ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire alarm system)

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 231

ระบบสั ญญาณแจ้ งเหตุเพลิงไหม้ (Fire alarm system)

ระบบทางหนีไฟ (Mean of egress)


ระบบดับ เพลิง (Fire suppression) :
เครืองดับ เพลิงมือ ถือ (PORTABLE FIRE EXTINGUISHERS)
ระบบดับ เพลิง (Fire suppression) :
ระบบดับ เพลิงด้วยนํา (Water based fire protection)

NFPA 20: THE INSTALLATION OF STATIONARY PUMPS FOR FIRE PROTECTION


“อา ารสง” หมาย าม า อา ารทีบุ ลอาจเ า้ อยหรอเ า้ ส้ อยไ ้ ยมี ามสงตังแต 23.00
เมตร นไ การ ั ามสง องอา าร ห้ ั จากระ บั พน ินทีกอสร้าง งพน า ฟ้า สาหรับ
อา ารทรงจั หรอ ันหยา ห้ ั จากระ บั พน ินทีกอสร้าง งยอ นัง อง นสงสุ

กฎหมาย
“อา าร นา หญพิเศ ” หมาย าม า อา ารทีกอสร้าง นเพอ อ้ า ารหรอส นหนงส น
องอา ารเ นทีอยอาศัยหรอ ระกอบกิจการ ระเ ทเ ีย หรอหลาย ระเ ท ยมีพนทีร มกัน
ทุก นหรอ
ั นหนง
ั นั นหลังเ ีย กันตังแต 10,000 ตารางเมตร นไ

กฎหมาย
“พนที ินที เ้ นทีตังอา าร” หมาย าม า พนที องแ ลงที ินทีนามา ้ ออนุญาตกอสร้าง
อา าร ไม าจะเ นที ินตามหนังสอสา ญั แส งสิ ท ิ นที ิน บับเ ีย หรอหลาย บับ งเ น
ที ิน 2 ทีติ ตอกัน

“ า ฟ้า” หมาย าม า พนส นบนสุ องอา ารทีไมมีหลัง า ก ลุม และบุ ลสามาร น


ไ ส้ อยไ ้

กฎหมาย
“ นังกันไฟ” หมาย าม า นังทบทีกอ ้ ยอิ รรม าหนาไมน้อยก า 18 เ นติเมตร และไม
มี องที ห้ไฟหรอ นั านไ ้ หรอจะเ น นังทบทีทา ้ ย สั ุทนไฟอยางอนที ุณสมบัติ น
การ ้องไฟไ ้ ีไมน้อยก า นังทีกอ ้ ยอิ รรม าหนา 18 เ นติเมตร า้ เ น นัง อนกรี ต
เสริ มเหลก ต้องหนาไมน้อยก า12 เ นติเมตร

กฎหมาย
ระบบดับเพลิงดวยน้ํา
Water based fire protection
ระบบดับเพลิงดวยน้ํา
 เปนการดับไฟที่บริเวณตนเหตุของเพลิง ทําใหเพลิงดับลงอยางรวดเร็วเปนการยับยั้งการ
เกิดควันไฟและความรอนไมให ขยายตัวไปยังพื้นทีข่ า งเคียง และจะเปนระบบที่สมบูรณก็
ตอเมื่อระบบไดรับน้ําที่มีปริมาณและความดันเพียงพอ
ระบบสงน้ําดับเพลิง
การพิจารณาเลือกระบบสงน้ําดับเพลิงที่เหมาะสมสําหรับอาคารใหพิจารณาถึง
 อุปกรณที่ใชในระบบดับเพลิง
 อัตราการไหลของน้ําดับเพลิง
 ระยะเวลาที่ตองการใชในการดับเพลิง

อุปกรณที่ใชในระบบดับเพลิงดวยน้ํา เชน หัวกระจายน้ําดับเพลิง (Sprinkler Head) วาลว


สายฉีดน้ําดับเพลิง (Hose Valve) จะทํางานไดดีตามมาตรฐานจําเปนตองตอเขากับกับระบบ
สงน้ําดับเพลิงที่เชื่อถือไดที่สามารถจายน้ําดับเพลิงทีค่ วามดันและปริมาณน้ําเพียงพอสําหรับ
อุปกรณในระบบ เพื่อใชในการควบคุมเพลิงและตองมีความตอเนื่องของน้ําที่ใชดับเพลิงใน
ชวงเวลาที่ตองการ
ชนิดของระบบสงน้ํา
ระบบสงน้ําดับเพลิงที่ยอมรับใหใชได
 เครื่องสูบน้ําดับเพลิงตอกับถังเก็บน้ําดับเพลิงหรือแหลงน้ํา
 ถังสูงเก็บน้ําดับเพลิง
 ถังน้ําความดัน
Fire pump
เครื่องสูบน้ําดับเพลิงและการติดตั้ง
 เครื่องสูบน้ําดับเพลิง มอเตอร หรือ เครื่องยนต และชุดควบคุม จะตองผานการรับรองจาก
สถาบันที่เชื่อถิอได
 ความดันที่อัตราการไหลเทากับศูนย เมื่อเดินเครื่องสูบน้ําดับเพลิง รวมกับความดันสถิตย
ทางดานดูดของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง จะตองไมเกินกวาความดันใชงานของอุปกรณในระบบ
ดับเพลิง
 เครื่องสูบน้ําดับเพลิงจะตองมี อัตราสูบสงน้ําดับเพลิงตั้งแต 100 – 5,000 GPM ดวยความ
ดันสุทธิ 40 PSI หรือมากกวา
Engine Driver

Battery for Engine Diesel Engine


Electrical Driver
Generator
Electric Motor

Generator Electric Motor


ประเภทของเครื่องสูบน้ํา
1. เครื่องสูบน้ําดับเพลิงหอยโขงแกนนอน (HORIZONTAL SPLIT CASE)
2. เครื่องสูบน้ําดับเพลิงแกนตั้ง (VERTICAL TURBINE)
เครื่องสูบน้ําดับเพลิงหอยโขงแกนนอน (HORIZONTAL SPLIT CASE)
เครื่องสูบน้ําดับเพลิงหอยโขงแกนนอน (HORIZONTAL SPLIT CASE)
เครื่องสูบน้ําดับเพลิงหอยโขงแกนนอน (HORIZONTAL SPLIT CASE)

• า้ มติดตังเครือง บนําดับเพลิง อย ง นนอน บนํา า ...


ลงนํา รือถังเ บนํา มระดับนํา ติตาํ วาตัวเครือง บนําดับเพลิง
เครื่องสูบน้ําดับเพลิงควรจะมีอุปกรณประกอบรวมดังตอไปนี้ คือ
• มาตรวัดความดันทางดานสง ขนาดเสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 90 mm (3 1/2 in.)
พรอมกับประตูน้ําขนาด 6.25 mm (1/4 in.) หนาปทมสามารถอานคาความดันไดไมนอย
กวา 2 เทา ของความดันที่กําหนดของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงหรือไมนอยกวา 200 PSI
• มาตรวัดความดันทางดานดูด เปนมาตรวัดที่อานคาสูญญากาศได มีขนาด
เสนผาศูนยกลางไมนอยกวา 90 mm (3 1/2 in) พรอมกับประตูน้ําขนาด 6.25 mm (1/4
in.) หนาปทมสามารถอานคาความดันไดไมนอยกวา 2 เทา ของความดันดานดูดที่กําหนด
ของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงหรือไมเกินกวา 100 PSI
• วาลวระบายความดันน้ําอัตโนมัติ (Relief Valve)
เพื่อปองกันความดันน้ําในระบบสูงเกินไป
• มาตรวัดอัตราการไหลของน้ํา
การติดตั้งเครื่องสูบน้ําดับเพลิงและชุดขับเคลื่อน
• เครื่องสูบน้ําดับเพลิงและชุดขับเคลื่อนจะตองติดตั้งบนแทนเดียวกันโดยตอผานขอตอ
ชนิด Flexible Coupling เพื่อทําใหเพลาของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงไดศูนย
• แทนเครื่องสูบน้ําดับเพลิงและชุดขับเคลื่อน ตองทําจากเหล็กรูปพรรณใหมีความมั่นคง
แข็งแรง
• แทนเครื่องสูบน้ําดับเพลิงและชุดขับเคลื่อนจะตองยึดติดอยางมั่นคงแข็งแรงกับฐาน
คอนกรีต


Ŀ↨ ╔
ŃⁿčŚσ
Ź·
ระบบควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงนั้น
สามารถทําได 2 ประเภท ทั้งดวยมือและอัตโนมัติในแผงควบคุมเดียวกัน
ระบบขับเคลื่อนเครื่องสูบน้ําดับเพลิง
ระบบขับเคลื่อนเครื่องสูบน้ําดับเพลิง แบงเปน 2 ประเภทคือ
- ขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟา
- ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนต
• สําหรับเครื่องสูบน้ําดับเพลิงที่ขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟา จะตองใชกําลังไฟฟาจากแหลงจาย
ไฟฟาที่เชื่อถือได เชน จายโดยตรงมาจากหมอแปลงไฟฟา หรือเครื่องกําเนิดไฟฟา
• สําหรับเครื่องสูบน้ําดับเพลิงที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนต ถังน้ํามันดีเซลของเครื่องยนต ตองติดตั้ง
เหนือพื้นและหามฝงดิน ถังน้ํามันจะตองมีความจุสํารองเชื้อเพลิงใชเดินเครื่องยนตขับเครื่องสูบน้ํา
ดับเพลิงไดไมนอยกวา 8 ชั่วโมง
• มีปริมาตรน้ํามันสํารองไมนอยกวารอยละ 50 ของความจุถัง กรณีที่ติดตั้งเครื่องยนตมากกวา 1
ชุด จะตองติดตั้งถังน้ํามันของเครื่องยนตแตละชุดโดยอิสระตอกัน
หองเครื่องสูบน้ําดับเพลิง
• ใหอยูที่ระดับพื้นชั้นลางหรือระดับที่ไดรับการปองกันจากน้ําทวม
• มีการระบายอากาศไดดี
• พนักงานดับเพลิงสามารถเขาถึงไดสะดวก
• หองเครื่องสูบน้ําดับเพลิงภายในอาคารจะตองทนไฟ 2 ชั่วโมง
ยกเวน ถาติดตั้งระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง การทนไฟสามารถลดเหลือ 1 ชั่วโมง
• ตองติดตั้งไฟสองสวางฉุกเฉินสามารถจายไฟไดตอเนื่องไมนอยกวา 2 ชั่วโมง
การติดตั้งเครื่องสูบน้ําดับเพลิงแบบ Horizontal split case
Horizontal Split-Case Fire Pump Installation with Water Supply Under a Positive Head
1. ถังเก็บน้ําดับเพลิง
2. หัวดูดพรอมแผนกันน้ําวนขนาดไมนอยกวา 2 เทาของเสนผานศูนยกลางทอดูด มีระยะจากกนถังถึงหัวดูดไมนอยกวา 1/2
เทาของเสนผานศูนยกลางทอดูด แตตองไมนอยกวา 150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว)
3. ทอดูด
4. ขอตอออน ในกรณีที่มีความเคน (Strain) ภายในทอ
5. ประตูน้ําชนิดที่บอกไดวาอยูในตําแหนงปดหรือเปด (ชนิด OS&Y Gate Valve)
6. ขอตอลดแบบเยื้องศูนยดานบนราบ (Eccentric Reducer)
7. มาตรวัดความดันทางดานดูด
8. เครื่องสูบน้ําดับเพลิง
9. วาลวระบายอากาศอัตโนมัติ (Automatic Air Vent)
10. มาตรวัดความดันทางดานสง
11. วาลวกันน้ําไหลกลับ (Check Valve)
12. ทอสงน้ําดับเพลิง
13. หัวตอสายสงน้ําดับเพลิง (ใชสําหรับกรณีที่ไมมีอุปกรณวัดอัตราการไหลของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง)
14. ที่รองรับทอ
15. ประตูน้ําชนิดที่บอกไดวาอยูในตําแหนงปดหรือเปด
16. ขอตอรูปตัวที
17. วาลวระบายน้ําอัตโนมัติ (Relief Valve)
18. วาลวระบายน้ําหมุนเวียนอัตโนมัติ (Circulation Relief Valve) สําหรับเครื่องสูบน้ําขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟา
19. แทนเครื่องสูบน้ํา
การติ ตังเ รองสบนา บั เพลิงแบบ Vertic
1. หัวกรองดานดูด
2. หัวดูด
3. ชุดสูบน้ํา (Pump Bowl Assembly)
4. ทอสงน้ําและแกนเพลาเครื่องสูบน้ํา
5. หัวเครื่องสูบน้ําดานสง
6. ชุดขับเกียรเปลี่ยนทิศ หรือ ชุดขับมอเตอรไฟฟา
7. มาตรวัดความดันทางดานสง
8. วาลวระบายอากาศอัตโนมัติ (Automatic Air Vent)
9. ขอตอดานสงตัวที
10. วาลวกันน้ําไหลกลับ (Check Valve)
11.ประตูน้ําชนิดที่บอกไดวาอยูในตําแหนงปดหรือเปด
12. หัวตอสายสงน้ําดับเพลิง (ใชสําหรับกรณีที่ไมมีอุปกรณวัดอัตราการไหลของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง)
13. ทอสงน้ําดับเพลิง
14. ที่รองรับทอ
15. วาลวระบายน้ําอัตโนมัติ (Relief Valve) สําหรับเครื่องสูบน้ําที่ใชเครื่องขับเคลื่อนที่สามารถปรับรอบได
เครื่องสูบน้ํารักษาความดัน (Jockey Pump)
• เปนเครื่องสูบน้ําขนาดเล็ก ใชรักษาความดันในระบบเพื่อลดการทํางานของเครื่องสูบน้ํา
ดับเพลิงโดยไมจําเปน
• เครื่องสูบน้ํารักษาความดันนี้จะตองทํางานโดยอัตโนมัติโดยผานสวิตชความดัน (Pressure
switch) ที่ตั้งคาไวไมนอยกวาความดันใชงานของระบบดับเพลิง
การตอทอทางดูดของ Fire Pump
Right and wrong pump suction

น้ําไหลเขา pump ไมเต็มหนาตัด


ทอ เกิด air pocket

ตองการระยะอยางนอย 10D กอน


เขาทอทางดูดของ pump ไม
ตองการใหเปนการไหลแบบ
ปนปวนกอนเขา fire pum
Fire Pump and Valves

Fire Pump

OS& Y Gate Valve Strainer Relief Valve Check Valv


Inlet and outlet
Gate valve

Gate valve Gate valve Gate valve


On-off valve On-off valve On-off valve
Wheel manual control Wheel manual control Electrical motor/manual contro
 การตอระบบทอเขากับระบบสงน้ํา จะตองมีวาลวควบคุมชนิดที่บอกตําแหนงการปด-เปด
(Indicating Type Valve)
 วาลวในระบบอาจจะเปน Butterfly valve หรือ OS&Y Gate valve (Outside Screw
and York Gate valve) ก็ได แตตองมี indicator
 (OS&Y gate valve เวลาอยูในตําแหนงเปดสุดกานของวาลวไมกีดขวางการไหลของน้ําลด
การไหลแบบปนปวนของน้ํา)
Outside screw and yoke valves (OS&Y valves) can be determined to be in the open or
closed position by observing the position of the stem with respect to the valve wheel.
OS&Y, butterfly, and post indicator valves can also be locked open with pad-locks and
chains, or monitored electronically in the open position with temper switches that
send a signal when the valve is not fully open.
Gate valve (Butterfly valve)

Butterfly valve Butterfly valve Butterfly valve


On-off valve On-off valve On-off valve
Lever manual control Wheel and gear manual control Electrical motor/manual control
Swing check valve
Flow check valve (Spring check valve)
Flow check valve (Butterfly spring check valve)
A post indicating valve is a valve with a window that reads “open” or “shut” and is
manufactured in two varieties:
1. A wall post indicator valve, with a shaft that extends through a wall for the operation of
a sprinkler control valve from outside a building.
2. A post indicator valve, with a shaft that extends above grade from an underground fire
protection main, for the operation of an underground water supply.
Supervisory switch
แผนผังแสดงการติดตัง และ มาตรวัดอัตราการ หล
การติดตั้ง มาตรวัดอัตราการไหลของน้ํา ระยะไมนอยกวา 5 เทาของเสนผานศูนยกลางทอดูด
กรณีตอทอดานบนหรือดานลาง หากมีความจําเปนตองตอทอดานขางระยะตองไมนอยกวา 10
เทาของเสนผานศูนยกลางทอดูด
ใหติดตั้งวาลวระบายอากาศอัตโนมัติกรณีมีการเดินทอแบบยูคว่ําหรือแบบอื่นที่ทําใหเกิด
การขังของอากาศ ตองมีทางออกของน้ําที่ใชในการทดสอบเครื่องสูบน้ําดับเพลิง และ
ระบบทอจากแหลงน้ํา
วาลวสัญญาณระบบทอเปยก (Wet Pipe Alarm Valve)
ติดตั้งวาลวสัญญาณซึ่งทําหนาที่สงเสียงเตือนภัยดวยระฆังน้ํา (Water Motor Gong) พรอมสง
สัญญาณแจงเหตุไปยังระบบเตือนอัคคีภัย (Fire Alarm System) ดวย Pressure Switch ที่ติดตั้ง
มาดวย วาลวสัญญาณยังทําหนาที่เปนตัวบอกโซน (Zone) ของพื้นที่ปองกันที่เกิดเพลิงไหม กรณีที่
พื้นที่นั้นแบงออกเปนหลายโซน
Sprinkler system components
The minimum pressure rating required by NFPA13 for all system
components is 175 psi.
Sensor and Control

Fire Pump Controller

Pressure Switc
Pilot Piping
การควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้ําในระบบดับเพลิง
• เครื่องสูบน้ําดับเพลิงแตละชุดตองมีแผงควบคุมแยกเปนอิสระหามใชรวมกัน
• แผงควบคุมเครื่องสูบน้ําดับเพลิงแตละชุดตองมีทอสงความดันไปยังสวิทซความดันแยก
เปนอิสระหามใชรวมกัน
• แผงควบคุมเครื่องสูบน้ํารักษาความดันแตละชุดตองมีทอสงความดันไปยังสวิทซความ
ดันแยกเปนอิสระหามใชรวมกัน
Piping Connection for Pressure Sensing Line
การทดสอบเครือ่ งสูบน้ําดับเพลิง
หลังจากติดตั้งชุดเครื่องสูบน้ําดับเพลิงเสร็จเรียบรอยแลวจะตองทําการทดสอบการ
ทํางานของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงและอุปกรณประกอบจนมั่นใจวาทํางานไดถูกตอง
สมบูรณตรงตามความตองการ โดยจะตองจัดทํารายงานสรุปผลการทดสอบเครื่องสูบ
น้ําดับเพลิงดับเพลิงและอุปกรณประกอบจะตองประกอบดวยรายละเอียดตาง ๆ
ดังนี้คือ
การทดสอบเครื่องสูบน้ําดับเพลิงที่ขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟา
1. กระแสไฟฟาเมื่อเริ่มสตารท
2. กระแสไฟฟาเมื่อเดินเครื่องสูบน้ําดับเพลิงตามปกติแลว
3. ความดันน้ําทางดานสงของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง
4. ความดันน้ําทางดานดูดของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงเริ่มทํางาน
5. อัตราการสูบน้ําที่คาความดันตางๆ
6. ความดันน้ําที่ทําใหวาลวระบายน้ําอัตโนมัติทํางาน
การทดสอบเครื่องสูบน้ําดับเพลิงที่ขับเคลื่อนดวยเครื่องยนต
1. รอบการทํางานของเครื่องยนต
2. ผลการทํางานของระบบสตารทเครื่องยนต
3. ผลการทํางานของระบบปองกันเครื่องยนตตาง ๆ เชน สัญญาณแจงเหตุ เมื่อความรอนสูง
เกินไป รอบเครื่องยนตสูงเกินไป ระดับน้ํามันต่ําไป เปนตน
4. ความดันน้ําทางดานสงของเครื่องสูบน้ําดับเพลิง
5. ความดันน้ําทางดานดูดของเครื่องสูบน้ําดับเพลิงเริ่มทํางาน
6. อัตราการสูบน้ําที่คาความดันตางๆ
7. ความดันน้ําที่ทําใหวาลวระบายน้ําอัตโนมัติทํางาน
การดูแลรักษาเครือ่ งสูบน้าํ ดับเพลิง
• ตองจัดใหมีเจาหนาที่ที่มีความรูเพียงพอกับการดูแลรักษาเครื่องสูบน้ําดับเพลิงเพื่อ
ทําหนาที่เดินทดสอบเครื่องสูบน้ําดับเพลิง และอุปกรณเปนประจํา พรอมทั้งคอย
ตรวจสอบและซอมบํารุงตามความจําเปน เพื่อใหเครื่องสูบน้ําดับเพลิงอยูในสภาพที่
พรอมที่จะใชงานไดอยูเสมอ
• การทดสอบเดินเครื่องสูบน้ําดับเพลิงขับเคลื่อนดวยเครื่องยนตดีเซลใหทําเปน
ประจําอยางนอยสัปดาหละหนึ่งครั้ง
• การทดสอบเดินเครื่องสูบน้ําดับเพลิงขับเคลื่อนดวยมอเตอรไฟฟาใหทําเปนประจํา
อยางนอยเดือนละหนึ่งครั้ง
ตร จ ามพร้อม องแบตเตอรี อง FP าอย นส าพพร้อม ง้ านหรอไม
งั เกบนามัน ีเ ล รมีการทาเ อน ้องกันการหกกระจาย องนามันเ อเพลิง
ระบบท่อยืน
10,000
้ อ 18 อา ารสงหรออา าร นา หญพิเศ ต้ องมีระบบ ้ องกันเพลิงไหม้
ง ระกอบ ้ ยระบบทอยน ทีเกบนาสารอง และหั รับนา บั เพลิง งั ตอไ นี
ระบบทอยนและสาย ี นา บั เพลิง ระเ ท องการ ง้ าน แบงออกเ น 3 ระเ ท งั นี

ระเ ทที 1
ติ ตัง าล สาย ี นา บั เพลิง นา 65 mm (2 1/2 in) สาหรับพนักงาน บั เพลิงหรอ ท้ ีไ ้
านการ ก นการ ส้ าย ี นา บั เพลิง นา หญเทานัน

ระเ ทที 2
ติ ตัง ุ สาย ี นา บั เพลิง นา 25 mm (1 in) หรอ 40 mm (1 1/2 in) สาหรับ ้ อ้ า าร
เพอ ้ นการ บั เพลิง นา เลก

ระเ ทที 3
ติ ตัง ุ สาย ี นา บั เพลิง นา 25 mm (1 in) หรอ 40 mm (1 1/2 in) สาหรับ ้ อ้ า าร
และ าล สาย ี นา บั เพลิง นา 65 mm (2 1/2 in) สาหรับพนักงาน บั เพลิงหรอ ท้ ี
ไ ร้ ับการ ก น นการ ส้ าย นา หญ
ระบบทอยนและสาย ี นา บั เพลิง ระเ ท องการ ง้ าน แบงออกเ น 3 ระเ ท งั นี

ระเ ทที 1
ติ ตัง าล สาย ี นา บั เพลิง นา 65 mm (2 1/2 in) สาหรับพนักงาน บั เพลิงหรอ ท้ ีไ ้
านการ ก นการ ส้ าย ี นา บั เพลิง นา หญเทานัน

ระเ ทที 2
ติ ตัง ุ สาย ี นา บั เพลิง นา 25 mm (1 in) หรอ 40 mm (1 1/2 in) สาหรับ ้ อ้ า าร
เพอ ้ นการ บั เพลิง นา เลก

ระเ ทที 3
ติ ตัง ุ สาย ี นา บั เพลิง นา 25 mm (1 in) หรอ 40 mm (1 1/2 in) สาหรับ ้ อ้ า าร
และ าล สาย ี นา บั เพลิง นา 65 mm (2 1/2 in) สาหรับพนักงาน บั เพลิงหรอ ท้ ี
ไ ร้ ับการ ก น นการ ส้ าย นา หญ
H
H
อุ กรณเกบสาย ี นา บั เพลิง (Hose Reel or Hose Rack)
(1) สาหรับสาย ี นา บั เพลิง นา 25 mm (1 in.) จะต้องม้ นอย นกงล้อ (Reel) และ
สามาร งออกมา ง้ านไ ท้ นั ที ส นสาย ี นา บั เพลิง นา 40 mm (1 ½ in.
จะต้องจั ห้มีทีแ นเกบ (Rack) สาย ี นา บั เพลิง หรออุ กรณ งั กลา ทังหม จั
าง ห้สะ กตอการ ้ นต้ บั เพลิง
(2) ต้องจั ห้มี ้ายแส ง งการ ส้ าย ี นา บั เพลิง และอุ กรณ ยแส งเ น
ร าพและตั อัก รทีมี นา เหมาะสมเหนไ ้ ั และเ า้ จงาย

H
H
หั รับนา บั เพลิง (Fire Department Connection FDC)
จะต้องจั ห้มีหั รับนา บั เพลิงอยางน้อย 1 หั
สาหรับตกสงทีมีการแบงระบบทอยนออกเ น น นแน ิงจะต้องจั ห้มีหั รับนา
บั เพลิงสาหรับแตละ น
ไม ห้มี าล ิ -เ ิ ระห างหั รับนา บั เพลิงกับระบบทอยน
ห้ติ ตังเ าล สาหรับหั รับนา บั เพลิงทุกจุ ทีตอเ า้ กับระบบทอยน
หั รับนา บั เพลิงจะต้องเ น นิ อ้ ตอส มเร ตั ้ พร้อม า รอบตั เมียและ ล้อง
หั รับนา บั เพลิงจะต้องติ ตังอย นที พนักงาน บั เพลิงเ า้ งไ ้ ยงาย และไมมี
อุ สรร และอย กล้กบั หั บั เพลิงสา ารณะ (Public Hydrant)
้ บเพลิงจะต ้องติดตังอยู
 หัวร ับนํ าดั ้ ่ในที่ ๆ พนักงานดับเพลิงเข ้าถึงได ้โดยง่าย
และไม่มอ ี ป
ุ สรรคใด ๆ และอยู่ใกล ้กับหัวดับเพลิงสาธารณะ Public Hydrant)
 ให ้มีป้ายตัวอักษรอ่านได ้ช ัดเจนขนาด มิลลิเมตร นิ ว้ แสดงถึงระบบ
ท่อยืนว่าเป็ นชนิ ดใด เช่น ระบบท่อยืน หรือถ ้าจ่ายให ้กับระบบหัวกระจาย
้ บเพลิงด ้วย เช่น ระบบท่อยืนและหัวกระจายนํ าดั
นํ าดั ้ บเพลิง
 ในกรณี ทหั ี่ วร ับนํ าดั
้ บเพลิงจ่ายให ้เฉพาะบางส่วนของอาคารจะต ้องจัดให ้มี
ป้ ายตัวอักษรบ่งบอกอย่างช ัดเจนว่าจ่ายนํ าให ้ ้กับส่วนใดของอาคาร
 ระดับติดตังหั ้ วร ับนํ าดั
้ บเพลิงควรติดตังในระดั
้ ่ กงานดับเพลิงสามารถ
บทีพนั
ต่อสายดับเพลิงได ้อย่างสะดวก
ทอยนทีมี ามสงไมเกิน 30 เมตร นา องทอจะต้องไมเลกก า 4 นิ
ทอยนทีมี ามสงเกินก า 30 เมตร นา องทอยนจะต้องไมเลกก า 6 นิ
อุ กรณล าม นั จะต้องมี าม นั าเ า้ ไมเกินก า าม นั ง้ าน (Working
Pressure) องอุ กรณล าม นั ทีจะนามา ้
ทอนาและอุ กรณอน ทังหม นระบบจะต้องมีอตั ราทน าม นั ง้ านไ ไ้ มน้อย
ก า 175 PSI
นา ทอยนร มต้องมี นา ไมเลกก า 6 นิ ยกเ น้ อา ารทีติ ตังระบบหั กระจาย
นา บั เพลิงอัต นมัติ ง นา ทอทังหม ไ ม้ าจากการ าน ณทางกลศาสตร องไหล
(Hydraulically Calculated)
นา ทอยนสาหรับอา ารสงจะต้อง ก้ าร าน ณทางกลศาสตร องไหล
กฎกระทรวงฉบับที่ 33
้ั
ทุกชนของอาคารต ้ บเพลิง ทีประกอบด
้องจัดให ้มีตู ้สายฉี ดนํ าดั ่ ้ บเพลิง
้วยหัวต่อสายฉี ดนํ าดั

พร ้อมสายฉี ดนํ าเพลิงขนาด ้ บเพลิงขนาด
และหัวต่อสายฉี ดนํ าดั
ทุกระยะห่างกันไม่เกิน

ริ มาณการสงจายนาสาหรับทอยน
(1) ต้องมีอตั ราการไหลไมน้อยก า 500 GPM เ นระยะเ ลาไมน้อยก า 30 นาที

(2) นกรณี ทีระบบทอยนมีมากก าหนงทอ ริ มาณการสงจายนาจะต้องไมน้อยก า 500


GPM สาหรับทอยนทอแรกและ 250 GPM สาหรับทอยนแตละทอทีเพิม น นกรณี ที
ริ มาณการสงนาร ม องทอยนเกิน 1,250 GPM ห้ ้ ริ มาณการสงนาที 1,250 GPM
หรอมากก าไ ้
การหาอัตราการไหล องทอยน

00 2 0 2 0 2 0 ถ้า 12 0
ามารถเลือ 1250 รือ คํานว ด้

ลง ายนําดับเพลิง
500 250 250 250
l s l s l s l s
มายเ ต 1 1
ม งิ ด วาง าํ เ้ า้ ถง าย ดนํา
ดําเพลิงลําบา
FDC ต้องม า้ ย ดงวาเ น “ วั
รับนําดับเพลิง” อย นตํา นง
ามารถมองเ น ด้อยาง ดั เ น
H องอาคารอย น าพ
าํ รด มพร้อม ง้ าน
FDC มม า ิ ด ละ วง คล้อง
FDC ติดตัง นตํา นง ยา ตอ าร
เ า้ ถง น ะเ ิดเพลิง ม้
Sprin ler
้อ 20
Sprin ler s ste s t ersus Fact
M

F
E

O

I
M S
F
 I

 A

 I
M S
F
M

T
M A

F
A

D
Sprin ler s ste definitions

A
AH

AH

L
U L UL

T NFPA

AH

I
AH
S

P 111

P
T pes of sprin ler
Sprin lers

 UL FM



S
U P S

1 U

2 P
3 S

U
หั า (Pendent) : ติ ตัง นบริ เ ณทีเพ านทีมี าเพ าน เ น บริ เ ณ าย นอา าร
หั หงาย (Upright) : ติ ตัง นบริ เ ณทีไมมี าเพ าน เ น บริ เ ณอา ารจอ ร
หั กระจายนา บั เพลิง นิ ติ กาแพง (side) : ติ ตังไ เ้ พาะพนที รอบ รองอันตรายน้อย
(Light Hazard) และมีเพ านเรี ยบ
Sprin ler s ste t pes
1
2 D
3 P
4 D
Wet pipe s ste


1 นํา า ระบบ งนําดับเพลิง 6 อยอย
2 วาล์วควบคม 7 วั ระ ายนําดับเพลิง
3 วาล์ว ั า 8 ถาน ด อบระบบ
4 อเมน นวดิง 9 วั รับนําดับเพลิง
5 อเมน นวนอน 10 อระบายนํา องวาล์ว ั า
r pipe s ste
D

D

NFPA 13
0
elu e s ste
R

U

U
H

A
T

A
T

T
I

M
Preaction system
Requires fire detectors for the actuation of the system.
Have closed heads and pipes filled with pressurized air that supervise a piping system, and
can be considered for the protection of valuable or irreplaceable property.
Pre-Action Valve จะเ ิ ออก ้ ยสัญญาณระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ แตนาจะยังไมไหลออก
จากหั sprinkler จนกระทังหั sprinkler จะแตกออก ้ ย ามร้อน
นิยม ้ นระบบที ้องกันอุ กรณทีมีมล าสง
Pipin and tubin
M A S T M
ASTM
M A N S I ANSI
M 1
10 40
P 1
0
oinin et ods
ร บบ าร ดั วาง อ
องระบบ sprin ler
eter ine s ste t pe and confi uration
1 T
2
3 L
enter fed et pipe tree s ste
T

T
End fed dr pipe tree s ste s
T
Wet pipe rid s ste r pipe rid are pro ibited)
A

A

D
Looped dr pipe s ste
A
T
Sprin ler Installation
ระยะหางระห างหั กระจายนา บั เพลิงอัต นมัติ
นพนทีเพ านเรี ยบทีไมมีสิงกี าง จะต้องติ ตัง ห้ตาแหนง
อง อยตาจากเพ านระห าง 1 12 นิ
หาก นพนทีมีสิงกี างเ น าน สามาร ติ ตัง นตาแหนง อง D
อยตาก า อบลาง อง าน ระห าง 1-12 นิ ไ ้ แตต้องไมตาก า 22 นิ เมอ ั
จากเพ าน
วั S าง า เพดานเ ินมาตร าน
อุณห มิทางาน องหั กระจายนา บั เพลิงอัต นมัติ
การท สอบระบบหั กระจายนา บั เพลิงอัต นมัติ
ถาน ด อบ ระ าํ นั (F T S : ติดตังเพือ
ด อบ าร าํ งาน องอ ร ์ ง ั า าร ล องนําวา าํ งาน ด้
ด รือ ม
การท สอบระบบหั กระจายนา บั เพลิงอัต นมัติ
ถาน ด อบระบบ S
T S : ดยติดตัง
อยอย ล ด ดย
ระ อบ อ้ ตอ ติดตังออริฟิ
(O นาดเ า บั วั
ระ ายนําดับเพลิง ติดตัง ( วั
ร ติ นาด
เ า บั นิว)
หน้า ๒๔
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

กฎกระทรวง
กาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดาเนินการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานเกี่ยวกับการป้องกันและระงับอัคคีภยั
พ.ศ. ๒๕๕๕

อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง และมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ


ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ อันเป็นกฎหมายที่มี
บทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกับ
มาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้
โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัตแิ ห่งกฎหมาย รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงแรงงานออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“อาคาร” หมายความว่า ตึก บ้าน เรือน โรง ร้าน แพ คลังสินค้า สานักงาน และสิ่งที่
สร้างขึ้นอย่างอื่นที่มีลูกจ้างทางานอยู่
“สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างเบา” หมายความว่า สถานที่ที่มีวัตถุซึ่งไม่ติดไฟ
เป็นส่วนใหญ่ หรือมีวัตถุติดไฟได้ในปริมาณน้อยหรือมีวัตถุไวไฟในปริมาณน้อยที่เก็บไว้ในภาชนะปิดสนิท
อย่างปลอดภัย
“สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างปานกลาง” หมายความว่า สถานที่ที่มีวัตถุไวไฟ
หรือวัตถุติดไฟได้ และมีปริมาณไม่มาก
“สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างร้ายแรง” หมายความว่า สถานที่ที่มีวัตถุไวไฟ
หรือวัตถุติดไฟได้ง่าย และมีปริมาณมาก
“เพลิงประเภท เอ” หมายความว่า เพลิงที่เกิดจากเชื้อเพลิงธรรมดา เช่น ไม้ ผ้า กระดาษ ยาง
พลาสติก รวมทั้งสิ่งอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน
“เพลิงประเภท บี” หมายความว่า เพลิงที่เกิดจากไขหรือของเหลวที่ติดไฟได้ ก๊าซ และ
น้ามันประเภทต่าง ๆ
“เพลิงประเภท ซี” หมายความว่า เพลิงที่เกิดจากอุปกรณ์หรือวัตถุที่มีกระแสไฟฟ้า
หน้า ๒๕
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

“เพลิงประเภท ดี” หมายความว่า เพลิงที่เกิดจากโลหะต่าง ๆ ที่ติดไฟได้ เช่น แมกนีเซียม


เซอร์โคเนียม ไทเทเนียม รวมทั้งโลหะอื่นที่มีลักษณะเดียวกัน
“วัตถุระเบิด” หมายความว่า วัตถุระเบิดตามกฎหมายว่าด้วยอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน
วัตถุระเบิด ดอกไม้เพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปืน หรือวัตถุที่สามารถระเบิดได้เมื่อได้รับความร้อน ประกายไฟ
เปลวไฟ หรือเมื่อได้รับการกระทบกระเทือน การเสียดสี หรือถูกกระทาโดยตัวจุดระเบิด
“วัตถุไวไฟ” หมายความว่า วัตถุที่มีคุณสมบัติติดไฟได้ง่ายและสันดาปเร็ว
“เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้” หมายความว่า เครื่องดับเพลิงซึ่งมีลักษณะเป็นอุปกรณ์
ที่เคลื่อนย้ายได้โดยสะดวก และใช้งานด้วยมือ ภายในบรรจุสารดับเพลิงซึ่งสามารถขับออกได้โดยใช้แรงดัน
เช่น เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ แบบยกหิ้ว แบบลากเข็น หรือลักษณะอื่นใดที่คล้ายกัน
“ระยะเข้าถึง” หมายความว่า ระยะทางที่ผู้ปฏิบัติงานสามารถเข้าถึงเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้
เพื่อดับเพลิง ณ จุดนั้น ๆ
หมวด ๑
บททั่วไป

ข้อ ๒ ให้ น ายจ้ า งจั ด ให้ มี ร ะบบป้ อ งกั น และระงั บ อั ค คี ภั ย ในสถานประกอบกิ จ การ
ตามกฎกระทรวงนี้ และต้องดูแลระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและปลอดภัย
ข้อ ๓ ในสถานประกอบกิจการทุกแห่ง ให้นายจ้างจัดทาป้ายข้อปฏิบัติเกี่ยวกับการดับเพลิง
และการอพยพหนีไฟ และปิดประกาศให้เห็นได้อย่างชัดเจน
ข้อ ๔ ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่สิบคนขึ้นไป นอกจากต้องปฏิบัติตามข้อ ๓ แล้ว
ให้นายจ้างจัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย ประกอบด้วยการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์
ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และการบรรเทาทุกข์
ให้ น ายจ้า งจัด เก็บแผนป้องกัน และระงับ อัคคีภัย ณ สถานประกอบกิจการพร้ อมที่จะให้
พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้
ข้อ ๕ อาคารที่ มี ส ถานประกอบกิ จ การหลายแห่ ง ตั้ ง อยู่ ร วมกั น ให้ น ายจ้ า งทุ ก รายของ
สถานประกอบกิจการในอาคารนั้นมีหน้าที่ร่วมกันในการจัดให้มีระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย รวมทั้ง
แผนป้องกันและระงับอัคคีภัยด้วย
ข้อ ๖ ในกรณีที่นายจ้างสั่งให้ลูกจ้างทางานที่มีลักษณะงานหรือไปทางาน ณ สถานที่ที่เสี่ยง
หรืออาจเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย ให้นายจ้างแจ้งข้อปฏิบัตเิ กีย่ วกับความปลอดภัยในการทางานให้ลูกจ้างทราบ
ก่อนการปฏิบัติงาน
หน้า ๒๖
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

ข้อ ๗ ให้นายจ้างจัดเก็บวัตถุต่าง ๆ ดังต่อไปนี้


(๑) วัตถุซึ่งเมื่อรวมกันแล้วจะเกิดการลุกไหม้หรืออาจก่อให้เกิดการลุกไหม้ ให้แยกเก็บโดยมิให้
ปะปนกัน
(๒) วัต ถุ ซึ่ งโดยสภาพสามารถอุ้ ม น้าหรื อซั บ น้ าได้ ม าก ให้จั ด เก็บ ไว้ บนพื้ น ของอาคารซึ่ ง
สามารถรองรับน้าหนักที่เพิ่มขึ้นได้
หมวด ๒
ความปลอดภัยเกี่ยวกับอาคารและทางหนีไฟ

ข้อ ๘ ให้นายจ้างจัดให้มีเส้นทางหนีไฟทุกชั้นของอาคารอย่างน้อยชั้นละสองเส้นทางซึ่งสามารถ
อพยพลูกจ้างที่ทางานในเวลาเดียวกันทั้งหมดสู่จุดที่ปลอดภัยได้โดยปลอดภัยภายในเวลาไม่เกินห้านาที
เส้นทางหนีไฟจากจุดที่ลูกจ้างทางานไปสู่จุดที่ปลอดภัยต้องปราศจากสิ่งกีดขวาง
ประตูที่ใช้ในเส้นทางหนีไฟต้องทาด้วยวัสดุทนไฟ ไม่มีธรณีประตูหรือขอบกั้น และเป็นชนิดที่
บานประตูเปิดออกไปตามทิศทางของการหนีไฟกับต้องติดอุปกรณ์ที่บังคับให้บานประตูปิดได้เอง ห้ามใช้
ประตูเลื่อน ประตูม้วน หรือประตูหมุน และห้ามปิดตาย ใส่กลอน กุญแจ ผูก ล่ามโซ่ หรือทาให้
เปิดออกไม่ได้ในขณะที่มีลูกจ้างทางาน
ข้อ ๙ สถานประกอบกิจการที่มีอาคารตั้งแต่สองชั้นขึ้นไป หรือมีพื้นที่ประกอบกิจการตั้งแต่
สามร้อยตารางเมตรขึ้นไป ให้นายจ้างจัดให้มีระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ในสถานประกอบกิจการทุกชั้น
โดยให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้อย่างน้อยต้องประกอบด้วย
(ก) อุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ทั้งที่ใช้ระบบแจ้งเหตุอัตโนมัติและระบบแจ้งเหตุที่ใช้มือ
เพื่อให้อุปกรณ์ส่งสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ทางาน
(ข) อุปกรณ์ส่งสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ต้องสามารถส่งเสียงหรือสัญญาณให้ทุกคน
ภายในอาคารได้ยินหรือทราบอย่างทั่วถึงเพื่อการหนีไฟ
(๒) อุปกรณ์แจ้งเหตุที่ใช้มือต้องอยู่ในที่เห็นได้อย่างชัดเจน เข้าถึงได้ง่าย หรืออยู่ในเส้นทางหนีไฟ
โดยติดตั้งห่างจากจุดที่ลูกจ้างทางานไม่เกินสามสิบเมตร
(๓) เสียงหรือสัญญาณที่ใช้ในการแจ้งเหตุเพลิงไหม้ต้องมีเสียงหรือสัญญาณที่ แตกต่างไปจากเสียง
หรือสัญญาณที่ใช้ในสถานประกอบกิจการ
(๔) กิจการโรงพยาบาลหรือสถานที่ห้ามใช้เสียงหรือใช้เสียงไม่ได้ผล ต้องจัด ให้มีอุปกรณ์
หรือมาตรการอื่นใด เช่น สัญญาณไฟ หรือรหัส ที่สามารถแจ้งเหตุเพลิงไหม้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(๕) การติ ด ตั้ ง ระบบสั ญ ญาณแจ้ ง เหตุ เ พลิ ง ไหม้ ให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานของสมาคม
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ หรือมาตรฐานอื่นที่อธิบดีกาหนด
หน้า ๒๗
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

ข้อ ๑๐ ให้นายจ้างจัดให้มีแสงสว่างอย่างเพียงพอสาหรับเส้นทางหนีไฟในการอพยพลูกจ้าง
ออกจากอาคารเพื่อการหนีไฟ รวมทั้งจัดให้มีแหล่งจ่ายไฟฟ้าสารองที่สามารถจ่ายไฟฟ้าเพื่อการหนีไฟ
และสาหรับใช้กับอุปกรณ์ดับเพลิงขั้นต้นหรืออุปกรณ์อื่นที่เกี่ยวข้องได้ในทันทีที่ไฟฟ้าดับ
ข้อ ๑๑ ให้นายจ้างจัดให้มีป้ายบอกทางหนีไฟที่มีลักษณะ ดังต่อไปนี้
(๑) ขนาดของตัวหนังสือต้องสูงไม่น้อยกว่าสิบห้าเซนติเมตร และเห็นได้อย่างชัดเจน
(๒) ป้ายบอกทางหนีไฟต้องมีแสงสว่างในตัวเองหรือใช้ไฟส่องให้เห็นได้อย่างชัดเจนตลอดเวลา
ทั้งนี้ ต้องไม่ใช้สีหรือรูปร่างที่กลมกลืนไปกับการตกแต่งหรือป้ายอื่น ๆ ที่ติดไว้ใกล้เคียง หรือโดยประการใด
ที่ทาให้เห็นป้ายไม่ชัดเจน
นายจ้างอาจใช้รูปภาพบอกทางหนีไฟตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ ทั้งนี้ ต้องให้เห็นได้อย่างชัดเจน
หมวด ๓
การดับเพลิง

ข้อ ๑๒ ให้ น ายจ้ า งจัด ให้ มีร ะบบน้ าดั บเพลิ งและอุ ปกรณ์ ประกอบเพื่ อใช้ ใ นการดับ เพลิ ง
ที่สามารถดับเพลิงขั้นต้นได้อย่างเพียงพอในทุกส่วนของอาคาร อย่างน้อยให้ประกอบด้วย
(๑) ในกรณีที่ไม่มีท่อน้าดับเพลิงของทางราชการในบริเวณที่สถานประกอบกิจการตั้งอยู่หรือมี
แต่ปริมาณน้าไม่เพียงพอ ให้จัดเตรียมน้าสารองไว้ใช้ในการดับเพลิงโดยต้องมีอัตราส่วนปริมาณน้าที่สารอง
ต่อพื้นที่อาคารตามที่กาหนดไว้ในตารางที่ ๑ ท้ายกฎกระทรวงนี้ สาหรับกรณีที่นายจ้างมีอาคารหลายหลัง
ตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกัน อาจจัดเตรียมน้าสารองไว้ในปริมาณที่ใช้กับอาคารที่มีพื้นที่มากที่สุดเพียงหลังเดียวก็ได้
(๒) ระบบการส่งน้า ที่เก็บกักน้า เครื่องสูบน้าดับเพลิง และการติดตั้ง จะต้องได้รับการตรวจสอบ
และรับรองจากวิศวกรตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกร และต้องมีการป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายจากเพลิงไหม้
ยานพาหนะ หรือสิ่งอื่น
(๓) ข้อต่อท่อรับน้าดับเพลิงเข้าอาคารและข้อต่อส่งน้าภายในอาคารจะต้องเป็นระบบเดียวกับที่ใช้
ในหน่วยดับเพลิงของทางราชการในท้องถิ่น หรือต้องมีอุปกรณ์ที่จะช่วยสวมระหว่างข้อต่อที่ใช้กับหน่วยดับเพลิง
ของทางราชการในท้องถิน่ นั้น และต้องอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี ทั้งในการติดตั้งต้องมีสิ่งป้องกันความเสียหาย
ที่จะเกิดขึ้นจากยานพาหนะหรือสิ่งอื่น
(๔) ข้อต่อสายส่งน้าดับเพลิงและหัวฉีดดับเพลิงจะต้องเป็นระบบเดียวกับที่ใช้ในหน่วยดับเพลิง
ของทางราชการในท้องถิ่นนั้น ซึ่งสามารถต่อเข้าด้วยกันได้หรือต้องมีอุปกรณ์ที่จะช่วยสวมระหว่างข้อต่อ
หรือหัวฉีดดับเพลิงดังกล่าว
(๕) สายส่งน้าดับเพลิงต้องมีความยาวหรือต่อกันให้มีความยาวเพียงพอที่จะควบคุมบริเวณที่
เกิดเพลิงไหม้ได้
หน้า ๒๘
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

ข้อ ๑๓ ให้นายจ้างจัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ โดยต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้


(๑) จัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ตามประเภทของเพลิง ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐาน
ที่สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมกาหนด หรือตามมาตรฐานที่อธิบดีกาหนด
(๒) เครื่ องดั บเพลิ ง แบบเคลื่ อ นย้ า ยได้ ทุก เครื่ อ ง ต้อ งจัด ให้มี เ ครื่ อ งหมายหรือ สั ญลั ก ษณ์
แสดงว่าเป็นชนิดใด ใช้ดับเพลิงประเภทใด และเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์นั้นต้องมีขนาดที่มองเห็นได้
อย่างชัดเจนในระยะไม่น้อยกว่าหนึ่งเมตรห้าสิบเซนติเมตร
(๓) ห้ า มใช้ เ ครื่ อ งดั บ เพลิ ง แบบเคลื่ อ นย้ า ยได้ ที่ อ าจเกิ ด ไอระเหยของสารพิ ษ เช่ น
คาร์บอนเตตราคลอไรด์
(๔) จัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ตามจานวน ความสามารถของเครื่องดับเพลิง
และการติดตั้ง ดังต่อไปนี้
(ก) เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ที่ใช้ดับเพลิงประเภท เอ จานวน ความสามารถ
ของเครื่องดับเพลิง และการติดตั้ง ให้คานวณตามพื้นที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัย
ตามที่กาหนดไว้ในตารางที่ ๒ ท้ายกฎกระทรวงนี้ โดยต้องมีระยะเข้าถึงไม่เกินยี่สิบสองเมตรห้าสิบเซนติเมตร
ในกรณีที่ใช้เครื่องดับเพลิงที่มีความสามารถในการดับเพลิงต่ากว่าความสามารถในการดับเพลิงตามพื้นที่
ที่กาหนดไว้ในตารางดังกล่าว ให้เพิ่มจานวนเครื่องดับเพลิงนั้นให้ได้สัดส่วนกับพื้นที่ที่กาหนด ทั้งนี้
ในการคานวณเพื่อจัดให้มีเครื่องดับเพลิงของสถานที่ดังกล่าว ถ้ามีเศษของพื้นที่ให้นับเป็นพื้นที่เต็มส่วน
ที่ต้องเพิ่มจานวนเครื่องดับเพลิงขึ้นอีกหนึ่งเครื่อง และในกรณีสถานที่นั้นมีพื้นที่เกินกว่าที่กาหนดไว้ในตาราง
นายจ้างจะต้องเพิ่มเครื่องดับเพลิงโดยคานวณตามสัดส่วนของพื้นที่ตามที่กาหนดไว้ในตารางดังกล่าว
เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ที่ใช้ดับเพลิงประเภท บี ความสามารถของเครื่องดับเพลิง
ที่ติดตั้งต้องมีระยะเข้าถึงตามที่กาหนดไว้ในตารางที่ ๓ ท้ายกฎกระทรวงนี้
เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ที่ใช้ดับเพลิงประเภท ซี การติดตั้งให้พิจารณาจากวัตถุ
ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงว่าจะทาให้เกิดเพลิงประเภท เอ หรือ บี และติดตั้งเครื่องดับเพลิง
แบบเคลื่อนย้ายได้ที่ใช้ดับเพลิงประเภทนั้น
เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ที่ใช้ดับเพลิงประเภท ดี ในการติดตั้งให้มีระยะเข้าถึง
ไม่เกินยี่สิบสามเมตร
(ข) ให้ติดตั้งหรือจัดวางเครื่องดับเพลิงในสภาพที่มั่นคง มองเห็นได้อย่างชัดเจน สามารถ
นามาใช้ได้ง่ายและรวดเร็ว
(ค) ให้ จั ด ท ารายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ชนิ ด และวิ ธี ใ ช้ เ ป็ น ภาษาไทยที่ เ ห็ น ได้ อ ย่ า งชั ด เจน
ติดไว้ที่ตัวถังหรือบริเวณที่ติดตั้ง
(๕) จัดให้มีการดูแลรักษาและตรวจสอบเครื่องดับเพลิงให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี โดยการตรวจสอบ
ต้องไม่น้อยกว่าหกเดือนต่อหนึ่งครั้ง พร้อมกับติดป้ายแสดงผลการตรวจสอบและวันที่ทาการตรวจสอบ
ครั้งสุดท้ายไว้ที่อุปกรณ์ดังกล่าว และเก็บผลการตรวจสอบไว้ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจได้ตลอดเวลา
รวมทั้งต้องมีการซ่อมบารุงและเปลี่ยนถ่ายสารดับเพลิงตามข้อกาหนดของผู้ผลิตด้วย
หน้า ๒๙
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

ข้อ ๑๔ กรณีที่นายจ้างจัดให้มีระบบดับเพลิงอัตโนมัติ ให้ปฏิบัติ ดังต่อไปนี้


(๑) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติต้องเป็นไปตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์
(๒) ต้องเปิดวาล์วประธานทีค่ วบคุมระบบจ่ายน้าเข้าหรือสารดับเพลิงอื่นอยู่ตลอดเวลา และจัดให้มี
ผู้ควบคุมดูแลให้ใช้งานได้ตลอดเวลา
(๓) ต้องติดตั้งสัญญาณเพื่อเตือนภัยในขณะที่ระบบดับเพลิงอัตโนมัติกาลังทางาน
(๔) ต้องไม่มีสิ่งกีดขวางทางน้าหรือสารดับเพลิงอื่นจากหัวฉีดดับเพลิงโดยรอบ
ข้อ ๑๕ ในสถานที่ ซึ่ ง มี ส ภาพเสี่ ย งต่ อ การเกิ ด อั ค คี ภั ย อย่ า งร้ า ยแรงหรื อ อย่ า งปานกลาง
นายจ้างต้องจัดให้มีระบบน้าดับเพลิงและอุปกรณ์ประกอบเพื่อใช้ในการดับเพลิงตามข้อ ๑๒ และ
เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ตามข้อ ๑๓ สาหรับสถานที่ซงึ่ มีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างเบา
นายจ้างอาจจัดให้มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้ตามข้อ ๑๓ อย่างเดียวก็ได้
ข้อ ๑๖ ให้นายจ้างปฏิบัติเกี่ยวกับอุปกรณ์ดับเพลิง ดังต่อไปนี้
(๑) ติดตั้งป้ายแสดงจุดติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงที่เห็นได้อย่างชัดเจน
(๒) ติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิงในที่เห็นได้อย่างชัดเจน ไม่มีสิ่งกีดขวาง และสามารถนามาใช้งาน
ได้โดยสะดวกตลอดเวลา
(๓) จัดให้มีการดูแลรักษาและตรวจสอบอุปกรณ์ดับเพลิงให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี โดยใน
การตรวจสอบนั้นต้องไม่น้อยกว่าเดือนละหนึ่งครั้งหรือตามระยะเวลาที่ผู้ผลิตกาหนด พร้อมกับติดป้าย
แสดงผลการตรวจสอบและวันที่ทาการตรวจสอบครั้งสุดท้ายไว้ที่อุปกรณ์ดังกล่าว และเก็บผลการตรวจสอบ
ไว้ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ตลอดเวลา เว้นแต่เครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนย้ายได้
ให้ตรวจสอบตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในข้อ ๑๓ (๕)
ข้อ ๑๗ สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างร้ายแรงหรืออย่างปานกลาง ให้นายจ้าง
จั ด ลู ก จ้ า งเพื่ อ ท าหน้ า ที่ ดั บ เพลิ ง ประจ าอยู่ ต ลอดเวลาที่ มี ก ารท างาน และจั ด หาอุ ป กรณ์ คุ้ ม ครอง
ความปลอดภัยส่วนบุคคลที่ใช้ในการดับเพลิงและการฝึกซ้อมดับเพลิงซึ่งต้องอยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ดี
เช่น เสื้อคลุมดับเพลิง รองเท้า ถุงมือ หมวก หน้ากากป้องกันความร้อนหรือควันพิษ อย่างน้อย
ให้เพียงพอกับจานวนผู้ทาหน้าที่ดับเพลิงนั้น
หมวด ๔
การป้องกันอัคคีภัยจากแหล่งก่อเกิดการกระจายตัวของความร้อน

ข้อ ๑๘ ให้นายจ้างป้องกันอัคคีภัยจากแหล่งก่อเกิดการกระจายตัวของความร้อน ดังต่อไปนี้


(๑) กระแสไฟฟ้า ลั ด วงจร ให้ เ ป็ นไปตามกฎหมายเกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย ในการท างาน
เกี่ยวกับไฟฟ้า
(๒) เครื่องยนต์หรือปล่องไฟ เพื่อมิให้เกิดลูกไฟหรือเขม่าไฟกระเด็นถูกวัตถุที่ติดไฟได้
หน้า ๓๐
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

(๓) การแผ่รังสี การนาหรือการพาความร้อนจากแหล่งกาเนิดความร้อนสูงไปสู่วัตถุที่ติดไฟได้ง่าย


(๔) การเสียดสีหรือเสียดทานของเครื่องจักรหรือเครื่ องมือที่เกิดประกายไฟหรือความร้อนสูง
ที่อาจทาให้เกิดการลุกไหม้ได้
(๕) การสะสมของไฟฟ้าสถิต โดยต่อสายดินกับถังหรือท่อน้ามันเชื้อเพลิง สารเคมี หรือ
ของเหลวไวไฟ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า
(๖) การเชื่อมหรือตัดโลหะ ซึ่งเป็นแหล่งความร้อนสูงที่อาจทาให้เกิดการลุกไหม้ได้
(๗) การสะสมความร้อนของปล่องระบายควัน โดยปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
(ก) ไม่ติดตั้งปล่องระบายควันกับส่วนของอาคารที่สร้างด้วยวัสดุที่ติดไฟได้ง่าย
(ข) หุ้มปล่องระบายควันด้วยฉนวนที่ทาจากวัสดุที่ไม่ติดไฟ และอุณหภูมิผิวหน้าด้านนอก
ของฉนวนต้องไม่สูงเกินห้าสิบองศาเซลเซียส
หมวด ๕
วัตถุไวไฟและวัตถุระเบิด

ข้อ ๑๙ ในกรณีที่นายจ้างมี เก็บ หรือขนถ่ายวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิดจะต้องดาเนินการ


อย่างปลอดภัยเพื่อป้องกันการเกิดอัคคีภัย ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน
เกี่ยวกับสารเคมีอันตราย วัตถุไวไฟ หรือวัตถุระเบิด
ข้อ ๒๐ การเก็บถังก๊าซชนิดเคลื่อนย้ายได้ชนิดของเหลว ให้นายจ้างปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) ในกรณีที่เก็บถังก๊าซไว้ภายนอกอาคาร ต้องเก็บไว้ในที่เปิดโล่งที่มีการป้องกันความร้อน
มิให้มีอุณหภูมิสูงกว่าที่ผู้ผลิตกาหนดไว้ และมีสิ่งป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากยานพาหนะหรือสิ่งอื่น
(๒) ในกรณีที่เก็บถังก๊าซไว้ภายในอาคาร ต้องแยกเก็บไว้ในห้องที่มีผนังทาด้วยวัสดุทนไฟ
และมีการระบายหรือถ่ายเทอากาศได้ดี มีระบบตรวจจับก๊าซอัตโนมัติ ปริมาณเก็บรวมกันแห่งละไม่เกิน
สองพันลิตร โดยแต่ละแห่งจะต้องห่างกันไม่น้อยกว่ายี่สิบเมตร
(๓) ห้ามเก็บถังก๊าซไว้ใกล้วัตถุที่ลุกไหม้ได้ง่าย
(๔) มีโซ่หรือวัตถุอื่นในลักษณะเดียวกันรัดถังกันล้ม และติดตั้งฝาครอบหัวถัง เพื่อความปลอดภัย
ในขณะที่เคลื่อนย้ายหรือจัดเก็บ
ข้อ ๒๑ การป้องกันอันตรายจากถ่านหิน เซลลูลอยด์ หรือของแข็งที่ตดิ ไฟได้ง่าย ให้นายจ้างปฏิบัติ
ดังต่อไปนี้
(๑) การเก็บถ่านหิ นในที่โ ล่งแจ้ง ต้องพรมน้าให้เปียกชื้นอยู่ตลอดเวลาและอัด ทับให้แน่ น
เพื่อป้องกันการลุกไหม้ที่เกิดได้เอง และห้ามกองไว้สูงเกินสามเมตร
(๒) ถ่านหินที่บดแล้วหรือชนิดผงหากมีอุณหภูมิสูงกว่าหกสิบห้าองศาเซลเซียส ต้องทาให้เย็น
ก่อนนาไปเก็บใส่ไว้ในถังหรือภาชนะทนไฟ
หน้า ๓๑
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

(๓) ถังหรือภาชนะที่ใช้เก็บถ่านหินหรือผงแร่ที่ลุกไหม้ได้ง่าย ต้องสร้างด้วยวัสดุทนไฟที่มี


ฝาปิดมิดชิดและเก็บไว้ห่างไกลจากแหล่งความร้อน
(๔) การเก็บเซลลูลอยด์หรือของแข็งที่ติดไฟได้ง่ายในไซโล ถัง หรือภาชนะ ต้องทาการป้องกัน
การลุกไหม้จากแหล่งความร้อนหรือการผสมกับอากาศที่จะก่อให้เกิดการลุกไหม้ได้
ข้อ ๒๒ การเก็บวัตถุที่ติดไฟได้ง่ายประเภทไม้ กระดาษ ขนสัตว์ ฟาง โฟม ฟองน้าสังเคราะห์
หรือสิ่งอื่นใดที่มีคุณสมบัติคล้ ายคลึงกัน ให้นายจ้างแยกเก็บไว้ในอาคารต่างหากหรือเก็บในห้องทนไฟ
ซึ่งหลังคาหรือฝาห้องต้องไม่ทาด้วยแก้วหรือวัสดุโปร่งใสที่แสงแดดส่องตรงเข้าไปได้ ในกรณีที่มีจานวนน้อย
อาจเก็บไว้ในภาชนะทนไฟหรือถังโลหะที่มีฝาปิด
หมวด ๖
การกาจัดของเสียทีต่ ิดไฟได้ง่าย

ข้อ ๒๓ ให้นายจ้างปฏิบัติเกี่ยวกับของเสียที่ติดไฟได้ง่าย ดังต่อไปนี้


(๑) จัด ให้ มีการทาความสะอาดเพื่อมิให้มีการสะสมหรือตกค้างของของเสียที่ติด ไฟได้ง่าย
ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าวันละหนึ่งครั้ง ถ้าเป็นงานกะต้องไม่น้อยกว่ากะละหนึ่งครั้ง เว้นแต่วัตถุไวไฟหรือ
วัตถุระเบิดที่ลุกไหม้ได้เอง ต้องจัดให้มีการทาความสะอาดทันที
(๒) ต้องเก็บรวบรวมของเสียที่ติดไฟได้ง่ายไว้ในภาชนะปิดที่เป็นโลหะ
(๓) ให้นาของเสียที่เก็บรวบรวมไว้ตาม (๒) ออกไปจากบริเวณที่ลูกจ้างทางานไม่น้อยกว่า
วันละหนึ่งครั้ง ในกรณีที่ยังไม่ได้กาจัดโดยทันทีให้นาไปเก็บไว้ ในห้องทนไฟหรืออาคารทนไฟ และต้อง
นาไปกาจัดให้หมดอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้งโดยวิธีการที่ปลอดภัย เช่น การเผา การฝัง การใช้สารเคมี
เพื่อให้ของเสียนั้นสลายตัว หรือโดยวิธีอื่นที่มีประสิทธิภาพ แล้วแต่กรณี
ข้อ ๒๔ การกาจัดของเสียที่ติดไฟได้ง่ายโดยการเผา ให้นายจ้างปฏิบัติ ดังต่อไปนี้
(๑) ให้เผาในเตาที่ออกแบบสาหรับการเผาโดยเฉพาะ หรือเผาในที่โล่งแจ้งโดยให้ห่างจาก
บริเวณที่ลูกจ้างทางานในระยะที่ปลอดภัยและอยู่ใต้ลม
(๒) จัดให้ลูกจ้างที่ทาหน้าที่เผาสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
(๓) จัดเก็บเถ้าถ่านที่เหลือจากการเผาของเสียที่ติดไฟได้ง่ายนั้นไว้ในภาชนะ ห้อง สถานที่ที่ปลอดภัย
หรือเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดมิดชิดเพื่อป้องกันการรั่วไหล หรือนาไปฝังในสถานที่ที่ปลอดภัย
หมวด ๗
การป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า

ข้อ ๒๕ ให้น ายจ้างจัด ให้ มีระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าสาหรับอาคารหรือสิ่งก่อสร้าง


ดังต่อไปนี้
หน้า ๓๒
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

(๑) อาคารที่มีวัตถุไวไฟหรือวัตถุระเบิด
(๒) สิ่งก่อสร้างที่มีความสูง ประเภท ปล่องควัน หอคอย เสาธง ถังเก็บน้าหรือสารเคมี
หรือสิ่งก่อสร้างอื่นใดที่มีความสูงในทานองเดียวกัน
ความในวรรคหนึ่งไม่ใช้บังคับกับอาคารและสิ่งก่อสร้ างที่อยู่ในรัศมีการป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า
ของอาคารอื่น
การติดตั้งระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่าให้ปฏิบัติตามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมสถาน
แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ข้อ ๒๖ ให้นายจ้างจัดให้มีมาตรการป้องกันผลกระทบจากฟ้าผ่าเข้าสู่ระบบไฟฟ้าของอาคาร
หมวด ๘
การดาเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยจากอัคคีภัยและการรายงาน

ข้อ ๒๗ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างไม่น้อยกว่าร้อยละสี่สิบของจานวนลูกจ้างในแต่ละหน่วยงาน
ของสถานประกอบกิจการรับการฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น โดยให้ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการ
และคุ้มครองแรงงานเป็นผู้ดาเนินการฝึกอบรม
ข้อ ๒๘ ให้นายจ้างจัดให้มีการดาเนินการเกี่ยวกับความปลอดภัยจากอัคคีภัย ดังต่อไปนี้
(๑) สถานประกอบกิจการที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอัคคีภัยอย่างร้ายแรงหรืออย่างปานกลาง
ต้องจัดให้มีการบริหารงานโดยกลุ่มปฏิบัติงานเพื่อป้องกันและระงับอัคคีภัย และมีผู้ทาหน้าที่อานวยการ
ระงั บ อั ค คี ภั ย ทั้ ง ระบบโดยเฉพาะเมื่ อ เกิ ด เพลิ ง ไหม้ ป ระจ าสถานประกอบกิ จ การตลอดเวลาที่ มี
การประกอบกิจการ
(๒) ต้องจัดให้ผู้ที่มหี น้าที่เกีย่ วกับการป้องกันและระงับอัคคีภัยรับการฝึกอบรมเกี่ยวกับการป้องกัน
และระงับอัคคีภัย การใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ในการดับเพลิง การปฐมพยาบาล และการช่วยเหลือในกรณีฉุกเฉิน
ข้อ ๒๙ ให้นายจ้างจัด ให้ลูกจ้างฝึกซ้อมอพยพหนีไ ฟออกจากอาคารไปตามเส้นทางหนี ไ ฟ
ตามที่กาหนดไว้ในหมวด ๒
ข้อ ๓๐ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างทุกคนฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟพร้อมกันอย่างน้อย
ปีละหนึ่งครั้ง ทั้งนี้ ให้ลูกจ้างของนายจ้างทุกรายที่ทางานอยู่ภายในอาคารเดียวกันและในวันและเวลาเดียวกัน
ทาการฝึกซ้อมพร้อมกัน และก่อนการฝึกซ้อมไม่น้อยกว่าสามสิบวัน ให้นายจ้างส่งแผนการฝึกซ้อมดับเพลิง
และฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับการฝึกซ้อมต่ออธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิ บดีมอบหมาย
เพื่อให้ความเห็นชอบ
ในกรณีที่นายจ้างไม่สามารถดาเนินการฝึกซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟตามวรรคหนึ่งได้เอง
จะต้องให้ผู้ที่ได้รับใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้ดาเนินการฝึกซ้อม
ให้นายจ้างจัดทารายงานผลการฝึกซ้อมดังกล่าวตามแบบที่อธิ บดีกาหนด และยื่นต่ออธิบดี
หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายภายในสามสิบวันนับแต่วันที่เสร็จสิ้นการฝึกซ้อม
หน้า ๓๓
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖

บทเฉพาะกาล

ข้อ ๓๑ ให้หน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้นและหน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ
ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการขึ้น
ทะเบียนเป็นหน่วยงานฝึกอบรมการดับเพลิงขั้นต้น หน่วยงานฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ ลงวันที่ ๒๗
กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๙ มีสิทธิดาเนินการตามข้อ ๒๗ และข้อ ๓๐ จนกว่าการขึ้นทะเบียนนั้นจะสิ้นอายุ
ข้อ ๓๒ ให้หน่วยงานตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กาหนดหน่วยงาน
ฝึก อบรมการดั บเพลิ งขั้ น ต้ น หน่ ว ยงานฝึก ซ้อ มดั บ เพลิง และฝึ กซ้ อมหนี ไ ฟ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีสิ ท ธิ
ดาเนินการตามข้อ ๒๗ และข้อ ๓๐ ต่อไป โดยต้องขอรับใบอนุญาตจากกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่กฎกระทรวงนี้ใช้บังคับ

ให้ไว้ ณ วันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๕


เผดิมชัย สะสมทรัพย์
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
ตารางทายก กระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานเกี่ยวกับการปองกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.

ตารางที่ การจัดเตรียมปริมาณน้ําสํารองตอพื้นที่ของอาคารเพื่อใชในการดับเพลิง

พื้นที่ของอาคาร ปริมาณน้ําทีส่ ํารอง


ไมเกิน , ตารางเมตร , ลิตร
เกินไม , ตารางเมตร แตไมเกิน , ตารางเมตร , ลิตร
เกินไม , ตารางเมตร แตไมเกิน , ตารางเมตร , ลิตร
เกินไม , ตารางเมตร , ลิตร

ตารางที่ การติดตั้งเครื่องดับเพลิงเพื่อใชดับเพลิงประเภท เอ โดยคํานวณตามพื้นที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยง


ตอการเกิดอัคคีภัย

ความสามารถของ พื้นที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพ พื้นที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพ พื้นที่ของสถานที่ซึ่งมีสภาพ


เครื่องดับเพลิง เสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย เสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย เสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัย
เทียบเทา อยางเบา อยางปานกลาง อยางรายแรง
ตอเครื่องดับเพลิง เครื่อง ตอเครื่องดับเพลิง เครื่อง ตอเครื่องดับเพลิง เครื่อง

- เอ , ตารางเมตร ไมอนุญาตใหใช ไมอนุญาตใหใช

- เอ , ตารางเมตร , ตารางเมตร ไมอนุญาตใหใช

- เอ , ตารางเมตร , ตารางเมตร , ตารางเมตร

- เอ , ตารางเมตร , ตารางเมตร , ตารางเมตร

- เอ , ตารางเมตร , ตารางเมตร , ตารางเมตร

- เอ , ตารางเมตร , ตารางเมตร , ตารางเมตร

- เอ , ตารางเมตร , ตารางเมตร , ตารางเมตร

- เอ , ตารางเมตร , ตารางเมตร , ตารางเมตร


ตารางที่ การติดตั้งเครือ่ งดับเพลิงเพื่อใชดับเพลิงประเภท บี ของสถานทีซ่ ึ่งมีสภาพเสี่ยงตอการเกิด
อัคคีภัย

สถานที่ซึ่งมีสภาพเสี่ยง ความสามารถของเครื่องดับเพลิง
ระยะเขาถึง
ตอการเกิดอัคคีภัย เทียบเทา
- บี เมตร
อยางเบา
- บี เมตร
- บี เมตร
อยางปานกลาง
- บี เมตร
- บี เมตร
อยางรายแรง
- บี เมตร
หน้า ๓๔
เล่ม ๑๓๐ ตอนที่ ๒ ก ราชกิจจานุเบกษา ๙ มกราคม ๒๕๕๖
หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ บัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงแรงงานมีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานให้นายจ้างบริหาร จัดการ และดาเนินการด้าน
ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ซึ่งการป้องกันและระงับอัคคีภัยที่มีมาตรฐาน
เป็นมาตรการสาคัญอย่างหนึ่ งที่ทาให้ลูกจ้างได้รับความปลอดภัยในการทางาน ดังนั้น เพื่อความปลอดภัย
ในการทางานของลูกจ้าง จึงจาเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
หนา ๒๓
เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒

ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม
เรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน
พ.ศ. ๒๕๕๒

โดยที่เปนการสมควรใหกําหนดประเภทหรือชนิดของโรงงานที่จะตองมีมาตรการคุมครอง
ความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน และแกไขหนาที่ของผูรับใบอนุญาตประกอบกิจการ
โรงงานตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๓) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
โรงงาน พ.ศ. ๒๕๑๒ อาศัยอํานาจตามความในขอ ๑๘ แหงกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๓๕)
ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ อัน เปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการ
เกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งตามมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๔๑
และมาตรา ๔๓ ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทยบั ญ ญั ติ ใ ห ก ระทํ า ได โ ดยอาศั ย อํ า นาจ
ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศไว ดังตอไปนี้
หมวด ๑
บททั่วไป

ขอ ๑ ประกาศนี้ใชบังคับกับโรงงานจําพวกที่ ๒ หรือจําพวกที่ ๓ ที่เปนโรงงานที่มีความเสี่ยง


ตอการเกิดอัคคีภัยสูงหรือปานกลางตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ระบุในบัญชีทายประกาศนี้
ขอ ๒ ใหยกเลิกขอ ๖ ขอ ๗ ขอ ๘ ขอ ๙ ขอ ๑๐ ขอ ๑๑ ขอ ๑๒ ขอ ๑๓ ขอ ๑๔
ขอ ๑๕ ขอ ๑๖ ขอ ๑๗ และขอ ๑๘ ของประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๑๓)
ออกตามความในพระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. ๒๕๑๒
ขอ ๓ ในประกาศนี้
“โรงงานที่มีความเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยสูง” หมายความวา โรงงานซึ่งมีการประกอบกิจการ
โรงงานที่มีการใชเชื้อเพลิง วัตถุไวไฟ หรือมีลักษณะที่ทําใหเกิดอัคคีภัย หรือระเบิดไดงาย ทั้งนี้
ตามประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ระบุในบัญชีทายประกาศนี้
“โรงงานที่มีความเสี่ยงตอการเกิดอัคคีภัยปานกลาง” หมายความวา โรงงานซึ่งมีการประกอบ
กิจการโรงงานนอกเหนือจากประเภทหรือชนิดของโรงงานที่ระบุในบัญชีทายประกาศนี้
หนา ๒๔
เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒
“ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม” หมายความวา เครื่องตรวจจับควัน หรือความรอนหรือ
เปลวไฟที่ทํางานโดยอัตโนมัติ และอุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมแบบกดหรือดึงเพื่อใหสัญญาณเตือนภัย
“ระบบดั บ เพลิ ง อั ต โนมั ติ ” หมายความว า ระบบดั บ เพลิ ง ที่ ส ามารถทํา งานได ทั น ที
โดยอั ตโนมัติ เมื่ อเกิ ดเพลิ งไหมหรื อความร อนจากเพลิงไหม เช น ระบบหัวกระจายน้ํ าดับ เพลิ ง
อัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System) หรือระบบอื่นที่เทียบเทา
“เพลิงประเภท เอ” หมายความวา เพลิงที่เกิดจากเชื้อเพลิงธรรมดา เชน ไม ผา กระดาษ
ยาง พลาสติก
“เพลิงประเภท บี” หมายความวา เพลิงที่เกิดจากของเหลวติดไฟ กาซ และน้ํามันตาง ๆ
“วัตถุไวไฟ” หมายความวา วัตถุที่มีคุณสมบัติติดไฟไดงายสันดาปเร็ว
“วัตถุที่ติดไฟ” หมายความวา วัตถุที่อยูในภาวะพรอมจะเกิดการสันดาป
“วัตถุทนไฟ” หมายความวา วัตถุกอสรางที่ไมเปนเชื้อเพลิงและไมลดความแข็งแรงเมื่อสัมผัส
กับไฟในชวงเวลาหนึ่ง
หมวด ๒
ระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหม

ขอ ๔ อาคารโรงงานตองจัดใหมีอุปกรณตรวจจับและแจงเหตุเพลิงไหมครอบคลุมทั่วทั้งอาคาร
ตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ไมมีคนงานปฏิบัติงานประจําและมีการติดตั้ง
หรือใชงานอุปกรณไฟฟา หรือจัดเก็บวัตถุไวไฟหรือวัสดุติดไฟไดงายจะตองติดตั้งอุปกรณตรวจจับและ
แจงเหตุเพลิงไหมอัตโนมัติ
อุปกรณแจงเหตุเพลิงไหมตองเปนชนิดที่ใหสัญญาณโดยไมตองใชไฟฟาจากระบบแสงสวาง
และที่ใชกับเครื่องจักร หรือมีระบบไฟสํารองที่จายไฟสําหรับระบบแจงเหตุเพลิงไหมไดไมนอยกวา
๒ ชั่วโมง
ขอ ๕ การติดตั้งระบบสัญญาณแจงเหตุเพลิงไหมใหเปนไปตามมาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับ
หมวด ๓
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ

ขอ ๖ อาคารโรงงานนอกจากได มีการติดตั้งระบบดับเพลิงอั ตโนมัติแ ลว ยังตองติดตั้ ง


เครื่องดับเพลิงแบบมือถือโดยใหเปนไปตามหลักเกณฑที่ไดกําหนดไวในหมวดนี้
หนา ๒๕
เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒
เครื่องดับเพลิงแบบมือถือตองเหมาะสมกับประเภทของเชื้อเพลิงและเปนไปตาม มอก. ๓๓๒
เครื่องดับเพลิงยกหิ้วชนิดผงเคมีแหง หรือ มอก. ๘๘๑ เครื่องดับเพลิงยกหิ้ว : คารบอนไดออกไซด
หรื อ มอก. ๘๘๒ เครื่ องดับ เพลิ งยกหิ้ ว : โฟม หรือ มาตรฐานที่สํ า นัก งานมาตรฐานผลิ ตภั ณ ฑ
อุตสาหกรรมกําหนด หรือมาตรฐานอื่นที่เทียบเทา
ขอ ๗ เครื่องดับเพลิงแบบมือถือตองมีขนาดบรรจุไมนอยกวา ๔.๕ กิโลกรัม พรอมใชงาน
ได ตลอดเวลา โดยต องมีก ารตรวจสอบสภาพและความพร อมในการใชง านไม นอ ยกวา หกเดื อ น
ตอหนึ่งครั้ง
ขอ ๘ การติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือใหเปนไปตามรายละเอียดแนบทายประกาศนี้
หรื อ ตามมาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ อุ ต สาหกรรมเรื่ อ งมาตรฐานการป อ งกั น อั ค คี ภั ย สํ า หรั บ โรงงาน
อุตสาหกรรม
ขอ ๙ เครื่องดับเพลิงแบบมือถือที่ติดตั้งแตละเครื่องตองมีระยะหางกันไมเกิน ๒๐ เมตร
และใหสวนบนสุดอยูสูงจากพื้นไมเกิน ๑.๕๐ เมตร มีปายหรือสัญลักษณที่มองเห็นไดชัดเจน ไมมี
สิ่งกีดขวาง และตองสามารถนํามาใชงานไดสะดวก
หมวด ๔
ระบบน้ําดับเพลิง

ขอ ๑๐ ผูประกอบกิ จการโรงงานต องจั ดเตรี ยมน้ํ าสํ าหรับดั บเพลิ งในปริ มาณที่เ พีย งพอ
ที่จะสงจายน้ําใหกับอุปกรณฉีดน้ําดับเพลิงไดอยางตอเนื่องเปนเวลาไมนอยกวาสามสิบนาที
ขอ ๑๑ การติดตั้งระบบน้ําดับเพลิงตองเปนไปตามมาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับ
หมวด ๕
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ

ขอ ๑๒ โรงงานที่มีสถานที่จัดเก็บวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑซึ่งเปน วัตถุที่ติดไฟได ที่มีพื้น ที่


ตอเนื่องติดตอกัน ตั้งแต ๑,๐๐๐ ตารางเมตรขึ้น ไป ตองติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติ เชน ระบบ
หั ว กระจายน้ํา ดั บ เพลิ ง อั ต โนมั ติ (Automatic Sprinkler System) หรื อ ระบบอื่ น ที่ เ ที ย บเท า
ใหครอบคลุมพื้นที่นั้น
หนา ๒๖
เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒

ขอ ๑๓ การติดตั้งระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิงอัตโนมัติ (Automatic Sprinkler System)


ใหเปนไปตามมาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับ
ขอ ๑๔ สถานที่จัดเก็บวัตถุไวไฟ ที่มีพื้นที่ตั้งแต ๑๔ ตารางเมตรขึ้นไป ตองติดตั้งระบบ
ดับเพลิงอัตโนมัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่นั้น
หมวด ๖
การตรวจสอบ ทดสอบ และบํารุงรักษาระบบและอุปกรณตาง ๆ

ขอ ๑๕ ผูประกอบกิจการโรงงานตองตรวจสอบ ทดสอบ และบํารุงรักษาระบบและอุปกรณ


สําหรับการปองกันและระงับอัคคีภัยใหสามารถพรอมทํางานไดตลอดเวลา โดยการตรวจสอบ ทดสอบ
และบํ า รุ ง รั ก ษาระบบและอุ ป กรณ เ หล า นั้ น ให เ ป น ไปตามรายละเอี ย ดแนบท า ยประกาศนี้ ห รื อ
มาตรฐานสากลที่เปนที่ยอมรับ
ขอ ๑๖ ผูประกอบกิจการโรงงานตองจัดเก็บเอกสารการตรวจสอบ ทดสอบ บํารุงรักษา
ระบบและอุ ป กรณ ต ามข อ ๒๖ โดยให เ ก็ บรั ก ษาไวที่ โ รงงาน พร อ มที่จ ะให พ นัก งานเจ าหน า ที่
ตรวจสอบได
หมวด ๗
การฝกอบรมเรื่องการปองกันและระงับอัคคีภัย

ขอ ๑๗ ผูประกอบกิจการโรงงานตองจัดใหคนงานไดรับการฝกอบรมเรื่องการปองกันและ
ระงับอัคคีภัยตามที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมกําหนด ทั้งนี้ตองมีเอกสารหลักฐานที่สามารถตรวจสอบได
หมวด ๘
อื่น ๆ

ขอ ๑๘ ชองเปดตาง ๆ ที่อยูที่ ผ นัง พื้น หรือคานและชองทอตา ง ๆ ตอ งใชวัสดุปดกั้ น


ชองทอ และ ชองเปดเหลานี้ดวยวัตถุทนไฟที่ปองกันไฟไดอยางนอย ๒ ชั่วโมง เพื่อปองกันอันตราย
ที่อาจเกิดจากเพลิงไหมลุกลามจากบริเวณหนึ่งไปอีกบริเวณหนึ่ง
หนา ๒๗
เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒

ขอ ๑๙ พื้น ที่ ของอาคารโรงงานที่มีค วามเสี่ย งต อการเกิ ดอั คคีภั ยสู งและปานกลาง ที่ มี
สถานที่จัดเก็บวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑซึ่งเปนวัตถุที่ติดไฟไดหรือสถานที่จัดเก็บวัตถุไวไฟ ตองกั้นแยก
จากพื้นที่สวนอื่นของอาคารดวยวัสดุที่มีอัตราการทนไฟไดไมนอยกวา ๑ ชั่วโมง
ขอ ๒๐ อาคารโรงงานชั้นเดียวที่เปนโครงเหล็ก ตองปดหุมโครงสรางดวยวัสดุทนไฟหรือ
ดวยวิธีการอื่น ที่ทําใหสามารถทนไฟไดอยางนอย ๑ ชั่วโมง ถาเปนอาคารหลายชั้น ตองทนไฟได
ไมนอยกวา ๒ ชั่วโมง
โครงหลังคาของอาคารที่อยูสูงจากพื้นอาคารเกิน ๘ เมตร และอาคารนั้นมีระบบดับเพลิง
อัตโนมัติ หรือมีการปองกัน ความรอนหรือระบบระบายความรอนมิใหเกิดอัน ตรายตอโครงหลังคา
โครงหลังคาของอาคารนั้นไมตองมีอัตราการทนไฟตามที่กําหนดก็ได
ขอ ๒๑ การปฏิบัติงานในโรงงานซึ่งมีความเกี่ยวของหรือทําใหเกิดประกายไฟหรือความรอน
ที่เ ป น อั น ตราย ต อ งจั ด ทํ า ระบบการอนุ ญาตทํ า งานที่มี ป ระกายไฟหรื อ ความร อ นที่ เป น อั น ตราย
(Hot Work Permit System) ใหเปนไปตามหลักวิชาการดานความปลอดภัยโดยมีเอกสารหลักฐาน
ที่สามารถตรวจสอบได
ขอ ๒๒ โรงงานตอ งจัด เสน ทางหนีไ ฟที่อ พยพคนงานทั้ ง หมดออกจากบริ เ วณที่ ทํา งาน
สูบริเวณที่ปลอดภัย เชน ถนนหรือสนามนอกอาคารโรงงานไดภายในหานาที
ขอ ๒๓ การจัด เก็ บวั ตถุ สิ่ง ของที่ ติด ไฟได หากเปน การเก็บ กองวั ตถุ มิไ ดเ ก็บ ในชั้น วาง
ความสูงของกองวัตถุนั้นตองไมเกิน ๖ เมตร และตองมีระยะหางจากโคมไฟไมนอยกวา ๖๐ เซนติเมตร
ขอ ๒๔ เครื่องจักร อุปกรณ ถังเก็บ ถังปฏิกิริยาหรือกระบวนการที่เกี่ยวของกับวัตถุไวไฟ
ตองทําการตอสายดิน (Grounding) หรือตอฝาก (Bonding) เพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดจากไฟฟาสถิต
ขอ ๒๕ การใช การจัดเก็บ การขนถายหรือขนยาย ตลอดจนการจัดการตาง ๆ เกี่ยวกับสารไวไฟ
และสารติดไฟ ใหปฏิบัติตามขอกําหนดที่ระบุไวในเอกสารขอมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet)
ของสารนั้น
ขอ ๒๖ ผูป ระกอบกิ จ การโรงงานต อ งจั ด ใหมี บุ คลากรที่ ป ฏิบั ติ ง านด านความปลอดภั ย
ของโรงงานดําเนินการตรวจความปลอดภัยดานอัคคีภัยเปน ประจําอยางนอยเดือนละครั้ง โดยจัดทํา
เป น เอกสารหลั ก ฐานที่ พ นั ก งานเจ า หน า ที่ ส ามารถตรวจสอบได หากพบสภาพที่ เ ป น อั น ตราย
ที่อาจกอใหเกิดเพลิงไหมได ตองดําเนินการปรับปรุงแกไขโดยทันที
หนา ๒๘
เลม ๑๒๖ ตอนพิเศษ ๑๔๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒
ขอ ๒๗ ผูประกอบกิ จการโรงงานตองจัด ใหมี แ ผนปอ งกั น และระงับ อัค คีภัย ในโรงงาน
ประกอบดวยแผนการตรวจสอบความปลอดภัยดานอัคคีภัย แผนการอบรมเรื่องการปองกันและระงับ
อัคคีภัย แผนการดับเพลิง และแผนการอพยพหนีไฟ โดยเก็บแผนนี้ไวที่โรงงาน พรอมใหพนักงาน
เจาหนาที่ตรวจสอบไดและตองปฏิบัติใหเปนไปตามแผน
ขอ ๒๘ สํ า หรั บ โรงงานที่ ไ ด รั บ อนุ ญ าตให ป ระกอบกิ จ การก อ นวั น ที่ ก ฎหมายฉบั บ นี้
มีผลบั งคับ ใช การดําเนิ น การตามหมวด ๒ หมวด ๓ หมวด ๔ และหมวด ๕ ใหดํ าเนิ น การ
ใหแลวเสร็จภายในสามปนับจากวันที่ประกาศฉบับนี้มีผลบังคับใช
ทั้งนี้ ใหใชบังคับนับแตวันถัดจากวันประกาศราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒


ชาญชัย ชัยรุงเรือง
รัฐมนตรีวาการกระทรวงอุตสาหกรรม
การติดตัง้ ของเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ

โรงงานที่มีความเสี่ยง ความสามารถของ พื้นที่ครอบคลุมตอ ระยะทางเขาถึง


ตอการเกิดอัคคีภัย เครื่องดับเพลิง เครื่องดับเพลิง 1 เครื่องดับเพลิง
เครื่องสําหรับเพลิง สําหรับเพลิง
ประเภท เอ ประเภท บี
(ตารางเมตร) (เมตร)
2A 280 -
3A 418 -
4A 557 -
6A 836 -
ปานกลาง 10A - 40A 1,045 -
10B - 9
20B - 15
4A 372 -
6A 557 -
10A 930 -
สูง 20A - 40A 1,045 -
40B - 9
80B - 15
การตรวจสอบ ทดสอบ และบํารุงรักษาระบบและอุปกรณตา ง ๆ

อุปกรณปอ งกันและระงับอัคคีภยั วิธีการ ระยะเวลา


1. เครื่องสูบน้าํ ดับเพลิง
- ขับดวยเครือ่ งยนต - ทดสอบเดินเครือ่ ง ทุกสัปดาห
- ขับดวยมอเตอรไฟฟา - ทดสอบเดินเครือ่ ง ทุกเดือน
- เครือ่ งสูบน้าํ - ทดสอบปริมาณการสูบน้าํ ทุกป
และความดัน
2. หัวรับน้าํ ดับเพลิง (Fire department - ตรวจสอบ ทุกเดือน
connections)
3. หัวดับเพลิงนอกอาคาร (Hydrants) - ตรวจสอบ ทุกเดือน
- ทดสอบ (เปดและปด) ทุกป
- บํารุงรักษา ทุกครึ่งป
4. ถังน้าํ ดับเพลิง
- ระดับน้าํ - ตรวจสอบ ทุกเดือน
- สภาพถังน้าํ - ตรวจสอบ ทุกครึ่งป
5. สายฉีดน้าํ ดับเพลิงและตูเก็บสายฉีด - ตรวจสอบ ทุกเดือน
(Hose and hose station)

6. ระบบหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงอัตโนมัติ
(Sprinkler system)
- จุดระบายน้าํ หลัก - ทดสอบการไหล ทุก 3 เดือน
- มาตรวัดความดัน - ทดสอบคาแรงดัน ทุก 5 ป
- หัวกระจายน้าํ ดับเพลิง - ทดสอบ ทุก 50 ป
- สัญญาณการไหลของน้าํ - ทดสอบ ทุก 3 เดือน
- ลางทอ - ทดสอบ ทุก 5 ป
- วาลวควบคุม - ตรวจสอบซีลวาลว ทุกสัปดาห
- ตรวจสอบอุปกรณล็อกวาลว ทุกเดือน
- ตรวจสอบสวิทซสญั ญาณ ทุกเดือน
ปด-เปดวาลว
การตรวจสอบ ทดสอบ และบํารุงรักษาระบบและอุปกรณสําหรับการปองกันและระงับอัคคีภยั

1. เครื่องดับเพลิงชนิดมือถือ
1.1 การตรวจสอบประจําเดือน
(1) ชนิดของเครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือติดถูกตองตามประเภทของเชือ้ เพลิงหรือไม
(2) มีสิ่งกีดขวางหรือติดตั้งในตําแหนงที่เขาถึงไดยากหรือไม สังเกตเห็นไดงา ยหรือไม
(3) ตรวจสอบกรณีที่เครือ่ งดับเพลิงแบบมือถือที่มีเกจวดั ความดันวา ความดันยังอยูในสภาพปกติ
หรือไม
(4) ดูสภาพอุปกรณประกอบวามีการชํารุดเสียหายหรือไม
1.2 การทดสอบ
ทุก ๆ 5 ป เครื่องดับเพลิงแบบมือถือจะตองทดสอบการรับความดัน (hydrostatic test) เพื่อ
พิจารณาวายังสามารถใชงานไดหรือไม
2. เครื่องสูบน้ําดับเพลิง
2.1 เครื่องสูบน้าํ ดับเพลิงขับดวยเครือ่ งยนตดีเซล
(1) ทดสอบการทํางานของเครื่องสูบน้าํ ดับเพลิงทุก ๆ สัปดาหที่อัตราความเร็วรอบทํางานดวย
ระยะเวลาอยางนอย 30 นาทีเพือ่ ใหเครื่องยนตรอ นถึงอุณหภูมิทํางาน ตรวจสภาพของเครื่อง
สูบน้าํ , ชุดควบคุมการทํางานของเครื่องสูบน้าํ
(2) ตรวจสอบแบตเตอรี่
(3) ระบบหลอลืน่
(4) ระบบน้าํ มันหลอลื่นและน้าํ มันเชื้อเพลิง
(5) เปลี่ยนน้าํ มันเครือ่ งตามระยะเวลาที่ผูผลิตกําหนด แตไมนอ ยกวาปละครั้ง
(6) ระดับน้าํ กรด-น้ํากลัน่ ของแบตเตอรี่ จะตองมีระดับทวมแผนธาตุตลอดเวลา
(7) ในกรณีระบบเครือ่ งสูบน้าํ เปนแบบทํางานโดยอัตโนมัติใหระบบควมคุมเปนตัวสั่งการทํางาน
ของเครื่องสูบน้าํ โดยผานโซลีนอยส วาลว
2.2 เครื่องสูบน้าํ ดับเพลิงขับดวยมอเตอรไฟฟา
(1) ทดสอบการทํางานของเครื่องสูบน้าํ ทุก ๆ เดือน
3. หัวรับน้ําดับเพลิง (Fire department connection)
3.1 หัวรับน้าํ ดับเพลิงจะตองเห็นและเขาถึงโดยงายตลอดเวลา
3.2 หัวรับน้าํ ดับเพลิงควรจะไดรับการตรวจสอบเดือนละหนึ่งครั้ง
3.3 ตรวจสอบหัวรับน้าํ ดับเพลิงวาฝาครอบหรือปลั๊กอยูครบ, หัวตอสายรับน้าํ อยูในสภาพดี, ลิ้นกัน
กลับอยูใ นสภาพดีไมมีนา้ํ รัว่ ซึม
4. หัวดับเพลิงนอกอาคาร (Hydrants)
4.1 การตรวจสอบหัวดับเพลิง
(1) ตรวจสอบหัวดับเพลิงสาธารณะทีอ่ ยูใกลอาคารวาอยูใ นสภาพทีด่ ีไมเสียหาย และใชงานได
(2) หัวดับเพลิงในสถานประกอบการควรตรวจสอบเดือนละครั้งวาอยูใ นสภาพที่เห็นชัดเจนและ
เขาถึงไดงา ยโดยมีฝาครอบปดอยูเรียบรอย
4.2 การบํารุงรักษาหัวดับเพลิง
(1) หลอลื่นหัวดับเพลิงปละสองครั้ง
4.3 การทดสอบหัวดับเพลิง
(1) ทดสอบการทํางานของหัวดับเพลิงอยางนอยปละหนึ่งครั้ง โดยการเปดและปดเพื่อใหแนใจได
วามีนา้ํ ไหลออกจากหัวดับเพลิง
5. ถังน้ําดับเพลิง
5.1 ตรวจสอบระดับน้าํ ในถังน้าํ เดือนละครั้ง
5.2 ตรวจสอบสภาพทัว่ ไปของถังน้าํ
6. สายฉีดน้ําดับเพลิงและตูเก็บสายฉีด (Hose and Hose Station)
6.1 ตรวจสอบตูเก็บสายฉีดเดือนละหนึ่งครั้งเพือ่ ใหแนใจวามีอปุ กรณฉีดน้าํ ดับเพลิงอยูค รบและอยูใ น
สภาพดี
6.2 ตรวจสอบสายฉีดน้าํ ดับเพลิงแบบพับแขวน (Hose racks) หรือแบบมวนสาย (Hose reels) และ
หัวฉีด (Nozzles) วาอยูใ นสภาพไมเสียหาย
6.3 วาลวควบคุมจะตองอยูใ นสภาพดีไมมีนา้ํ รัว่ ซึม
7. ระบบหัวกระจายน้ําดับเพลิง (Automatic Sprinklers)
7.1 หัวกระจายน้าํ ดับเพลิงจะตองไดรับการตรวจสอบดวยสายตาเปนระยะ ๆ อยางสม่าํ เสมอ สภาพ
ของหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงตองไมผกุ รอน, ถูกทาสีทับหรือชํารุดเสียหาย
7.2 การเปลี่ยนหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงที่เสียหาย ณ จุดติดตั้งตองคํานึงถึงสิ่งเหลานี้
(1) ชนิด
(2) ขนาดรูหวั ฉีดน้าํ
(3) อุณหภูมิทาํ งาน
(4) การเคลือบผิว
(5) แบบของแผนกระจายน้าํ (Deflector) เชน แบบหัวคว่าํ , แบบหัวหงาย, แบบติดตั้งขางผนัง
เปนตน
7.3 หัวกระจายน้าํ ดับเพลิงทีใ่ ชงานเปนเวลา 50 ป จะตองสุมหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงไปทดสอบการ
ทํางานในหองทดลองและตองกระทําลักษณะเดียวกันนี้ทุก ๆ 10 ป
7.4 หัวกระจายน้าํ ดับเพลิงที่มีความเสี่ยงตอการเสียหายทางกล ควรจะมีอุปกรณครอบปองกัน
(Sprinkler Guards)
7.5 หัวกระจายน้าํ ดับเพลิงสํารองจะตองจัดเตรียมไวไมนอ ยกวาหกหัว ในกลองบรรจุเพือ่ ปองกันจาก
ความชื้น, ฝุน , การกัดกรอนหรืออุณหภูมสิ ูงเกินกวา 38 องศาเซลเซียส (100 องศาฟาเรนไฮต)
7.6 จํานวนหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงสํารอง สําหรับอาคารที่ตดิ ตัง้ หัวกระจายน้าํ ดับเพลิงควรมีจาํ นวนดังนี้
จํานวนหัวกระจายน้าํ ดับเพลิงสํารอง
(1) อาคารที่ติดตั้งหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง - ไมนอยกวา 6 หัว
ไมเกิน 300 หัว
(2) อาคารที่ติดตั้งหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง - ไมนอยกวา 12 หัว
ระหวาง 300 หัวถึง 1,000 หัว
(3) อาคารที่ติดตั้งหัวกระจายน้าํ ดับเพลิง - ไมนอยกวา 24 หัว
ตั้งแต 1,000 หัวขึน้ ไป
หมายเหตุ
หัวกระจายน้าํ ดับเพลิงสํารองจะตองเตรียมไวทกุ ชนิดที่มใี ชในอาคารหรือสถานประกอบการ นั้น ๆ
บัญชีแนบทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การปองกันและระงับอัคคีภัยในโรงงาน พ.ศ. 2552

ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)


โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตผลเกษตรกรรมอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
2 ดังตอไปนี้
(4) การหีบหรืออัดฝาย หรือการปนหรืออัดนุน
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับน้าํ มัน จากพืชหรือ สัตว หรือไขมันจากสัตวอยางใด
อยางหนึ่ง หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
7 (1) การสกัดน้าํ มันจากพืช หรือสัตว หรือไขมันจากสัตว เฉพาะทีใ่ ชตวั ทําละลายในการ
สกัด
(4) การทําน้าํ มันจากพืช หรือสัตวหรือไขมันจากสัตวใหบริสุทธิ์
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ น้าํ ตาล ซึ่งทําจากออย บีช หญาหวาน หรือพืชอืน่ ที่ให
ความหวานอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(2) การทําน้าํ ตาลทรายแดง
11
(3) การทําน้าํ ตาลทรายดิบ หรือน้าํ ตาลทรายขาว
(4) การทําน้าํ ตาลทรายดิบ หรือน้าํ ตาลทรายขาวใหบริสุทธิ์
(6) การทํากลูโคส เดกซโทรส ฟรักโทส หรือผลิตภัณฑอื่นที่คลายคลึงกัน
16 โรงงานตม กลัน่ หรือผสมสุรา
โรงงานผลิต เอทิลแอลกอฮอล ซึ่งมิใช เอทิลแอลกอฮอล ทีผ่ ลิตจากกากซัลไฟดในการทํา
17
เยื่อกระดาษ
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสิ่งทอ ดาย หรือเสนใยซึ่งมิใชใยหิน (Asbestos) อยางใด
อยางหนึ่งหรือ หลายอยาง ดังตอไปนี้
(1) การหมัก คารบอไนซ สาง หวี รีด ปน เอม ควบบิดเกลียว กรอ
เท็กเจอรไรซ ฟอก หรือยอมสีเสนใย
22
(2) การทอหรือการเตรียมเสนดายยืนสําหรับการทอ
(3) การฟอกยอมสี หรือแตงสําเร็จดายหรือสิ่งทอ
(4) การพิมพสิ่งทอ
-2-
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากสิ่งทอ ซึ่งมิใชเครื่องนุงหมอยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยางดังตอไปนี้
(1) การทําผลิตภัณฑจากสิ่งทอ เปนเครื่องใชในบาน
23 (2) การทําถุงหรือกระสอบซึ่งมิใชถุงหรือกระสอบพลาสติก
(3) การทําผลิตภัณฑจากผาใบ
(4) การตบแตงหรือเย็บปกถักรอยสิ่งทด

โรงงานถักผา ผาลูกไม หรือเครื่องนุงหมดวยดายหรือเสนใย หรือฟอกยอมสี หรือแตง


24
สําเร็จผา ผาลูกไม หรือเครื่องนุงหมที่ถกั ดวยดายหรือเสนใย
โรงงานผลิตเสือ่ หรือพรมดวยวิธีทอ สาน ถัก หรือผูกใหเปนปุย ซึ่งมิใชเสือ่ หรือพรมที่
25
ทําดวยยางหรือพลาสติกหรือพรมน้าํ มัน
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ซึ่งมิใชทาํ ดวยวิธีถกั หรือทออยางใดอยางหนึ่ง
หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(1) การทําพรมน้าํ มัน หรือสิ่งปูพนื้ ซึ่งมีผวิ หนาแข็ง ซึ่งมิไดทาํ จากไมกอก
ยาง หรือพลาสติก
(2) การทําผาน้าํ มัน หรือหนังเทียม ซึ่งมิไดทาํ จากพลาสติกลวน
27 (3) การทําแผนเสนใย ที่แชหรือฉาบผิวหนาดวยวัสดุ ซึ่งมิใชยาง
(4) การทําสักหลาด
(5) การทําผาลูกไม หรือผาลูกไมเทียม
(6) การทําวัสดุจากเสนใยสําหรับใชทาํ เบาะ นวม หรือสิ่งทีค่ ลายคลึงกัน
(7) การผลิตเสนใย หรือปุยใยจากวัสดุที่ทาํ จากเสนใยหรือปุยใยที่ไมใชแลว
(8) การทําดายหรือผาใบสําหรับยางนอกลอเลื่อน
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครือ่ งแตงกาย ซึ่งมิใชรองเทาอยางใดอยางหนึ่งหรือ
หลายอยาง ดังตอไปนี้
28 (1) การตัดหรือการเย็บเครือ่ งนุงหม เข็มขัด ผาเช็ดหนา ผาพันคอ เนกไท หู
กระตาย ปลอกแขน ถึงมือ ถุงเทา จากผาหนังสัตว ขนสัตวหรือวัสดุอื่น
(2) การทําหมวก
-3-
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)
โรงงานหมัก ชําแหละ อบ ปนหรือบด ฟอก ขัดและแตงสําเร็จ อัดใหเปนลายนูน หรือ
29
เคลือบสีหนังสัตว
30 โรงงานสาง ฟอก ฟอกสี ยอมสี ขัดหรือแตงขนสัตว
31 โรงงานทําพรม หรือเครือ่ งใชจากหนังสัตวหรือขนสัตว
โรงงานผลิตผลิตภัณฑหรือชิ้นสวนของผลิตภัณฑ ซึ่งมิใชเครื่องแตงกาย หรือรองเทาจาก
32
(2) ใยแกว
โรงงานผลิตรองเทา หรือชิน้ สวนของรองเทา ซึ่งมิไดทาํ จากไม ยางอบแข็ง ยางอัดเขารูป
33
หรือพลาสติกอัดเขารูป
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับไม อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(1) การเลือ่ ย ไส ซอย เซาะรอง หรือการแปรรูปไมดว ยวิธอี ื่น ที่คลายคลึงกัน
(2) การทําวงกบ ขอบประตู ขอบหนาตาง บานหนาตาง บานประตู หรือ
สวนประกอบที่ทาํ ดวยไมของอาคาร
34
(3) การทําไมวีเนียร หรือไมอดั ทุกชนิด
(4) การทําฝอยไม การบด ปน หรือยอยไม
(5) การถนอมเนื้อไม หรือการอบไม
(6) การเผาถานจากไม
โรงงานผลิตภาชนะบรรจุ หรือเครื่องใชจากไมไผ หวาย ฟาง ออ กก หรือผักตบชวา
35
เฉพาะมีการพนสี
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากไมหรือไมกอ กอยางใดอยางหนึ่ง หรือ
หลายอยาง ดังตอไปนี้
36 (1) การทําภาชนะบรรจุเครือ่ งมือ หรือเครื่องใชจากไมและรวมถึงชิ้นสวน
ของผลิตภัณฑดังกลาว
(4) การทํากรอบรูปหรือกรอบกระจกจากไม
โรงงานทําเครือ่ งเรือนหรือเครือ่ งตบแตงในอาคารจากไม แกว ยาง หรืออโลหะอืน่ ซึ่งมิใช
37 เครื่องเรือนหรือเครื่องตบแตงภายในอาคารจากพลาสติกอัดเขารูป และรวมถึงชิ้นสวนของ
ผลิตภัณฑดังกลาว
-4-
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)
โรงงานผลิตเยื่อ หรือกระดาษอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(1) การทําเยือ่ จากไม หรือวัสดุอนื่
38
(2) การทํากระดาษ กระดาษแข็ง หรือกระดาษที่ใชในการกอสรางชนิดที่
ทําจากเสนใย (Fiber) หรือแผนกระดาษไฟเบอร (Fiberboard)
39 โรงงานผลิตภาชนะบรรจุจากกระดาษทุกชนิดหรือแผนกระดาษไฟเบอร (Fiberboard)
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเยื่อ กระดาษ หรือกระดาษแข็งอยางใดอยางหนึ่งหรือ
หลายอยาง ดังตอไปนี้
(1) การฉาบ ขัดมัน หรือทากาวกระดาษ หรือกระดาษแข็ง หรือการอัด
40
กระดาษหรือกระดาษแข็งหลายชั้นเขาดวยกัน
(2) การทําผลิตภัณฑซึ่งมิใชภาชนะบรรจุจากเยือ่ กระดาษ หรือกระดาษแข็ง

โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ
41 (1) การพิมพ การทําแฟมเก็บเอกสาร การเย็บเลม ทําปก หรือตบแตง
สิ่งพิมพ
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ เคมีภณ ั ฑ สารเคมี หรือวัสดุเคมี ซึ่งมิใชปุยอยางใด
อยางหนึ่งหรือหลายอยางดังตอไปนี้
42 (1) การทําเคมีภัณฑ สารเคมี หรือวัสดุเคมี
(2) การเก็บรักษา ลําเลียง แยก คัดเลือก หรือแบงบรรจุเฉพาะเคมีภัณฑ
อันตราย
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิตยางเรซินสังเคราะห ยางอีลาสโตเมอร พลาสติก
44
หรือเสนใยสังเคราะหซึ่งมิใชใยแกว
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับสี (Paints) น้ํามันซักเงาเซแล็ก แล็กเกอร หรือผลิตภัณฑ
สําหรับใชยาหรืออุดอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
45 (1) การทําสีสาํ หรับใชทา พน หรือเคลือบ
(2) การทําน้าํ มันซักเงา น้าํ มันผสมสี หรือน้าํ ยาลางสี
(3) การทําเชลแล็ก แล็กเกอร หรือผลิตภัณฑสาํ หรับใชนา้ํ ยาหรืออุด
-5-
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ สบู เครือ่ งสําอาง หรือสิ่งปรุงแตงรางกาย อยางใด
47 อยางหนึ่งหรือหลายอยางดังตอไปนี้
(3) การทําเครือ่ งสําอาง หรือสิ่งปรุงแตงรางกาย
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑเคมี อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(4) การทําไมขดี ไฟ วัตถุระเบิด หรือดอกไมเพลิง
(5) การทําเทียนไข
(6) การทําหมึกหรือคารบอนดํา
(7) การทําผลิตภัณฑที่มีกลิ่น หรือควันเมือ่ เผาไหม
48 (8) การทําผลิตภัณฑที่มีการบูร
(12) การทําผลิตภัณฑสาํ หรับใชกับโลหะ น้าํ มัน หรือน้าํ (Metal, Oil or
Water Treating Compounds) ผลิตภัณฑสาํ เร็จเคมีไวแสงฟลมหรือ
กระดาษหรือผาที่ทาดวยตัวไวแสง (Prepared Photo-Chemical
Materials or Sensitized Film, Paper or Cloth,

49 โรงงานกลั่นน้าํ มันปโตรเลียม
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากปโตรเลียม ถานหิน หรือลิกไนต อยางใด
อยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(1) การทําแอสฟลต หรือน้าํ มันดิบ
(2) การทํากระดาษอาบแอสฟลต หรือน้าํ มันดิบ
(3) การทําเชื้อเพลิงกอนหรือเชือ้ เพลิงสําเร็จรูปจากถานหิน หรือลิกไนตที่
50
แตงแลว
(4) การผสมผลิตภัณฑจากปโตรเลียมเขาดวยกันหรือการผสมผลิตภัณฑ
จากปโตรเลียมกับวัสดุอื่น
(5) การกลั่นถานหินในเตาโคก ซึ่งไมเปนสวนหนึ่งของการผลิตกาซหรือ
เหล็ก
โรงงานผลิต ซอม หลอ หรือหลอดอกยางนอกหรือยางในสําหรับยานพาหนะ ที่เคลื่อนที่
51
ดวยเครือ่ งกล คนหรือสัตว
-6-
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยาง อยางใด อยางหนึ่งหรือหลายอยางดังตอไปนี้
(3) การทํายางแผนรมควัน การทํายางเครป ยางแทง ยางน้าํ หรือการทํายาง
52 ใหเปนรูปแบบอืน่ ใดที่คลายคลึงกันจากยางธรรมชาติ
(4) การทําผลิตภัณฑยาง นอกจากทีร่ ะบุไวในลําดับที่ 51 จากยางธรรมชาติ
หรือยางสังเคราะห
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับผลิตภัณฑพลาสติกอยางใดอยางหนึ่ง หรือหลายอยาง
ดังตอไปนี้
53 (4) การทําภาชนะบรรจุ เชน ถุงหรือกระสอบ เฉพาะมีการพนสี
(6) การทําผลิตภัณฑสาํ หรับใชเปนฉนวน เฉพาะมีการพนสี
(7) การทํารองเทา หรือชิน้ สวนของรองเทา เฉพาะมีการพนสี
โรงงานผลิต ประกอบหรือดัดแปลงเครือ่ งมือหรือเครื่องใชไฟฟาที่ไมไดระบุไวในลําดับใด
73
และรวมถึงสวนประกอบหรืออุปกรณของผลิตภัณฑดังกลาว
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับรถยนต หรือรถพวง อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
77 ดังตอไปนี้
(1) การสราง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพรถยนตหรือ รถพวง
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ จักรยานยนต จักรยานสามลอ หรือจักรยานสองลอ
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
78
(1) การสราง ประกอบ ดัดแปลง หรือเปลี่ยนแปลงสภาพจักรยานยนต
จักรยานสามลอ หรือจักรยานสองลอ
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับ อากาศยาน หรือเรือโฮเวอรคราฟทอยางใดอยางหนึ่งหรือ
หลายอยาง ดังตอไปนี้
79
(1) การสราง ประกอบ ดัดแปลง ซอมแซม หรือเปลี่ยนแปลงสภาพ
อากาศยาน หรือเรือโฮเวอรคราฟท
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับเครื่องเลน เครื่องมือหรือเครื่องใชที่มิไดระบุไวในลําดับอื่น
อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
(4) การทํารม ไมถอื ขนนก ดอกไมเทียม ซิป กระดุม ไมกวาด แปรง
87
ตะเกียง โปะตะเกียง หรือไฟฟา กลองสูบยาหรือกลองบุหรี่ กนหรอง
บุหรี่ หรือไฟแซ็ก เฉพาะมีการพนสี
-7-
ลําดับที่ ประเภทหรือชนิดของโรงงานตามบัญชีทายกฎกระทรวง (พ.ศ. 2535)
88 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟา
89 โรงงานผลิตกาซ ซึ่งมิใชกา ซธรรมชาติ สงหรือจําหนายกาซ
โรงงานบรรจุสนิ คาในภาชนะโดยไมมีการผลิตอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
91 ดังตอไปนี้
(2) การบรรจุกา ซ
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับยานทีข่ ับเคลื่อนดวยเครือ่ งยนต รถพวง จักรยานสามลอ
จักรยานสองลอ หรือสวนประกอบของยานดังกลาว อยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง
ดังตอไปนี้
(1) การซอมแซมยานทีข่ ับเคลื่อนดวยเครือ่ งยนตหรือสวนประกอบของยาน
95 ดังกลาว เฉพาะมีการพนสี
(2) การซอมแซมรถพวง จักรยานสามลอ จักรยานสองลอ หรือ
สวนประกอบของยานดังกลาว เฉพาะมีการพนสี
(3) การพนสีกนั สนิม ยานทีข่ ับเคลือ่ นดวยเครือ่ งยนต เฉพาะมีการพนสี

โรงงานผลิต ซอมแซม ดัดแปลง หรือเปลี่ยนลักษณะอาวุธปน เครือ่ งกระสุนปน วัตถุระเบิด


99 อาวุธหรือสิ่งอื่นใดที่มีอาํ นาจในการประหาร ทําลายหรือทําใหหมดสมรรถภาพในทํานอง
เดียวกับอาวุธปน เครือ่ งกระสุนปน หรือวัตถุระเบิด และรวมถึงสิ่งประกอบของสิ่งดังกลาว
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการตบแตงหรือเปลี่ยนแปลงลักษณะของผลิตภัณฑ หรือ
สวนประกอบของผลิตภัณฑโดยไมมีการผลิตอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยาง ดังตอไปนี้
100
(1) การทา พน หรือเคลือบสี
(2) การทา พน หรือเคลือบเชลแล็ก แล็กเกอร หรือน้าํ มันเคลือบเงาอื่น
101 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม (Central Waste Treatment Plant) เฉพาะเตาเผาของเสียรวม
102 โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการผลิต และหรือจําหนายไอน้าํ (Steam Generating)
โรงงานประกอบกิจการเกี่ยวกับการนําผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมที่ไมใชแลวหรือของเสียจาก
106
โรงงานมาผลิตเปนวัตถุดิบหรือผลิตภัณฑใหมโดยผานกรรมวิธกี ารผลิตทางอุตสาหกรรม

You might also like