Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

CH 6 –Fluid Mechanics

โจทย์เพิ่มเติม (ไม่ต้องส่งในระบบ E-learning)


1. ถ้ามีแรงขนาด 0.300 N อันเนื่องจากสารน้ำในลูกตา (aqueous humor) กระทำบนกระจกตาพื้นที่ 1.10 cm2 จงหาความ
ดันที่เกิดขึ้นในหน่วย (20.5 mmHg) P = = =3.13- 4 = 2780Pa

2. ความดันขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัวของคนหนึ่งมีค่าเท่ากับ 120 mmHg และ 80 mmHg ตามลำดับ ถ้านำที่วัดความดัน


มาติดที่ต้นขาคนนี้ทรี่ ะดับต่ำกว่าหัวใจ 0.50 m จะสามารถวัดค่าความดันได้เท่าไร กำหนดให้ความหนาแน่นของเลือดเท่ากับ
P = P2 + 1050 (- 0.5) ( 9.8) 133.3

1050 kg/m3 (159/119 mmHg) P = Peggh 159 / 199 mmidg


=P2- 38.6 -

3. ผู#ชายคนหนึ่ง เท#าของเขาอยู2ต่ำกว2าเส#นเลือดใหญ2จากหัวใจลงไป 1.37 m โดยที่ความดันเลือดเฉลี่ยอยู2ที่ 104 mmHg ถ#า


สมมติว2าเลือดอยู2นิ่งไม2ได#ไหล ความดันเลือดที่เท#าของเขาจะมีค2าเท2าใดในหน2วย mmHg กำหนดให้ความหนาแน่นของเลือด
เท่ากับ 1060 kg/m3 (211 mmHg) 104 = Pyt 1060 ( 9.8) (- 1.37) / 133.3 0
P2 = 10.8 mmitg
2

4. ระบบไฮดรอลิกยกใช้ยกรถน้ำหนัก 12 kN โดยอัตราส่วนพื้นที่ของลูกสูบใหญ่ (A) ต่อลูกสูบเล็ก (a) เท่ากับ 100 ถ้าต้องการให้


ฝั่งลูกสูบใหญ่เคลื่อนที่ขึ้น 1.0 cm จะต้องกดลูกสูบเล็กลงเป็นระยะเท่าใด (1.0 m) 0.01 =
aloo - ป -> Δ = a. 1 m.

5. ทิมมวล 60.0 kg ลอยตัวอยู่บนน้ำ โดยที่ 97% ของปริมาตรร่างกายจมอยู่ใต้น้ำ จงหาความหนาแน่นเฉลี่ยของร่างกาย


B= =: *
กำหนดให้ความหนาแน่นของน้ำเท่ากับ 1000 kg/m3 (970 kg/m3) 9 m
Su 9 0.97 -

=Vorg = 3.0.97V+ = 9.0.972


6. ปลาจะใช#การเปลี่ยนแปลงความหนาแน2นของกระเพาะเพื่อให#ได#ความหนาแน2นเท2ากับน้ำจึงจะสามารถลอยอยู2นิ่งใต#ผิวน้ำได#
297042 / า

ถ#าปลาตัวหนึ่งมีความหนาแน2นเฉลี่ย 1080 kg/m3 และมวล 10.0 g ขณะที่กระเพาะยุบตัวอย2างสมบูรณ[ มันจะต#องเพิ่ม


ปริมาตรกระเพาะเป\นเท2าใดเพื่อให#ลอยอยู2ในน้ำได# กำหนดให#ความหนาแน2นของน้ำมีค2าเท2ากับ 1060 kg/m3 (17 cm3)
7. ลวดโลหะทำเป็นวงกลมรัศมี 3.5 cm จุ่มในน้ำสบู่ที่มีความตึงผิว 0.025 N/m จงหาแรงตึงผิว (5.5 x 10-3 N) F+ = L = 0.025.210.035 U.

=5.5.153 N
8. เลือดไหลในหลอดเลือดแดงรัศมี 2.0 mm ด้วยอัตราเร็ว 40 cm/s ให้หาอัตราการไหลและปริมาตรของเลือดที่ไหลผ่านหลอด
#30.27040 =
เลือดแดงในช่วงเวลา 30 s (Q = 5 cm3/s, V = 150 cm3) 5.8 cm/S /
305:
5.30 =
150 cm3 /
9. ผู้ป่วยได้รับน้ำเกลือด้วยอัตรา 0.120 cm3/s ผ่านเข็มให้น้ำเกลือรัศมี 0.150 mm ยาว 2.50 cm ที่ปลายเข็มฝั่งขาเข้า (ติดกับ
ถุงน้ำเกลือ) จะต้องมีความดันเท่าใด น้ำเกลือจึงจะไหลเข้าไปในร่างกายผู้ป่วยได้ กำหนดให้น้ำเกลือมีค่าความหนืดเท่ากับ 15090

0.015)" ( 18,133.37)
#1 ( P-
1.00 mPa.s และค่าความดันเกจในหลอดเลือดผู้ป่วยเท่ากับ 8.00 mmHg (1.62 x 104 N/m2) 0.12 =
3.2.5 8.1.10-
p216156Pa

10. ในกรณีที่หลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง ถ้าบริเวณที่หลอดเลือดโป่งพองมีความดันสูงกว่าบริเวณที่หลอดเลือดปกติ 70 Pa และ


ความเร็วของเลือดที่ไหลในเส้นเลือดปกติเท่ากับ 0.40 m/s จงหาความเร็วของเลือดที่ไหลในบริเวณที่หลอดเลือดโป่งพอง
กำหนดให้ความหนาแน่นของเลือดเท่ากับ 1060 kg/m3 และไม2คำนึงถึงผลต2างของตำแหน2งความสูงของหลอดเลือด 2 บริเวณ
นี้ (0.17 m/s) P2- P, = E CIVIC - ,Y = 20 = = = 1066 = 10.42 - 23 0
V2 = 0.17 m/ s

11. ในขณะที่ดันให้เลือดไหลผ่านช่องแคบที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.4 mm ยาว 4.0 cm ด้วยอัตราการไหล 4.0 cm3/min หาก


เลือดมีสัมประสิทธิ์ความหนืด 4 x 10-3 Pa.s จงหาผลต่างของความดันเลือดด้านหน้าและด้านหลังช่องแคบนี้ (17.0 kPa)
12. เลือดมีสัมประสิทธิ์ความหนืด 4.0 x 10-3 Pa.s ไหลผ่านหัวใจด้วยอัตราเร็วเฉลี่ย 72.0 cm/s จงหารัศมีของขั้วหัวใจที่เริ่มทำให้
เกิดการไหลแบบปั่นป่วน กำหนดให้ความหนาแน่นของเลือดเท่ากับ 1060 kg/m3 (1.05 cm)
4000 = 1,060. 0.72. d d2
-o 0.021 m

3
4. 10-
5 2 1.05 co

4 #1 ( 0.0274 (P
17 kPa
5 - 8.4.13.3.4 =
ต้

You might also like