Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 52

ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.

com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง


บทที่ 2 ระบบจำนวนจริ ง
2.1 จำนวนจริง
จำนวนที่เรำใช้ในวิชำคณิ ตศำสตร์ มีหลำยประเภท ซึ่ งสำมำรถจำแนกแยกประเภทได้ดงั นี้
จำนวนเชิงซ้อน ( C

จำนวนจริ ง ( R ) จำนวนจินตภำพ

จำนวนตรรกยะ ( Q จำนวนอตรรกยะ ( Q)

จำนวนเต็ม ( I ) จำนวนไม่เต็ม ( I)

จำนวนเต็มลบ ( I– ) จำนวนเต็มศูนย์ ( 0 ) จำนวนเต็มบวก ( I+ )


หรื อจำนวนนับ ( N )

จำนวนจริง ( R ) คือจำนวนที่สำมำรถเขียนแสดงบนบนเส้นจำนวนได้ เช่น –3 , – 53 , 0


o
, 0.5 , 3 , 3. 3 เป็ นต้น o
–3 – 53 0 0.5 3 3. 3
–3 –2 –1 0 1 2 3
จำนวนตรรกยะ ( Q ) คือจำนวนจริ งที่สำมำรถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนของจำนวนเต็มโดย
ที่ส่ วนไม่เป็ นศูนย์ ได้แก่ จำนวนเต็ม เศษส่ วน จำนวนอยู่ในรู ป ทศนิ ยมธรรมดำและทศนิ ยมซ้ ำ
o
เช่น 8 , –6 , 0 , 43 , 4.3 , 3. 3 เป็ นต้น จำนวนเหล่ำนี้ สำมำรถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนของ
จำนวนเต็มได้เสมอจึงเป็ นจำนวนตรรกยะ เช่น
8 = 81 , –6 = – 16 , 0 = 01 , 4.3 = 10 43 , 3. o3 = 33
9
จำนวนตรรกยะ ( Q ) คือจำนวนจริ งที่ไม่สำมำรถเขียนให้อยูใ่ นรู ปเศษส่ วนของจำนวนเต็มได้
/

เช่น 3 , 5 +2 , p เป็ นต้น


3 = 1.7320508…… มีค่ำเป็ นจำนวนทศนิยมไม่ซ้ ำและไม่รู้จบ จึงเขียนเป็ นเศษส่ วนไม่ได้
p = เส้นรอบวงก ลม ปัจจุบนั ยังหำค่ำที่แน่นอนไม่ได้ จึงเขียนเป็ นเศษส่ วนไม่ได้
เส้นผ่านศู นย์กลาง
1
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
จำนวนตรรกยะ ( Q ) ยังแบ่งได้เป็ นจำนวนเต็ม ( I ) และจำนวนทีไ่ ม่ ใช่ จำนวนเต็ม ( I/ )
จำนวนเต็ม ( I ) ยังแบ่งเป็ นจำนวนเต็มบวก (I) , จำนวนเต็มลบ (I/) และจำนวนเต็มศูนย์ (0)
จำนวนเต็มศูนย์ (0) ไม่ใช้จำนวนเต็มบวกหรื อจำนวนเต็มลบ
จำนวนเต็มบวก เรี ยกอีกอย่ำงว่ำจำนวนนับ ( N ) เพรำะเป็ นจำนวนที่ใช้ในกำรนับจำนวน
คน สัตว์ สิ่ งของใดๆ
1. จำนวนที่กำหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่จำนวนที่เป็ นจำนวนตรรกยะ
8 , 0 , –2 , 43 , 1.2693 , 5.9 , 3 , 1+ 3
1. 4 2. 5 3. 6 4. 7

2. 5.9 มีค่ำเป็ นเช่นไรเมื่อเทียบกับ 6


1. น้อยกว่ำ 2. มำกกว่ำ 3. เท่ำกับ 4. เทียบไม่ได้

3(แนว O-net) พิจำรณำข้อควำมต่อไปนี้


(ก) มีจำนวนตรรกยะที่มำกที่สุดที่นอ้ ยกว่ำ 6
(ข) มีจำนวนอตรรกยะที่มำกที่สุดที่นอ้ ยกว่ำ 6
ข้อสรุ ปใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. (ก) ถูก (ข) ถูก 2. (ก) ถูก (ข) ถูก
3. (ก) ผิด (ข) ถูก 4. (ก) ผิด (ข) ผิด

2
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
2.2 สมบัติของระบบจำนวนจริง
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับกำรบวก
สมบัติ ควำมหมำย ตัวอย่ำง
1. ปิ ด ถ้ำ a , b  R แล้ว a + b  R 1 , 2  R ดังนั้น 1 + 2  R
2. กำรสลับที่ a +b = b+a 1+2 = 2+1
3. กำรเปลี่ยนหมู่ a+(b+c)=(a+b)+c 1+(2+3) = (1+2)+3
4. กำรมีเอกลักษณ์ มีจำนวนจริ ง 0 ซึ่ง 0 + a = a = a + 0 0+5 = 5 = 5+0
5. กำรมีอินเวอร์ส สำหรับจำนวนจริ ง a จะมีจำนวนจริ ง –a (–3) + 3 = 0 = 3 + (–3)
ที่ (–a) + a = 0 = a + (–a)
สมบัติจำนวนจริงเกีย่ วกับกำรคูณ
สมบัติ ควำมหมำย ตัวอย่ำง
1. ปิ ด ถ้ำ a , b  R แล้ว a .b  R 1 , 2  R ดังนั้น 1 x 2  R
2. กำรสลับที่ a.b = b.a 1x2 = 2x1
3. กำรเปลี่ยนหมู่ a (b.c) = (a.b).c 1x(2x3) = (1x2)x3
4. กำรมีเอกลักษณ์ มีจำนวนจริ ง 1 ซึ่ง 1 . a = a = a . 1 1 x5 = 5 = 5x 1
5. กำรมีอินเวอร์ส สำหรับจำนวนจริ ง a ที่ a ≠ 0 จะมีจำนวน ( 1 ) x 3 = 1 = 3 x ( 1 )
3 3
จริ ง a–1 ที่ (a–1) a = 1 = a ( a–1 )
นอกจำกนี้ยงั มีสมบัติที่เกี่ยวกับทั้งกำรบวกและกำรคูณ ซึ่ งได้แก่คุณสมบัติกำรแจกแจง
กล่ำวคือ a (b + c ) = ab + ac เช่น 3 ( 2 + 5 ) = 3 (2) + 3 (5)
4. ตัวเลือกใดต่อไปนี้ เป็ นจริ งตำมคุณสมบัติกำรมีอินเวอร์ สสำหรับกำรบวกจำนวนจริ ง
1. (–6) + 0 = –6
2. [2 + (c + d)] + 3(c + d)] = 2 + [(c + d) + 3 (c + d)]
3. – 17 + 17 = 0
4. 2 + (m + 1) = 2 + (1 + m)

3
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
5. ตัวเลือกใดต่อไปนี้ เป็ นจริ งตำมคุณสมบัติปิดของกำรคูณจำนวนจริ ง
1. 13 (2 + 7) = (2 + 7) 13 2. (–5) ( 15 ) = 1
3. 1 x = x เมื่อ x คือจำนวนจริ งใดๆ 4. ผลลัพธ์ของ 7 ( –3) เป็ นจำนวนจริ ง

6. ข้อใดต่อไปนี้เป็ นจริ งตำมสมบัติของกำรกระจำยจำนวนจริ ง


1. q x 37 = 37 x q 2. (2 + 3) p = 2 p + 3 p
3. 6 + (5 + y) = (6 + 5) + y 4. (2 + 3) (5 + 6) = (5 + 6) (2 + 3)

7. จงหำอินเวอร์สกำรบวกของจำนวน ( a + b ) ตรงกับข้อใดต่อไปนี้
1. – a + b 2. a – b 3. –a – b 4. a + b

4
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
8. ให้ a , b เป็ นจ ำนวนจริ ง ใดๆ และ a * b = a – b + 1 จงพิ จ ำรณำข้อ ควำมที่ ก ำหนดให้
ต่อไปนี้วำ่ เป็ นจริ งกี่ขอ้
ก. a * b = b * a
ข. ( a * b ) * c = a * ( b * c )
ค. เซตของจำนวนจริ งกับ * มีสมบัติปิด
ง. เซตของจำนวนจริ ง มีเอกลักษณ์ของ *
จ. สำหรับจำนวนจริ ง a ใดๆ มีจำนวนจริ งที่เป็ นอินเวอร์สของ a
1. 1 ข้อ 2. 2 ข้อ 3. 3 ข้อ 4. 4 ข้อ

2.3 ทฤษฏีบทเศษเหลือ และกำรแก้สมกำรพหุนำมตัวแปรเดียว


2.3.1 ทฤษฏีบทเศษเหลือ
ทฤษฏีบทเศษเหลือ “ เมื่อ p(x) เป็ นพหุนามใดๆ ถ้าหาร p(x) ด้วยพหุนาม x – c แล้วเศษ
จากการหารจะเท่ากับ p(c) เมื่อ c เป็ นจานวนจริ ง ”
เราใช้ทฤษฏีบทเศษเหลือหาเศษเหลือจากการหารพหุนามได้ดงั ตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่ำง จงหาเศษที่เหลือจากการหาร p(x) = x3 + x2 + 4x + 1 ด้วย x – 1
แนวคิด ขั้นที่ 1 ให้ x–1 = 0
จะได้ x=1
ขั้นที่ 2 จาก p(x) = x3 + x2 + 4 x + 1 ( แทนค่า x = 1 )
จะได้ p(1) = (1)3 + (1)2 + 4( 1 ) + 1
p(1) = 7
นัน่ คือเศษที่เหลือจากการหารมีค่าเท่ากับ 7

5
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
9. เศษเมื่อหาร x3 – 7x2 + 11x – 4 ด้วย x – 3 มีคา่ เท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. –5 2. –6 3. –7 4. –8

10. เศษเมื่อหาร x3 + x2 + 4x + 1 ด้วย x มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 3 3. 5 4. –5

11. เศษเมื่อหาร 4x4 – 3x2 + 8 ด้วย x2 – 3 มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้


1. 40 2. 35 3. 30 4. 25

6
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
12. ค่า a ที่ทาให้ x – 2 หาร x2 – 7x + a ลงตัวพอดี มีค่าเท่ากับข้อใดต่อไปนี้
1. 5 2. 10 3. 15 4. 20

13(แนว มช) ถ้าพหุ นาม p(x) = 6x3 + ax2 + bx – 1 มี (x – 1) เป็ นตัวประกอบ และเมื่อหาร
ด้วย ( x + 1) จะเหลือเศษ –24 แล้ว a b จะมีค่าเท่ากับข้อใด
1. 44 2. –44 3. 66 4. –66

2.3.2 กำรแก้ สมกำรพหุนำมตัวแปรเดียว


สมกำรพหุ นำมตัวแปรเดียว คือสมกำรที่เขียนอยูใ่ นรู ป
an xn + an–1 xn + an+2 xn+2 + …… + a1 x + a0 = 0
เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็มบวก
กำรแก้สมกำรพหุนำมที่มีดีกรี สูง (ตั้งแต่ดีกรี 3 ขึ้นไป ) สำมำรถทำได้ดงั ตัวอย่ำงต่อไปนี้

7
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
14. คาตอบของสมการ x3 + x2 – 8x – 12 = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. –3 < x < 4 2. –2 < x < 3 3. –1 < x < 5 4. 0 < x < 6

15. เซตคาตอบของสมการ x3 – 10x2 + 27x = 18 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้


1. { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 } 2. { 5 , 6 , 9 , 13 , 15 }
3. { 1 , 3 , 6 , 9 , 12 } 4. { 1 , 2 , 5 , 6 , 9 }

16(แนว มช) คำตอบของสมกำร x3 – x2 – 5x – 3 = 0 ที่สอดคล้องกับเงื่อนไข x2 > 2 อยู่


ในช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. –3 < x < 0 2. –2 < x < 3 3. 0 < x < 5 4. –1 < x < 1

17. คาตอบของสมการ 1 – 3x2 + 2x3 = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. –1 < x < 2 2. 0 < x < 1 3. –3 < x < 0 4. 0 < x < 6

8
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
18. คาตอบของสมการ 2x4 – 13x3 + 28x2 = 23x – 6 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้
1. –5 < x < 0 2. 0 < x < 5 3. –4 < x < 2 4. –3 < x < 3

19. คาตอบของสมการ x3 + 5x2 + 6x = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. –3 < x < 2 2. –2 < x < 1 3. –4 < x < 1 4. 0 < x < 3

20. คาตอบของสมการ x3 – 5x2 – 16x + 80 = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. –5 < x < 0 2. –6 < x < 6 3. –4 < x < 8 4. 0 < x < 10

9
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
21(แนว PAT1) ผลบวกของตำตอบของสมกำร 2x3 – 7x2 + 7x –2 = 0 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 3.0 2. 3.5 3. 4.0 4. 4.5

22(แนว En) เซตในข้อใดต่อไปนี้เป็ นเซตคำตอบของสมกำร 9x3 + 12x2 + x – 2 = 0


1. { – 2 , 13 , 23 } 2. { – 1 , – 13 , 12 }
3. { – 1 , 13 , 23 } 4. { – 1 , – 23 , 13 }

23. ให้ a เป็ นจำนวนเต็ม ถ้ำ x – a หำร x3 + 2 x2 – 5x – 2 เหลือเศษ 4 แล้วผลบวกของ


ค่ำ a ทั้งหมดที่สอดคล้องกับเงื่อนไขดังกล่ำวเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –6 2. –2 3. 3 4. 6

10
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
2.4 สมบัติของกำรไม่ เท่ ำกัน
สมบัติบำงประกำรของกำรไม่ เท่ำกัน
ให้ a , b , c เป็ นจำนวนจริ งใดๆ
1) สมบัติกำรถ่ำยทอด
ถ้ำ a > b และ b > c แล้ว a > c
เช่น 10 > 8 และ 8 > 7 จะได้วำ่ 10 > 7
2) สมบัติกำรบวกด้วยจำนวนที่เท่ำกัน
ถ้ำ a > b แล้ว a + c > b + c
เช่น 2 > 1
จะได้ 2 + 4 > 1 + 4
นัน่ คือ 6 > 5
3) สมบัติกำรคูณด้วยจำนวนที่เท่ำกัน
3.1) ถ้ำ a > b แล้ว a c > b c เมื่อ c > 0
เช่น 2 > 1
จะได้ 2 x 4 > 1 x 4
นัน่ คือ 8 > 4
3.2) ถ้ำ a > b แล้ว a c < b c เมื่อ c < 0
เช่น 2 > 1
จะได้ 2 x (–5) < 1 x (–5)
นัน่ คือ – 10 < – 5
3.3) ถ้ำ a > b แล้ว a c = b c เมื่อ c = 0
เช่น 2 > 1
จะได้ 2 x 0 = 1 x 0
นัน่ คือ 0 = 0
4) ถ้ำ a < b และ c < d แล้ว a + c < b + d
5) ถ้ำ a < b และ c < d แล้ว a – d < b – c
6) ถ้ำ 0 < a < b และ 0 < c > d แล้ว ac < bd
7) ถ้ำ 0 < a < b และ 0 < c > d แล้ว da < bc
8) ถ้ำ 0 < a < b แล้ว 1a < 1b
11
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
2.5 ช่ วงและกำรแก้อสมกำร
2.5.1 ช่ วง
บทนิยำม เมื่อเอกภพสัมพัทธ์เป็ นเซตของจำนวนจริ ง และ a < b
ช่วงเปิ ด (a , b) หมำยถึง { x  a < x < b } a b
ช่วงปิ ด [a , b] หมำยถึง { x  a  x  b } a b
ช่วงครึ่ งเปิ ด (a , b] หมำยถึง { x  a < x  b } a b
ช่วงครึ่ งเปิ ด [a , b) หมำยถึง { x  a  x < b } a b
ช่วง (a , ) หมำยถึง { x  x > a} a
ช่วง [a , ) หมำยถึ ง { x  x  a} a
ช่วง (– , a) หมำยถึง { x  x < a } a
ช่วง (– , a] หมำยถึง { x  x  a } a
ช่วง (– , ) หมำยถึ ง เซตของจ ำนวนจริ ง R
ฝึ กทำ จงเขียนช่วงต่อไปนี้ในรู ปของเซต พร้อมทั้งแสดงช่วงด้วยกรำฟบนเส้นจำนวน

1. ( –2 , 1) -3 -2 -1 0 1 2

2. [ 4 , 7 ]
3 4 5 6 7 8

3. [ –3 , 1 )
-3 -2 1 0 1 2

4. ( –3 , 0 ]
-3 -2 -1 0 1 2

12
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
24. ถ้า A = (–1 , 2) , B = [0 , 4] ช่วงคาตอบของ A  B คือข้อใดต่อไปนี้
1. ( –1 , 4 ] 2. ( –1 , 5 ] 3. ( –1 , 6 ] 4. ( –1 , 7 ]

25. ถ้า A = (–1 , 2) , B = [0 , 4] ช่วงคาตอบของ A  B คือข้อใดต่อไปนี้


1. [0 , 1) 2. [0 , 2) 3. [0 , 3) 4. [0, 4)

26. ถ้า A = (–1 , 2) , B = [0 , 4] ช่วงคาตอบของ A – B คือข้อใดต่อไปนี้


1. (–1 , –2) 2. (–1 , –1) 3. (–1 , 0) 4. (–1 , 1)

27. ถ้า A = (–1 , 2) , B = [0 , 4] ช่วงคาตอบของ B – A คือข้อใดต่อไปนี้


1. [1 , 2] 2. [1 , 4] 3. [2 , 2] 4. [2 , 4]

13
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
ฝึ กทำ จงเขียนช่วงต่อไปนี้ในรู ปของเซต พร้อมทั้งแสดงช่วงด้วยกรำฟบนเส้นจำนวน

1. ( 1 , ) -3 -2 -1 0 1 2

2. [ 0 ,  ) -3 -2 -1 0 1 2

3. ( – , 1 ) -3 -2 -1 0 1 2

4. ( – , –2 ] -3 -2 -1 0 1 2

28. ถ้า A = (– , 2) , B = [0 , ) ช่วงคาตอบของ A  B คือข้อใดต่อไปนี้


1. [0 , 1) 2. [0 , 2) 3. [0 , 3) 4. [0, 4)

14
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
29. ถ้า A = (–1 , 2) ช่วง A คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 1]  [2 , ) 2. (– , 0]  [2 , )
3. (– , –1]  [2 , ) 4. (– , 1]  [2 , )

2.5.2 กำรแก้อสมกำรตัวแปรเดียวดีกรี 1
กำรแก้อสมกำรพหุ นำมดีกรี หนึ่ งตัวแปรเดียว สำมำรถทำได้โ ดยใช้วิธีคูณไข้วย้ำยข้ำงคล้ำย
กำรแก้สมกำร แต่ตอ้ งระวังว่ำหำกมีกำรคูณตลอดด้วยจำนวนที่มีค่ำเป็ นลบ ต้องเปลี่ยนเครื่ องหมำย
อสมกำรด้วยเสมอ ดังแสดงในโจทย์ตวั อย่ำงต่อไปนี้

30. เซตคำตอบของอสมกำร 4 x + 2  x + 7 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 0 ) 2. ( – , 53 ) 3. ( 53 , ) 4. ( 2 , )

31. เซตคำตอบของอสมกำร 2x – 1  x + 9 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 0 ) 2. ( – , 10 ) 3. ( 10 , ) 4. ( 2 , )

15
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
32. เซตคำตอบของอสมกำร 8x – 5  3x + 15 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. ( – , 0 ] 2. ( – , 4 ] 3. [ 4 , ) 4. [ 10 , )

33. เซตคำตอบของอสมกำร 3x – 2  x คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 0 ] 2. ( – , 1 ] 3. [ 0 , ) 4. [ 2 , )

34. เซตคำตอบของอสมกำร 8 – 3x  x คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 0 ) 2. ( – , 2 ) 3. ( 0 , ) 4. ( 2 , )

35. เซตคำตอบของอสมกำร 5 – 3m  19 + 4m คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 0 ] 2. (– , 2 ) 3. [–2 , ) 4. [2 , )

16
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
36. เซตคำตอบของอสมกำร 6 – 3m  3m คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. ( – , 0 ] 2. ( – , 1 ] 3. [ 0 , ) 4. [ 2 , )

37. ช่วงคำตอบของอสมกำร 6x – 7 > 6 (5 + x) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1.  2. (–13 , 13) 3. (–,–13)  (13 , ) 4. (– , )

38. ช่วงคำตอบของอสมกำร 8x – 3 < 8 (x + 1) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1.  2. (–7 , 7) 3. (– , –7)  (7 , ) 4. (– , )

17
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
2.5.3 กำรแก้ อสมกำรตัวแปรเดียวดีกรีสูง
วิธีการแก้อสมการตัวแปรเดียวดีกรี สูง ให้ศึกษาจากตัวอย่างต่อไปนี้

39. เซตคำตอบของอสมกำร x2 – 5x + 6 < 0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้


1. (–∞ , 3 ) 2. ( 2 , 3 ) 3. (0 , 5) 4. (2 , ∞)

40. เซตคำตอบของอสมกำร x2 – 7x + 12  0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้


1. (–∞ , 5 ] 2. (3 , 4) 3. [ 3 , 4 ] 4. [2 , ∞)

41. เซตคำตอบของอสมกำร x2 – 3x – 10 > 0 คือเซตข้อใดต่อไปนี้


1. ( –∞ , –2 )  ( 5 , ∞ ) 2. ( –∞ , –6 )  ( 1 , ∞ )
3. ( –∞ , –2 ]  [ 5 , ∞ ) 4. ( –∞ , –6 ]  [ 1 , ∞ )

18
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
42. เซตคำตอบของอสมกำร 5x  6 – x2 คือเซตข้อใดต่อไปนี้
1. ( –∞ , –2 )  ( 5 , ∞ ) 2. ( –∞ , –6 )  ( 1 , ∞ )
3. ( –∞ , –2 ]  [ 5 , ∞ ) 4. ( –∞ , –6 ]  [ 1 , ∞ )

43. เซตคำตอบของอสมกำร x3 – 3x2  10x คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –2 ]  [0 , 5 ] 2. [–2 , 0 ]  [5 , )
3. [–2 , 5 ] 4. [0 , 2]

44. เซตคำตอบของอสมกำร x (x2 + 4) < 5x2 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 0 )  (1 , 4 ) 2. (0 , 1 )  (4 , )
3. (0 , 4 ) 4. (1 , 4 )

19
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
45. เซตคำตอบของอสมกำร x3 – x > 2x2 – 2 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –1 )  (1 , 2) 2. (–1 , 1)  (2 , )
3. (–1 , 2 ) 4. (1 , 2 )

46(แนว มช) ให้ A เป็ นเซตคำตอบของอสมกำร 3y2 – 2y – 5  0 คอมพลีเมนต์ของ A คือข้อใด


1. [–1 , 53 ] 2. [ 35 , 1 ]
3. ( – , 35 )  (1 ,  ) 4. ( – , –1)  ( 53 ,  )

สิ่ งต้ องทรำบเพิม่ เติมเกีย่ วกับกำรแก้อสมกำรโดยใช้ เส้ นจำนวน


1) อสมการพหุ นามที่จะแก้โดยวิธีน้ ี ได้ ต้องเรี ยงลาดับตัวแปรจากตัวแปรที่ มีกาลังสู งไปหา
ตัวแปรที่มีกาลังน้อย และตัวแปรที่อยูห่ น้าสุ ดต้องมีค่าสัมประสิ ทธิ์ เป็ นบวกเท่านั้น
2) กรณี ที่โจทย์อยูใ่ นรู ปเศษส่ วน ต้องระวังว่าคาตอบที่ได้ตอ้ งไม่ทาให้ส่วนเป็ น 0
3) ตัวแปรที่ไม่ทราบค่าว่าเป็ นบวกหรื อเป็ นลบห้ามคูณไขว้
4) ตัวแปรซึ่ งยกก าลังจานวนเต็มคี่ ให้คิดเป็ นตัวแปรยกก าลัง 1 ตัวแปรรู ปยกก าลังด้วย
จานวนเต็มคู่ ช่ วงที่อยู่ติดกับจุดวิกฤติที่เกิ ดจากตัวแปรยกกาลังคู่น้ นั ให้ใช้เครื่ องหมายบวกหรื อลบ
เหมือนกันทั้งช่วงที่ติดด้านซ้ายและด้านขวา และที่จุดวิกฤตนั้นให้เติมจุดด้วยเสมอ

20
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
47. เซตคำตอบของอสมกำร 6x – x2  5 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. [ 2 , 3 ] 2. [1 , 5] 3. [1 , 3] 4. [3 , 5]

48. เซตคำตอบของอสมกำร 9 – x2  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –3] 2. (– , –3]  [3 ,  ) 3. [3 ,  ) 4. [–3 , 3]

(x  5)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
49. เซตคำตอบของอสมกำร (x  4)
1. (– , 4) 2. (4 , 5) 3. [4 , 5] 4. (4 , 5]

21
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
50. เซตคำตอบของอสมกำร (x (x1)(x2) 3)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –3 ]  [1 , 2 ) 2. (– , 1 ]  [2 , 3 )
3. (– , –2 ]  [1 , 3 ) 4. (– , –3 ]  [–2 , –1 )

51. เซตคำตอบของอสมกำร x2 x 12 > 7 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 3 ) 2. (– , 0)  ( 3 , 4)
3. ( 4 ,  ) 4. (0 , 3)  ( 4 , )

52. จำนวนเต็มน้อยที่สุดในเซตคำตอบของอสมกำร x 6 4  x + 1 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. –2 2. –1 3. 4 4. 5

22
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
53. เซตคำตอบของอสมกำร x 1 1  (x 1 4) คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 1)  (4 , ) 2. (– , –4)  (–1 ,  )
3. (1 , 4) 4. (–4 , –1)

54. เซตคำตอบของอสมกำร (x – 1)3 (x + 2)4  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (–∞ , 1) 2. (–∞ , ∞)
3. (–∞ , –2)  (–2 , 1) 4. {–2}  (1 , ∞)

55. เซตคำตอบของอสมกำร (x – 1)3 (x + 2)4 > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (–1 , 0) 2. (1 , ∞) 3. (–∞ , 1) 4. (–1 , 1)

23
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
56. เซตคำตอบของอสมกำร (x – 1)3 (x + 2)4 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (–∞ , 1) 2. (–∞ , ∞)
3. (–∞ , –2)  (–2 , 1) 4. (–2 , ∞)

57. เซตคำตอบของอสมกำร (x – 1)3 (x + 2)4  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (–∞ , 1] 2. (–∞ , ∞)
3. (–∞ , –2]  [–2 , 1] 4. {–2}  [1 , ∞)

58. เซตคำตอบของอสมกำร (x + 2) (x – 3)6 (x – 5) < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. { –3 }  ( –2 , 5 ) 2. (–2 , 5 )
3. { –2 }  ( 3 , 5 ) 4. (–2 , 3 )  (3 , 5 )

24
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง

59. เซตคำตอบของอสมกำร (x  2)2 (x  7)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


(x  1)7 (x  3)
1. [ 3 , 7 ] 2. (– , 1 )  (3 , 7 ]
3. (– , 0 ] 4. (– , 1 )  {2}  (3 , 7 ]

60. เซตคำตอบของอสมกำร (2x + 1)3 (x + 1)5  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( –1 , – 12 ) 2. (– , –1 ]  [– 12 ,  )
3. (– , –1 ) 4. (– 12 ,  )

61. เซตคำตอบของอสมกำร x3 – x2 – x + 1  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. [ –1 ,  ) 2. (– , –1 ]  [ 0 ,  )
3. (– , –1 ] 4. (– , 0 ]  [ 1 ,  )

25
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
2 2
62. เซตคำตอบของอสมกำร (x  3x2 10)(x  x  6)  0 คือข้อใดต่อไปนี้
(x  2x  15)
1. [–3 , 3) 2. (–∞ , –3]  (3 , ∞)
3. (–∞ , –3]  {2}  (3 , ∞) 4. (–∞ , –5)  (–5 , –3]  {2}  (3 , ∞)

63. เซตคำตอบของอสมกำร x2 + 2 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 2 )  ( 2 ,  ) 2. (– 2 , 2 )
3.  4. R

64. เซตคำตอบของอสมกำร x2 + 5 > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 5 )  ( 5 ,  ) 2. (– 5 , 5 )
3.  4. R

26
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
65. เซตคำตอบของอสมกำร (x2 + 5) (x – 2) (x – 6)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. ( – , 2 )  (6 ,  ) 2. [2 , 6]
3.  4. R

66. จำนวนเต็มบวกที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร 3x – 1 < x + 2 < 5 มีกี่จำนวน


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

67. จำนวนเต็มบวกที่ไม่เป็ นสมำชิ กของเซตคำตอบของอสมกำร –2x – 5 < 7 < 3x – 2 มีกี่


จำนวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

27
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
68. เซตคำตอบของอสมกำร x < x2 – 12 < 4 x คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (4 , 6) 2. (5 , 6) 3. (6 , 6) 4. (7 , 6)

2.6 ค่ำสั มบูรณ์


ค่ำสัมบูรณ์ ของจำนวนจริ ง a ใดๆ หมำยถึงระยะห่ ำงจำกจุด 0 ถึงจำนวนจริ ง a นั้น บนเส้น
จำนวน เช่น 2  = 2
–3 = 3
–3 –2 –1 0 1 2 3
–1 = 1
0 = 0
สมบัติบำงประกำรของค่ ำสั มบูรณ์
 x เมื่อ x เป็ นจานวนบวกหรือศูน ย์
1. x = 
 x เมื่อ x เป็ นจานวนล บ

2.  x   0
3.  x   x
4.  x  =  –x 
5.  x . y  =  x   y 
6. xy = x
y
7.  x – y  =  y – x 
8.  x 2 =  x2  = x2
9. ถ้ำ  x   a จะได้วำ่ –a  x  a
ถ้ำ  x   a จะได้วำ่ –a  x  a
ถ้ำ  x   a จะได้วำ่ x  –a  x  a
ถ้ำ  x   a จะได้วำ่ x  –a  x  a
28
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
69. ถ้ำ x > 0 และ y < 0 แล้ว  x y  มีค่ำเท่ำกับเท่ำใด
1. x y 2. –x y 3.  x  y 4. x  y 

70. ถ้ำ b < a แล้ว  b – a  เท่ำกับข้อใด


1. b – a 2. a + b 3. –a –b 4. a – b

71. ถ้ำ x + y > z แล้ว  x + y – z  เท่ำกับข้อใด


1. x + y – z 2. x + y + z 3. x – y – z 4. x – y + z

29
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
2.7 กำรแก้สมกำรและอสมกำรในรู ปค่ ำสั มบูรณ์
2.7.1 กำรแก้ สมกำรพหุนำมเกีย่ วกับค่ ำสั มบูรณ์
วิธีกำรแก้สมกำรพหุ นำมซึ่ งอยูใ่ นรู ปค่ำสัมบูรณ์ให้ศึกษำจำกโจทย์ตวั อย่ำงต่อไปนี้

72. คำตอบของสมกำร  x + 1  = 10 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –11) 2. ( – , 0) 3. ( –12 , 12) 4. ( 0 , 20)

73. คำตอบของสมกำร  2x – 4  = 16 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –11) 2. ( – , 0) 3. ( –12 , 12) 4. ( 0 , 20)

30
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
74. เซตคำตอบของ  2x + 6  = x มีสมำชิกกี่ตวั
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

75. เซตคำตอบของ  x  = 2x – 3 มีสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

76. เซตคำตอบของ  x – 2  =  x + 3  มีสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

31
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
77. เซตคำตอบของ  x 2 – 2  x  – 24 = 0 มีสมำชิกกี่ตวั
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

78. เซตคำตอบของ  x 2 +  x  – 72 = 0 มีสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

2.7.2 กำรแก้ อสมกำรพหุนำมเกีย่ วกับค่ ำสั มบูรณ์


วิธีกำรแก้อสมกำรค่ำสัมบูรณ์ให้ศึกษำจำกโจทย์ตวั อย่ำงต่อไปนี้
79. เซตคำตอบของอสมกำร  x – 2  < 1 คือข้อใดต่อไปนี้
1. [ – , 1] 2. [ – , 3] 3. [1 , 3] 4. [3 , ]

32
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
80. เซตคำตอบของอสมกำร  2x + 3   7 คือข้อใดต่อไปนี้
1. [ – , –5] 2. [ – , 0] 3. [–5 , 2] 4. [2 , ]

81. เซตคำตอบของอสมกำร  x – 9   5 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 4 ]  [ 10 ,  ) 2. (– , 4 ]  [ 14 ,  )
3. (– , 6 ]  [ 10 ,  ) 4. (– , 6 ]  [ 14 ,  )

82. เซตคำตอบของอสมกำร  x + 3  > 5 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (–8 , 2) 2. (2 , 8)
3. (– , –8)  (2 , +) 4. (– , 2)  (8 , +)

33
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
83. เซตคำตอบของอสมกำร  x (x – 5)   6 คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 3)  (6 , ) 2. (– , –1)  (2 , 3)  (6 , )
3. (– , –1)  (6 , ) 4. (– ,  )

84. เซตคำตอบของอสมกำร  3x + 4   x + 2 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , – 23 ] 2. (– , –1 ] 3. [– 23 , –1 ] 4. (–1 ,  )

85. เซตคำตอบของอสมกำร  2x + 1  3x + 2 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– 23 , – 12 ) 2. (– 23 , 12 ) 3. (– 12 , 23 ) 4. (– 35 ,  )

34
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
86. เซตคำตอบของอสมกำร  x2 – 5x + 2   2 คือข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 5 ) 2. (0 , 1 )  (4 , 5)
3. (5 , ) 4. (– , 0)  (1 , 4)  (4 , )

87. เซตคำตอบของอสมกำร  x – 4   x – 2 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 3 ] 2. (– , 4 ] 3. (3 ,  ) 4. (4 ,  )

88. เซตคำตอบของอสมกำร  x + 1  > x – 3 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –1 ] 2. (– , 3 ] 3. (–1 , 3 ) 4. (– ,  )

35
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
89. จำนวนเต็มลบที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร  x    x – 1  มีกี่จำนวน
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

90. จำนวนเต็มลบที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร 3 x – 2  x + 6 มีกี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

x 1
91(แนว En) เซตคำตอบของ x  2 > 2 คือเซตหรื อช่วงในข้อใดต่อไปนี้
1.  2. (2 , 3) 3. (–1 , 2)  (2 , 7) 4. ( 53 , 2)  (2 , 3)

36
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
92. จำนวนเต็มลบที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x  4x  3 มีกี่จำนวน
1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

93. คำตอบของอสมกำร  3 –  x   < 1 คือช่วงในข้อใดต่อไปนี้


1. (–4 , –2)  (2 , 4) 2. (–4 ,–2)  (3 , 4)
3. (–4 , –2)  (4 , 4) 4. (–4 ,–2)  (5 , 4)

x
94. จำนวนเต็มลบที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x – 8 < x มีกี่จำนวน
1. 6 2. 7 3. 8 4. 9

37
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
3 1x
95. จำนวนเต็มบวกที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x  1 < – x มีกี่จำนวน
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

96. ช่วงคำตอบของอสมกำร x5 + 2 > x คือข้อใดต่อไปนี้


x5
1. (– , 2) – {–5 } 2. (– , 3) – {–5 }
3. (– , 4) – {–5 } 4. (– , 5) – {–5 }

97. ในช่วงคำตอบของอสมกำร x + 2   3 + x – 3 มีจำนวนเต็มบวกอยูก่ ี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

98. เซตคำตอบของสมกำร  x + 3  +  x – 1  = 6 มีสมำชิกอยูก่ ี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
38
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
เฉลยบทที่ 2 ระบบจำนวนจริ ง
1. ตอบข้ อ 3. 2. ตอบข้ อ 3. 3. ตอบข้ อ 4. 4. ตอบข้ อ 3.
5. ตอบข้ อ 3. 6. ตอบข้ อ 4. 7. ตอบข้ อ 2. 8. ตอบข้ อ 1.
9. ตอบข้ อ 3. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 1. 15. ตอบข้ อ 3. 16. ตอบข้ อ 3.
17. ตอบข้ อ 1. 18. ตอบข้ อ 2. 19. ตอบข้ อ 3. 20. ตอบข้ อ 2.
21. ตอบข้ อ 2. 22. ตอบข้ อ 4. 23. ตอบข้ อ 2. 24. ตอบข้ อ 1.
25. ตอบข้ อ 2. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 4. 28. ตอบข้ อ 2.
29. ตอบข้ อ 3. 30. ตอบข้ อ 3. 31. ตอบข้ อ 2. 32. ตอบข้ อ 3.
33. ตอบข้ อ 2. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบข้ อ 3. 36. ตอบข้ อ 2.
37. ตอบข้ อ 1. 38. ตอบข้ อ 4. 39. ตอบข้ อ 2. 40. ตอบข้ อ 3.
41. ตอบข้ อ 1. 42. ตอบข้ อ 4. 43. ตอบข้ อ 1. 44. ตอบข้ อ 1.
45. ตอบข้ อ 2. 46. ตอบข้ อ 4. 47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 2.
49. ตอบข้ อ 4. 50. ตอบข้ อ 1. 51. ตอบข้ อ 4. 52. ตอบข้ อ 1.
53. ตอบข้ อ 2. 54. ตอบข้ อ 2. 55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 3.
57. ตอบข้ อ 1. 58. ตอบข้ อ 4. 59. ตอบข้ อ 4. 60. ตอบข้ อ 1.
61. ตอบข้ อ 1. 62. ตอบข้ อ 4. 63. ตอบข้ อ 4. 64. ตอบข้ อ 3.
65. ตอบข้ อ 2. 66. ตอบข้ อ 1. 67. ตอบข้ อ 3. 68. ตอบข้ อ 1.
69. ตอบข้ อ 2. 70. ตอบข้ อ 4. 71. ตอบข้ อ 1. 72. ตอบข้ อ 3.
73. ตอบข้ อ 3. 74. ตอบข้ อ 1. 75. ตอบข้ อ 2. 76. ตอบข้ อ 2.
77. ตอบข้ อ 3. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 3. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 2. 82. ตอบข้ อ 3. 83. ตอบข้ อ 2. 84. ตอบข้ อ 3.
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบข้ อ 2 87. ตอบข้ อ 1. 88. ตอบข้ อ 4.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 1. 91. ตอบข้ อ 4. 92. ตอบข้ อ 4.
93. ตอบข้ อ 1. 94. ตอบข้ อ 3. 95. ตอบข้ อ 1. 96. ตอบข้ อ 2.
97. ตอบข้ อ 3. 98. ตอบข้ อ 3.



39
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
ตะลุ ย โจทย์ทวั่ ไป บทที่ 2 ระบบจำนวนจริง
2.1 จำนวนจริง
1. ข้อควำมต่อไปนี้ ข้อใดเป็ นจริ งตำมสมบัติของจำนวนจริ ง
1) 6 + (3 ×2) = (6 + 3) ×2 2) x – (y – z) = (x – y) – z
3) x – y = y – x 4) 5p + 5q = 5 (p + q)

2. ข้อใดไม่ถูกต้อง
1. อินเวอร์สกำรบวกของ 7 คือ –7 2. อินเวอร์สกำรคูณของ 8 คือ 1
8
3. อินเวอร์สกำรบวกของ 29 คือ 92 4. อินเวอร์สกำรคูณของ 53 คือ 3
5

2.2 สมบัติของระบบจำนวนจริง
3. ตัวเลือกใดต่อไปนี้ เป็ นจริ งตำมคุณสมบัติกำรมีเอกลักษณ์กำรคูณจำนวนจริ ง
1. ( 3 x 8 ) x 5 = ( 8 x 3 ) x 5 2. ( 3 x 2 ) x 4 = 3 x ( 2 x 4 )
3. 32 x 1 = 32 4. 4 x 14 = 1

2.3 ทฤษฏีบทเศษเหลือ และกำรแก้สมกำรพหุนำมตัวแปรเดียว


2.3.1 ทฤษฏีบทเศษเหลือ
4. เมื่อหำร x3 – 4x2 + 6x – 4 ด้วย x – 2 จะเหลือเศษเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 4 3. 5 4. 7

5. เมื่อหำร p(x) = 2x3 – x2 + x + 7 ด้วย x – 2 จะเหลือเศษเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 21 2. 28 3. 36 4. 44

6. เมื่อหำร p(x) = 5x3 – x2 + 3x + 4 ด้วย x + 1 จะเหลือเศษเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. –10 2. –7 3. –5 4. 4

7. เมื่อหำร p(x) = 2x5 + 3x4 + 4x3 + 5x2 + 6x +7 ด้วย x + 1 จะเหลือเศษเท่ำกับข้อใด


ต่อไปนี้
1. –1 2. 1 3. 2 4. 3
40
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
8. เมื่อหำร p(x) = 4x3 + 5x2 – 4x ด้วย 2 x – 3 จะเหลือเศษเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. – 754 2. – 554 3. 554 4. 754

9. เมื่อหำร 9x4 – 4x2 + 16 ด้วย x2 – 2 จะเหลือเศษเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 22 2. 28 3. 36 4. 44

10. ค่ำ a ที่ทำให้ x – 3 หำร x3 – 2x2 + 7x + a เหลือเศษ 4 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. –26 2. –13 3. 13 4. 26

11. ค่ำ a ที่ทำให้ x – 3 หำร 3x3 – 7x2 – 9x – a ลงตัว มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. –13 2. –9 3. 9 4. 13

12. ค่ำ a ที่ทำให้ 3x – 5 หำร 3x2 – ax + 10 ลงตัว มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 9 2. 11 3. 15 4. 33

13. ค่ำ a ที่ทำให้ x – a หำร x2 – x – 6 ลงตัว มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. –3 2. –2 3. 3 4. 3 , –2

14. ถ้ำ (x – 1) และ (x – 3) ต่ำงหำร a x3 + b x2 – 5 x + 6 ลงตัวแล้ว a b มีค่ำเท่ำไร


1. –3 2. –2 3. 3 4. 5

15. ถ้ำ p (x) = a x3 – x2 – b x + 4 มี (x – 2) เป็ นตัวประกอบ และเมื่อหำร p (x) ด้วย (x + 1)


แล้วเหลือเศษ 6 แล้ว ba มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –4 2. –2 3. 2 4. 4

16. ถ้ำ (x + 4) , (x – 3) , (x – 2) เป็ นตัวประกอบของ p (x) = a x3 + b x2 + c x + 24


แล้ว 7 (a + b) + c มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. –14 2. –7 3. 7 4. 14
2.3.2 กำรแก้ สมกำรพหุนำมตัวแปรเดียว
17. ผลรวมของค ำตอบต่ ำ สุ ด และสู ง สุ ด ของสมกำร x3 + 4x2 + x – 6 = 0 มี ค่ ำ เท่ ำกับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. –3 2. –2 3. 2 4. 3
41
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
18. ผลรวมของค ำตอบต่ ำ สุ ด และสู ง สุ ด ของสมกำร x3 –2x2 –5x + 6 = 0 มี ค่ ำ เท่ ำ กับ ข้อ ใด
ต่อไปนี้
1. –5 2. –1 3. 1 4. 2

19. ผลรวมของคำตอบต่ำสุ ดและสู งสุ ดของสมกำร x3 –19x + 30 = 0 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. –3 2. –2 3. 2 4. 3

20. คำตอบของสมกำร x3 – 7x – 6 = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. –5  x  0 2. 0  x  5 3. –4  x  4 4. –3  x  1

21. ผลรวมของคำตอบต่ำสุ ดและสู งสุ ดของสมกำร x4 –2x3 –13x2 + 14x + 24 = 0 เท่ำกับข้อใด


1. –3 2. –1 3. 1 4. 3

22. คำตอบของสมกำร 3x4 – 8x3 + x2 +8x = 4 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. –5  x  0 2. 0  x  5 3. –4  x  2 4. –3  x  1

23. คำตอบของสมกำร 2x3 + 7x2 + 5x = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. –3  x  0 2. 0  x  5 3. –1  x  4 4. 0  x  7

24. คำตอบของสมกำร 3x3 + 2x2 – 12x – 8 = 0 อยูใ่ นช่วงข้อใดต่อไปนี้


1. –5  x  0 2. 0  x  5 3. –4  x  4 4. –3  x  1

2.4 สมบัติของกำรไม่ เท่ ำกัน


2.5 ช่ วงและกำรแก้อสมกำร
2.5.1 ช่ วง
คำชี้แจง จงใช้ขอ้ มูลต่อไปนี้ในกำรตอบคำถำม 3 ข้อถัดไป
กำหนดให้ U = [–2 , 7] , A = (0 , 4] , B = (–1 , 6)
25. ช่วง A – B เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. (–1 , 4] 3. [4 , 6] 4. (6 , )

26. ช่วง A/ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –2] 2. (–2 , 7] 3. [–2 , 0]  (4 ,7] 4. (4 , )
42
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
27. ช่วง (A B/) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1.  2. (–2 , 7] 3. [–2 , 0]  (4 ,7] 4. (4 , )

2.5.2 กำรแก้อสมกำรตัวแปรเดียวดีกรี 1

28. ช่วงคำตอบของอสมกำร 4x – 9 > 7 เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 4) 2. (–4 , 4) 3. (– , –4)  (4 , ) 4. (4 , )

29. ช่วงคำตอบของอสมกำร 3 (x – 2)  2 (x + 4) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. (– , 14) 2. (–14 , 14) 3. (–,–14)  (14 , ) 4. (14 , )

30. ช่วงคำตอบของอสมกำร 2x – 20  6 x เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –5) 2. (–5 , 5) 3. (– , –5)  (5 , ) 4. (–5 , )

31. ช่วงคำตอบของอสมกำร 2x – 3 > 2 (5 + x) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1.  2. (–13 , 13) 3. (–,–13)  (13 , ) 4. (– , )

32. ช่วงคำตอบของอสมกำร 4x – 3 < 4 (x + 1) เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1.  2. (–7 , 7) 3. (– , –7)  (7 , ) 4. (– , )

2.5.3 กำรแก้ อสมกำรตัวแปรเดียวดีกรีสูง

33. เซตคำตอบของอสมกำร 2x < 3 – x2 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –5 ) 2. (–5 , –4 ) 3. ( –3 , 1 ) 4. ( 5 , )

34. เซตคำตอบของอสมกำร x2 + 2x  15 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –5 ] 2. [–5 , 3 ] 3. [ –3 , 5 ] 4. ( 3 , )

35. เซตคำตอบของอสมกำร 4x2 – 4x – 3 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , – 12 ) 2. ( – 12 , 23 )
3. ( 23 ,  ) 4. ( – , – 12 )  ( 23 ,  )

36. เซตคำตอบของอสมกำร 3x2 + 2  7x คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 13 ] 2. [– 13 , 2 ] 3. ( – , 13 ]  [2 , ) 4. ( 13 , )
43
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
37. เซตคำตอบของอสมกำร (x – 1) (x + 2) (x – 5) (x + 3) > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. ( – , 1 )  ( 3 ,  ) 2. ( – , –1 )  ( 5 ,  )
3. ( – , –3 )  ( –2 , 1 )  ( 5 ,  ) 4. ( – , –1 )  ( –2 , 1 )  ( 3 ,  )

38. เซตคำตอบของอสมกำร x2 < 16 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –4 )  (4 ,  ) 2. ( –4 , 4 )
3. ( – , –16 )  (16 ,  ) 4. ( –16 , 16 )

39. เซตคำตอบของอสมกำร x2 > 11 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –11 )  (11 ,  ) 2. ( –11 , 11 )
3. ( – , – 11 )  ( 11 ,  ) 4. ( – 11 , 11 )

40. เซตคำตอบของอสมกำร x2 – 4x + 2 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , – 2 )  ( 2 ,) 2. (– 2 , 2 )
3. ( – , 2 –2 )  ( 2 +2 ,  ) 4. ( 2 –2 , 2 +2 )

41. จำนวนเต็มบวกที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x 3 – 3x2  10x มีกี่จำนวน


1. 3 2. 4 3. 5 4. 7

42. จำนวนเต็มลบที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x 3 – x > 2x2 – 2 มีกี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

43. เซตคำตอบของอสมกำร x4 – 13x2 + 36 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –3) 2. (–3 , –3)
3. (– , –2)  (2 , ) 4. (–3 , –2)  (2 , 3)

44. เซตคำตอบของอสมกำร 4 – x2 > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –2) 2. (– , –2)  (2 ,  ) 3. (2 ,  ) 4. (–2 , 2)

45. เซตคำตอบของอสมกำร (x (x2). (x3)  1)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –1 ]  [ 0 , 4 ) 2. ( – , –1 ]  [ 2 ,  )
3. ( – , –2 ]  [ 1 , 3 ) 4. ( – , –1 ]  ( 3 , 4 ]
44
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
46. เซตคำตอบของอสมกำร (x (2x2)(x3) 5) > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (–5 , –2)  ( 23 ,  ) 2. (–2 , 23 )  (5 ,  )
3. (–5 , –2)  (– 23 ,  ) 4. (–2 , – 23 )  (5 ,  )

47. เซตคำตอบของอสมกำร 3(x2  1)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


x 9
1. ( – , 1] 2. (– , –3)  [1 , 3)
3. (–3 , 3) 4. (– , –3]  [1 , 3]

48. เซตคำตอบของอสมกำร 1x  3 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 0 ) 2. (– , 0)  [ 13 , )
3. (0 , 13 ] 4. (0 , )

49. เซตคำตอบของอสมกำร x – 4x  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –2 ) 2. (– , –2]  [ 0 , 2]
3. [–2 , 0)  [2 , ) 4. [2 , )

50. จำนวนเต็มมำกที่สุดในเซตคำตอบของอสมกำร 2xx 14  1 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

51. จำนวนเต็มน้อยที่สุดในเซตคำตอบของอสมกำร x 6 1  1 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 6 4. 7
52. จำนวนเต็มมำกที่สุดในเซตคำตอบของอสมกำร x 8 2  x มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

53. จำนวนเต็มบวกในเซตคำตอบของอสมกำร x2 x 6 ≤ 5 มีกี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
54. เซตคำตอบของอสมกำร 2x1 1 < x1 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (–∞ , 1 )  (1 , ∞) 2. ( 1 , 1)
2 2
3. (0 , 1 ) 4. (0 , 1 )  (1 , ∞)
2 2
45
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
55. เซตคำตอบของอสมกำร x x 2  1x คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (–2 , –1)  (0 , 2) 2. (–∞ , 0)  (2, ∞)
3. (–∞ , –2)  (2 , ∞) 4. (–∞ , –2)  (–1 , 0)  (2 , ∞)

56. จำนวนเต็มบวกในเซตคำตอบของอสมกำร 2xx 13 < x 1 3 มีกี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 4 4. 5

57. เซตคำตอบของอสมกำร xx(x 61)  6 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –1)  (0 , 23 ) 2. (–∞, – 23 ]  (–1 , 0)  [ 23 , ∞)
3. (–∞, – 23 )  (–1 , 0)  ( 23 , ∞) 4. (–∞, – 23 ]  [–1 , 0]  [ 23 , ∞)

58. เซตคำตอบของอสมกำร x2 – 3  x4 + 1 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , – 12 )  (0 , ) 2. (– , – 12 ]  (0 , )
3. (– , – 12 ) 4. (0 , )

59. เซตคำตอบของอสมกำร 5  x  1 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


x2  3x  2
1. (– , 1)  (2 , 3) 2. (–1 , 1)  ( 2, 3 )
3. (–∞, –1)  (1, 2)  (3, ∞) 4. (– , 2)  (3 , )

60. เซตคำตอบของอสมกำร (x + 2)2 (x + 1) < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –1 ) 2. (– , –2 )  (–2 , –1 )
3. (– , –1 ] 4. (– , –2 )  (–2 , –1 ]

61. เซตคำตอบของอสมกำร (x – 1)2 (x + 4)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –4 ] 2. [4 ,  )
3. (– , –4 ]  [4 ,  ) 4. (– , –4 ]  {1}

62. เซตคำตอบของอสมกำร x2 (x + 1) > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (–1 , 0 )  (0 ,  ) 2. (–1 , 0 )  (5 ,  )
3. (–1 , 0 )  (7 ,  ) 4. (–1 , 0 )  (8 ,  )

46
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
63. เซตคำตอบของอสมกำร x2 (x + 1) < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –1 ) 2. (– , –2 ) 3. (– , –3 ) 4. (– , –4 )

64. เซตคำตอบของอสมกำร (x + 2)2 (x + 4) (x – 5) > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –4 ) 2. (5 , – )
3. (– , –4 )  (5 ,  ) 4. (– , –4 )  {2}  (5 ,  )
3
65. เซตคำตอบของอสมกำร (x1)4  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
(x2)
1. (0 , 1) 2. (– , –2 )  (–2 , )
3. (– , 1) 4. (– , –2 )  (2 , 1]
3
66. เซตคำตอบของอสมกำร xx 5 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. (0 , 5) 2. (5 , – )
3. (– , 0 ) 4. (– , 0 )  (5 ,  )

67. เซตคำตอบของอสมกำร x3 – x2 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. (0 , 1) 2. (– , 0 )  (0 , )
3. (– , 1) 4. (– , 0 )  (0 , 1)

68. เซตคำตอบของอสมกำร x2 + 2 > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 2 )  ( 2 ,  ) 2. (– 2 , 2 )
3.  4. R

69. เซตคำตอบของอสมกำร 2 x2 + 1 < 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , 2 )  ( 2 ,  ) 2. (– 2 , 2 )
3.  4. R

70. เซตคำตอบของอสมกำร (x10 + 1) (x – 1) (x + 2) (x + 3)  0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –3 ]  [1 ,  ) 2. [–3 , –2 ]  [1 ,  )
3.  4. R

47
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
71. เซตคำตอบของอสมกำร x2 + 6x + 13 > 0 คือเซตในข้อใดต่อไปนี้
1. ( – , 2 )  ( 2 ,  ) 2. (– 2 , 2 )
3.  4. R

72. จำนวนเต็มบวกที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำรที่ก ำหนดให้ต่อไปนี้ มีกี่จำนวน


6 – 7x < x2 – 5x – 2 < 4
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

73. กำหนดให้ A = { x  I–  –2  x 2 1 < 1 }


และ B = { x  I+  –4  2x – 2  1 }
จำนวนสมำชิกของ A  B จะมีกี่จำนวน
1. 4 2. 5 3. 6 4. 7

2.6 ค่ำสั มบูรณ์


2.7 กำรแก้สมกำรและอสมกำรในรู ปค่ ำสั มบูรณ์
2.7.1 กำรแก้ สมกำรพหุนำมเกีย่ วกับค่ ำสั มบูรณ์
74. ผลบวกของสมำชิกในเซตคำตอบของสมกำร  x – 5  = 4 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. 1 2. 2 3. 8 4. 10

75. ผลบวกของสมำชิกในเซตคำตอบของสมกำร  x + 2  = –2x + 5 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 2 3. 3 4. 4

76. เซตคำตอบของสมกำร  x – 1  = 2x มีจำนวนสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

77. ผลบวกของสมำชิกในเซตคำตอบของสมกำร  x2 – 3x + 1  = 5 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. 1 2. 3 3. 5 4. 6

78. เซตคำตอบของสมกำร xx  12 = 2 มีจำนวนสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

48
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
79. เซตคำตอบของสมกำร 2  x + 3  =  2x + 1  มีจำนวนสมำชิกกี่ตวั
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

2.7.2 กำรแก้ อสมกำรพหุนำมเกีย่ วกับค่ ำสั มบูรณ์


80. เซตคำตอบของอสมกำร  x – 2  < 3 เป็ นสับเซตของข้อใดต่อไปนี้
1. [ – , –5] 2. [ – , 0] 3. [–5 , ] 4. [0 , ]

81. เซตคำตอบของอสมกำร 2x – 1 < 11 คือข้อใดต่อไปนี้


1. ( – , –5) 2. ( – , 6)
3. (–5 , 6) 4. (– , –5)  (6 , )

82. เซตคำตอบของอสมกำร 3 – 4x  ≤ 1 คือข้อใดต่อไปนี้


1. [ – , – 12 ] 2. [ – , 1]
3. [ 12 , 1] 4. (– , 12 ]  [1 , ]

83. เซตคำตอบของอสมกำร 3x + 5 ≥ 4 คือข้อใดต่อไปนี้


1. [ – , –3] 2. [ – , – 13 ]
3. [–3 , – 13 ] 4. (– , –3]  [– 13 , ]

84. เซตคำตอบของอสมกำร x – 2   3 คือข้อใดต่อไปนี้


1. [ – , –1] 2. [ –1 , 5]
3. [5 , ] 4. (– , –1]  [5 , ]

85. เซตคำตอบของอสมกำร x 9 5 – 3 > 0 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (–8 , –2) 2. (– , –5)  (–5 , –2)
3. (–5 , –2) 4. (–8 , –5)  (–5 , –2)

86. เซตคำตอบของอสมกำร xx43 + 2 > 0 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (–4 , 4) 2. (– , –4)  (–4 , )
3. (–4 , 2) 4. (– , –4)  (2 , )
49
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
87. จำนวนเต็มลบที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร  x – 1  < x มีกี่จำนวน
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
88. เซตคำตอบของอสมกำร  4x –3   2x +7  คือข้อใดต่อไปนี้
1. [– 23 , 5 ] 2. (–5 , 23 )
3. (–∞ , –5]  [ 23 , ∞) 4. (–∞ , – 23 ]  [5 , ∞)

89. เซตคำตอบของอสมกำร 2 2x – 1  3x + 1 คือข้อใดต่อไปนี้


1. (–∞ , – 17 )  (5 , ∞) 2. (– 17 , 5 )
3. (–5 , 17 ) 4. ( 17 , 5 )

90. จำนวนเต็มบวกที่เป้ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร xx  11  1 มีกี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

91. จำนวนเต็มบวกที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x x 2  2 มีกี่จำนวน


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
92. จำนวนเต็มบวกที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x x 4  2 มีกี่จำนวน
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

93. ช่วงคำตอบของอสมกำร 2 < 2x 1


4x มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. ( , – 49 ) 2. ( , 49 )
3. (– 49 , 4 )  (4 , ) 4. ( 49 , 4 )  (4 , )

94. จำนวนเต็มบวกที่เป็ นสมำชิกของเซตคำตอบของอสมกำร x225x 4  1 มีกี่จำนวน


x x2
1. 0 2. 1 3. 2 4. 3
5x  1
95. ช่วงคำตอบของอสมกำร 5x  1 + 4x > 0 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. (– , – 15 ) 2. (– , 15 ) 3. (– 15 ,  ) 4. ( 15 ,  )
4x
96. ช่วงคำตอบของอสมกำร x  4 – 2  x + 3 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –6] 2. (– , 6] 3. [–6 ,  ) 4. [6 ,  )
50
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
x 1
97. ช่วงคำตอบของอสมกำร x 2  0 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. (– , –2] 2. (–2 , 1] 3. [1 ,  ) 4. (–2 , 1]  [1 , 2)
x
98. ช่วงคำตอบของอสมกำร x  1 < 2 มีค่ำเท่ำกับข้อใดต่อไปนี้
1. (– , 1) 2. (1 , )
3. (– , –2)  (2 , ) 4. (– , –2)  (–1 ,1)  (2 , )

99. ช่วงคำตอบของอสมกำร x – 3  + 3x – 1 > 12 มีคำ่ เท่ำกับข้อใดต่อไปนี้


1. (– , –2) 2. (–2 , )
3. (–2 , 4) 4. (– , –2)  (4 , )

100. เซตคำตอบของสมกำร  x – 4  + x – 3 = 1 มีจำนวนสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

101. เซตคำตอบของสมกำร  x – 1  +  x – 2  = 3 มีจำนวนสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3

102. เซตคำตอบของสมกำร  x – 2  + x + 3 = 0 มีจำนวนสมำชิกกี่ตวั


1. 0 2. 1 3. 2 4. 3



51
ติวสบายคณิต เล่ ม 1 http://www.pec9.com บทที่ 2 ระบบจานวนจริง
เฉลยตะลุ ย โจทย์ท่ วั ไป บทที่ 2 ระบบจำนวนจริง
1. ตอบข้ อ 4. 2. ตอบข้ อ 4. 3. ตอบข้ อ 3. 4. ตอบข้ อ 1.
5. ตอบข้ อ 1. 6. ตอบข้ อ 3. 7. ตอบข้ อ 4. 8. ตอบข้ อ 4.
9. ตอบข้ อ 4. 10. ตอบข้ อ 1. 11. ตอบข้ อ 2. 12. ตอบข้ อ 2.
13. ตอบข้ อ 4. 14. ตอบข้ อ 2. 15. ตอบข้ อ 4. 16. ตอบข้ อ 1.
17. ตอบข้ อ 2. 18. ตอบข้ อ 3. 19. ตอบข้ อ 2. 20. ตอบข้ อ 3.
21. ตอบข้ อ 3. 22. ตอบข้ อ 3. 23. ตอบข้ อ 1. 24. ตอบข้ อ 3.
25. ตอบข้ อ 1. 26. ตอบข้ อ 3. 27. ตอบข้ อ 1. 28. ตอบข้ อ 4.
29. ตอบข้ อ 1. 30. ตอบข้ อ 4. 31. ตอบข้ อ 1. 32. ตอบข้ อ 4.
33. ตอบข้ อ 3. 34. ตอบข้ อ 2. 35. ตอบ ( 21 , 23 ) 36. ตอบข้ อ 3.
37. ตอบข้ อ 3. 38. ตอบข้ อ 2. 39. ตอบข้ อ 3.
40. ตอบ (2– 2 , 2+ 2 ) 41. ตอบข้ อ 3. 42. ตอบข้ อ 1.
43. ตอบข้ อ 4. 44. ตอบข้ อ 4. 45. ตอบข้ อ 3. 46. ตอบข้ อ 2.
47. ตอบข้ อ 2. 48. ตอบข้ อ 2. 49. ตอบข้ อ 3. 50. ตอบข้ อ 3.
51. ตอบข้ อ 2. 52. ตอบข้ อ 3. 53. ตอบข้ อ 3. 54. ตอบข้ อ 4.
55. ตอบข้ อ 4. 56. ตอบข้ อ 2. 57. ตอบข้ อ 2. 58. ตอบข้ อ 2.
59. ตอบข้ อ 3. 60. ตอบข้ อ 2. 61. ตอบข้ อ 4. 62. ตอบข้ อ 1.
63. ตอบข้ อ 1. 64. ตอบข้ อ 3. 65. ตอบข้ อ 4. 66. ตอบข้ อ 1.
67. ตอบข้ อ 4. 68. ตอบข้ อ 4. 69. ตอบข้ อ 3.
70. ตอบ [–3,–2]  [1 , ) 71. ตอบข้ อ 4. 72. ตอบข้ อ 4.
73. ตอบข้ อ 4. 74. ตอบข้ อ 4. 75. ตอบข้ อ 1. 76. ตอบข้ อ 2.
77. ตอบข้ อ 2. 78. ตอบข้ อ 3. 79. ตอบข้ อ 2. 80. ตอบข้ อ 3.
81. ตอบข้ อ 3. 82. ตอบข้ อ 3. 83. ตอบข้ อ 4. 84. ตอบข้ อ 4.
85. ตอบข้ อ 4. 86. ตอบข้ อ 2. 87. ตอบข้ อ 1. 88. ตอบข้ อ 4.
89. ตอบข้ อ 1. 90. ตอบข้ อ 1. 91. ตอบข้ อ 3. 92. ตอบข้ อ 1.
93. ตอบข้ อ 4. 94. ตอบข้ อ 3. 95. ตอบข้ อ 4. 96. ตอบข้ อ 1.
97. ตอบข้ อ 4. 98. ตอบข้ อ 4. 99. ตอบข้ อ 4. 100. ตอบข้ อ 3.
101. ตอบข้ อ 3. 102. ตอบข้ อ 1.
52

You might also like