Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 21

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 26

รหัสรายวิชา ว 15101 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์


ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัฏจักร เรื่อง วัฏจักรปรากฏของกลุ่ม
ดาว เวลา 2 คาบ
สัปดาห์ที่ 26 วันที่ 4-8 ธันวาคม พ.ศ.2566

มาตรฐานการเรียน/ตัวชี้วัด
ว 3.1 ป.5/1 เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์ และดาวฤกษ์
จากแบบจำลอง

จุดประสงค์การเรียนรู้ (ความรู้, ทักษะ, เจตคติ)


1. เปรียบเทียบความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์จาก
แบบจำลอง
2. สืบค้นข้อมูลความแตกต่างของดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
3. สามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

สาระสำคัญ
ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้ าอยู่ในอวกาศซึ่งเป็ นบริเวณที่อยู่นอก
บรรยากาศของโลกมีทั้งดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์ เป็ นแหล่งกำเนิด
แสงจึงสามารถ มองเห็นได้ ส่วนดาวเคราะห์ ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสง แต่
สามารถมองเห็นได้เนื่องจากแสงจากดวงอาทิตย์ ตกกระทบดาวเคราะห์แล้ว
สะท้องเข้าสู่ตา
สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. มองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้อย่างไร
ทักษะ/กระบวนการ
1. การสังเกต
2. การจำแนกประเภท
3. การลงความเห็นจากข้อมูล
4. การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. การสื่อสาร
2. ความร่วมมือ
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่ เรียนรู้
2. อยู่อย่างพอเพียง
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
กิจกรรมการเรียนรู้
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ ดำเนิน
การเรียนการสอน
ดังต่อไปนี้
- แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
1. ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 ครูให้นักเรียนศึกษาวีดีทัศน์เรื่องดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ เพื่อ
ทบทวนความรู้พื้นฐานของนักเรียนเกี่ยวกับวัฏจักรการปรากฏของกลุ่มดาว
และดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ที่นักเรียนรู้จักและได้เรียนมารู้กันมาแล้ว ร่วม
กันอภิปรายโดยใช้คำถาม ดังนี้
- เรามองเห็นดาวเคราะห์บนท้องฟ้ าได้อย่างไร
- เรามองเห็นดาวฤกษ์บนท้องฟ้ าได้อย่างไร
- เราสามารถสร้างแบบจำลองการมองเห็นดาวเคราะห์และ
ดาวฤกษ์ได้หรือไม่ อย่างไร
1.2 ครูรับฟั งความคิดเห็นของนักเรียนและกระตุ้นให้นักเรียน
อธิบายความเข้าใจของตนเองให้มากที่สุด จากนั้นครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของ
นักเรียนเพื่อเข้าสู่ เรื่อง ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ โดยใช้คำถามว่า เรา
สามารถสร้างแบบจำลองและอธิบายการมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
ได้หรือไม่ อย่างไร

2. ขั้นสำรวจและค้นหา
ให้นักเรียนทำกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ตรง ดังนี้
2.1 นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และทำเป็ นคิดเป็ น ในหนังสือเรียน
หน้า 52 จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์การ
เรียนรู้ โดยใช้คำถาม
- กิจกรรมนี้นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไร
- นักเรียนจะได้เรียนรู้นี้ด้วยวิธีใด
- เมื่อเรียนแล้วนักเรียนจะทำอะไรได้
2.2 นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 38
และอ่านสิ่งที่ต้องใช้ ในการทำกิจกรรม ครูอาจตรวจสอบว่านักเรียนรู้จัด
วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในกิจกรรมหรือไม่ ถ้านักเรียนไม่รู้จักวัสดุ อุปกรณ์บาง
อย่าง ครูควรนำมาแสดงให้ดู หรือถ้านักเรียนไม่รู้วิธีการใช้อุปกรณ์ ครูควร
แนะนำและสาธิตการใช้ที่ถูกต้อง
2.3 นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ในหนังสือเรียนหน้า 52 โดยครูใช้วิธี
การฝึ กอ่านตามความเหมาะสมกับความสามารถในการอ่านของนักเรียน
จากนั้นร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปขั้นตอนการทำกิจกรรม เมื่อนักเรียนเข้าใจ
วิธีการทำกิจกรรมในทำอย่างไรแล้ว และให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามขั้น
ตอน บันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 38-42

3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 ครูสังเกตการตอบคำถามของนักเรียนเพื่อตรวจสอบว่านักเรียน
มีแนวคิดเกี่ยวกับ เรื่องดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ หรืออาจสุ่มนักเรียน 2-3
คน นำเสนอคำตอบของตนเองซึ่งครูยังไม่ต้องเฉลยคำตอบ แต่จะให้
นักเรียนย้อนกลับมาตรวจสอบอีกครั้งหลังเรียนจบบทนี้แล้ว ทั้งนี้ครูอาจ
บันทึกแนวคิดคลาดเคลื่อนหรือแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียน แล้วนำมา
ออกแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อแก้ไขแนวคิดคลาดเคลื่อนให้ถูกต้อง และต่อย
อดแนวคิดที่น่าสนใจของนักเรียนต่อไป
3.2 หลังจากทำกิจกรรมที่ 1 มองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้
อย่างไร เพื่อนำไปสู่การบันทึกคำตอบลงในฉันรู้อะไร ครูนำอภิปรายผลการ
ทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม
- ในการสร้างแบบจำลองใช้อะไรแทนดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
เพราะเหตุใด
- จากการสืบค้นข้อมูล ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์เหมือนและแตก
ต่างกันอย่างไร
3.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่า
- ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์เป็ นดาวที่มีลักษณะคล้ายทรงกลม
โดยดาวฤกษ์มีแสงในตัวเองจึงเป็ นแหล่งกำเนิดแสง เรามองเห็นดาวฤกษ์ได้
เพราะมีแสงจากดาวฤกษ์เข้าสู่ตาเราโดยตรง ส่วนดาวเคราะห์ไม่มีแสงในตัว
เอง จึงไม่เป็ นแหล่งกำเนิดแสง แต่เรามองเห็นได้ เพราะแสงจากดวงอาทิตย์
ซึ่งเป็ นแหล่งกำเนิดแสงตกกระทบดาวเคราะห์แล้วสะท้อนเข้าสู่ตาเรา

4. ขั้นขยายความรู้
4.1 ให้นักเรียนช่วยกันคิดและอภิปรายจากการศึกษาเกี่ยวกับ ดาว
เคราะห์และดาวฤกษ์
4.2 ครูขยายขอบเขตของความรู้โดยเพิ่มเติมความรู้เกี่ยวกับทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยเฉพาะทักษะการสังเกต การวัด การ
ตีความหมายข้อมูลและการลงความเห็น และการสร้างแบบจำลองเชื่อมโยง
จากผลการศึกษาของนักเรียน

5. ขั้นประเมิน
5.1 นักเรียนนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้เรื่องนี้ ไปปรับใช้ในการ
ดำรงชีวิตอยู่อย่างพอเพียงได้
5.2 ครูและนักเรียนร่วมกันประเมินกิจกรรมในแบบรายงาน เก็บ
ในแฟ้ มสะสมงานนักเรียน จากนั้นครูนัดหมายการเรียนในครั้งต่อไป
ชิ้นงานหรือภาระงาน
1. แบบบันทึกกิจกรรม
2. แบบรายงานการสืบค้นข้อมูล

สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. ไฟฉายขนาดใหญ่ ไฟฉายขนาดเล็ก วัตถุทรงกลมขนาดเล็ก
กล่องกระดาษพร้อมฝาปิ ด แว่นกันแดด
2. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ และแบบบันทึกกิจกรรม ป.5 สสวท.
3. แบบบันทึกกิจกรรม
กระบวนการวัดและประเมินผล
1. วิธีการวัด ประเมินผล
- การตรวจใบงานการปฏิบัติกิจกรรม (ความรู้, ทักษะ,
เจตคติ)
- สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมสู่การปฏิบัติจริง (ทักษะ)
- การตรวจแบบทดสอบ
2. เครื่องมือการวัด ประเมินผล
- แบบรายงานการสืบค้นข้อมูล
- แบบบันทึกกาสังเกตพฤติกรรม
- แบบทดสอบ
3. เกณฑ์การวัด ประเมินผล
3.1 เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมแบบ
รายงานการสืบค้นข้อมูล
- ระดับคุณภาพดีมาก คะแนน 31-40 ให้ 4 คะแนน
- ระดับคุณภาพดี คะแนน 21-30 ให้ 3 คะแนน
- ระดับคุณภาพพอใช้ คะแนน 11-20 ให้ 2 คะแนน
- ระดับคุณภาพต้องปรับปรุง คะแนน 0-10 ให้ 1
คะแนน
3.2 เกณฑ์การให้คะแนนการตอบแบบทดสอบ
- ผ่านการเรียนรู้ต้องได้คะแนนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ได้
คะแนนเฉลี่ย
ร้อยละ 80 ขึ้นไป

ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ตามระดับ
ความสามารถของนักเรียน โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดังนี้
ทักษะ ระดับความสามารถ
กระบวน
การ รายการ
ทาง ประเมิน ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง (1)
วิทยาศา
สตร์
S1 การ การบรรยาย สามารถใช้ สามารถใช้ สามารถใช้ประสาท
สังเกต รายละเอียด ประสาทสัมผัส ประสาทสัมผัส สัมผัสเก็บราย
เกี่ยวกับดาว เก็บรายละเอียด เก็บรายละเอียด ละเอียดเกี่ยวกับ
เคราะห์และ เกี่ยวกับดาว เกี่ยวกับดาว ดาวเคราะห์และ
ดาวฤกษ์ เคราะห์และ เคราะห์และ ดาวฤกษ์ได้เพียง
ดาวฤกษ์ได้โดย ดาวฤกษ์จากการ บางส่วนแม้ว่าจะได้
ตนเอง โดยไม่ ชี้แนะของครู รับคำชี้แนะของครู
เพิ่มเติมความคิด หรือผู้อื่นหรือมี หรือผู้อื่น
เห็น การเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
S4 การ การกำหนด สามารถกำหนด สามารถกำหนด สามารถกำหนด
จำแนก เกณฑ์และ เกณฑ์และ เกณฑ์และ เกณฑ์และจำแนก
ประเภท จำแนกประเภท จำแนกประเภท จำแนกประเภท ประเภทของดาว
ของดาว ของดาวเคราะห์ ของดาวเคราะห์ เคราะห์และ
เคราะห์และ และดาวฤกษ์ และดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ออกเป็ นก
ดาวฤกษ์ออก ออกเป็ นกลุ่มได้ ออกเป็ นกลุ่มได้ ลุ่มได้ถูกต้องแต่ไม่
เป็ นกลุ่มตาม ถูกต้องตาม ถูกต้องตาม สามารถบอกเกณฑ์
เกณฑ์ที่กำหนด เกณฑ์ที่กำหนด เกณฑ์ที่กำหนด ในการจำแนกได้
ได้ด้วยตนเอง ได้ด้วยตนเอง แม้ว่าจะได้รับการ
โดยอาศัยการ ชี้แนะจากครูหรือผู้
ชี้แนะจากครู อื่น
หรือผู้อื่น
S8 การ การลงความ สามารถลงความ สามารถลงความ สามารถลงความ
ลงความ เห็นจากข้อมูล เห็นจากข้อมูล เห็นจากข้อมูล เห็นจากข้อมูลเกี่ยว
เห็นจาก เกี่ยวกับดาว เกี่ยวกับดาว เกี่ยวกับดาว กับดาวเคราะห์
ข้อมูล เคราะห์และ เคราะห์และ เคราะห์และ และดาวฤกษ์ได้ถูก
ดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ได้ถูก ดาวฤกษ์ได้ถูก ต้องบางส่วน แม้ว่า
ต้องด้วยตนเอง ต้อง จากการ จะได้รับการชี้แนะ
ชี้แนะจากครู จากครูหรือผู้อื่น
หรือผู้อื่น
S13 การ การตีความ สามารถตีความ สามารถตีความ สามารถตีความ
ตีความ หมายข้อมูล หมายข้อมูลจาก หมายข้อมูลจาก หมายข้อมูลจาก
หมาย จากการสังเกต การสังเกตและ การสังเกตและ การสังเกตและนำ
ข้อมูล และนำข้อมูลที่ นำข้อมูลที่ได้มา นำข้อมูลที่ได้มา ข้อมูลที่ได้มา
และลง ได้มากำหนด กำหนดเกณฑ์ กำหนดเกณฑ์ กำหนดเกณฑ์ และ
ข้อสรุป เกณฑ์ และ และจำแนก และจำแนก จำแนกประเภท
จำแนกประเภท ประเภทดาว ประเภทดาว ดาวเคราะห์และ
ดาวเคราะห์ เคราะห์และ เคราะห์และ ดาวฤกษ์ตามที่
และดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ตามที่ ดาวฤกษ์ตามที่ กำหนดได้ และลง
ตามที่กำหนด กำหนดได้ และ กำหนดได้ และ ข้อสรุปได้ว่าการ
ได้ และลงข้อ ลงข้อสรุปได้ ลงข้อสรุปได้ จำแนกประเภท
สรุปได้ว่าการ ว่าการจำแนก ว่าการจำแนก ต้องพิจารณา
จำแนกประเภท ประเภทต้อง ประเภทต้อง สมบัติได้ถูกต้องแต่
ต้องพิจารณา พิจารณาสมบัติ พิจารณาสมบัติ ไม่ทั้งหมด แม้ว่าจะ
สมบัติ ได้ถูกต้องทั้งหมด ได้ถูกต้อง ได้รับคำชี้แนะจาก
ด้วยตนเอง ทั้งหมดจากการ ครูหรือผู้อื่น
ชี้แนะจากครู
หรือผู้อื่น
ตาราง แสดงการวิเคราะห์ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ตามระดับความ
สามารถของนักเรียน
โดยอาจใช้เกณฑ์การประเมิน ดังนี้
ทักษะแห่ง ระดับความสามารถ
รายการ
ศตวรรษที่ ควรปรับปรุง
ประเมิน ดี (3) พอใช้ (2)
21 (1)
C4 การ การนำ สามารถนำ สามารถนำ สามารถนำ
สื่อสาร เสนอข้อมูล เสนอข้อมูล เสนอข้อมูล เสนอข้อมูล
จากการ จากการ จากการ บางส่วนจาก
อภิปราย อภิปรายเกี่ยว อภิปรายเกี่ยว การอภิปราย
เกี่ยวกับ กับดาว กับดาว เกี่ยวกับดาว
ดาวเคราะห์ เคราะห์และ เคราะห์และ เคราะห์และ
และ ดาวฤกษ์ให้ผู้ ดาวฤกษ์ให้ ดาวฤกษ์ให้ผู้
ดาวฤกษ์ อื่นเข้าใจได้ อื่นเข้าใจได้ อื่นเข้าใจทั้งนี้
อย่างถูกต้อง อย่างถูกต้อง แม้ว่าจะได้
ได้ด้วยตนเอง จากการชี้แนะ รับคำชี้แนะ
ของครูหรือผู้ จากครูหรือผู้
อื่น อื่น
C5 ความ การทำงาน สามารถการ สามารถการ สามารถ
ร่วมมือ ร่วมกับผู้อื่น ทำงานร่วมกับ ทำงานร่วมกับ ทำงานร่วมกับ
ในการ ผู้อื่นในการ ผู้อื่นในการ ผู้อื่นได้บ้างแต่
สังเกต สังเกต การนำ สังเกต การนำ ไม่แสดงความ
การนำ เสนอ และ เสนอ และ คิดเห็น แม้ว่า
เสนอ และ การแสดง การแสดง จะได้รับการก
การแสดง ความคิดเห็น ความคิดเห็น ระตุ้นจากครู
ความคิด ในดาว ในดาว หรือผู้อื่น
เห็นในดาว เคราะห์และ เคราะห์และ
เคราะห์ ดาวฤกษ์รวม ดาวฤกษ์รวม
และ ทั้งยอมรับ ทั้งยอมรับ
ดาวฤกษ์ ความเห็นของ ความเห็นของ
รวมทั้ง ผู้อื่นตั้งแต่เริ่ม ผู้อื่นบางช่วง
ยอมรับ ต้นจนสำเร็จ เวลาที่ทำ
ความเห็น กิจกรรม
ของผู้อื่น

การประเมินจากการทำกิจกรรม
ระดับคะแนน
3 คะแนน หมายถึง ดี 2 คะแนน หมายถึง พอใช้ 1 คะแนน
หมายถึง ควรปรับปรุง

รหัส สิ่งที่ประเมิน ระดับคะแนน


ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
S1 การสังเกต
S4 การจำแนกประเภท
S8 การลงความเห็นจากข้อมูล
S13 การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
C4 การสื่อสาร
C5 ความร่วมมือ
กิจกรรมที่ 1 มองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้อย่างไร

จุดประสงค์ของกิจกรรม
ทำกิจกรรมนี้
เพื่อ.................................................................................................................
................................
........................................................................................................................
...........................................................
........................................................................................................................
...........................................................

บันทึกผลการทำกิจกรรม
ผลการอภิปราย
เรามองเห็นดาวเคราะห์บนท้องฟ้ า
เพราะ……………………………...........................................……………………………
…….
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………
เรามองเห็นดาวฤกษ์บนท้องฟ้ า
เพราะ…………………………………………………………………….…………..………………
……….
…………………………………………………………………………………………………………
…………………….……………………………….
วิธีสร้างแบบจำลองการมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
วัตถุทรงกลมขนาดเล็ก
แทน................................................................................................................
...................
กล่องกระดาษพร้อมฝาปิ ด
แทน................................................................................................................
.............
ไฟฉายขนาดใหญ่
แทน................................................................................................................
............................
ไฟฉายขนาดเล็ก
แทน................................................................................................................
.............................

ภาพร่างแบบจำลองการมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
ขั้นตอนในการสร้าง
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……….

แนวคิดและเหตุผลในการสร้างแบบจำลอง
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ข้อมูลที่ได้จากสืบค้นเกี่ยวกับดาวเคราะห์และดาวฤกษ์
ฉันรู้อะไร
1. ในการสร้างแบบจำลองใช้อะไรแทนดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ เพราะเหตุ
ใด
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
2. ใช้แบบจำลองอธิบายการมองเห็นดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
3. จากการสืบค้นข้อมูล ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์เหมือนและแตกต่างกัน
อย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
4. จากกิจกรรมนี้ ค้นพบอะไรบ้างเกี่ยวกับการมองเห็นดาวเคราะห์และ
ดาวฤกษ์
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
….
5. จากสิ่งที่ค้นพบ สรุปได้ว่าอย่างไร
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
….
ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียน/ผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
 สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา และตัวชี้วัดสามารถนำไปใช้จัด
กิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนได้
 ควรปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้
ได้แก่...............................................................................................................
....................................

ลงชื่อ.................................................................
(นางเสริมศรี คณฑา)
รองผู้อำนวยการฝ่ ายงานบริหาร
งบประมาณ
บันทึกหลังสอน
ผลการสอน
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
...........................................................
ปั ญหา/อุปสรรค
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
............................................................
แนวการแก้ไข
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
........................................................................................................................
............................................................
ลงชื่ อ....................................................ผู้
สอน
( นางสาวหทัยรัตน์
พงศ์พุ่ม )
.........../........................./.
..............
ความเห็นและข้อเสนอแนะของผู้บริหารโรงเรียน/ผู้ที่ได้รับมอบหมาย
........................................................................................................................
........................................................................................................................
..........................................................................................................
ลงชื่อ...........................................
......................
(นางเสริมศรี คณฑา)
รองผู้อำนวยการฝ่ ายงานบริหาร
งบประมาณ

You might also like