Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 13

Kamphaengsean Acad. J. Vol. 7, No.

3, 2009, Pages 43-55 วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552

การพัฒนาแบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ สาํ หรับ


เด็กปฐมวัยในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ กรุ งเทพมหานคร
A Development of Virtue, Morality and Desirable Characteristics Scale for
Preschool Children in School under the Office of Lak Si District, Bangkok
นวนละออง หงส์ ภู 1* และ วารุ ณี ลัภนโชคดี 1
Nuanlaong Hongphoo1* and Warunee Lapanachokdee1

ABSTRACT
The three objectives of this research were 1) to construct the Virtue, Morality and Desirable Characteristics
scale for preschool children in school under the Office of Lak Si district, Bangkok. 2) to Validate the Virtue,
Morality and Desirable characteristics scale for preschool children in school under the Office of Lak Si district,
Bangkok. and 3) to establish local norms for the Virtue, Morality and Desirable Characteristics scale for preschool
children in school under the Office of Lak Si district, Bangkok. Using multi-stage random sampling method,
research sample consisted of 235 second year preschool children who were studied in school under the Office
of Lak Si district, Bangkok in the second semester of the academic year 2008.
The developed Virtue, Morality and Desirable characteristics scale was aimed to assess 6 characteristics
of preschool children namely the discipline and responsibility in rule compliance, the gratitude, the kindness-
generosity-sacrifice, the saving habit, and manners-behaviors appropriate to Thai culture. The scale comprised of
36 items; 6 items per each characteristic.
The research found that the developed scale could be efficiently used to assess preschool children’ virtue,
morality and desirable characteristics. The significant findings were as follows:
1. The item analysis showed the range of discrimination index between 0.26 - 0.64
2. Cronbach’s alpha reliability coefficient for the discipline, honesty, gratitude, kindness, saving habit, and
manners and behaviors appropriate to Thai culture were 0.72, 0.69, 0.74, 0.76, 0.76 and 0.66, respectively.
3. The content validity of the scale was investigated by calculating the index of item objective congruence
(IOC) and found that IOC was in the range of 0.60 – 1.00
4. The local norms and score interpretation criteria presented in the form of percentiles and normalized
T-score. The normalized T-score of discipline was in the range of T26-T49, the honesty was in the range of T27-

1*
สาขาวิจยั และประเมินผลการศึกษา ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กรุงเทพฯ 10900
Educational Research and Evaluation Program, Department of Education, Faculty of Education Kasetsart University, Bangkok
10900, Thailand.
*
Corresponding author: Tel.08-7017-0467, E-mail address: maleeban 11@hotmail.com
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 44
T58, the gratitude was in the range of T27-T44, the kindness was in the range of T27-T43, the saving habit was in
the range of T27-T43 and the manners and behaviors appropriate to Thai culture was in the range of T27-T47

Key words: virtue, morality and desirable characteristics scale for preschool children

บทคัดย่ อ
การวิจยั ครั้งนี ้มีวตั ถุประสงค์ 3 ประการ ได้ แก่ 1) เพื่อพัฒนาแบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่
พึงประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร2) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของ
แบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่
กรุงเทพมหานคร และ 3) เพื่อสร้ างปกติวิสยั และเกณฑ์การแปลความหมายคะแนนของแบบวัดคุณธรรม จริยธรรม
และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง
ในการวิจยั คือ เด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล 2 ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2551 ในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่
กรุงเทพมหานคร จํานวน 235 คน ได้ มาโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน แบบวัดที่พฒ ั นาขึ ้น คือ แบบวั ดคุณธรรม
จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ที่ม่งุ วัดคุณลักษณะของเด็กปฐมวัย 6 ด้ าน ได้ แก่ ด้ านความมีวินยั มีความ
รับผิดชอบปฏิบตั ิตามข้ อตกลงร่วมกัน ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้ านความกตัญ�ูกตเวที ด้ านความมีเมตตากรุณามี
นํ ้าใจ เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ และเสียสละ ด้ านความประหยัด ด้ านความมีมารยาท และปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทย แต่ละด้ าน
ประกอบด้ วยข้ อคําถาม6 ข้ อ รวมข้ อคําถามทั้งหมด36 ข้ อ
ผลการวิจยั พบว่าแบบวัดที่พฒ ั นาขึ ้นมีคณ
ุ ภาพสามารถนําไปใช้ วดั คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ
ประสงค์ของเด็กปฐมวัยได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผลการวิจยั ที่สําคัญมีดงั ต่อไปนี ้
1. การวิเคราะห์ข้อคําถามพบว่ามีค่าอํานาจจําแนกตั้งแต่0.26-0.64
2. แบบวัดด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบปฏิบตั ิตามข้ อตกลงร่วมกันด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้ านความ
กตัญ�ูกตเวที ด้ านความมีเมตตากรุณามีนํ ้าใจเอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่และเสียสละ ด้ านความประหยัด ด้ านความมีมารยาท
และปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทย มีค่าความเที่ยงเท่ากับ0.72 0.69 0.74 0.76 0.76 และ 0.66 ตามลําดับ
3. ความตรงเชิงเนื ้อหาของแบบวัดจากการคํานวณดัชนีความสอดคล้ องของความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ พบว่า
ข้ อคําถามในแบบวัดมีค่าดัชนีความสอดคล้ อง (IOC) ตั้งแต่ 0.60 - 1.00
4. ปกติวิสยั และเกณฑ์การแปลความหมายคะแนนของแบบวัดอยู่ในรูปของเปอร์ เซ็นต์ไทล์และคะแนนทีปกติ
โดยแบบวัดด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบปฏิบตั ิตามข้ อตกลงร่วมกันมีค่า T26-T49 ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริตมีค่า
T27-T58 ด้ านความกตัญ�ูกตเวที มีค่าT27-T44 ด้ านความมีเมตตากรุณามีนํ ้าใจเอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่และเสียสละมีค่า T27-
T43 ด้ านความประหยัด มีค่าT27-T43 และด้ านความมีมารยาทและปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทยมีค่าT27-T47

คําสําคัญ: แบบวัดคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ สําหรับเด็กปฐมวัย


วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 45
จริยธรรม คือ การศึกษาระดับปฐมวัย หลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัยจึงกําหนดจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาขึ ้นเพื่อ
บทนํา วางรากฐานชีวิตของเด็กไทยให้ เจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์
ปั จจุบนั โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องทํา มีพฒ ั นาการอย่างสมดุลทั้งด้ านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ
ให้ สงั คมมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ผู้คนเห็นแก่ สังคมและสติปัญญา บนพื ้นฐานความสามารถและความ
ประโยชน์ส่วนตนมากขึ ้น สังคมมีความสงบสุขน้ อยลง แตกต่างระหว่างบุคคลโดยใช้ กิจกรรม ที่ม่งุ ส่งเสริม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 และ พัฒนาการของสมอง อย่างเต็มที่ รวมทั้งเตรี ยมเด็กให้
ฉบับที่ 10 คาดหวังให้ สงั คมไทยเป็นสังคมที่เข้ มแข็งและมี พร้ อมที่จะเรี ยนรู้ในระดับการศึกษาที่สงู ขึ ้นอันจะนําไปสู่
คุณภาพ การที่สงั คมจะมีสภาพตามที่คาดหวังดังกล่าว การเป็นบุคคลที่มีคณ ุ ภาพของประเทศชาติต่อไป (กรม
นั้นคนในสังคมต้ องเป็นคนที่มีคณ ุ ภาพ เป็นคนดี คนเก่ง วิชาการ, 2546)
ถึงพร้ อมด้ วยคุณธรรม จริยธรรม มีวินยั เคารพกฎหมาย การจัดการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรี ยนสังกัด
มีความรับผิดชอบ และให้ มีจิตสาธารณะ มีความสามารถ กรุงเทพมหานครนั้นเป็นความรับผิดชอบของสํานัก
คิดเอง ทําเอง พึง่ พาตนเองได้ นอกจากนั้นในแผนพัฒนา การศึกษากรุงเทพมหานคร ซึง่ เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ที่ 10 ยังให้ ความสําคัญ การจัดการศึกษาให้ เป็นไปตามพระราชบัญญัติ ระเบียบ
กับการพัฒนาจิตใจควบคู่กบั การพัฒนาสติปัญญาและ บริหารราชการ มีหน้ าที่หลักในการกํากับดูแลติดตามการ
สุขภาพ ซึง่ ในการพัฒนาจิตใจ คุณธรรม จริยธรรมนั้นมุ่ง จัดการศึกษาของโรงเรี ยน สังกัดกรุงเทพมหานคร ดังนั้น
เสริมสร้ างปฏิสมั พันธ์ของคนต่างวัยในครอบครัวเป็นการ เพื่อให้ การกํากับดูแลและติดตามการจัดการศึกษาบรรลุ
กล่อมเกลาจิตใจของเด็กและเยาวชนให้ มีวินยั ซื่อสัตย์ มี เป้าหมาย สํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร จึงได้ จดั ทํา
คุณธรรม กตัญ�ู เอื ้ออาทรแล ะมีความรับผิดชอบต่อ มาตรฐานการศึกษาขึ ้นเพื่อใช้ เป็นหลักเทียบเคียงสําหรับ
สังคม รู้จกั การประสานประโยชน์เป็นพลังนําไปสู่การ การส่งเสริม กํากับดูแล ตรวจสอบ การประเมินผลและ
แก้ ปัญหาด้ านต่าง ๆ สร้ างภูมิค้ มุ กันในการดํารงชีวิตบน การประกันคุณภาพการศึกษา ซึง่ ในส่วนของการศึกษา
พื ้นฐานของความพอเหมาะพอควรรู้จกั ประหยัดอดออม ระดับปฐมวัยนั้นสํานักการศึกษากรุงเทพมหานครได้
และมีวินยั ในการใช้ จ่าย ซึง่ จะเห็นได้ ว่าแผนพัฒนา กําหนดมาตรฐานไว้ 3 ด้ าน คือ ด้ านเด็ก จํานวน 9
เศรษฐกิจและสังคมทั้งฉบับที9่ และฉบับที่ 10 นั้นต่างให้ มาตรฐาน ด้ านครู จํานวน 3 มาตรฐาน และด้ าน
ความสําคัญกับคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคม ผู้บริหาร จํานวน 5 มาตรฐาน สําหรับมาตรฐานด้ านเด็ก
การศึกษาเป็นปั จจัยสําคัญที่มีบทบาทในการ ที่นบั ว่ามีความสําคัญต่อการพัฒนาเด็กให้ เป็นคนดี คน
พัฒนาคนในสังคมให้ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม และเพื่อให้ เก่ง มีความสุข ประกอบด้ วย 9 มาตรฐาน ดังนี ้
ความสําคัญกับการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมดังกล่าว มาตรฐานที่ 1 เด็กมีคณ ุ ธรรมจริยธรรมและ
จึงได้ มีการตราพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ มาตรฐานที่ 2 เด็กมีสขุ นิสยั
2542 และที่แก้ ไขเพิมเติ ่ ม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ที่ม่งุ เน้ น สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีมาตรฐานที่ 3 เด็กมี
ให้ ผ้ เู รี ยนมีคณ ุ ธรรม จริยธรรมที่จําเป็นในการดํารงชีวิต สุนทรี ยภาพทางด้ านศิลปะ ดนตรี และกีฬา มาตรฐานที่
โดยมีคณ ุ ธรรม9 ประการ ได้ แก่ 1) ขยัน 2) ประหยัด 3) 4 เด็กมีความสามารถด้ านการคิดมาตรฐานที่ 5 เด็กมี
ซื่อสัตย์ 4) มีวินยั 5) สุภาพ 6) สะอาด ความรู้และทักษะตามหลักสูตร มาตรฐานที่ 6 เด็กมี
7) สามัคคี 8) มีนํ ้าใจ 9) กตัญ�ู และระดับการศึกษาที่ ทักษะในการแสวงหาความรู้ รักการเรี ยนรู้ และ
มีความสําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคนให้ มีคณ ุ ธรรม
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 46
พัฒนาตนเอง มาตรฐานที่ 7 เด็กมีทกั ษะในการทํางาน ว่า ผู้เรี ยนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ
รักการทํางานสามารถทํางานร่วมกับผู้อื่นได้ และมี ประสงค์ตามมาตรฐานหรื อไม่ รวมทั้งใช้ ใ นการ
ความรู้สกึ ที่ ดีต่ออาชีพสุ จริต มาตรฐานที่ 8 เด็ก วิเคราะห์หาจุดเด่น จุดด้ อย จุดที่ควรพัฒนาปรับปรุง
อนุรักษ์ และพัฒนาสิ่งแวดล้ อม มาตรฐานที่ 9 เด็ก เพื่อร่วมกันหาแนวทางการปรับปรุงและพัฒนาต่อไป
ปฏิบตั ิตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามหลักการวัดและประเมินผลนั้นเพื่อให้ ได้ ผล
(สํานักงานยุทธศาสตร์ การศึกษา, 2551) การวัดที่มีความถูกต้ อง สมบูรณ์ควรมีการวัดและประเมิน
เมื่อ พิจารณามาตรฐานการศึกษาของสํานัก ด้ วยวิธีการที่หลากหลาย ซึง่ สามารถแบ่งประเภทของ
การศึกษากรุงเทพมหานครกับมาตรฐานที่ใช้ สําหรับ วิธีการวัดออกเป็น 2 ประเภท ได้ แก่ การวัดและประเมิน
การประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับ รอง โดยผู้ อื่น และการวัดและประเมินตนเอง การวัดและ
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาจะพบว่า ประเมินโดยให้ ผ้ อู ื่นประเมินนั้น ผู้ประเมินควรเป็น
มาตรฐานที่ 1- 6 ของสํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร ผู้เชี่ยวชาญ หรื อมีประสบการณ์ในการประเมินและควร
มีความสอดคล้ องกับมาตรฐานการศึกษาของ ได้ รั บการฝึกอบรมในสิ่งที่จะประเมิน ส่วนการประเมิน
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ ตนเองนั้น ผู้ประเมินอาจพยายามตอบตามความคาดหวัง
การศึกษา (สมศ .) ส่วนมาตรฐานที่ 8-9 นั้นเป็น ของสังคม ซึง่ ไม่ตรงกับความเป็นจริง(ล้ วน และอังคณา,
มาตรฐานเฉพาะที่สํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร 2543 ) ดังนั้นเพื่อให้ ผลการวัดมีความถูกต้ องสมบูรณ์
กําหนดขึ ้น ซึง่ ไม่ปรากฏในมาตรฐานของสํานักงาน สามารถตรวจสอบความสอดคล้ องของผลการประเมินได้
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จึงควรใช้ การวัดและประเมินทั้ง2 ประเภท
สําหรับมาตรฐานที่ 1 เด็กมีคณ
ุ ธรรม จากการ ที่ผ้ วู ิจยั เป็นครูผ้ สู อน ในโรงเรี ยนการ
จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ 6 ด้ าน ได้ แก่ เคหะท่าทรายสํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร มาเป็น
ความมีวินยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตามข้ อตกลง ระยะเวลา 8 ปี นั้น มักพบปั ญหาการวัดและประเมิน
ร่วมกัน ความซื่อสัตย์สจุ ริต ความกตัญ�ูกตเวที ความ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ของเด็ก
มีเมตตากรุณา เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่และเสียสละ ความ ปฐมวัย เนื่องจากเป็นการประเมินโดยผู้อื่นกล่าวคือ การ
ประหยัด ความมีมารยาท และปฏิบตั ิตาม ข้ อตกลง ให้ ครูเป็นผู้ประเมินเด็กปฐมวัยเป็นรายบุคคล โดยยังไม่มี
ร่วมกัน นั้นถือเป็นมาตรฐานที่มีความสําคัญอย่างมาก เครื่ องมือเพื่อให้ เด็กเป็นผู้ประเมินตนเอง ทําให้ ผลการ
ตามความมุ่งเน้ นของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประเมินที่ได้ เป็นการประเมินตามการรับรู้ของครู ซึง่ อาจ
แห่งชาติฉบับที่ 9 และฉบับที่ 10 และตาม เป็นผลการวัดและประเมินที่ไม่ตรงตามความเป็นจริง
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ. 2542 และที่ ดังนั้นเพื่อให้ การวัดและประเมินคุณธรรม
แก้ ไขเ พิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 รวมทั้งตาม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของเด็กปฐมวัยใน
มาตรฐานหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่ต่างมุ่งให้ โรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร มี
ผู้เรี ยนมีคณุ ธรรม จริยธรรมและมีจิตใจที่ดีงาม ดังนั้น ความถูกต้ องสมบูรณ์ สามารถตรวจสอบความสอดคล้ อง
เพื่อให้ โรงเรี ยนและผู้เกี่ยวข้ องสามารถตรวจสอบหรื อ ของผลการวัดจากวิธีการที่หลากหลายได้ ผู้วิจยั จึงสนใจ
ประเมินว่าสามารถดําเนินการเพื่อพัฒนาผู้เรี ยนให้ พัฒนาแบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ
บรรลุตามมาตรฐานที่กําหนด ไว้ หรื อไม่นั้น จําเป็นต้ อง ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยขึ ้น เพื่อใช้ สําหรับวัดและ
มีการวัดแล้ วนําผลการวัดไปเป็นข้ อมูลสําหรับประเมิน ประเมินคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 47
ของเด็กปฐมวัยในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ ซึง่ ดําเนินงานของโรงเรี ยนอย่างไร ซึง่ จะเป็นข้ อมูลที่สามารถ
เป็นเด็กปฐมวัยที่มีสภาพบริบท และลักษณะเฉพาะที่ นําไปใช้ ประกอบการประกันคุณภาพได้ ต่อไป
คล้ ายคลึงกัน คือ ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีภมู ิลําเนาอยู่
ต่างจังหวัด มีสภาพครอบครัวเป็นครอบครัวเดี่ยว บิดา- วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
มารดา มีอาชีพรับจ้ าง การวิจยั ในครั้งนี ้มีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี ้
การพัฒนาแบบวัดในงานวิจยั ครั้งนี ้ 1. เพื่อพัฒนาแบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และ
ผู้วิจยั พัฒนาแบบวัดที่เป็นสถานการณ์ โดยใช้ สถานการณ์ คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยใน
สั้นๆ ที่มกั พบในชีวิตประจําวันของเด็กปฐมวัยเพื่อให้ เด็ก โรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
ปฐมวัยได้ พจิ ารณาจากตัวเลือกที่เป็นรูปภาพว่าจะปฏิบตั ิ 2. เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบวัด
อย่างไรเมื่ออยู่ ในสถานการณ์นั้น ๆ เป็นการให้ เด็กได้ คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์
พิจารณาโดยระลึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้นจริงเป็นประจํา สําหรับเด็กปฐมวัยในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลัก
ทุกวัน ซึง่ ทําให้ เด็กได้ พจิ ารณาตามสภาพที่เป็นจริงไ ม่ สี่ กรุงเทพมหานคร
จําเป็นต้ องใช้ จินตนาการ หรื อความคิดขั้นสูง เช่น การ 3. เพื่อสร้ างปกติวิสยั และเกณฑ์การแปล
วิเคราะห์หรื อการคิดแบบวิจารณญาณ เพื่อหาคําตอบที่ ความหมายคะแนนของแบบวัดคุณธรรม จริยธ รรม
ควรจะเป็น ที่เป็นคําตอบที่ถกู ต้ อง ตามกฎระเบียบ และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยใน
ข้ อบังคับ และได้ รับการยอมรับจากผู้อื่น ซึง่ อาจเป็น โรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
คําตอบที่ไม่ถกู ต้ องหรื อสอดคล้ องกับความเป็นจริง
นอกจากนันการวิ้ จัยในครั้งนี ้ผู้วิจยั ใช้ รูปภาพ เป็นตัวเลือก นิยามศัพท์
ความมี วินยั มี ความรับผิ ดชอบ ปฏิ บตั ิ ตาม
ให้ เด็กพิจารณาและให้ ครูอธิบายคําชี ้แจงหรื อวิธีการตอบ
ข้อตกลงร่ วมกัน หมายถึง การจัดเก็บของเล่น ของใช้
ข้ อคําถามรวมทั้งอ่านสถานการณ์ให้ เด็กฟั ง เนื่องจากเด็ก
รู้จกั รอคอย การปฏิบตั ิตนตามข้ อตกลงของห้ องเรี ยน
ปฐมวัยเป็นวัยที่ยงั ไม่สามารถอ่านหนังสือได้ แต่เป็นวัยที่
โรงเรี ยน รู้จกั ขออนุญาต รู้จกั หยุดพูดเมื่อครูพดู การ
มีความสนใจและเข้ าใจในความหมายของรูปภาพได้
ปฏิบตั ิกิจกรรมที่ได้ รับมอบหมายได้ สําเร็จ และการทิ ้ง
แบบวัดที่ได้ จากการวิจยั ครั้งนี ้จะเป็นประโยชน์
ขยะให้ เป็นที่
สําหรับใช้ เป็นเครื่ องมือในการตรวจสอบว่าเด็กปฐมวัยใน
ความซื ่อสัตย์ สจุ ริ ต หมายถึง การรู้จกั
โรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม
แยกแยะสิ่งของของตนเอง ของผู้อื่น ไม่นําสิ่งของของ
และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ในระดับใด มีจดุ เด่น จุด
ผู้อื่นมาเป็นของตนเอง ไม่พดู โกหก และยอมรับผิด
ด้ อย และจุดที่ควรพัฒนาอย่างไร เพื่อให้ ผ้ ทู ี่เกี่ยวข้ องได้
เมื่อทําผิด
หาแนวทางพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของเด็กต่อไป
ความกตัญ�ู หมายถึง การไหว้ กล่าวสวัสดี
นอกจากนันยั ้ งเป็นประโยชน์สําหรับใช้ ตรวจสอบการ
ขอบคุณผู้ที่ทําประโยชน์ให้ การเชื่อฟั งและปฏิบตั ิตาม
ดําเนินงานของโรงเรี ยนว่าสามารถดําเนินการพัฒนา
คําสัง่ สอนของพ่อแม่ ผู้ปกครองและ ครู
คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของเด็ก
ความมี เมตตากรุณา มี นํ้าใจ เอือ้ เฟื ้ อเ ผือ่ แผ่
ปฐมวัยได้ บรรลุตามมาตรฐานของสํานักการศึกษา
และเสียสละ หมายถึง การไม่รังแกผู้อื่น สัตว์ไม่
กรุงเทพมหานคร หรื อไม่ และมีแนวทางใน การพัฒนา การ
ทําลายต้ นไม้ การแบ่งปั นสิ่งของให้ ผ้ อู ื่นการให้ ความ
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 48
ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเหมาะสม และเสียสละ 1.2. 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิเคราะห์
เพื่อส่วนรวม คุณภาพของแบบวัดเป็นรายข้ อ โดยการหาค่าความยาก
ความประหยัด หมายถึง การใช้ และรักษา ง่าย และค่าอํานาจจําแนก เพื่อคัดเลือกและปรับปรุงข้ อ
สิ่งของของตนเองและส่วนรวมอย่างคุ้มค่า รู้จกั ออม คําถาม เป็นเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล 2 โรงเรี ยนเคหะทุ่ง
เงิน มีการหยอดเงินลงในกระปุก สองห้ องวิทยา 2 จํานวน 60 คนได้ มาโดยการเลือกแบบ
ความมี มารยาทและปฏิ บตั ิ ตามวัฒนธรรม เจาะจง
ไทย หมายถึง การแสดงออกโดยการพูด การฟั ง 1.2.3 กลุ่มตัวอย่างในการวิเคราะห์คณ ุ ภาพ
การรับประทานอาหาร การชมกิจกรรม และการแสดง ของแบบวัดในด้ าน ความยากง่าย อํานาจจําแนก ความ
ความเคารพผู้อื่นอย่างสุภาพเรี ยบร้ อย และปฏิบตั ิตน เที่ยงและการสร้ างปกติวิสยั เป็นเด็กปฐมวัยระดับชั้น
ได้ เหมาะสมกับกาลเทศะ อนุบาล 2 โรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่
ภาคเรี ยนที2่ ปี การศึกษา 2551 ผู้วิจยั กําหนดขนาดกลุ่ม
อุปกรณ์ และวิธีการวิจัย ตัวอย่าง โดยใช้ ตาราง Determining Sample From a
การวิจยั ครั้งนี ้มีจดุ ประสงค์เพื่อสร้ างแบบวัด Given Population ของ Krejcie and Morgan ที่ค่าความ
คุณธรรมจริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ด้ าน เชื่อมัน่ 95 % ได้ ขนาดกลุ่มตัวอย่างจํานวน 235 คน ซึง่ มี
ความมีวินยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตามข้ อตกลงร่วมกัน จํานวนมากกว่าจํานวนตํ่าสุดที่จะเป็นที่ยอมรับว่าเพียง
ด้ านความซื่อสัตย์ สจุ ริต ด้ านความกตัญ�ูกตเวที ด้ าน พอที่จะเป็นตัวแทนของประชากรกลุ่มตัวอย่างได้ มาโดย
ความมีเมตตากรุณามีนํ ้าใจเอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่และเสียสละ วิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (multistage sampling)
ด้ านความประหยัด ด้ านความมีมารยาท และปฏิบตั ิตาม 2. การพัฒนาแบบวัด
วัฒนธรรมไทยสําหรับเด็กปฐมวัย วิธีดําเนินการวิจยั มี การวิจยั ครั้งนี ้เป็นการพัฒนาแบบวัดคุณธรรม
ขั้นตอนตามลําดับ ดังนี ้ จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็ก
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ปฐมวัย จํานวน 6 ด้ าน โดยมีขั้นตอนการพัฒนาดังนี ้
1.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ ในการวิจยั ครั้งนี ้ 1. กําหนดจุดมุ่งหมายในการสร้ างและพัฒนา
เป็นเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล 2 โรงเรี ยนสังกัด แบบวัด คือเพื่อพัฒนาแบบวัดคุณธรรม จริยธรรมและ
สํานักงานเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร ภาคเรี ยนที่ 2 ปี คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยใน 6 ด้ าน
การศึกษา 2551 จํานวน 606 คน ได้ แก่ ด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตาม
1.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจยั ครั้งนี ้ ข้ อตกลงร่วมกัน ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้ านความ
ประกอบด้ วย กตัญ�ูกตเวที ด้ านความมีเมตตากรุณา มีนํ ้าใจ
1.2.1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการตรวจสอบ เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ และเสียสละ ด้ านความประหยัด ด้ าน
ความเข้ าใจสถานการณ์ และตัวเลือก การสื่อ ความมีมา รยาทและปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทย ตาม
ความหมายของรูปภาพในตัวเลือก ความเข้ าใจคําสัง่ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย โรงเรี ยนสังกัด
และวิธีการตอบ ตลอดจนพฤติกรรมในการตอบข้ อ กรุงเทพมหานคร
คําถามและเวลาที่ใช้ เป็นเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล2 2. ศึกษานิยามและทฤษฎีที่เกี่ยวข้ อง เพื่อ
โรงเรี ยนบางเขน(ไว้ สาลีอนุสรณ์) จํานวน 30 คนได้ มาโดย วิเคราะห์ความหมาย ตัวบ่งชี ้และพฤติกรรมของผู้ที่มี
การเลือกแบบเจาะจง คุณธรรม จริยธรรมและ คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ใน 6
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 49
ด้ าน ได้ แก่ ด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิ 6. ตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดโดยให้
ตามข้ อตกลงร่วมกัน ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้ าน ผู้เชี่ยวชาญจํานวน 5 ท่าน ประกอบด้ วยผู้เชี่ยวชาญ
ความกตัญ�ูกตเวที ด้ านความมีเมตตากรุณา มีนํ ้าใจ เกี่ยวกับการวัดและประเมินจํานวน 2 ท่าน และ
เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่และเสียสละ ด้ านความประหยัด และ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการศึกษาปฐมวัย 3 ท่าน พิจารณา
ด้ านความมีมารยาท และปฏิบตั ิตามวัฒนธรรม ไทย ความตรงตามเนื ้อหาโดยการพิจารณาความสอดคล้ อง
รวมทั้งศึกษาวิธีการสร้ างและพัฒนาแบบวัดคุณธรรม ของสถานการณ์กบั นิยามและความสอ ดคล้ องของ
จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตัวเลือกกับนิยามเชิงปฏิบตั ิการ
3. สร้ างนิยามเชิงปฏิบตั ิการของคุณธรรม 7. นําแบบวัดคุณธรรม จริยธรรมและ
จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ทั้ง6 ด้ าน ได้ แก่ คุณลักษณะ ที่พงึ ประสงค์ ที่ปรับปรุงแก้ ไขแล้ วไป
ด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิตามข้ อตกลง ทดลองใช้ ครั้งที่ 1 กับกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 30 คน เพื่อ
ร่วมกัน ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้านความกตัญ�ูกตเวที ตรวจสอบการสื่อความหมายของรูปภาพใน
ด้ านความมีเมตตากรุณา มีนํ ้าใจ เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ และ สถานการณ์และตัวเลือก การเข้ าใจคําสัง่ และวิธีการ
เสียสละ ด้ านความประหยัด ด้ านความมีม ารยาท และ ตอบแบบวัด พฤติกรรมในการตอบข้ อคําถามและเวลา
ปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทย ตามตัวบ่งชี ้ในมาตรฐานด้ าน ที่ใช้
ผู้เรี ยนมาตรฐานที1่ ที่สํานักการศึกษากรุงเทพมหานคร 8. นําแบบวัดคุณธรรมจริยธรรมและ
กําหนด คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ที่ปรับแก้ ไขไปทดลองใช้ ครั้งที่
4. กําหนดสร้ างผังการสร้ างแบบวัดคุณธรรม 2 กับกลุ่มตัวอย่างจํานวน 60 คน เพื่อวิเคราะห์ข้อ
จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ตามตัวบ่งชี ้ 6 คําถามในด้ านอํานาจจําแนกรายข้ อ
ด้ าน คือ ด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบ ปฏิบตั ิ 9. เลือกแบบวัดข้ อที่มีคณ ุ ภาพตามเกณฑ์
ตามข้ อตกลงร่วมกัน ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริต ด้ าน รวบรวมเป็นแบบวัดฉบับสมบูรณ์ ด้ านละ 6 ข้ อ รวม
ความกตัญ�ูกตเวที ด้ านความมีเมตตากรุณา มีนํ ้าใจ 36 ข้ อ เพื่อนําไปใช้ จริงกับกลุ่มตัวอย่างจํานวน 235
เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ และเสียสละด้ านความประหยัด และ คน และวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป
ด้ านความมีมารยาทและปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทย 10. สร้ างคู่มือการใช้ แบบวัด
5. สร้ างข้ อคําถามที่เป็นสถานการณ์ให้
ครอบคลุมคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ผลการวิจัย
ประสงค์แต่ละด้ านตามตัวบ่งชี ้ของมาตรฐานการศึกษาที่ ผลการวิจยั พบว่าแบบวัดที่พฒั นาขึ ้นมีคณ
ุ ภาพ
สํานักการศึกษา กรุงเทพมหานครกําหนด ซึง่ เป็น สามารถนําไปใช้ วดั คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะ
สถานการณ์สั้น ๆ ที่มกั พบเห็นในชีวิตประจําวัน แล้ วใช้ ที่พงึ ประสงค์ของเด็กปฐมวัยได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
รูปภาพเป็นตัวเลือก เพื่อให้ เด็กปฐมวัยได้ พจิ ารณาว่าจะ ผลการวิจยั ที่สําคัญมีดงั ต่อไปนี ้
ปฏิบตั ิอย่างไรเมื่ออยู่ในแต่ละสถานการณ์ครั้งแรกผู้วิจยั 1. การวิเคราะห์ข้อคําถามพบว่ามี ค่าอํานาจ
สร้ างข้ อคําถามเพื่อวัดคุณธรรม จริยธรรม และ จําแนกตั้งแต่ 0.26-0.64
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์จํานวน 6 ด้ าน แต่ละด้ านมี 2. แบบวัดด้ านความมีวินั ย ด้ านความซื่อสัตย์
จํานวน 9 ข้ อ เป็นแบบวัดที่มข้ี อคําถามรวม54 ข้ อ สุจริต ด้ านความกตัญ�ูกตเวที ด้ านความมีเมตตา
กรุณา ด้ านความประหยัด ด้ านความมีมารยาท มีค่า
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 50
ความเที่ยงเท่ากับ 0.72 0.69 0.74 0.76 0.76 และ 0.66 จริงเป็นประจําทุกวันทําให้ เด็กไม่จําเป็นต้ องใช้
ตามลําดับ จินตนาการ หรื อความคิดขั้นสูง เช่น การวิเคราะห์หรื อการ
3. ความตรงเชิงเนื ้อหาของแบบวัดจากการ คิดแบบวิจารณญาณ เพื่อหาคําตอบที่ควรจะเป็น ที่เป็น
คํานวณดัชนีความสอดคล้ องของความคิดเห็นของ คําตอบที่ถกู ต้ อง ตามกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ และได้ รับการ
ผู้เชี่ยวชาญ พบว่าข้ อคําถามในแบบวัดมีค่าดัชนีความ ยอมรับจากผู้อื่น ซึง่ อ าจเป็นคําตอบที่ไม่ถกู ต้ องหรื อ
สอดคล้ อง(IOC) ตั้งแต่ 0.60 - 1.00 สอดคล้ องกับความเป็นจริง สอดคล้ องกับแนวคิดของ
4. ปกติวิสยั และเกณฑ์การแปลความหมาย วาโร (2544) ที่กล่าวไว้ ว่า เด็กในระดับปฐมวัยนั้นเป็นวัย
คะแนนของแบบวัดอยู่ในรูปของเปอร์ เซ็นต์ไทล์และ ที่ยงั ไม่สามารถอ่านหนังสือได้แบบวัดสําหรับเด็กปฐมวัย
คะแนนทีปกติ โดยแบบวัดด้ านความมีวินยั มีความ ควรมีลกั ษณะเป็นรูปภาพและให้ ครูเป็นผู้อธิบายคําชี ้แจง
รับผิดชอบปฏิบตั ิตามข้ อตกลงร่วมกัน มีค่า T26-T49 หรื อวิธีการตอบแต่ละข้ อให้ เด็กฟั งอย่างชัดเจน โดยมี
(ตารางที่ 1) ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริตมีค่า T27-T58 ตัวเลือกที่วางรูปแบบแต่ละข้ อให้ มีระบบที่เหมือนกันเพื่อ
(ตารางที่ 2) ด้ านความกตัญ�ูกตเวที มีค่า T27-T44 ป้องกันไม่ให้ เกิดความสับสน (การวิจยั ทางการศึกษา
(ตารางที่ 3) ด้ านความมีเมตตากรุณา มีนํ ้าใจ ปฐมวัย , 2544) เพราะฉะนั้นแบบวัดคุ ณธรรม
เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่และเสียสละ มีค่า T27-T43 (ตารางที่ 4) จริยธรรมและคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์เชิงสถานการณ์
ด้ านความประหยัด มีค่าT27-T43 (ตารางที่ 5) และด้ าน ที่เป็นรูปภาพจึงมีความเหมาะสมกับเด็กปฐมวัยเป็น
ความมีมารยาท และปฏิบตั ตามวั ิ ฒนธรรมไทยมีค่าT27- อย่างมาก
T47 (ตารางที่6) 2. ระดับคุณธรรม
การวัดคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ
วิจารณ์ ผล ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัย ในการวิจยั ครั้งนี ้เป็นการวัด
การวิจยั ครั้งนี ้มีวตั ถุประสงค์ เพื่อพัฒนาแบบ คุณธรรม จริยธรรม ในระดับ1ทีตามการแบ่
่ งระดับจริยธรรม
วัดคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ ของ Kohlberg (1976) ที่แบ่งระดับจริยธรรม ออกเป็น3
สําหรับเด็กปฐมวัย ในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลัก ระดับ6 ขั้น ดังนี ้
สี่ ผู้วิจยั มีข้อวิจารณ์ ดังนี ้ 2.1 ระดับที่ 1 ระดับก่อนกฎเกณฑ์สงั คมใน
1. ความเหมาะสมของการใช้แบบวัดเชิ ง ระดับนี ้เด็กจะรับกฎเกณฑ์และข้ อกําหนดของ
สถานการณ์ ทีเ่ ป็ นรู ปภาพกับเด็กปฐมวัย พฤติกรรมที่ “ดี” “ไม่ดี ” จากผู้มีอํานาจเหนือตน เช่น
จากการทดลองใช้ แบบวัดคุณธรรม จริยธรรม บิดา มารดา ครู หรื อเด็กโต และมักจะคิดถึงผลที่
และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยที่เป็น ตามมา เช่น รางวัลหรื อการลงโทษ พฤติกรรม “ดี” คือ
แบบวัดเชิงสถานการณ์ที่ใช้ ตวั เลือกที่เป็นรูปภาพ กับ พฤติกรรมที่แสดงแล้ วได้ รางวัล พฤติกรรม “ไม่ดี ” คือ
กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจยั พบว่าเด็กปฐมวัยมีความตื่นเต้ น พฤติกรรมที่แสดงแล้ วได้ รับการลงโทษ Kohlberg
และกระตือรื อร้ นที่จะทําแบบวัดที่ผ้ วู ิจยั สร้ างขึ ้น และ (1976) ได้ แบ่งพัฒนาการทางจริยธรรมระดับนี ้ เป็น 2
เมื่อผู้วิจยั อ่านสถานการณ์ให้ เด็กฟั งและถามว่าจะ ขั้น คือ 1) การลงโทษและการเชื่อฟั ง 2) กฎเกณฑ์เป็น
ปฏิบตั ิอย่างไร เด็กปฐมวัยสามารถที่จะตอบและเลือก เครื่ องมือเพื่อประโยชน์ของตน
ทําเครื่ องหมายวงกลมล้ อมรอบตัวเลือกใต้ รูปภาพที่ 2.2 ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑ์
ตนเองเลือกตอบได้ โดยที่ผ้ วู ิจยั ไม่ต้องอธิบายซํ ้า สังคม พัฒนาการจริยธรรมระดับนี ้ ผู้ทําถือว่าการ
เนื่องจากเด็กได้ พจิ ารณาโดยระลึกถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 51
ประพฤติตนตามความคาดหวังของผู้ปกครอง บิดามารดา นอกจากนั้นเด็กระดับปฐมวัยนั้นเป็นช่วงของการปลูกฝั งให้
กลุ่มที่ตนเป็นสมาชิกหรื อของชาติ เป็นสิ่งที่ควรจะทําหรื อ เด็กได้ รับรู้ และปฏิบตั ิในสิ่งที่ควรจะเป็น ตามกฎ ระเบียบ
ทําความผิดเพราะกลัวว่าตนจะไม่ เป็นที่ยอมรับของผู้อื่นผู้ ข้ อบังคับของสังคม เพื่อให้ เด็กได้ มีการปฏิบตั ิตนที่ถกู ต้ อง
แสดงพฤติกรรมจะไม่คํานึงถึงผลตามที่จะเกิดขึ ้นแก่ตนเอง เป็นที่ยอมรับ แบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และ
ถือว่าความซื่อสัตย์ ความจงรักภักดีเป็นสิ่งสําคัญ ทุกคน คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ฉบับนี ้จึงเป็นการวัดเพื่อประเมิน
มีหน้ าที่จะรักษามาตรฐานทางจริยธรรม ระดับนี ้เป็น 2 การกระทําที่เหมาะสมหรื อไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ที่
ขั้น คือ 1) ความคาดหวังและการยอมรับในสังคม เกิดขึ ้นเท่านั้น
สําหรับ “เด็กดี ” 2) กฎและระเบียบ การทําถูกไม่ 3. แบบวัดทีเ่ ป็ นการประเมิ นตนเอง
ประพฤติผิดคือ การทําตามหน้ าที่ประพฤติตนไม่ผิด ตามหลักการวัดและประเมินผลนั้นเพื่อให้ ได้ ผล
กฎหมาย และรักษาระเบียบแบบแผนของสังคม การวัดที่มีความถูกต้ อง สมบูรณ์ควรมีการวัดและประเมิน
2.3 ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมตามหลักการ ด้ วยวิธีการที่หลากหลาย หากจําแนกวิธีการวัดคุณธรรม
ด้ วยวิจารณญาณ หรื อระดับเหนือกฎเกณฑ์สงั คม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์แล้ วสามารถ
พัฒนาการทางจริยธรรมระดับนี ้ เป็นหลักจริยธรรมของ จําแนกได้ 2 วิธีการ คือ การวัดและประเมินโดยผู้อื่นและ
ผู้มีอายุ 20 ปี ขึ ้นไป ผู้ทํา หรื อผู้แสดงพฤติกรรมได้ การวัดและประเมินตนเอง การวัดและประเมินโดยให้ ผ้ อู ื่น
พยายามที่จะตีความหมายของหลักการ และมาตรฐาน ประเมินนั้นผู้ประเมินควรเป็นผู้เชี่ยวชาญ หรื อมี
ทางจริยธรรมด้ วยวิจารณญาณ ก่อนที่จะยึดถือเป็น ประสบการณ์ในการประเมินและควรได้ รับการฝึกอบรมใน
หลักของความประพฤติที่จะปฏิบตั ิตาม การตัดสิน สิ่งที่จะประเมิน ส่วนการประเมินตนเองนั้น ผู้ประเมินอาจ
“ถูก ” “ผิด ” “ไม่ควร ” มาจากวิจารณญาณของตนเอง พยายามตอบตามความคาดหวังของสังคม ซึง่ ไม่ตรงกับ
ปราศจากอิทธิพลของผู้ที่มีอํานาจหรื อกลุ่มที่ตนเป็น ความเป็นจริง แต่สําหรับเด็กปฐมวัยนั้นเป็นวัยที่ไม่มีการ
สมาชิก กฎเ กณฑ์ -กฎหมาย ควรจะตั้งบนหลักความ เสแสร้ ง เด็กมักจะกระทํา หรื อพูดตามที่ตนเองคิด การให้
ยุติธรรม และเป็นที่ยอมรับของสมาชิกของสังคมที่ตน เด็กเป็นผู้ประเมินตนเอง ทําให้ ครูสามารถรับรู้ข้อมูลจาก
เป็นสมาชิก Kohlberg (1976) แบ่งพัฒนาการทาง เด็กโดยตรง ดังนั้นการใช้ แบบวัคดณ ุ ธรรม จริยธรรม และ
จริยธรรม ระดับนี ้เป็น 2 ขั้น คือ 1) สัญญาสังคม หรื อ คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ฉบับนี ้ จึงควรใช้ ประกอบกับ
หลักการทําตามคํามัน่ สัญญา 2) หลักการคุณธรรม การวั ดวิธีอื่น เพื่อให้ สามารถตรวจสอบความสอดคล้ อง
สากล ของผลการประเมินแล้ วนําผลการประเมินมาวิเคราะห์
สําหรับเด็กระดับปฐมวัยนั้น พบว่า ส่วนใหญ่ จุดเด่น จุดด้ อย และจุดที่ควรพัฒนาแล้ วหาแนวทาง
จะมีคณ ุ ธรรม จริยธรรมในระดับ 1 ของการแบ่งระดับ พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของเด็กต่อไป
จริยธรรมของKohlberg (1976) เท่านั้น กล่าวคือ เด็กจะ 4. คะแนนจากการตรวจแบบวัด
กระทําหรื อไม่กระทําสิ่งใดเพื่อผลประโยชน์บางประการของ แบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่
ตนเอง เช่น คําชมเชย ของรางวัล หรื อเพื่อหลีกเลี่ยถูงการ ก พึงประสงค์ฉบับนี ้ เป็น แบบวัดที่มีระบบการให้ คะแนน
ลงโทษตามกฎเกณฑ์ข้อบังคับต่างๆ เนื่องจากศักยภาพ 0 กับ 1 มีคําตอบถูกต้ องในแต่ละข้ อเพียงคําตอบ
ของเด็กปฐมวัยจะยังไม่สามารถแยกแยะ และมี เดียว ถ้ าตอบถูกได้ 1 คะแนน และได้ 0 คะแนน เมื่อ
วิจารณญาณในการวิเคราะห์ระดับคุณธรรม จริยธรรมใน ขั้น ตอบผิด เนื่องจากเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล 2 ผ่าน
ที่สงู กว่า การกระทําสิ่งต่าง ๆ เพื่อสังคมและส่วนรวม การเรี ยนในระดับชั้นอนุบาลมาแล้ ว 1 ปี และได้ รับ การ
ปลูกฝั งอบรมให้ ร้ ูจกั กฎ ระเบียบ มารยาท รวมทั้ง
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 52
คุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตอยู่ในสังคม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ มีความ
มาแล้ ว เด็กจึงเลือกปฏิบตั ิตนได้ ถกู ต้ องในแต่ละ สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น เพื่ อสามารถวิเคราะห์ความมีคณ ุ ธรรม
สถานการณ์ จึงมีผลทําให้ คะแนนจากการตอบแบบวัด จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ของเด็ก
มีลกั ษณะค่อนข้ างเบ้ ซ้าย นัน่ คือเด็กส่วนใหญ่ ปฐมวัยได้ ถกู ต้ อง และสามารถนําไปใช้ เป็นแนวทางใน
เลือกตอบคําตอบได้ ถกู ต้ อง ทําให้ คะแนนที่ได้ ค่อนข้ าง การปรับปรุงแก้ ไขพฤติกรรมของเด็กให้ ดียิ่งขึ ้น
สูงและมีการกระจายค่อนข้ างน้ อย 1.3 เนื่องจากเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีช่วงความ
5. ปกติ วิสยั และเกณฑ์ การแปลความหมาย สนใจสั้น โดยเฉพาะเด็กปฐมวัยอายุ3-6 ปี จะมีช่วงความ
คะแนน สนใจ ประมาณ15 -20 นาที ฉะนั้นการนําแบบวัดไปใช้ กบั
ปกติวิสยั และเกณฑ์การแปลความหมายคะแนน เด็กปฐมวัยจึงควรเป็นการวัดครั้งละด้ านหรื ออาจจะวัดวัน
ของแบบวัดอยู่ในรูปของเปอร์ เซ็นต์ไทล์และคะแนนทีปกติ ละ 2-3 ด้ าน เพราะหากเด็กเกิดความเบื่อหน่ายจะทําให้ ไม่
โดยแบบวัดด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบปฏิบตั ิ มีความตั้งใจในการตอบแบบวัด ทําให้ ผลการวัดมีความ
ตามข้ อตกลงร่วมกัน มีค่า T26-T49 ด้ านความซื่อสัตย์ คลาดเคลื่อนได้
สุจริตมีค่า T27-T58 ด้ านความกตัญ�ูกตเวที มีค่า T27- 2. ข้อเสนอแนะในการทําวิ จยั ครั้งต่อไป
T44 ด้ านความมีเมตตากรุณา มีนํ ้าใจเอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่และ การวิจยั ครั้งนี ้มุ่งพัฒนาแบบวัดคุณธรรม
เสียสละ มีค่าT27-T43 ด้ านความประหยัด มีค่าT27-T43 จริยธรรม และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็ก
และด้ านความมีมารยาทและปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทยมี ปฐมวัยในโรงเรี ยนสังกัดสํานักงานเขตหลักสี่
ค่า T27-T47 จะพบว่าปกติวิสยั ของแบบวัด คุณธรรม กรุงเทพมหานคร ซึง่ เป็นนักเรี ยนที่มีลกั ษณะเฉพาะ คือ
จริยธรรมที่สร้ างขึ ้ น ทุกด้ านมีค่าใกล้ เคียงกัน ผู้ปกครองส่วนใหญ่มีภมู ิลําเนาอยู่ต่างจังหวัด มีสภาพ
เนื่องจากเด็กเริ่ม มีพฒ
ั นาการที่ดี และได้ รับการฝึกฝน ครอบครัวเป็นครอบครัวเดี่ยว บิดา - มารดา มีอาชีพ
เกี่ยวกับมารยาท และวิธีการอยู่ในสังคม ให้ มีความสุข รับจ้ าง จึง ไม่เหมาะสมสําหรับนําไปใช้ กบั เด็กปฐมวัย
มาแล้ วมีผลทําให้ เด็กสามารถเลือกคํา ตอบได้ ทัว่ ไป เนื่องจากอาจมีการอบรมเลี ้ยงดูที่แตกต่างกัน จึง
เหมาะสม ถูกต้ อง ควรมีการพัฒนาแบบวัดคุณธรรม จริยธรรม และ
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ที่มีลกั ษณะเฉพาะสําหรับเด็ก
ข้ อเสนอแนะ ปฐมวัยกลุ่มอื่นๆ
1. ข้อเสนอแนะในการนําแบบวัดไปใช้
1.1 การนําแบบวัดคุณธรรมจริยธรรมและ เอกสารอ้ างอิง
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัย นี ้ไปใช้ ควร กรมวิชาการ .2546. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ศึกษารายละเอียดคู่มือการใช้ แบบวัดคุณธรรม จริยธรรม พุทธศักราช 2546. กรมวิชาการ .
และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัย ให้ เข้ าใจ กระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพฯ.
ทั้งในส่วนของวิธีการวัด และการแปลความหมายคะแนน บุญเรี ยง ขจรศิลป์. 2543. วิธีวิจยั ทางการศึกษา. ห้ าง
1.2 แบบวัดคุณธรรม จริยธรรม แ ละ หุ้นส่วนจํากัด พี.เอ็น. การพิมพ์, กรุงเทพฯ.
คุณลักษณะที่พงึ ประสงค์สําหรับเด็กปฐมวัยที่สร้ างขึ ้น ล้ วน สายยศ และอังคณา สายยศ . 2543. การวัด
นี ้ ควรนําไปใช้ ประกอบกับการวัดคุณธรรม จริยธรรม ด้ านจิตพิสยั . สุวิริยาสาส์น, กรุงเทพฯ.
และคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ด้วยวิธีการอื่นๆ เช่น การ วาโร เพ็งสวัสดิ์ . 2544. การวิจยั ทางการศึกษา
สังเกต การสัมภาษณ์ ทั้งนี ้เพื่อให้ การวัดคุณธรรม ปฐมวัย. สุวิริยาสาส์น, กรุงเทพฯ.
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 53
สํานักงานยุทธศาสตร์ การศึกษา . 2551. มาตรฐาน Behavior. New York: Holt Rinehart and
การศึกษาโรงเรี ยนสังกัดกรุงเทพมหานคร Winson.
(ฉบับทดลอง ). โรงพิมพ์ชุ มนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. Received 20 May 2009
สํานักงานรับรองมาตรฐานและประเ มินคุณภาพ Accepted 30 December 2009
การศึกษา (องค์กรมหาชน ). 2544. กรอบการ
ประเมินคุณภาพ ภายนอกระดับการศึกษาขั้น
พื ้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท.
Kohlberg, L. 1976. Moral Stage and Moralization:
The Cognitive Development Approach. In
T. Likona (ed.) Moral Development and
ตารางที่ 1 เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนนแบบวัด ด้ านความมีวินยั มีความรับผิดชอบ
ปฏิบตั ิตามข้ อตกลงร่วมกัน
ด้ าน คะแนนดิบ คะแนนทีปกติ ความหมาย
ความมีวินยั มีความ 5-6 ตั้งแต่ T43 ขึ ้นไป ดี
รับผิดชอบปฏิบตั ิตาม 3-4 T36 –T39 ปานกลาง
ข้ อตกลงร่วมกัน 0-2 ตํ่ากว่า T31 ควรปรับปรุง

ตารางที่ 2 เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนนแบบวัด ด้ านความซื่อสัตย์สจุ ริต


ด้ าน คะแนนดิบ คะแนนทีปกติ ความหมาย
ความซื่อสัตย์สจุ ริต 5-6 ตั้งแต่ T45 ขึ ้นไป ดี
3-4 T36 –T42 ปานกลาง
0-2 ตํ่ากว่า T35 ควรปรับปรุง

ตารางที่ 3 เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนนแบบวัด ด้ านความกตัญ�ูกตเวที


ด้ าน คะแนนดิบ คะแนนทีปกติ ความหมาย
ความกตัญ�ูกตเวที 5-6 ตั้งแต่ T39 ขึ ้นไป ดี
3-4 T34 –T36 ปานกลาง
0-2 ตํ่ากว่า T31 ควรปรับปรุง

ตารางที่ 4 เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนนแบบวัด ด้ านความมีเมตตากรุณา มีนํ ้าใจ


เอื ้อเฟื อ้ เผื่อแผ่ และเสียสละ
ด้ าน คะแนนดิบ คะแนนทีปกติ ความหมาย
ความมีเมตตากรุณา 5-6 ตั้งแต่ T39 ขึ ้นไป ดี
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 54
มีนํ ้าใจเอื ้อเฟื อ้ 3-4 T33 –T37 ปานกลาง
เผื่อแผ่ และเสียสละ 0-2 ตํ่ากว่า T31 ควรปรับปรุง
วิ ทยาสารกํ าแพงแสน ปี ที ่ 7 ฉบับที ่ 3 2552 55
ตารางที่ 5 เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนนแบบวัด ด้ านความประหยัด
ด้ าน คะแนนดิบ คะแนนทีปกติ ความหมาย
ความประหยัด 5-6 ตั้งแต่ T39 ขึ ้นไป ดี
3-4 T34 –T36 ปานกลาง
0-2 ตํ่ากว่า T31 ควรปรับปรุง

ตารางที่ 6 เกณฑ์การแปลความหมายของคะแนนแบบวัด ด้ านความมีมารยาท และปฏิบตั ิตาม


วัฒนธรรมไทย
ด้ าน คะแนนดิบ คะแนนทีปกติ ความหมาย
ความมีมารยาทและ 5-6 ตั้งแต่ T42 ขึ ้นไป ดี
ปฏิบตั ิตามวัฒนธรรมไทย 3-4 T34 -T38 ปานกลาง
0-2 ตํ่ากว่า T31 ควรปรับปรุง

You might also like