Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 21

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความสำคัญและที่มาของปั ญหา


เนื่องจากในวิถีชีวิตชาวบ้านของจังหวัดพิจิตรมีผลผลิตทางการ
เกษตรหลายชนิด ซึ่งในบางฤดูกาล ผลิตภัณฑ์มีปริมาณมากเกินความ
ต้องการของผู้บริโภค ทำให้ราคาของผลผลิตถูกลง และเมื่อจำหน่าย
ผลผลิตได้ไม่หมดในเวลาอันควร จะเกิดการเน่าเสียของผลผลิต แต่ถ้า
สามารถยืดระยะเวลาในการเก็บรักษาให้นานขึ้น จะช่วยลดการสูญเสีย
ในส่วนนี้ลงได้ ถ้าไปใช้เครื่องเทคโนโลยีเครื่องถนอมอาหารเครื่องราคา
แพงชาวไม่ก็ไม่สามารถเข้าถึงได้ และซึ่งวิธีการที่นิยมใช้ในอดีตจนถึง
ปั จจุบัน คือ การนำผลผลิตทางการเกษตรไปตากแดด แต่วิธีนี้มีข้อเสีย
คือใช้เวลานาน เสียเวลามาพลิกอาหารที่ตากแดด ความไม่แน่นอนของ
สภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะในฤดูฝนที่สภาพอากาศไม่เอื้ออำนวย และ
อาจเกิดการปนเปื้ อนของผลิตภัณฑ์จากฝุ่นละอองและจุลินทรีย์
การตากแห้งด้วยพลังงานแสงแดดแบบชาวบ้านดั้งเดิมมีความ
สะดวกและสิ้นค่าใช้จ่ายน้อยโดยเฉพาะพลังงานแสงแดดเป็ นแหล่ง
กำเนิดความร้อนที่ได้มาโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย การตากแห้งโดยใช้
พลังงานแสงแดดแบบดั้งเดิม ที่ใช้ตะแกรง เช่น ตากเนื้อวัว เนื้อหมู เนื้อ
ปลา พืชและผลไม้ แต่ใช้เวลานาน และเสียเวลามาพลิกวัตถุที่ตากแห้ง
ดังนั้นคณะผู้จัดทำ จึงได้ศึกษาเรื่องพาราโบลาและศึกษาการ
ออกแบบเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลา และได้ทำการทดลอง
ออกแบบเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลา เมื่อได้ทำการทดลองออกแบบ
แล้ว โดยการนำกล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน ปลา และเนื้อหมู มาท
ดลองเพื่อเปรียบเทียบระหว่างการตากแห้งด้วยพลังงานแสงแดดโดยใช้
2

เครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาและการตากแห้งด้วยพลังงานแสงแดด
แบบชาวบ้านดั้งเดิม ผลปรากฏว่าการตากแห้งด้วยโดยใช้เครื่องตาก
แห้งแบบพาราโบลา ใช้เวลาน้อยกว่า ด้านคุณภาพของผลิตภัณฑ์ใน
ด้าน สี กลิ่น รสชาติ ใกล้เคียงกับการตากแห้งด้วยพลังงานแสงแดด
แบบชาวบ้านดั้งเดิม

1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลา
2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบน้ำหนักการตากแห้ง กล้วย เปลือก
มะม่วง ข้าวแตน ปลา และเนื้อหมู ด้วยเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลา
พลังงานแสงแดดและการตากแห้งด้วยพลังงานแสงแดดแบบชาวบ้าน
ดั้งเดิม

1.3 สมมติฐาน
สามารถสร้างเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงานแสงแดดโดย
ใช้ความรู้เรื่องพาราโบลา
1.4 ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรต้น : กล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน ปลา และเนื้อหมู
ด้วยเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงานแสงแดดและการตากแห้ง
ด้วยพลังงานแสงแดดแบบชาวบ้านดั้งเดิม
ตัวแปรตาม : ขนาดของเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงาน
แสงแดดและความแห้งน้ำหนักของกล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน ปลา
และเนื้อหมู
3

ตัวแปรควบคุม : ปริมาณกล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน ปลา


และเนื้อหมู

1.5 ขอบเขตการศึกษา
1. เครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงานแสงแดด
2. ตัวอย่างที่นำมาทดสอบ คือ กล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน
ปลา และเนื้อหมู
3. ระยะเวลาที่ใช้ในการอบแห้ง 09.00 – 16.00 น.
4. ศึกษาการตากแห้ง กล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน ปลา และ
เนื้อหมู ด้วยเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงานแสงแดดและการ
ตากแห้งด้วยพลังงานแสงแดดแบบชาวบ้านดั้งเดิม

1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
เครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงานแสงแดดสามารถนำมา
แปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร เช่น การทำกล้วย เปลือกมะม่วง ข้าว
แตน ปลา และเนื้อหมู เพื่อเก็บไว้ใช้บริโภคได้นานขึ้น
4

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

2.1 พาราโบลา
นิยาม พาราโบลาคือเซตของจุดทุกจุดบนระนาบ ซึ่งอยู่ห่างจาก
เส้นตรงที่ เส้นหนึ่งบนระนาบและจุดคงที่จุดหนึ่งบนระนาบนอกเส้น
ตรงคงที่นั้น เป็ น ระยะทางเท่ากับเสมอ

- จุดคงที่ เรียกว่า โฟกัส (focus) ของพาราโบลา


- เส้นตรงที่คงที่ คือเส้นบังคับ หรือเส้นไดเรกตริกซ์ (Directrix)
- เส้นตรงที่ลากผ่านจุดโฟกัส และตั้งฉากกับไดเรกตริกซ์คือ
แกน ของพาราโบลา หรือแกนสมมาตร(axis of symmetry)
- จุดที่แกนพาราโบลาตัดเส้นโค้งของพาราโบลาคือ จุดยอด
(vertex) ของพาราโบลา
5

- ส่วนของเส้นตรงที่ลากผ่านจุดโฟกัส และตั้งฉากกับแกนของ
พาราโบลา โดยจุดปลายทั้งสองอยู่บนโค้งของพาราโบลาเรียกว่า ลา
ตัสเรกตัม (Latus Recrum) รูปแบบสมการ มี 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ
1. สมการ
2
y=a x +bx +c

2. สมการ
2
y=a(x−h) +k

1. สมการพาราโบลาที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (0, 0)
1.1 เมื่อแกน x เป็ นแกนสมมาตร
สมการพาราโบลาที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (0, 0) เมื่อแกน x
เป็ นแกนสมมาตรความสัมพันธ์ของกราฟ คือ{( x , y ) ∈ R× R| y =4 cx } เป็ น
2

พาราโบลาที่มีแกนในแนวนอน แกน x หรือเส้นตรง y = 0


- จุดยอดอยู่ที่ (0, 0)
- จุดโฟกัสอยู่ที่ F(c, 0)
- สมการไดเรกตริกซ์ คือ x =
-c
- เลตัสเรกตัม ยาว = |4c|
หน่วย
สมการรูปแบบมาตรฐานเป็ น
2
y =4 cx

หมายเหตุ ถ้า c > 0 โค้งเปิ ดไปทางขวา และ ถ้า c < 0 โค้ง


เปิ ดไปทางซ้าย

1.2 เมื่อแกน y เป็ นแกนสมมาตร


สมการพาราโบลาที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (0, 0) เมื่อแกน y
เป็ นแกนสมมาตร
6

ความสัมพันธ์ของกราฟ คือ{( x , y ) ∈ R× R|x =4 c y } เป็ นพาราโบลาที่มีแกน


2

ในแนวตั้ง แกน y หรือเส้นตรง x = 0


- จุดยอดอยู่ที่ (0, 0)
- จุดโฟกัสอยู่ที่ F(0, c)
- สมการไดเรกตริกซ์ คือ y =
-c
- เลตัสเรกตัม ยาว = |4c|
หน่วย
สมการรูปแบบมาตรฐานเป็ น x =4 c y
2

หมายเหตุ ถ้า c > 0 โค้งเปิ ดไปทางบน และถ้า c < 0 โค้ง


เปิ ดไปทางล่าง
2. สมการพาราโบลาที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (h, k)
2.1 เมื่อแกนสมมาตรขนานกับแกน x
สมการพาราโบลาที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (h, k) เมื่อแกน
สมมาตรขนานกับแกน y
ความสัมพันธ์ของกราฟ คือ {( x , y ) ∈ R× R|( y−k ) =4 c (x−h)} เป็ นพาราโบลา
2

ที่มีแกนในแนวนอน แกนสมมาตรอยู่บนเส้นตรง y = k
- จุดยอดอยู่ที่ V(h, k)
- จุดโฟกัสอยู่ที่ F(h+c, k)
- สมการไดเรกตริกซ์ คือ x =
h–c
- เลตัสเรกตัม ยาว = |4c|
หน่วย
สมการรูปแบบมาตรฐานเป็ น
2
( y−k ) =4 c (x−h)
7

หมายเหตุ ถ้า c > 0 โค้งเปิ ดไปทางขวา และถ้า c < 0 โค้ง


เปิ ดไปทางซ้าย
2.2 เมื่อแกนสมมาตรขนานกับแกน y
สมการพาราโบลาที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุด (h, k) เมื่อแกน
สมมาตรขนานกับแกน x
ความสัมพันธ์ของกราฟ คือ {( x , y ) ∈ R× R|(x−h) =4 c ( y−k)} เป็ นพาราโบลา
2

ที่มีแกนในแนวตั้ง แกนสมมาตรอยู่บนเส้นตรง x = h
- จุดยอดอยู่ที่ V(h, k)
- จุดโฟกัสอยู่ที่ F(h, k+c)
- สมการไดเรกตริกซ์ คือ y =
k–c
- เลตัสเรกตัม ยาว = |4c|
หน่วย
สมการรูปแบบมาตรฐานเป็ น
2
(x−h) =4 c ( y −k )

หมายเหตุ ถ้า c > 0 โค้งเปิ ดไปทางบน และ ถ้า c < 0 โค้ง


เปิ ดไปทางล่าง
2.2 ทฤษฎีการตากแห้ง
การตากแห้งโดยทั่วไปจะมีกระบวนการที่เกี่ยวข้อง 2 ประการ
คือ การถ่ายเทความร้อน (heat transfer) และการถ่ายเทมวลสารหรือ
การระเหยของน้ำ (mass transfer)
ความร้อนจากบรรยากาศที่อยู่รอบ ๆ จะเคลื่อนย้ายไปที่ผิวของ
ชิ้นอาหารจากนั้นความร้อนจะเข้าไปข้างในชิ้นนอาหาร ขณะเดียวกัน
น้ำจากชิ้นอาหารที่อยู่ภายในจะเคลื่อนย้ายมายังผิวหน้าของชิ้นอาหาร
8

และเคลื่อนย้ายจากผิวหน้าไปสู่บรรยากาศรอบนอกจนอาหารมีลักษณะ
แห้ง
วิธีการตากแห้ง
การทำอาหารให้แห้งแบ่งออกได้เป็ น 2 วิธี
1. การทำแห้งโดยวิธีธรรมชาติ (sun drying) เป็ นวิธีเก่าแก่
ใช้มาแต่โบราณ อาศัย
ความร้อนจากแสงอาทิตย์ ปกติประเทศที่กำลังพัฒนาหรือประเทศใน
แถบเมืองร้อนเขตศูนย์สูตรที่มีแสงแดดเพียงพอจะนิยมใช้วิธีนี้ ในการ
ทำแห้งอาหาร วิธีการนี้ ประหยัดพลังงานความร้อน แต่อาหารตากแห้ง
ที่ได้มีการปนเปื้ อนของจุลินทรีย์ หากตากแห้งไม่พอ เมื่อเก็บไว้นานอาจ
เสียได้ ดังนั้นผลิตภัณฑ์ที่ได้จะมีคุณภาพต่ำสูญเสียคุณค่าทาง
โภชนาการมาก
2. การทำแห้งโดยวิธีทางกล (mechanical drying) ทำได้
โดยการใช้เครื่องอบแห้งที่มีการปล่อยลมร้อนให้พัดผ่านอาหาร และพา
เอาไอน้ำที่ระเหยจากอาหารออกไปจากผิวอาหาร เช่น การทำแห้งด้วย
ลมร้อน (hot air drying) เพื่อให้อาหารจำนวนมากแห้งตามที่ต้องการ
และมีความชื่นสม่ำเสมอ วิธีนี้ จะสะอาด ลดการปนเปื้ อนของจุลินทรีย์ได้
ดีกว่าวิธีธรรมชาติ ปกติใช้อุณหภูมิประมาณ 50 – 70 องศาเซลเซียส
2.3 ปั จจัยที่มีผลต่อการทำแห้ง
การทำแห้ง คือ การเคลื่อนย้ายน้ำออกจากวัสดุ ปั จจัยใดๆ ที่มี
ผลต่อการเคลื่อนที่ของน้ำจึงมีผลต่ออัตราการทำแห้ง ได้แก่ ธรรมชาติ
ของวัสดุ วัสดุเนื้อโปร่งมีการเคลื่อนของน้ำภายในวัสดุแบบผ่าน แคบซึ่ง
เร็วกว้าการแพร่ในวัสดุเนื้อแน่น ดังนั้นอาหารเนื้อโปร่งจึงแห้งเร็วกว่า
วัสดุที่มีเนื้อแน่น วัสดุที่มีน้ำตาลสูงจะมีความเหนียวกีดขวางการ
9

เคลื่อนที่ของน้ำจึงแห้งช้า ส่วนวัสดุที่มีการลวก นวดคลึง ทำให้เซลล์


แตกจึงแห้งเร็วกว่า
ขนาดและรูปร่าง ขนาดและรูปร่างมีผลต่อพื้นที่ผิวต่อน้ำหนัก เช่น
รูปร่างเหมือนกันขนาดเล็กจะมีพื้นที่ต่อน้ำหนักมากกว่าขนาดใหญ่จึง
แห้งเร็วกว่า แต่ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงพื้นที่ผิวที่สัมผัสกับอากาศที่เคลื่อนย้าย
ไอน้ำออกไปได้ ถ้าชิ้นเล็กมากทับถมกันการระเหยเกิดได้เฉพาะพื้นที่ผิว
ที่สัมผัสกับอากาศจึงเกิดได้ช้าทั้งๆ ที่พื้นที่ต่อหน่วยน้ำหนักมากตำแหน่ง
ของอาหารในเตา น้ำในวัสดุที่สัมผัสกับลมร้อนได้ดีกว่า หรือสัมผัสกับ
ลมร้อนที่มีความชื้นต่ำย่อมระเหยได้ดีกว่าความสามารถในการรับไอน้ำ
ของอากาศร้อน อากาศร้อนที่มีไอน้ำอยู่มากแล้วจะรับไอน้ำได้น้อย มี
ผลในช่วงอัตราการทำแห้งคงที่
อุณหภูมิของอากาศร้อน ถ้าอากาศมีความชื้นคงที่การเพิ่ม
อุณหภูมิเป็ นการเพิ่มความสามารถในการรับไอน้ำ จึงมีผลต่ออัตราการ
ทำแห้งคงที่และอุณหภูมิที่สูงขึ้นทำให้การแพร่กระจายของน้ำดีขึ้น จึงมี
ผลต่อช่วงการทำแห้งลดลงด้วย
บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ

คณะผู้จัดทำโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่อง เกม TF MATH จะ


กล่าวถึงวิธีการดำเนินการและเครื่องมือในการดำเนินการ ดังต่อไปนี้
1. ปฏิทินปฏิบัติงาน
2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
3. เครื่องมือทางคณิตศาสตร์
4. งบประมาณ
10

5. การประเมินงาน
1. ปฏิทินปฏิบัติงาน
ลำดั รายการ
ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
บที่
รวมกลุ่ม 3 คน ที่อยู่กิจกรรม
1 ชุมนุมคณิตศาสตร์ศึกษาวิธีทำ 22 พ.ค. 61 คณะผู้จัดทำ
โครงงาน
ประชุมวางแผนการจัดทำโครง
2 23 พ.ค. 61 ครูที่ปรึกษา
งาน
คิดหัวข้อโครงงาน พร้อมเขียน 24 – 25
3 คณะผู้จัดทำ
เค้าโครง โครงงานคณิตศาสตร์ พ.ค. 61
แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และ
5 25 พ.ค. 61 คณะผู้จัดทำ
วางแผนดำเนินงาน
ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับ
26 – 27
6 เรื่องพาราโบลา การตากแห้ง คณะผู้จัดทำ
พ.ค. 61
การสร้างเครื่องตากแห้ง
ออกแบบเครื่องตากแห้งแบบ
7 28 พ.ค. 61 คณะผู้จัดทำ
พาราโบลา
นำข้อมูลเสนออาจารย์ที่ ครูที่ปรึกษา/
8 29 พ.ค. 61
ปรึกษา คณะผู้จัดทำ

สร้างเครื่องตากแห้งตามที่ได้ 30 พ.ค.–5
9 คณะผู้จัดทำ
ออกแบบไว้ในลำดับที่ 7 มิ.ย. 61
11 นำเครื่องที่สร้างไปทดลองใช้ 6 มิ.ย. 61 คณะผู้จัดทำ
12 นำเครื่องตากแห้งแบบ 7 มิ.ย. 61 คณะผู้จัดทำ
11

พาราโบลาพลังงานแสงแดด
กับวัตถุดิบที่เตรียมไว้
เขียนรายงานโครงงาน
13 คณะผู้จัดทำ
คณิตศาสตร์
14 นำเสนอต่อครูที่ปรึกษา คณะผู้จัดทำ
15 แก้ไขปรับปรุงตามคำแนะนำ คณะผู้จัดทำ
จั ด ทำ รู ป เ ล่ ม ฉ บั บ ส ม บู ร ณ์
16 คณะผู้จัดทำ
พร้อมส่ง
ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์พร้อม
17 คณะผู้จัดทำ
แผงโครงงาน

2. ขั้นตอนการดำเนินงาน
2.1 กำหนดปั ญหาโครงงาน
2.2 ศึกษาเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับโครงงาน และ
ปรึกษาครูที่ปรึกษาโครงงาน
2.3 สร้างเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงานแสงแดด
2.3.1 ทดลองทำเครื่องตากแห้งจากแผ่นฟรอยด์จากสมการ
a
โดยมีจุดยอดที่จุด (0,0) และจุดโฟกัสอยู่ที่ ((0 , 4 ) ซึ่งหาค่า a จาก
2
x =ay
2
ซึ่ง L คือ ระยะความกว้างของพาราโบลา
L
a=
H
H คือ ความสูงของโค้งพาราโบลา
2.3.2 ทดลองโดยการนำกระดาษฟรอยด์มาตัดและทำเป็ นโค้ง
พาราโบลา โดยมี L=15, H=10 และค่าของจุดโฟกัสที่ได้คือ 5.625
และนำกระดาษฟรอยด์ไปติดกับกล่อง เพื่อให้เป็ นโค้งพาราโบลา
2.3.3 นำไปทดลองโดยใช้พลังงานแสงแดด
12

2.3.4 สร้างเครื่องตากแห้งจากแผ่นเหล็กและนำมาทพเป็ นโค้ง


พาราโบลาให้พอดีกับค่าที่คำนวณไว้ คือ L=30, H=18 ค่าจุดโฟกัสที่ได้
คือ 13
2.3.5 สร้างโครงยึดไว้เพื่อให้แผ่นเหล็กพาราโบลาที่ค่าคงที่ไม่
เคลื่อน
2.3.6 ทดลองโดยการนำกล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน ปลา
และเนื้อหมูไปตากแห้งที่เครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงาน
แสงแดด
2.4 รวบรวมข้อมูลและสรุปผล
2.5 รายงานฉบับสมบูรณ์พร้อมแผงโครงงาน
3. เครื่องมือทางคณิตศาสตร์
1. สถิติทางคณิตศาสตร์โดยใช้โปแกรมสำหรับรูป Microsoft
Office Excel 2007
4. วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ
1. แผ่นเหล็ก
2. ตะแกรงเหล็ก
3. กระดาษลัง
4. แผ่นฟรอยด์
5. กาว
6. กรรไกร
7. ไม้แบบ
8. วัตถุดิบ (กล้วย เปลือกมะม่วง ข้าวแตน ปลา และเนื้อหมู)
9. งบประมาณ 800 บาท
5. การประเมินงาน
13

5.1 สรุปบันทึกผลการดำเนินงานที่กำหนดในปฏิทินปฏิบัติงาน
5.2 เขียนสรุปและจัดทำรูปเล่มโครงงาน
บทที่ 4
ผลการดำเนินการ
คณะผู้จัดทำโครงงานคณิตศาสตร์ เรื่องเกม TF MATH จะกล่าว
ถึงผลการสร้างเกม TF MATH ตามจุดมุ่งหมายของโครงงาน ดังต่อไป
นี้
1. เพื่อศึกษาเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลา
2. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบน้ำหนักการตากแห้ง กล้วย เปลือก
มะม่วง ข้าวแตน ปลา และเนื้อหมู ด้วยเครื่องตากแห้งแบบพาราโบลา
พลังงานแสงแดดและการตากแห้งด้วยพลังงานแสงแดดแบบชาวบ้าน
ดั้งเดิม
ผลการตากแห้งโดยใช้เครื่องตากแห้งแบบพาราโบลาพลังงาน
แสงแดดที่จำลองที่ทำจากฟรอยด์
ตากแห้งด้วยพลังงาน เครื่องตากแห้งแบบ
แสงแดด พาราโบลาพลังงาน
แบบชาวบ้าน แสงแดด
น้ำ น้ำ % ของ น้ำ น้ำ % ของ
รายการ
หนัก หนัก น้ำหนัก หนัก หนัก น้ำหนัก
ก่อน หลัง ที่หายไป ก่อน ก่อน ที่หายไป
ตาก(ก ตาก(ก ตาก(ก ตาก(
รัม) รัม) รัม) กรัม)
กล้วย 300 278.85 300 257.8
7.05 3 7.05
14

เปลือก 300 258.47 300 233.5


มะม่วง 13.84 0 13.84
ข้าวแตน 300 270.85 300 235.4
9.72 5 9.72
ปลา 1,000 845.23 1,000 784.3
15.48 3 15.48
เนื้อหมู 500 375.45 500 325.6
24.91 4 24.91

ผลการตากแห้งโดยใช้เครื่องตากแห้งแบบพาราโบลา
พลังงานแสงแดดที่ทำจากแผ่นเหล็ก
ตากแห้งด้วยพลังงาน เครื่องตากแห้งแบบ
แสงแดด พาราโบลาพลังงาน
แบบชาวบ้าน แสงแดด
น้ำ น้ำ % ของ น้ำ น้ำ % ของ
รายการ
หนัก หนัก น้ำหนัก หนัก หนัก น้ำหนัก
ก่อน หลัง ที่หายไป ก่อน ก่อน ที่หายไป
ตาก(ก ตาก(ก ตาก(ก ตาก(
รัม) รัม) รัม) กรัม)
กล้วย 300 278.85 300 263.4 12.19
7.05 2
เปลือก 300 258.47 300 238.5 20.49
มะม่วง 13.84 2
ข้าวแตน 300 270.85 9.72 300 248.5 17.16
15

3
ปลา 1,000 845.23 1,000 803.1 19.69
15.48 5
เนื้อหมู 500 375.45 500 348.5 30.30
24.91 2

บทที่ 5
สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลองอบแห้งกล้วยด้วยตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์
ต้นทุนต่ำ ผลวิเคราะห์ข้อมูลด้านประสิทธิภาพการอบแห้งกล้วยที่น้ำ
หนักเริ่มต้น 2000 กรัมหรือ 2 กิโลกรัม อบแห้งเหลือน้ำหนัก 870.59
กรัม ซึ่งจากการทดลองใช้ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ต้นทุนต่ำ เปรียบ
เทียบการตากแห้งด้วยแดดธรรมดา ที่น้ำหนักผลิตภัณฑ์และในวันเวลา
เดียวกันสามารถเปรียบเทียบได้ว่า การทดลองใช้ตู้อบพลังงานแสง
อาทิตย์ต้นทุนต่ำ จะมีประสิทธิภาพดีกว่าการตากแห้งด้วยแดดธรรมดา
ดังนี้
1. อุณหภูมิในตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ต้นทุนต่ำ ต่ำสุดและสูงสุดอยู่
ที่ 36 และ 64.6 องศาเซลเซียส ตามลำดับ ซึ่งทำให้น้ำหนักหรือ
ความชื้นของกล้วยลดลงตามระยะเวลาในการอบแห้ง
2. น้ำหนักหรือความชื้นในผลิตภัณฑ์จากการอบแห้งจะน้อยกว่าการ
ตากแห้งธรรมดา
16

5.1 ข้อเสนอแนะ
1. ควรปรับปรุงตัวตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ต้นทุนต่ำให้กว้างกว่า
นี้อีกเพื่อจะได้ใช้ประโยชน์ได้สูงสุด

บรรณานุกรม

http://www.akesteel.com/index.php?mo=3&art=60347
http://www.green.kmutt.ac.th/elec/solar.html
http://th.wikipedia.org/wiki/
17

http://board.palungjit.com/
http://www2.egat.co.th/re/egat_business/egat_dryer/
egat_dryer.htm
http://www2.egat.co.th/re/egat_business/egat_dryer/
dryer_working.htm
http://www.solartec.or.th/view.php?grp=13|18|00&id=100
http://www.maceducation.com/e-knowledge/
2412212100/18.htm
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=0bcbc60d40ea1217
http://www.thaitennisboard.com/index.php?
topic=1121.0;wap2
กรมวิชาการศึกษา. คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, 2545 ก.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและ
พัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.) 2546.

เอกสารอ้างอิง
โชคชัย ธีรกุลเกียรติ. (2538). การถนอมอาหารและการแปรรูปด้วยการ
ท้าแห้ง. ใน เอกสาร
การสอนชุดวิชาการถนอมและการแปรรูปอาหาร หน่วยที่ 11 หน้า 1 –
30.
18

นนทบุรี: สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.


19

ภาคผนวก
20

บทคัดย่อ

เนื่องจากในชุมชนมีผลผลิตทางการเกษตรมากมาย ได้แก่ พืช


ผัก ผลไม้ และปลา ซึ่งในบางฤดูกาล ผลิตภัณฑ์มีปริมาณมากเกินความ
ต้องการของผู้บริโภคทางผู้จัดทำจึงคิดหาวิธีการถนอมอาหารโดยได้
ประดิษฐ์ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ต้นทุนต่ำขึ้นมาใช้ เพื่อแก้ปั ญหาดัง
กล่าว จากการหาประสิทธิภาพของตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ที่ผลิตขึ้นนี้
ผลปรากฏว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีคุณภาพดีกว่าการแตกแดดธรรมดา ซึ่งสิ่ง
ประดิษฐ์ที่สร้างขึ้นมีข้อเด่นคือ มีต้นทุนต่ำสามารถใช้ได้นาน และ
ยืดหยุ่นต่อการใช้งาน เพราะสามารถใช้กับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรได้
หลายชนิด อีกทั้งยังช่วยแก้ปั ญหาเรื่องฝนตกได้อีกด้วย ซึ่งจะทำให้
ผลิตภัณฑ์ที่ตากแดดนั้นเกิดการขึ้นราได้
ดังนั้นผู้ศึกษาจึงได้เปรียบเทียบกระบวนการถนอมอาหารจากการ
ตากแดดธรรมดา กับการใช้สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น ซึ่งผู้คิดค้น ได้ตั้งชื่อ
ว่า “ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์ต้นทุนต่ำ” โดยใช้ความสามารถของ
กระจกและคุณสมบัติของสีมาประยุกต์ใช้กับสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้ ซึ่งจาก
การหาประสิทธิภาพพบว่า เป็ นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้ได้จริงในชีวิตประจำวัน
21

You might also like