บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะยาว

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

บทที่ 5 การจัดหาเงินทุนระยะยาว

Long Term Financing


Pawarin Sawasthaisong
Krirk University
เงินกูร้ ะยะยาวคืออะไร?
เงินกู้ ระยะยาว หมายถึง เงินกู้ที่มี
ระยะเวลาตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป โดยมี
วัตถุประสงค์ส่วนใหญ่เพื่อใช้ในการ
จัดหาสินทรัพย์ถาวรการจัดหาเงินทุน
ระยะยาว สามารถจัดหาได้จากปหล่ง
เงินทุนระยะภายใน กิจการและ
ภายนอกกิจการ
1. เงินออมของเจ้าของกิจการ
การจัดหาเงินทุนระยะยาวจาก 2. ค่าเสื่อมราคา (Depreciation Expenses)
แหล่งเงินทุนภายในกิจการ 3. กาไรสะสม (Retained Earnings)
การจัดหาเงินทุนระยะยาวจากแหล่งเงินทุนภายนอกกิจการ

1. เงินกู้ระยะยาว (Long-term Loans)


สถาบันการเงิน
สถาบันการเงินเฉพาะประเภท
บริษัทประกันชีวิตและประกันภัย
2. ออกตราสารหนี้ (Debt Securities)
องค์ประกอบของเงินกูย้ มื ระยะยาว
1. อัตราดอกเบี้ย (Coupon Rate)
2. อายุของการกู้ยืม
3. หลักประกัน โดยส่วนใหญ่ให้กู้มักจะเรียกร้องให้นาสินทรัพย์ถาวรมาค้าประกันการกู้
4. ลาดับชั้นของเงินกู้
5. สกุลเงินที่กู้
6. ข้อจากัดของผู้กู้เพื่อป้องกันความเสี่ยงของผู้กู้
รูปแบบการกู้ยืมระยะยาว

❑ การกู้เงินในแบบของสัญญา (Term
Loan)
❑ ออกหุ้นกู้ (Debenture)
ประเภทของหุ้นกู้

1. หุน้ กูม้ ีหลักประกัน


• หุน้ กูท้ ี่มีสินทรัพย์ ประเภทตราสารค้ าประกัน ( Collateral Trust
Certificate)
• หุน้ กูท้ ี่ค้ าประกันโดยสิ นทรพัยท์ ี่ใช้ดาเนินงาน (Equipment Trust
Certificate )
• หุน้ กูท้ ี่ค้ าประกันโดยบุคคลที่ 3 (Letter of guarantee)
2. หุน้ กูไ้ ม่มีหลักประกัน

• หุ้นกู้ไม่มีหลักประกัน (Debenture)
• หุ้นกู้ด้อยสิทธิ (Subordinate
debenture)
• Incom Bond
ตราสารอนุพันธ์ (Derivative
Instruments)

➢ หุ้นก็แปลงสภาพ (Convertible debenture)


➢ หุ้นกู้พร้อมใบสาคัญแสดงสิทธิ (Debenture with warrant)
หุน้ บุริมสิ ทธิ (Preferred)
1. หุน้ บุริมสิ ทธิชนิดสะสม (Cumulative Preferred
Stock)
2. หุ น้ บุริมสิ ทธิ ชนิดไม่สะสม (Non-Cumulative
Preferred Stock)
3. หุ น้ บุริมสิ ทธิ ชนิดร่ วมรับ (Participating
Preferred Stock)
4. หุน้ บุริมสิ ทธิชนิดที่แปลงเป็ นหุน้ สามัญได้
(Convertible Preferred Stock)
หุ้นสามัญ
เป็นตราสารทุนที่แสดงถึงการเป็นเจ้าของ
กิจการนั้นๆ มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมใน
การได้รับเงินปันผลหรือผลประโยชน์ใน
รูปแบบอื่น ตามที่ประชุมของผู้ถือหุ้นอนุมัติ
อย่างไรก็ตามผู้ถือหุน้ สามัญจะเป็นผู้มีสิทธิ
ในลาดับสุดท้ายในการรับส่วนที่เหลือจาก
การที่กิจการล้มละลายหรือเลิกกิจการ
ตุน้ ทุนของเงินทุนแต่ละชนิด (Cost of Capital)
1. ต้นทุนของหนี้ (Cost of Debt)
2. ต้นทุนของหุน้ บุริมสิ ทธิ (Cost of Preferred Stock)
3. ต้นทุนของผูถ้ ือหุน้ (Cost of Equity)
4. ถ้าต้นทุนของทุนมาจากหลายแหล่งในจานวนที่ไม่เท่ากันเราจะนามาเฉลี่ยเรี ยกว่า
ต้นทุนของทุนถัวเฉลี่ยน้ าหนัก (Weighted Average Cost of Capital, WACC)
5. หากกิจการต้องหาทุนเพิ่มเติม เราจะมีการถัวเฉลี่ยเงินทุนที่จดั หามาใหม่ที่เรี ยกว่า
ต้นทุนส่ วนเพิ่ม (Marginal Cost of Capital)
ต้นทุนของหนี้ (Cost of Debt)
ตุน้ ทุนของหุน้ บุริมสิ ทธิ (Cost of Perferr
ต้นทุนของหุน้ สามัญ (Cost of
Common Stock, Rs
มีอยู่ 3 วิธี ในการคานวณต้นทุนหุ น้ สามัญหรื อกาไรสะสมคือ
1 วิธีแบบจาลองราคาสิ นทรัพย์ลงทุน (Capital Asset
Pricing Model, CAPM)
2. วิธีการคิดลดกระแสเงินสด (Discounted cash flow,
dcf )
3. วิธีผลตอบแทนจากหุ น้ กู้ บวกค่าชดเชยความเสี่ ยง (Bond-
yield-plus –risk premium approach)
ปัจจัยที่มีผลกระทบกับต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนัก
1. ปัจจัยที่กิจการไม่สามารถควบคุมได้
➢ ระดับของอัตราดอกเบี้ย
➢ ส่วนชดเชยความเสี่ยงของตลาด ( Market Risk Premium)
➢ อัตราภาษี
2. ปัจจัยที่กิจการสามารถควบคุมได้
➢ นโยบายโครงสร้างเงินทุน
➢ นโยบายการจ่ายเงินปันผล

You might also like