╩Φ╟╣╦╣Θ╥ ñ│╘╡╚╥╩╡├∞ (╛╫Θ╣░╥╣) ┴.4

You might also like

Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 44

แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ ม.4

ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551

คณะผู้เรียบเรียง
บูรนาถ เฉยฉิน

บรรณาธิการ
วรรณทัศน์ เลิศอภิสิทธิ

พิเศษ 1
คำนำ
ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้
วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้สถาน
ศึกษานำไปใช้เป็ นกรอบทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผน
การจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรม การเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามเป้ าหมายของ
หลักสูตร ตลอดจนให้เกิดผลสำเร็จตามเจตนารมณ์ของการปฏิรูปการศึกษา
ดังนั้น ขั้นตอนการนำหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงในชั้นเรียนของครูผู้
สอน จึงจัดเป็ นหัวใจสำคัญในการพัฒนาผู้เรียน

บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้


รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ขึ้น เพื่อให้ครูผู้สอนใช้
เป็ นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทำเป็ นหน่วยการเรียนรู้
อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อน
กลับ (Backward Design) ตลอดจนเน้นกิจกรรมแบบ Active Learning อัน
จะช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพการ
ศึกษา สามารถมั่นใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐาน
ตรวจสอบผลการเรียนรู้อย่างเป็ นระบบ
ผู้สอนสามารถนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ไปเป็ นแนวทางวางแผน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบการใช้หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ที่ทางบริษัทจัดพิมพ์จำหน่าย โดยทั้งนี้การ
ออกแบบการเรียนรู้ (Instructional Design) ได้ดำเนินการตามกระบวนการ
ดังนี้

1 หลักการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
พิเศษ 2
หน่วยการเรียนรู้แต่ละหน่วยจะกำหนดผลการเรียนรู้ไว้เป็ นเป้ าหมายใน
การจัดการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องศึกษาและวิเคราะห์รายละเอียดของ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมีความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนจะนำไปสู่การเสริมสร้าง
สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใดแก่ผู้เรียน

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัว ผู้เรียนรู้อะไร

ผู้เรียนทำ
นำไป

สมรรถนะสำคัญของผู้ คุณลักษณะอันพึง

2 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
เมื่อผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และ
ได้กำหนดเป้ าหมายการจัดการเรียนการสอนเรียบร้อยแล้ว จึงกำหนด
ขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือ
ปฏิบัติตามขั้นตอนของกิจกรรมการเรียนรู้ที่ออกแบบไว้จนบรรลุผลการเรียนรู้
ทุกข้อ

มาตรฐานการเรียน เป้ าหมาย หลักการจัดการเรียน


การเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
สมรรถนะสำคัญของ และการ สนองความแตกต่างระหว่าง
พัฒนา บุคคล
คุณลักษณะอันพึง เน้นพัฒนาการทางสมอง
คุณภาพ
ประสงค์
กระตุ้นการคิด

3 หลักการบูรณาการกระบวนการเรียนรู้สู่ผลการเรียนรู้

พิเศษ 3
เมื่อผู้สอนกำหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนไว้แล้ว จึงกำหนดรูปแบบการเรียนการสอนและ
กระบวนการเรียนรู้ ที่จะฝึ กฝนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เป็ นเป้ าหมายในหน่วยนั้นๆ เช่น
กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และการแก้ปั ญหา
กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย
กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ที่มอบหมายให้ผู้เรียนลงมือ
ปฏิบัตินั้นจะต้องนำไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ในแต่ละหน่วยการ
เรียนรู้

4 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมการเรียนรู้ในแต่ละหน่วย
ผู้สอนต้องกำหนดขั้นตอนและ
วิธีปฏิบัติให้ชัดเจน โดยเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือฝึ กฝนและฝึ กปฏิบัติมากที่สุด
ตามแนวคิดและวิธีการสำคัญ คือ
1)การเรียนรู้ เป็ นกระบวนการทางสติปั ญญา ที่ผู้เรียนทุกคนต้องใช้
สมองในการคิดและทำความเข้าใจ
ในสิ่งต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุป
เป็ นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สามารถนำเสนอผลงาน แสดงองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นในแต่ละหน่วยการ
เรียนรู้ได้

2)การสอน เป็ นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมที่เหมาะสมกับการเรียนรู้


ในหน่วยนั้น ๆ และที่สำคัญ คือ ต้องเป็ นวิธีการที่สอดคล้องกับสภาพผู้
เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน และรูปแบบ
การสอนอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
ได้อย่างราบรื่นจนบรรลุตัวชี้วัดทุกข้อ

พิเศษ 4
3)รูปแบบการสอน ควรเป็ นวิธีการและขั้นตอนฝึ กปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือ
กระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิดอย่างเป็ นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบ
สืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิดแบบ
โยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียน
การสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้
แบบ 4MAT รูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือ เทคนิค JIGSAW,
STAD, TAI, TGT
4)วิธีการสอน ควรเลือกใช้วิธีการสอนที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบท
เรียน ความถนัด ความสนใจ และสภาพปั ญหาของผู้เรียน วิธีสอนที่ดี
จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามในระดับผลสัมฤทธิ์ที่
สูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปราย
กลุ่มย่อย การแสดงบทบาทสมมติ การใช้กรณีตัวอย่าง การใช้
สถานการณ์จำลอง การใช้ศูนย์การเรียน การใช้บทเรียนแบบโปรแกรม
เป็ นต้น
5)เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนที่สอดคล้องกับวิธีการ
สอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาในบทเรียนได้ง่ายขึ้น สามารถ
กระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิ ก (Graphic
Organizers) เทคนิคการเล่านิทาน การเล่นเกมเทคนิคการใช้คำถาม
การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้สื่อการเรียนรู้ที่น่าสนใจ เป็ นต้น
6)สื่อการเรียนการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ
และทำความกระจ่างให้เนื้อหาสอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็ น
เครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่างราบรื่น เช่น
สื่อสิ่งพิมพ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์
คอมพิวเตอร์ VCD LCD Visualizer เป็ นต้น ควรเตรียมสื่อให้
ครอบคลุมทั้งสื่อการสอนของครูและสื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

5 หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบย้อนกลับตรวจสอบ
เมื่อผู้สอนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกำหนดรูปแบบการ
เรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว จึงนำเทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนำผู้เรียนไปสู่

พิเศษ 5
การสร้างชิ้นงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสำคัญ
ตามธรรมชาติวิชา รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัดที่เป็ นเป้ าหมายของหน่วยการเรียนรู้ ตามลำดับขั้นตอน
การเรียนรู้ที่กำหนดไว้ ดังนี้

จากเป้ าหมาย
เป้ าหมายการเรียนรู้
และหลักฐาน
ของหน่วย
คิดย้อนกลับ หลักฐานชิ้นงาน/ภาระ
สู่จุดเริ่มต้น งาน
4 กิจกรรม คำถามชวน

3 กิจกรรม คำถามชวน จากกิจกรรม


2 กิจกรรม คำถามชวน การเรียนรู้
1 กิจกรรม คำถามชวน ทีละขั้นบันได
สู่หลักฐานและ

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิ ดโอกาสให้ผู้


เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้องฝึ กฝนกระบวนการคิดทุกขั้นตอน โดยใช้
เทคนิคการตั้งคำถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคำถามให้สัมพันธ์กับ
เนื้อหาการเรียนรู้ ตั้งแต่ระดับความรู้ ความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การ
วิเคราะห์ การประเมินค่า และการสร้างสรรค์ นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนเกิด
ความเข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังเป็ นการเตรียมความพร้อมเพื่อสอบ
O-NET ซึ่งเป็ นการทดสอบระดับชาติที่เน้นกระบวนการคิดระดับวิเคราะห์
ด้วย และในแต่ละแผนการเรียนรู้จึงมีการระบุคำถามเพื่อกระตุ้นความคิดของ

พิเศษ 6
ผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึ กฝนวิธีการทำข้อสอบ O-NET ควบคู่
ไปกับการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้ที่สำคัญ

ทั้งนี้การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุม
กิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้าน
ทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตาม
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางฯ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 พร้อมทั้งออกแบบเครื่องมือการวัดและประเมินผล ตลอด
จนแบบบันทึกผลการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐาน
ด้านคุณภาพผู้เรียน เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่าน
และแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
หลักสูตร เป็ นต้น ผู้สอนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และใช้ประกอบการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment
Reports) จึงมั่นใจอย่างยิ่งว่า การนำแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไปเป็ น
แนวทางจัดการเรียนการสอนจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรียนให้สูงขึ้นตามมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาทุกประการ

คณะผู้จัดทำ

สารบัญ
หน้า
สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พิเศษ 1-2

พิเศษ 7
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้พื้นฐาน พิเศษ 3

คำอธิบายรายวิชา คณิตศาสตร์ ม.4 พิเศษ 4

โครงสร้างรายวิชา คณิตศาสตร์ ม.4 พิเศษ 5-6

Pedagogy พิเศษ 7

โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ม.4 พิเศษ 8-17

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เซต
1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้
เบื้องต้นเกี่ยวกับเซต 16
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนภาพ
เวนน์และเอกภพสัมพัทธ์ 33
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 สับเซตและ
เพาเวอร์เซต 41
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 อินเตอร์
เซกชันและยูเนียนของเซต 52
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 คอมพลี
เมนต์และผลต่างระหว่างเซต 66
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การหาผล
การดำเนินการของเซตตั้งแต่สองเซตขึ้นไป 80
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 จำนวน
สมาชิกของเซตจำกัด 90

พิเศษ 8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น 101
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ประพจน์ 115
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 การเชื่อมประพจน์ 123
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การหาค่าความจริงของประพจน์ 129
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การสร้างตารางค่าความจริง 140
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 รูแปบบของประพจน์ที่สมมูลกัน 151
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 สัจนิรันดร์ 163

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักการ
นับเบื้องต้นและความน่าจะเป็ น 170
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนภาพ
ต้นไม้และแผนภาพโพสสิบิลิตี้ 185
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กฎเกณฑ์
เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (หลักการคูณ) 195
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กฎเกณฑ์
เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (หลักการบวก) 202
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การเรียง
สับเปลี่ยน 209
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การจัดหมู่
217
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การทดลอง
สุ่มและปริภูมิตัวอย่าง 223

พิเศษ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เหตุการณ์
231
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ความหมาย
ของความน่าจะเป็ น 240
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 ความน่าจะ
เป็ นของเหตุการณ์ 244
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 ความน่าจะ
เป็ นของคอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ 250
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 การนำ
ความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นไปใช้ 255

พิเศษ 10
สรุปหลักสูตรฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ *
คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เนื่องจากคณิตศาสตร์ช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล
เป็ นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปั ญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ
และถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปั ญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะ
สม และสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ คณิตศาสตร์
ยังเป็ นเครื่องมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อัน
เป็ นรากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับนานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจำเป็ น
ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ
สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วใน
ยุคโลกาภิวัฒน์
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 จัดทำขึ้นโดยคำนึงถึงการส่งเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะที่จำเป็ นสำหรับการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 เป็ นสำคัญ นั่นคือ การเตรียมผู้เรียนให้มีทักษะด้านการคิดวิเคราะห์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การแก้ปั ญหา การคิดสร้างสรรค์ การใช้
เทคโนโลยี การสื่อสารและการร่วมมือ ซึ่งส่งผลให้ผู้เรียนรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
ของระบบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสภาพแวดล้อม สามารถแข่งขันและอยู่
ร่วมกับประชาคมโลกได้ ทั้งนี้การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่ประสบความสำเร็จ
นั้น จะต้องเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบ
อาชีพเมื่อจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น ดังนั้นสถานศึกษาควร
จัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมตามศักยภาพของผู้เรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้จัดเป็ น 3 สาระ ดังแผนภาพ
ต่อไปนี้

พิเศษ 1
สาระที่ 2 การวัด
และเรขาคณิต

กลุ่มสาระการ
สาระที่ 1 จำนวน สาระที่ 3 สถิติและความ
เรียนรู้
และพีชคณิต น่าจะเป็ น

คณิตศาสตร์เพิ่มเติม - สาระจำนวนและพีชคณิต - สาระการวัดและเรขาคณิต -

* สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ, ตัวชี้วัดและสาระการ


เรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่ง
ประเทศไทย, 2560)

พิเศษ 2
พิเศษ 3
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ *
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต
มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การ
ดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้นจากการ ดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ
และนำไปใช้
ชั้
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม. 1. เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยว เซต
4 กับเซตและ ตรรกศาสตร์เบื้อง - ความรู้เบื้องต้นและสัญลักษณ์พื้นฐาน
ต้น ในการสื่อสาร และสื่อ ความ เกี่ยวกับเซต
หมายทางคณิตศาสตร์ - ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์
ของเซต
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
- ประพจน์และตัวเชื่อม
(นิเสธ และ หรือ ถ้า...แล้ว... ก็ต่อเมื่อ)

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็ น
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็ น และนำไปใช้
ชั้
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม. 1. เข้าใจและใช้หลักการบวก หลักการนับเบื้องต้น
4 และการคูณ - หลักการบวกและการคูณ
การเรียงสับเปลี่ยน และการจัด - การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเส้นกรณีที่สิ่งของ
หมู่ แตกต่างกันทั้งหมด
ในการแก้ปั ญหา - การจัดหมู่กรณีที่สิ่งของแตกต่างกัน
ทั้งหมด
2. หาความน่าจะเป็ นและนำ ความน่าจะเป็ น

พิเศษ 4
ความรู้เกี่ยวกับ - การทดลองสุ่มและเหตุการณ์
ความน่าจะเป็ นไปใช้ - ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์

พิเศษ 5
คำอธิบายรายวิชา
คณิตศาสตร์
รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 เวลา 80
ชั่วโมง/ปี

ศึกษาเกี่ยวกับเซต การเขียนเซต เซตจำกัดและเซตอนันต์ เซตที่เท่ากัน


เซตว่าง แผนภาพเวนน์ เอกภพสัมพัทธ์ สับเซตและสับเซตแท้ เพาเวอร์เซต
การดำเนินการของเซต อินเตอร์เซกชัน ยูเนียน คอมพลีเมนต์ ผลต่าง การหา
ผลการดำเนินการของเซตตั้งแต่สองการดำเนินการขึ้นไป จำนวนสมาชิกของ
เซตจำกัด ประพจน์ การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “และ” “หรือ” “ถ้า
...แล้ว...” “ก็ต่อเมื่อ” นิเสธของประพจน์ การหาค่าความจริงของรูปแบบ
ของประพจน์ การสร้างตารางค่าความจริง รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน
สัจนิรันดร์ กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่
ความน่าจะเป็ น การทดลองสุ่มและเหตุการณ์ ความน่าจะเป็ นของเหตุการณ์
โดยการจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ในชีวิตประจำวันที่ใกล้
ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ฝึ กทักษะ โดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป
รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปั ญหา การ
ให้เหตุผล การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความ
รู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการที่ได้ไปใช้ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และใช้ใน
ชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์
เพื่อให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทำงานได้
อย่างเป็ นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ

พิเศษ 6
มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และมีความเชื่อ
มั่นในตนเอง

ตัวชี้วัด
ค. 1.1 ม.4/1 เข้าใจและใช้ความรู้เกี่ยวกับเซตและตรรกศาสตร์เบื้องต้น ในการ
สื่อสารและสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
ค. 3.2 ม.4/1 เข้าใจและใช้หลักการบวกและการคูณ การเรียงสับเปลี่ยน และการ
จัดหมู่ในการแก้ปั ญหา
ค. 3.2 ม.4/2 หาความน่าจะเป็ นและนำความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นไปใช้

รวม 3 ตัวชี้วัด

โครงสร้างรายวิชา คณิตศาสตร์ ชั้น ม.4

มาตรฐาน
ลำดับ ชื่อหน่วยการ การ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / ตัว (ชม.)

ชี้วัด
1. เซต ค 1.1 การเขียนเซตมีสองแบบ 18
ม. 4/1 คือ เขียนแบบแจกแจง

พิเศษ 7
มาตรฐาน
ลำดับ ชื่อหน่วยการ การ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / ตัว (ชม.)

ชี้วัด
สมาชิก และเขียนแบบ
บอกเงื่อนไขของสมาชิก
ชนิดของเซตประกอบ
ด้วย เซตว่าง เซตจำกัด
และเซตอนันต์ เซตที่
เท่ากัน คือ เซตสองเซต
ที่มีสมาชิกเหมือนกันทุก
ตัว A เป็ นสับเซตของ B
ก็ต่อเมื่อสมาชิกทุกตัว
ของเซต A เป็ นสมาชิก
ของเซต B เพาเวอร์เซต
คือ เซตของสับเซต เซต
สามารถเขียนด้วย
แผนภาพโดยใช้สี่เหลี่ยม
มุมฉากใด ๆ แทน
เอกภพสัมพัทธ์และใช้
รูปปิ ด ใด ๆ แทนสับ
เซต การดำเนินการทาง
เซตประกอบด้วย
ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน
คอมพลีเมนต์ และผล

พิเศษ 8
มาตรฐาน
ลำดับ ชื่อหน่วยการ การ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / ตัว (ชม.)

ชี้วัด
ต่าง ซึ่งนำมาใช้ในการ
สื่อสารและสื่อความ
หมายทางคณิตศาสตร์
และแก้โจทย์ปั ญหาได้

2. ตรรกศาสตร์ ค 1.1 ประพจน์ คือ ประโยค 22

เบื้องต้น ม. 4/1 หรือข้อความที่อยู่ในรูป


บอกเล่าหรือปฏิเสธที่
บอกค่าความจริงได้ว่า
เป็ นจริงหรือเท็จอย่าง
ใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
การเชื่อมประพจน์จะ
เชื่อมด้วยตัวเชื่อม
ได้แก่ คำว่า “และ” “ห
รือ” “ถ้า...แล้ว...” “ก็
ต่อเมื่อ” นิเสธของ
ประพจน์ p คือ
ประพจน์ที่มีค่าความ
จริงตรงข้ามกับค่าความ
จริงของประพจน์ p
เสมอ รูปแบบของ

พิเศษ 9
มาตรฐาน
ลำดับ ชื่อหน่วยการ การ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / ตัว (ชม.)

ชี้วัด
ประพจน์สองรูปแบบใด
ๆ สมมูลกัน ก็ต่อเมื่อ
รูปแบบของประพจน์
ทั้งสองมีค่าความจริง
ตรงกันทุกกรณี แบบ
กรณีต่อกรณี สัจนิรัน
ดร์ คือ รูปแบบของ
ประพจน์ที่มีค่าความ
จริงเป็ นจริงทุกกรณีไม่
ว่าประพจน์ย่อยจะมีค่า
ความจริงเป็ นจริงหรือ
เท็จ

3. หลักการนับ ค 1.1 กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยว 40

เบื้องต้นและ ม. 4/1 กับการนับประกอบด้วย


ความน่าจะเป็ น ม. 4/2 หลักการคูณและหลัก
การบวก การเรียงสับ
เปลี่ยนเป็ นวิธีการจัด
เรียงสิ่งของที่กำหนดให้
โดยคำนึงถึงลำดับเป็ น
สำคัญ การจัดหมู่

พิเศษ 10
มาตรฐาน
ลำดับ ชื่อหน่วยการ การ เวลา
สาระสำคัญ
ที่ เรียนรู้ เรียนรู้ / ตัว (ชม.)

ชี้วัด
เป็ นการเลือกสิ่งของ
ออกมาเป็ นหมู่หรือเป็ น
ชุด โดยไม่ยึดถือลำดับ
ซึ่งเราสามารถนำมาใช้
ในการแก้ปั ญหาได้ การ
ทดลองสุ่มที่ผลแต่ละตัว
มีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ
กัน สามารถหาความน่า
จะเป็ นของเหตุการณ์ที่
เราสนใจได้ และยัง
สามารถนำความรู้เกี่ยว
กับความน่าจะเป็ นไป
ใช้ได้

พิเศษ 11
Pedagogy

สื่อการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.4 ผู้จัดทำได้ออกแบบการ


สอน (Instructional Design) อันเป็ นวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิคการสอน
ที่เปี่ ยมด้วยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียน
สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด รวมถึงสมรรถนะ
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่หลักสูตรกำหนดไว้ โดยครูสามารถ
นำไปใช้สำหรับจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนได้อย่างเหมาะสม สำหรับ Pedagogy
หลักที่นำมาใช้ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบด้วย

รูปแบบการสอน Concept

เลือกใช้รูปแบบการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็ นศูนย์กลาง : Concept


Based Teaching เนื่องจากคณิตศาสตร์เป็ นวิชาที่เป็ นเครื่องมือในการ
ดำเนินชีวิตโดยอาศัยหลักการและความคิดรวบยอดต่าง ๆ เพื่อประยุกต์ใช้ ดัง
นั้น Concept Based Teaching เป็ นการจัดการเรียนการสอนที่นำพาผู้เรียน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ มีทักษะ และเกิดความคิดรวบยอด ผลของการ
จัดการเรียนการสอนในลักษณะนี้ จะทำให้ผู้เรียนได้ความรู้ และมีทักษะใน
การค้นหาความคิดรวบยอด ซึ่งจะเป็ นทักษะสำคัญที่ติดตัวผู้เรียนไปตลอด
ชีวิต

วิธีการสอน (Teaching Method)


เลือกใช้วิธีการสอนที่หลากหลาย เช่น อุปนัย นิรนัย การสาธิต แบบสาธิต
แบบแก้ปั ญหา และแบบบรรยาย

พิเศษ 12
เป็ นต้น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และเกิดความเข้าใจในเนื้อหาคณิตศาสตร์อย่าง
ถ่องแท้ โดยจะเน้นใช้วิธีสอนแบบอุปนัย (Inductive Method) เนื่องจาก
เป็ นการสอนที่ผู้เรียนจะได้ค้นหาสิ่งที่มีอยู่ร่วมกันจากตัวอย่างสถานการณ์ต่าง
ๆ ซึ่งสนับสนุนกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Concept Based Teaching
ที่ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ ซึ่งทำให้ได้ความคิดรวบยอดที่สำคัญ

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)


เลือกใช้เทคนิคสอนที่หลากหลายและเหมาะสมกับเรื่องที่เรียน เช่น การใช้
คำถาม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้แผนภาพ และการใช้สื่อการ
เรียนรู้ที่น่าสนใจ เป็ นต้น เพื่อส่งเสริมวิธีการสอนและรูปแบบการสอนให้มี
ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีความสุข และสามารถฝึ กฝนทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ได้

พิเศษ 13
โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 4
เวลา 80 ชั่วโมง
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
1. เซต แผนที่ 1 ความรู้เบื้องต้น Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 1.1 เรื่อง 3
2. ทักษะการการระบุ การเขียนเซต
เกี่ยวกับเซต Teaching
2. ตรวจใบงานที่ 1.2
เรื่อง เซตจำกัดและ
เซตอนันต์
3. ตรวจใบงานที่ 1.3
เรื่อง เซตที่เท่ากัน
4. ตรวจใบงานที่ 1.4
เรื่อง เซตว่าง
5. ตรวจแบบฝึ กทักษะ
1.1
6. ตรวจ Exercise 1.1A
7. ตรวจ Exercise 1.1B
8. ตรวจ Exercise 1.1C
9. ตรวจ Exercise
1.1D
10. ตรวจผลงานการนำ
เสนอ

พิเศษ 14
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
11. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
12. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
13. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 2 แผนภาพเวนน์ แบบอุปนัย 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 1.5 2
และ 2. ทักษะการระบุ เรื่อง แผนภาพเวนน์
(Induction)
เอกภพสัมพัทธ์ 2. ตรวจแบบฝึ กทักษะ
1.2 ข้อ 1
3. ตรวจ Exercise 1.2A
4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล

5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 3 สับเซต และเพา Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 1.6 2
เวอร์เซต Teaching 2. ทักษะการระบุ เรื่อง สับเซตและ
สับเซตแท้

พิเศษ 15
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
2. ตรวจใบงานที่ 1.7
เรื่องเพาเวอร์เซต
3. ตรวจแบบฝึ กทักษะ
1.2 ข้อ 2-6
4. ตรวจ Exercise 1.2B
5. ตรวจ Exercise 1.2C
6. ตรวจผลงานการนำ
เสนอ
7. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
8. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
9. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 4 อินเตอร์เซกชัน Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 1.8 เรื่อง 2

พิเศษ 16
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
และยูเนียน ของเซต Teaching 2. ทักษะการคิด อินเตอร์
คล่อง เซกชันของเซต
2. ตรวจใบงานที่ 1.9 เรื่อง
ยูเนียนของ เซต
3. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 1.3
ข้อ 1-4, 8-10
4. ตรวจ Exercise 1.3A
5. ตรวจ Exercise 1.3B
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
7. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม

8. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน

พิเศษ 17
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
แผนที่ 5 คอมพลีเมนต์ Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 1.10 เรื่อง 2
ของเซตและ ผลต่าง Teaching 2. ทักษะการคิดคล่อง คอมพลีเมนต์
ระหว่างเซต ของเซต
2. ตรวจใบงานที่ 1.11 เรื่อง
ผลต่าง ระหว่างเซต
3. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 1.3
ข้อ 5-6
4. ตรวจ Exercise 1.2C
5. ตรวจผลงานการนำ
เสนอ
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
7. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
8. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน

พิเศษ 18
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
การทำงาน
แผนที่ 6 การหาผลการ Concept Based 1.ทักษะการคิดคล่อง 1. ตรวจใบงานที่ 1.12 เรื่อง 2
ดำเนินการของ Teaching 2.ทักษะการประยุกต์ การหาผลการ
เซตตั้งแต่สอง ใช้ความรู้ ดำเนินการของเซตตั้งแต่
เซตขึ้นไป สองเซตขึ้นไป
2. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 1.3
ข้อ 7, 11-17
3. ตรวจ Exercise 1.3D
4. ตรวจผลงานการนำ
เสนอ
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
7. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน

พิเศษ 19
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
การทำงาน
แผนที่ 7 จำนวนสมาชิก Concept Based 1.ทักษะการคิดคล่อง 1. ตรวจใบงานที่ 1.13 เรื่อง 5
ของเซตจำกัด Teaching 2. ทักษะการประยุกต์ การหาจำนวนสมาชิกของ
ใช้ความรู้ เซตจำกัด
3.ทักษะกระบวนการ 2.ตรวจแบบฝึ กทักษะ 1.4
คิด แก้ปั ญหา 3.ตรวจ Exercise 1.4
4. ทักษะการคิดอย่าง 4.ตรวจผลงานการนำเสนอ
สร้างสรรค์ 5.ตรวจชิ้นงานป้ าย
ประชาสัมพันธ์
แผ่นพับให้เกร็ดความรู้
หรือโปสเตอร์เชิญชวน
6.สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
7.สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
8. สังเกตความมีวินัย ใฝ่

พิเศษ 20
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
2. แผนที่ 1 ประพจน์ Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 2.1 2
ตรรกศาสตร์ Teaching 2. ทักษะการให้ เรื่อง ประพจน์
เบื้องต้น เหตุผล 2. ตรวจแบบฝึ กทักษะ
2.1
3. ตรวจ Exercise 2.1
4. ตรวจผลงานการนำเสนอ
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
7. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 2 การเชื่อม แบบนิรนัย 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 2.2 2

พิเศษ 21
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
ประพจน์ (Deduction) 2. ทักษะการให้เหตุผล 2. ตรวจ Exercise 2.2
3. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
4. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 3 การหาค่า แบบอุปนัย 1. ทักษะการให้เหตุผล 1. ตรวจใบงานที่ 2.2 เรื่อง 4
ความจริงของ (Induction) 2. ทักษะการ การหาค่า
ประพจน์ ประยุกต์ใช้ความรู้ ความจริงของรูปแบบของ
ประพจน์ (1)
2. ตรวจใบงานที่ 2.3 เรื่อง
การหาค่า
ความจริงของรูปแบบของ
ประพจน์ (2)
3. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 2.3
4. ตรวจ Exercise 2.3

พิเศษ 22
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
5. ตรวจผลงานการนำเสนอ
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
7. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
8. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 4 การสร้าง Concept Based 1. ทักษะการให้เหตุผล 1. ตรวจใบงานที่ 2.4 เรื่อง 4
ตารางค่าความจริง Teaching 2. ทักษะการ การสร้างตารางค่าความ
ประยุกต์ใช้ความรู้ จริง
2. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 2.4
3. ตรวจ Exercise 2.4
4. ตรวจผลงานการนำเสนอ
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล

พิเศษ 23
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
7. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
แผนที่ 5 รูปแบบ Concept Based 1. ทักษะการให้เหตุผล 1. ตรวจใบงานที่ 2.5 เรื่อง 5
ประพจน์ที่สมมูลกัน Teaching 2. ทักษะการ รูปแบบของประพจน์ที่
ประยุกต์ใช้ความรู้ สมมูลกัน
2.ตรวจแบบฝึ กทักษะ 2.5
3.ตรวจ Exercise 2.5
4.ตรวจผลงานการนำเสนอ
5.สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
6.สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
7.สังเกตความมีวินัย ใฝ่

พิเศษ 24
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
เรียนรู้ มุ่งมั่นในการ
ทำงาน
แผนที่ 6 สัจนิรันดร์ Concept Based 1. ทักษะการให้เหตุผล 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 2.6 5
Teaching 2. ทักษะการ 2. ตรวจ Exercise 2.6
ประยุกต์ใช้ความรู้ 3. ตรวจผลงานการนำเสนอ
4. ตรวจรายงานเรื่อง
นักเรียนสมารถนำ ความรู้
เกี่ยวกับตรรกศาสตร์เบื้อง
ต้นมา ใช้ในชีวิตประจำวัน
ได้อย่างไรบ้าง
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
7. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน

พิเศษ 25
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
การทำงาน
3. หลักการ แผนที่ 1 แผนภาพ Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 3.1 3
นับ เบื้อง ต้นไม้และแผนภาพ โพสสิ Teaching 2. ทักษะการ เรื่อง แผนภาพ ต้นไม้
ต้นและความ บิลิตี้ ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจผลงานการนำเสนอ
น่าจะเป็ น 3. ทักษะการคิด 3. สังเกตพฤติกรรมการ
สร้างสรรค์ ทำงานรายบุคคล
4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 2 กฎเกณ์ แบบนิรนัย 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 3.1 4
เบื้องต้นเกี่ยวกับ (Deduction) 2. ทักษะการประยุกต์ ข้อ 1-3, 5,
การนับ (หลักการ ใช้ความรู้ 7-9, 11-13
คูณ) 2. ตรวจผลงานการนำเสนอ
3. สังเกตพฤติกรรมการ

พิเศษ 26
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
ทำงานรายบุคคล
4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 3 กฎเกณ์ แบบนิรนัย 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 3.2 เรื่อง 3
เบื้องต้นเกี่ยวกับ (Deduction) 2. ทักษะการ หลักการบวก
การนับ (หลักการ ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 3.1
บวก) ข้อ 4
3. ตรวจ Exercise 3.1
4. ตรวจผลงานการนำเสนอ
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม

พิเศษ 27
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
7. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 4 การเรียงสับ Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 5
เปลี่ยน Teaching 2. ทักษะการ 3.2
ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจ Exercise 3.2
3. ตรวจผลงานการนำเสนอ
4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 5 การจัดหมู่ Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 5
Teaching 2. ทักษะการ 3.3

พิเศษ 28
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจ Exercise 3.3
3. ทักษะการคิด 3. ตรวจผลงานการนำเสนอ
สร้างสรรค์ 4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 6 การทดลอง Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 3.3 เรื่อง 3
สุ่มและปริภูมิ Teaching 2. ทักษะการ การทดลองสุ่ม และ
ตัวอย่าง ประยุกต์ใช้ความรู้ ปริภูมิตัวอย่าง
2. ตรวจแบบฝึ กทักษะ
3.4 ข้อ 1
3. ตรวจ Exercise 3.4A
4. ตรวจแบบฝึ กทักษะประจำ

พิเศษ 29
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
หน่วยการ เรียนรู้ที่ 2 ข้อ
7 (ข้อ 1 ย่อย)
5. ตรวจผลงานการนำเสนอ
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
7. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
8. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 7 เหตุการณ์ แบบอุปนัย 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจใบงานที่ 3.4 เรื่อง 3
(Induction) 2. ทักษะการ เหตุการณ์
ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจ Exercise 3.4B
3. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 3.4
ข้อ 2
4. ตรวจแบบฝึ กทักษะ

พิเศษ 30
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
ประจำหน่วยการ เรียนรู้ที่
2 ข้อ 7 (ข้อ 2 ย่อย)
5. ตรวจผลงานการนำเสนอ
6. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
7. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
8. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 8 ความหมาย แบบอุปนัย 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 3.4 2
ของความ (Induction) 2. ทักษะการ ข้อ 3, 13, 14
น่าจะเป็ น ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจผลงานการนำเสนอ
3. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
4. สังเกตพฤติกรรมการ

พิเศษ 31
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
ทำงานกลุ่ม
5. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 9 ความน่าจะเป็ น Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 4
ของเหตุการณ์ Teaching 2. ทักษะการ 3.4 ข้อ 6
ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจ Exercise 3.4C
3. ตรวจผลงานการนำเสนอ
4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 10 ความน่าจะ Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 4

พิเศษ 32
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
เป็ นของ Teaching 2. ทักษะการ 3.4 ข้อ 4-5, 7-12
คอมพลีเมนต์ของ ประยุกต์ใช้ความรู้ 2. ตรวจ Exercise 3.4D
เหตุการณ์ 3. ตรวจผลงานการนำเสนอ
4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน
แผนที่ 11 การนำความรู้ Concept Based 1. ทักษะการสังเกต 1. ตรวจแบบฝึ กทักษะ 4
เกี่ยวกับ Teaching 2. ทักษะการ ประจำหน่วยการ เรียนรู้ที่
ความน่าจะเป็ นไป ประยุกต์ใช้ความรู้ 3 ข้อ 1-6, 8-19
ใช้ 3. ทักษะการคิด 2. ตรวจผังมโนทัศน์ หน่วย
สร้างสรรค์ การเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง
หลักการนับเบื้องต้นและ

พิเศษ 33
แนวคิด/รูปแบบ
หน่วยการ เวลา
แผนการจัดการเรียนรู้ การสอน/ ทักษะที่ได้ การประเมิน
เรียนรู้ (ชั่วโมง)
วิธีการสอน/เทคนิค
ความน่าจะเป็ น
3. ตรวจผลงานการนำเสนอ
4. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานรายบุคคล
5. สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม
6. สังเกตความมีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ มุ่งมั่นใน
การทำงาน

พิเศษ 34

You might also like