนรุ่น
- มีความสามารถในการนาเสนอและ ผู้อื่น หลัง
สรุปผล -การแลกเปลี่ยน
- มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความคิดเห็น
- มีความสามารถในการสัมภาษณ์ การ
สื่อสาร
นาไปสูค่ วามยัง่ ยืน
หลักทรงงานในหลวงรัชกาล 9
ข้อที่1 จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ
ข้อที่6 ทางานแบบองค์รวม
ข้อที่8 รู้จักประหยัด เรียบง่าย ได้ประโยชสูงสุด
ข้อที10 การมีส่วนร่วม
ข้อที่22 ความเพียร
ข้อที่23 รู้ รัก สามัคคี
พระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลที่ 10
ข้อที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-คุณธรรม
ข้อที่ 4 เป็นพลเมืองดี
SDGs ๑๗ เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน
เป้าหมายที2่ บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการสาหรับทุกคนในทุกวัย
แผนการจัดการเรียนรู้
แผ่นที่ 1 ผังโครงสร้างแผนการเรียนรู้เพือ่ เสริมสร้างคุณลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพียง
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา แผนการจัดการเรียนรูท้ 1ี่ เรือ่ ง ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับ
อาหารและโภชนาการ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เวลา 2 ชัว่ โมง
แผนที่ 4 ( 2 ชั่วโมง) แผนที่ 1 ( 2 ชั่วโมง)
เรือ่ ง ฉลากบนผลิตภัณฑ์อาหาร เรือ่ ง ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับอาหารและ
มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/1 เลือก โภชนาการ
กินอาหารที่เหมาะสมกับวัย มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/2 วิเคราะห์
ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดจาก ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการทีม่ ีผล
ภาวะโภชนาการที่มีผลต่อสุขภาพ ต่อสุขภาพ
สาระการเรียนรู้ หลักการเลือก ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ วัยรุน่ กับ
สาระการเรียนรู้ ปั ญหาที่เกิดจาก ภาวะ
อาหารทีเ่ หมาะสมกับวัย และ โภชนาการเพือ่ สร้างเสริมสุขภาพ
โภชนาการ
ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ (4 แผน 8 ชั่วโมง)
สาระสาคัญ ในปัจจุบันปัญหาภาวะ แผนที่ 2 ( 2 ชั่วโมง)
แผนที่ 3 ( 2 ชั่วโมง) โภชนาการจะเกิดจากการรับประทาน เรือ่ ง โภชนบัญญัติและธงโภชนาการ
อาหารทีม่ ีผลกระทบต่อสุขภาพ มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/1 เลือกกิน
เรือ่ ง หลักการเลือกอาหารที่ นักเรียนจึงต้องมีความรู้ในการวิเคราะห์
เหมาะสมกับวัย อาหารทีเ่ หมาะสมกับวัย
ภาวะโภชนาการของตนเองเพื่อเลือก สาระการเรียนรู้ หลักการเลือกอาหาร
มฐ./ตัวชีว้ ดั พ4.1 ม.1/1 เลือก รับประทานอาหารที่มีคุณค่าและ
กินอาหารที่เหมาะสมกับวัย ที่เหมาะสมกับวัย
เหมาะสม กับวัย
ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดจาก
ภาวะโภชนาการที่มีผลต่อสุขภาพ
สาระการเรียนรู้ ภาวะขาด
สารอาหาร และภาวะโภชนาการ
เกิน
สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ภาระงาน/ชิน้ งาน .
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย 1. ทาใบงานที1่ เรื่อง
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้ อาหารและภาวะ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 3. อยู่อย่างพอเพียง โภชนาการ
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะ 4. มุ่งมั่นในการทางาน 2. ทาใบงานที2่ เรื่อง การ
ชีวิต รับประทานอาหารเพือ่
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สุขภาพที่ดีของคนไทย
3. ชิ้นงานเรื่องการอ่านฉลาก
ผลิตภัณฑ์อาหาร
4. การนาเสนอหน้าชั้นเรียน
แผ่นที่ 2 ผังภาพการออกแบบการเรียนรูแ้ บบย้อนกลับ (Backward Design)
กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชื่อแผนการจัดการเรียนรู้ ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับอาหาร
และโภชนาการ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 2 ชั่วโมง
1. เป้าหมายการเรียนรู้
2. หลักฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน/ตัวชีว้ ดั พ 4.1 เห็นคุณค่าและมีทกั ษะในการ
สร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และ ภาระงาน/ชิน้ งาน : สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับความหมายของของ
การสร้างเสริมสมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ อาหารและโภชนาการ , ใบงานที่5.1
ตัวชีว้ ดั ม.1/2 วิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดจากการภาวะ การวัดประเมินผล :
โภชนาการที่มผี ลกระทบต่อสุขภาพ
สาระสาคัญ อาหารมีประโยชน์ต่อร่างกาย วัยรุ่นจึงต้อง ประเด็น วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
เลือกบริโภคอาหารให้เหมาะสมกับวัย โดย ประเมิน
คานึงถึงความประหยัดและคุณค่าทาง ด้าน K การตรวจใบงาน,การ ใบงาน,ใบกิจกรรม ร้อยละ 60
โภชนาการที่มีความถูกต้อง ตรวจใบกิจกรรม
จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้าน P การนาเสนอผลงาน, แบบประเมินการ ร้อยละ 60
การสืบค้นข้อมูล นาเสนอผลงาน
1. (K.)นักเรียนสามารถจาแนกประเภทของภาวะ
ด้าน A สังเกตพฤติกรรมการ แบบประเมิน ระดับคุณภาพ
โภชนาการได้ ทางานรายบุคคลและ พฤติกรรม 2 ผ่านเกณฑ์
2. (P)นักเรียนสามารถรับประทานอาหารให้ถูกต้องตาม แบบกลุ่ม
หลักโภชนาการได้
3. (A)นักเรียนสามารถวิเคราะห์ปัญหาทีเ่ กิดจากภาวะ
โภชนาการที่มผี ลกระทบต่อสุขภาพได้
สาระการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรูท้ 1ี่
-ปัญหาทีเ่ กิดจากภาวะโภชนาการ
-ภาวะการขาดสารอาหาร ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับอาหารและโภชนาการ
-ภาวะโภชนาการเกิน
สมรรถนะสาคัญ
1. ความสามารถในการสื่อสาร: การนาเสนอ
2. ความสามารถในการคิด: การตอบคาถาม 3. กิจกรรมการเรียนรู้
3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต: การทางานกลุ่ม
4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี: สืบค้นข้อมูลจาก กิจกรรรมการเรียนรู้ :
internet -ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน คละกันตาม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ความสามารถ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้น
1. มีวินัย : เข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย ความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการ
2. ใฝ่เรียนรู้ : ตั้งใจเรียน แสวงหาความรู้ใหม่ๆ -นักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกันอภิปรายในแต่ละประเด็น และ
3. อยู่อย่างพอเพียง : คิดและตัดสินใจในการปฏิบัติ ผลัดกันซักถามข้อสงสัย จนได้รบั คาตอบทีท่ าให้เกิดความรู้
กิจกรรมที่ได้รบั มอบหมายเหมาะสมกับศักยภาพตนเอง ความเข้าใจที่ชัดเจน จากนั้นสรุปความรู้ลงในสมุด
และกลุ่ม ใช้ความรู้และสติปัญญาเตรียมพร้อมและวาง สือ่ เรียนรู/้ แหล่งเรียนรู้ : หนังสือเรียน,อินเทอร์เน็ต,บัตรภาพ
แผนการปฏิบัติกจิ กรรมอย่างอดทน เป็นระบบ รอบคอบ อาหาร
สมเหตุสมผล เวลา : 2 ชั่วโมง
4. มุ่งมั่นในการทางาน : อดทนตั้งใจ รับผิดชอบหน้าทีท่ ี่
ได้รับ
แผ่นที่ 3 กิจกรรมการเรียนรูเ้ พือ่ เสริมสร้างคุณลักษณะอยูอ่ ย่างพอเพียง
แผนการเรียนรูแ้ บบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรือ่ ง ความรูท้ ั่วไปเกี่ยวกับอาหาร และโภชนาการ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เวลา 2 ชัว่ โมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………
กิจกรรมการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1 (2 ชั่วโมง)
ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน พร้อมทัง้ สร้างบรรยากาศให้มีความเป็น
2. ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพ แล้วให้นักเรียนตอบคาถามและแสดงความคิดเห็น
3. ครูพูดคุยกับนักเรียนในหัวข้อคุณค่าและประโยชน์ของอาหารที่มีต่อร่างกาย ใช้ชดุ คาถามQ1
(ครูและนักเรียน : มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน และสังคม)
ขัน้ สอน
1. ครูอธิบายความหมายของอาหารและความรู้ทั่วไปของอาหาร ใช้ชดุ คาถามQ6
2. ครูอธิบายความหมายของคาว่าโภชนาการรวมถึงปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการด้านต่างๆ
เช่น ภาวะโภชนาการเกิน ภาวการณ์ขาดสารอาหาร
(นักเรียน : มีความรู้ มีเหตุผล)
ขัน้ ฝึกปฏิบตั ิ
1. ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุม่ กลุ่มละ 4 คน คละกันตามความสามารถ แล้วให้แต่ละกลุม่ ร่วมกันศึกษาและ
สืบค้นความรูเ้ กี่ยวกับอาหารและโภชนาการ จากหนังสือเรียน และแหล่งข้อมูลสารสนเทศ
ใช้ชดุ คาถามQ7-Q8
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนการศึกษาและสืบค้นความรู้ โดยแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบตามความ
เหมาะสม
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , วัตถุ , สังคม , วัฒนธรรม)
ขัน้ นาไปใช้
1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายในแต่ละประเด็น และผลัดกันซักถามข้อสงสัย จนได้รับคาตอบ
ที่ทาให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจน จากนั้นสรุปความรู้ลงในสมุด ใช้ชดุ คาถามQ9-Q10
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทาใบงานที่ 5.1 เรื่อง อาหารและภาวะโภชนาการ โดยให้สมาชิกกลุ่มหา
คาตอบด้วยตนเองจนครบทุกข้อ จากนั้นจับคู่กบั เพื่อนในกลุม่ เพื่อผลัดกันอธิบายคาตอบให้คู่ของตนฟัง
(นักเรียน : มีความรู้ , คุณธรรม , พอประมาณ , มีเหตุผล , มีภมู คิ มุ้ กัน , สังคม )
ขัน้ สรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการและอาหารที่
นักเรียนทานในแต่ละวัน ใช้ชดุ คาถาม20
2. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนไป
(ครูและนักเรียน : มีเหตุผล มีภมู คิ มุ้ กัน และสังคม)
แผ่นที่ 4 ชุดคาถามกระตุ้นเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียง
กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับอาหาร
และโภชนาการ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 2 ชั่วโมง

คาถามกระตุน้ คิดเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียงก่อนเรียน


Q1. ครูพูดคุยกับนักเรียน เรือ่ งคุณค่าและประโยชน์ของอาหารมีผลต่อร่างกายอย่าไร ครูและนักเรียน
ร่วมกันอภิปราย (ความรู้ , เหตุผล)

คาถามกระตุน้ คิดเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียงระหว่างเรียน


Q6. นักเรียนจะเลือกรับประทานอาหารอย่างไรเพื่อให้ร่ากายได้รับสารอาหารครบถ้วน
(ภูมคิ มุ้ กัน , พอประมาณ)
Q7. การปฏิบัติกจิ กรรมให้สาเร็จตามที่ได้รบั มอบหมายงานจากกลุ่ม นักเรียนจาเป็นต้องปฏิบัติตนอย่างไร
บ้าง(คุณธรรม)
Q8. การทาใบงาน โดยไม่ลอกจากเพือ่ นคนอื่นจะส่งผลดีต่อนักเรียนอย่างไร และเป็นคุณธรรมด้านใด
(คุณธรรม)
Q9. นักเรียนจะนาความรู้เรื่องโภชนาการไปถ่ายทอดให้กับคนในชุมชนได้อย่างไร (สังคม)
Q10. ปัญหาทีเ่ กิดจากโรคภาวะทุพโภชนาการมีอะไรบ้าง(ความรู้ , เหตุผล)

คาถามกระตุน้ คิดเพือ่ ปลูกฝังหลักคิดพอเพียงหลังเรียน


Q20. อาหารที่นักเรียนทานในแต่ละวันมีปริมาณและคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอหรือไม่(เหตุผล
,พอประมาณ)
แผ่นที่ 5 แนวทางทีค่ รูนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้จดั การเรียนรู้
กลุม่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ความรูท้ วั่ ไปเกีย่ วกับอาหาร
และโภชนาการ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 2 ชั่วโมง
ครูผสู้ อนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดกิจกรรมการเรียนรูด้ งั นี้
ความรูท้ คี่ รูตอ้ งมีกอ่ นสอน คุณธรรมของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ความรู้เรื่องอาหารประเภทต่างๆ 1. มีความรักเมตตาศิษย์
2. ความรู้ด้านโภชนาการ 2. มีความรับผิดชอบ
3. ปัญหาที่เกิดจากภาวะโภชนาการ 3. มีความยุติธรรม
4. ความรู้ด้านสุขภาพ 4. มีความตรงเวลา
5.การเป็นแบบอย่างที่ดี
ประเด็น มีเหตุผล พอประมาณ มีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี
- เนื้อหาเรือ่ งแต่ละแผนการเรียนรูส้ อดคล้องกับ - ต้องการให้ผู้เรียนมีความรูเ้ รื่อง - สรุปเนื้อหาให้อ่านเข้าใจ
เนือ้ หา ผลการเรียนรู้ เหมาะสมกับเวลาทีก่ าหนดและ โภชนาการที่เหมาะสมกับวัยเพื่อ ง่าย โดยใช้แผนผังความคิด
วัยของผู้เรียน สร้างเสริมสุขภาพและนาไปใช้ - เรียงเนื้อหาตามลาดับการ
ในชีวิตประจาวันได้ เรียนรู้
- ใช้เวลาในการจัดการเรียนการสอนตาม - จัดการเรียนรู้ได้ครบถ้วนตามที่ - กาหนดเวลาในแต่ละ
เวลา กาหนด ออกแบบไว้ กิจกรรมไว้พอดี บวกลบ
เพิ่มเติมได้เล็กน้อย
- แบ่งกลุ่มผู้เรียนได้พอดีกบั จานวนนักเรียน - ต้องการให้ผู้เรียนปฏิบัติ - แบ่งกลุ่มคละ
การจัด - กาหนดกิจกรรมการเรียนรู้เหมาะสมกับเวลา กิจกรรมอย่างทั่วถึงตาม ความสามารถของนักเรียน
กิจกรรม ที่กาหนด ความสามารถ - เตรียมชุดคาถามให้พร้อม
- มอบหมายภาระงานและชิ้นงานเหมาะสมกับ - เพื่อต้องการให้ผเู้ รียนเกิดการ ตามลาดับกิจกรรมการเรียน
ความสามารถผู้เรียนและสอดคล้องกับ เรียนรู้ตามเป้าหมายที่กาหนด - สังเกตพฤติกรรมและให้
เป้าหมายการเรียนรู้ - ผู้เรียนนาความรู้ไป ความช่วยเหลือเมื่อนักเรียน
ประยุกต์ใช้กบั งานได้ มีปัญหา
- สื่อมีความหลากหลายเหมาะสมกับกิจกรรม - ผู้เรียนได้ใช้ สื่อและอุปกรณ์ - ตรวจสอบจานวน,ความ
สือ่ /อุปกรณ์ และปริมาณเพียงพอกับจานวนนักเรียน ต่าง ๆ อย่างทั่วถึง เพียงพอและความพร้อมของ
อุปกรณ์ให้อยู่ใน
สภาพพร้อมใช้งาน
- เตรียม สื่ออุปกรณ์ให้
พร้อมก่อนการจัดกิจกรรม
- ใช้แหล่งเรียนรู้ที่มอี ยู่ในโรงเรียน นักเรียนได้สืบค้นข้อมูลจาก - เตรียมห้องเรียนให้พร้อม
แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ทมี่ ี่ใกล้ตัว ก่อนการเรียน

- จัดทาแบบประเมินผลงานและ - ต้องการประเมินผลการเรียนรู้ - วางแผนการวัดประเมินผล


ประเมินผล ประเมินพฤติกรรมได้เหมาะสมกับเป้าหมาย ตามเป้าหมาย ตามขั้นตอนของกิจกรรม
การเรียนรู้ - แบบประเมินผลมีการ
ตรวจสอบเที่ยงตรงในการวัด
ตามจุดประสงค์
แผ่นที่ 6 ผลทีจ่ ะเกิดขึ้นกับผูเ้ รียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง กลุม่ สาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา แผนการจัดการเรียนรู้ เรือ่ ง ความรู้ทวั่ ไป
เกี่ยวกับอาหาร และโภชนาการ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีท1ี่ เวลา 2 ชั่วโมง

6.1 ผูเ้ รียนจะได้ฝกึ คิดและฝึกปฏิบตั ติ ามหลัก ปศพพ. ดังนี้

ความรูท้ นี่ กั เรียนต้องมีกอ่ น คุณธรรมของนักเรียนทีจ่ ะทาให้การเรียนรูส้ าเร็จ


1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอาหาร 1. ความสามัคคีในกลุ่ม
2. สารอาหารประเภทต่างๆ 2. ความรับผิดชอบ
3. ความสาคัญของอาหาร 3. แบ่งปันและเอือ้ เฟือ้ เผื่อแผ่
4. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
5. ความซื่อสัตย์
6. ตรงต่อเวลา
7. มารยาทของผูฝ้ ังที่ดี
มีเหตุผล พอประมาณ มีภมู คิ มุ้ กันในตัวทีด่ ี
1.นักเรียนมีการวิเคราะห์การ 1.นักเรียนใช้เวลาเหมาะสมในการ 1. มีการวางแผนการดาเนินงาน
รับประทานอาหารของตัวเอง ทากิจกรรม 2. การเลือกใช้ข้อมูลจากสื่ออินเตอร์เน็ต
ในแต่ละวันได้อย่างมีเหตุผล 2.นักเรียนใช้วัสดุที่เหลือใช้มาทาเป็น 3. ศึกษาเนื้อหาทีเ่ รียนก่อนการทาใบงาน
2.นักเรียนเข้าใจและอธิบาย ชิ้นงาน
ถึงหลักการทางโภชนาการได้ 3.นักเรียนแบ่งหน้าที่กันภายในกลุ่ม
ได้อย่างเท่าเทียม

6.2 ผูเ้ รียนจะได้เรียนรูก้ ารใช้ชีวติ ทีส่ มดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลง 4 มิตติ ามหลัก ปศพพ. ดังนี้
ด้าน สมดุลและพร้อมรับการเปลีย่ นแปลงในด้านต่าง ๆ
องค์ประกอบ วัตถุ/เศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม วัฒนธรรม
-ความรู้ในเรื่องโภชนาการทีส่ ่งผลต่อ -สามารถนาความรู้ -มีความรู้ในด้าน -นาความรู้
K ความรู้ การประกอบอาชีพของผู้คน เรื่องโภชนาการไป การนาอาหารที่ เกี่ยวกับอาหาร
ถ่ายทอดให้กับคนใน เหลือจากการ และโภชนาการไป
ชุมชนต่อได้ รับประทานไปใช้ให้ ปลูกฝังให้คนรุ่น
- มีความรู้ในการ เกิดประโยชน์ หลังได้มีความ
ปฏิบัติตนที่จะทางาน เข้าใจ
ร่วมกับผู้อื่น
-มีทักษะในการบริโภคอาหารใน - ทางานร่วมกัน -การรักษาความ - มีจิตสาธารณะ
P ทักษะ ชีวิตประจาวัน ภายในกลุ่มตามที่ สะอาดในการรับ - มีความเอื้อเฟื้อ
-มีทักษะในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ ได้รับมอบหมายจน ประทานอาหาร แบ่งปันความรู้
อาหาร สาเร็จและมีความสุข และช่วยเหลือ
-สมารถในการดูแลสุขภาพของตนเอง -รับฟังความคิดเห็น ผู้อื่น
ได้ ผู้อื่น ด้วยความเต็มใจ
- เกิดความสัมพันธ์
อันดีต่อเพื่อน
ร่วมงาน
-เห็นคุณค่าของผลิตภัณฑ์อาหารที่มีอยู่ - มีความรับผิดชอบ - ปลูกฝังค่านิยมใน - เห็นคุณค่าใน
A ค่านิยม ในท้องถิ่น ต่อการทางานกลุม่ การรับประทาน การนา
- ยอมรับความเห็น อาหารทีม่ าจาก ความรู้ไปปรับใช้
ซึ่งกันและกัน มี ธรรมชาติ ใน
ความเสียสละ อดทน ชีวิตประจาวัน
- ตระหนักถึง
อาหารทีม่ ีใน
ท้องถิ่นของตน

- มีความสามารถในการนาเสนอและ - ใช้กระบวนการใน -การถ่ายทอด


C สมรรถนะ อภิปราย การทางานร่วมกับ ความรู้สู่คนรุ่น
- มีความสามารถในการนาเสนอและ ผู้อื่น หลัง
สรุปผล -การแลกเปลี่ยน
- มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ความคิดเห็น
นาไปสูค่ วามยัง่ ยืน
หลักทรงงานในหลวงรัชกาล 9
ข้อที่1 จะทาอะไรต้องศึกษาข้อมูลให้เป็นระบบ
ข้อที10 การมีส่วนร่วม
ข้อที่23 รู้ รัก สามัคคี
พระบรมราโชบาย ด้านการศึกษา ในหลวงรัชกาลที่ 10
ข้อที่ 2 มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-คุณธรรม
SDGs ๑๗ เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ั่งยืน
เป้าหมายที2่ บรรลุความมั่นคงทางอาหารและยกระดับโภชนาการสาหรับทุกคนในทุกวัย
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

ผลการสอน
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ปัญหา/อุปสรรค
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะ/แก้ไข
..............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.................................................
(...............................................)
วันที่............เดือน............................พ.ศ............
ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผูไ้ ด้รบั มอบหมาย
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………………………………..……
(นายจารุกิตติ์ ช่องสมบัติ)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………………………………..……
(นางสาววรารัตน์ สุกก้อนทอง)
หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ……………………………………………………………..……
(นายอนุพงศ์ รัตนถิรกุล)
ผู้อานวยการโรงเรียนบางเดือนสถิตย์พิทยาคม

You might also like