คู่มือองค์ความรู้ การสำรวจ การทำสแกน 3 มิติ และการสำเนาศิลปกรรม 3 มิติ เพื่อการอนุรักษ์โบราณสถาน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 127

คู่มือองค์ความรู้

การสารวจ การทาสแกน 3 มิติ


และการสาเนาศิลปกรรม 3 มิติ
เพื่อการอนุรักษ์โบราณสถาน

ได้รับทุนอุดหนุนการทากิจกรรมส่งเสริมและ
สนับสนุนการวิจัย
โครงการจัดการความรูแ้ ละถ่ายทอดเทคโนโลยี
จากผลงานวิจัยและนวัตกรรม
จาก สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
คู่มือองค์ความรู้
การสารวจ การทาสแกน 3 มิติ
และการสาเนาศิลปกรรม 3 มิติ
เพื่อการอนุรักษ์โบราณสถาน

โดย
สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

คณะผู้จัดทา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.คุณยุต เอี่ยมสอาด
รองศาสตราจารย์ ดร.วรัทยา ธรรมกิตติภพ
อาจารย์จักรพันธ์ วิลาสินีกุล
อาจารย์พิเชฐ เขียวประเสรืฐ
นายกิตตินาถ วรรณิสสร
คา นา

ด ้ ว ย แ น ว ท า ง ห นึ ่ ง ใ น ก า ร อ น ุ ร ั ก ษ ์ โ บ ร า ณ ส ถ า น
งานประติมากรรมต่างๆ ด้วยเทคโนโลยี ส แกน 3 มิติ การใช้เครื่องมือ
สแกน 3 มิติ ทาให้ได้ไฟล์ดิจิตอลสามมิติ สามารถนามาใช้เป็นมาตรฐาน
การตรวจวัด การซ่อมแซมครั้งต่อๆไปได้ ข้อมูลดิจิตอลจากการสแกน 3
มิตินั้ นจัดเก็บง่าย ประหยัด เนื้อที่ และเป็นเทคโนโลยี ร องรั บ สาหรั บ
ก า ร ท า ส า เ น า 3 ม ิ ต ิ เ พื ่ อ ซ ่ อ ม แ ซ ม อ น ุ ร ั ก ษ ์ ศิ ล ป ก รรม
ประติมากรรมอื่น ๆ ในอนาคต โดยหลีกเลี่ยงการใช้ช่างฝีมือที่ขาดทักษะ
ในการซ่อมแซม ดั งนั้ น งานด้ า นการอนุ รั ก ษ์ โ บราณสถานจึ งมี ค วาม
จาเป็นต้องสร้างฐานข้อมูลดิจิตอลไว้รองรับการพัฒ นาในอนาคต เก็บ
ข้อ มูล ด้ว ยสแกน 3 มิต ิ ได้ข ้อ มูล ต้น แบบที ่เ ป็น ไฟล์ด ิจ ิต อล และ
แบบจาลอง 3 มิ ติ เ สมื อ นจริ ง โดยอ้ า งอิ ง แบบที่ ไ ด้ จ ากหน่วยงานที่
รับ ผิดชอบจากการวัดพื้ นที่ จริง ซึ่งบั นทึ กขนาดและสัด ส่ว นจริง ไว้ไ ด้
ทั้งหมด และสามารถจัด เก็บ ในระบบคลาวด์ ทาให้สะดวกในการดึง
ข้อ มูล สาหรับ การศึก ษาในอนาคตต่อ ไป คู่มือ องค์ค วามรู้เ รื่อ ง การ
สารวจ การทาสแกน 3 มิติ และการสาเนาศิล ปกรรม 3 มิติ เพื่อการ
อนุรัก ษ์โบราณสถานฉบับ นี้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็นประโยชน์ กับผู้
ที ่เ กี ่ย วข้อ งในการอนุ ร ั ก ษ์ ม รดกของชาติ และสร้ า งบุ ค ลากรที ่ มี
ความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับความสามารถของการนาเทคโนโลยี
3 มิติ มาใช้ในงานอนุรักษ์เพื่อการนาไปใช้ต่อยอดในอนาคต

ผู้ช่วยศาสตาราจารย์ ดร.คุณยุต เอี่ยมสอาด


หัวหน้าโครงการฯ
ส ารบัญ

บทที่ 1 บทนา
หน้า
1
สะพานมหาดไทยอุทิศกับการจัดทาสาเนา
3 มิติ 3
สะพานเจริญรัช 31 กับการจัดทาสาเนา
3 มิติ 5
บทที่ 2 การสารวจสภาพศิลปกรรม 3 มิติ 12
การสารวจรอบแรก 13
การทาแผนผัง 14
วิธีการสารวจ 22
ประเภทของความเสียหาย 23
การสรุปผลเพื่อคัดเลือกชิ้นงานเก็บเป็น
ต้นแบบ 24
บทที่ 3 การทาสแกน 3 มิติ 27
เครื่องสแกน 3 มิติ (3D Scanner) 27
การเลือกใช้เครื่อง 3D Lase scanner กับ
งานอนุรักษ์ 35
สารบัญ (ต่อ)

บทที่ 4 การสาเนาศิลปกรรม 3 มิติ เพื่อการอนุรักษ์ 50


กระบวนการผลิตโดยการขึ้นรูป 50
เครื่องจักรซีเอ็นซี (Computer Numerical
Control) 52
เครื่องสร้างต้นแบบรวดเร็ว และเครื่องกัด 60
การผลิตซ้าด้วยเครื่องกัดซีเอ็นซี 3 แกนครึ่ง 85

เอกสารอ้างอิง 110
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 ตารางเปรียบเทียบสแกนทั้งสามชนิด 43
2 เปรียบเทียบ ขอดี ขอเสีย ของ SLA 63
3 เปรียบเทียบ ขอดี ขอเสีย ของ LOM และ
PLT 69
4 เปรียบเทียบ ขอดี ขอเสีย ของ FDM 71
5 เปรียบเทียบ ขอดี ขอเสีย ของ 3D Printer 73
6 เปรียบเทียบ ขอดี ขอเสีย ของ SLS 74
7 เปรียบเทียบลักษณะงานที่ผลิตดวย
เครื่องสามแกน 81
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 ราวสะพานมหาดไทยอุทิศ 4
2 สะพานเจริญรัช 31 5
3 ปูนหลุดลอก แตกเปนรอยราว 6
4 คราบสกปรกดาบดบังความสวยงามของ
สะพาน 7
5 ลวดลายแตกหักเสียหายของสะพาน 8
6 แผนผังสะพานมหาดไทยอุทิศฝงตะวันตก
ดานนอก 17
7 แผนผังสะพานเจริญรัช 31 ฝงแมน้า 18
8 แบบบันทึกลายพวงหรีด สะพานมหาดไทย
อุทิศ (ซาย) แผนบันทึกที่ 1 (ขวา) แผนบันทึก
ที่ 2 20
9 แบบบันทึกสภาพลายเสือถือพระขรรค
สะพานเจริญรัช 31 (บน) แผนบันทึกที่ 1
(ลาง) แผนบันทึกที่ 2 21
10 เสือถือพระขรรคที่อยูติดกัน 3 ตัว
ที่รายละเอียดบนใบหนาไมเหมือนกัน 23
11 สแกนเนอรเลเซอร 3 มิติ 28
12 เครื่องสแกนเนอรแบบสัมผัส 3D 28
13 เครื่องสแกนเนอร แบบไมสัมผัส 29
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
14 เครื่องสแกนเนอร แบบ Handheld Laser
scanner 30
15 ตัวอยางภาพจากเครื่องสแกนเนอรแบบ
Structured light 31
16 ระบบฉายแสงที่มีโครงสรางและรหัส 32
17 เครื่องสแกนเนอร Volumetric Techniques 33
18 เครื่องสแกนแบบ Handheld Structured
Light 37
19 เครื่องสแกนแบบ Tripod-Mounted
Structured Light 37
20 เครื่องสแกนแบบ LASER Arm Scanning 38
21 ราชสีหที่สแกนไดจากเครื่องสแกน
Handheld 39
22 ราชสีหสแกนไดจากเครื่องสแกน Tripod-
mounted 40
23 ราชสีหสแกนไดจากเครื่องสแกน LASER 41
24 ไฟล 3 มิติหนาผูใหญ่ 42
25 อุบะสแกนไดจาก LASER 44
26 ผูใหญและเด็กสแกนไดจาก LASER 45
สารบัญภาพ (ต่อ)

ภาพที่ หน้า
27 แผนปายบอกชื่อสะพานสแกนไดจาก LASER 45
28 หลังคาสแกนไดจาก LASER 46
29 หนาคนรองไหสแกนไดจาก LASER 47
30 หนาคนจูงเด็กสแกนไดจาก LASER 47
31 ลาตัวคนอุมเด็กสแกนไดจาก LASER 48
32 ลาตัวคนจูงเด็กสแกนไดจาก LASER 48
33 ชิ้นประกอบจากไฟลสแกนยอย 49
34 การเอาเนื้อวัสดุออก 50
35 การปนหรือหลอเปนรป 51
36 การเติมเนื้อวัสดุ 52
37 หลักการทางานของเครื่อง ซีเอ็นซี 54
38 เครื่องกลึงซีเอ็นซี 55
39 เครื่องตัดดวยลวดและลักษณะชิ้นงานจาก
การตัด 55
40 เครื่อง EDM 56
41 (a). LASER Cut, (b). Plasma Cut 57
42 Water Jet Cut 57
43 CMM 58
44 เครื่องเจียร 59
45 เครื่องเคลื่อนยายวัตถุ 60
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
46 การเติมเนื้อวัสดุทีละชั้น 61
47 แสดงการออกแบบชิ้นงานในโปรแกรม3D
แลวผลิตดวย RP 62
48 ลักษณะชิ้นงานที่เหมาะสาหรับการผลิต
ดวย RP 62
49 SLA 63
50 ช้นิงานจาก SLA 64
51 Overhang Features 66
52 แสดงปญหา Stair Step ของความเอียงของ
ชิ้นงานที่ตางกัน 66
53 ชิ้นงานที่มี Trapped Volume 67
54 หลักการทางานของเครื่อง LOM 68
55 หลักการทางานและลักษณะชิ้นงานของเครื่อง
PLT 68
56 หลักการทางานของเครื่อง FDM 70
57 ชิ้นงานที่ไดจาก FDM 70
58 เครื่อง 3D Printer 72
59 ชิ้นงานจากเครื่อง 3D Printer 72
60 เครื่อง SLS 73
61 ชิ้นงานจากเครื่อง SLS 74
62 Near Net Shape 75
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
63 กระบวนการ Rapid Tooling 76
64 ชิ้นงานที่ไดจาก Rapid Tooling 76
65 เครื่องแบบแนวตั้ง VMC 77
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
66 เครื่องแบบแนวนอน HMC 78
67 เครื่อง Milling ซีเอ็นซีแบบ 2 แกนคร่ง 79
68 เครื่อง Milling ซีเอ็นซี แบบ 3 แกน 80
69 ชื่อแกนของเครื่อง Milling ซีเอ็นซี 83
70 ลักษณะของเครื่อง 3 แกนครึ่ง 84
71 ลักษณะการกัดงานของเครื่อง 4 แกน 84
72 เครื่อง Milling ซีเอ็นซี 5 แกน 85
73 การนาไฟล STL เขาทา CAM 86
74 การกัดชิ้นงานโดยใชคา Stepdown 87
75 หนาตางการปรับคาของการกัดดวยโปรแกรม
ARTCAM 88
76 หนาตางแสดงทางเดินของการกัดดวย
โปรแกรม ARTCAM 89
77 ตรรกะในการทาซ้าดวยเครื่องซีเอ็นซี 90
78 ป้ายประดิษฐานพระปรมาภิไธยยอ ว.ป.ร 92
79 การตัดปายประดิษฐานพระปรมาภิไธยยอ
ว.ป.ร. ในโปรแกรม 3 มิติ 93
80 (ก) ตรา ว.ป.ร. ชิ้นดานหนาที่กัดได (ข)
ตรา ว.ป.ร. ชิ้นดานตรงกลางที่กัดได
(ค) ตรา ว.ป.ร. ชิ้นดานหลังที่กัดได 94
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
81 ปาย 130 ที่กัดได (ซาย) และ สาเนาดิจิตอล
3 มิติ ปาย 130 (ขวา) 95
82 สิงห์ที่กัดได (ซาย) และ สาเนาดิจิตอล 3 มิติ
สิงห(ขวา) 96
83 ลายอุบะที่กัดได (ซาย) และ สาเนาดิจิตอล
3 มิติลายอุบะ (ขวา) 96
84 วิธีการกัดชิ้นงานดวยเครื่อง 3 แกนครึ่ง 97
85 การเลือกตัดเสาลายพระขรรค และลูกกรง
ที่เปนรูปเสือปามือจับพระขรรคที่เสา และ
ราวสะพาน 98
86 เสาลายพระขรรคที่กัดได (ซาย) และสาเนา
ดิจิตอล 3 มิติ เสาลายพระขรรค (ขวา) 99
87 ราวสะพานที่กัดได (ซาย) และ สาเนาดิจิตอล
3 มิติ ราวสะพาน (ขวา) 100
88 ปายจารึกชื่อสะพานเจริญรัชประดับดวยลาย
ใบไมแบบยุโรป 100
89 การเลือกตัดปายจารึกชื่อสะพานเจริญรัช 31
ดวยโปรแกรม 3 มิติ 101
90 เปรียบเทียบชิ้นงานที่ผลิตได (ซ้าย) และ
สาเนาดิจิตอล 3 มิติ (ขวา) 102
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
91 ปญหาเมื่อชิ้นงานกวางเกินไปเวลาหมุนจะเกิด
การชนหัวกัด 103
92 ปญหาเมื่อชิ้นงานกวางเกินไป (ก) กัดชิ้นงาน
ใกลจุดหมุนเกิดโมเมนตไมมากนัก (ข) กัด
ชิ้นงานไกลจากจุดหมุนเกิดโมเมนตมากจน
ชิ้นงานขยับ 104
93 อุบะที่กัดได (ลาง) และ สาเนาดิจิตอล 3 มิติ
อุบะ (ซ้าย และ ขวา) 105
94 สวนปายจารึกชื่อสะพานเจริญรัช 31 หลังการ
ตกแตงโดยช่างฝมือ 105
95 เสือปาที่กัดได (ซาย) และสาเนาดิจิตอล 3 มิติ
เสือปา (ขวา) 107
96 ปญหางานกัดหักที่เกิดจากการไมใส่ครีบรับ
แรง 108
97 ลักษณะชิ้นงานที่ผลิตดวย ซีเอ็นซี ไดยาก
ใบไมจากสะพานผานฟาลีลาศ 109
98 กัดดวย ซีเอ็นซี ไมสามารถเก็บรายละเอียดได 109
บ ทที่ 1
บทนำ
การทาสาเนา 3 มิติเพื่อการอนุรักษ์เป็นแนวทางหนึ่งที่
นาเทคโนโลยีม าใช้ใ นการอนุรัก ษ์ และได้ใ ช้ก ารผสมผสาน
วิ ธี ก ารทาสาเนา 3 มิ ติ แบบดั้ ง เดิ ม คื อ การทาแม่ พิ ม พ์ แ ละ
การหล่อซึ่งเป็นกระบวนการด้านประติมากรรม และแบบที่ใช้
เทคโนโลยีด้านคอมพิว เตอร์การสแกน 3 มิติ ร่ว มกับเทคนิค
การผลิตซ้าโดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมการทางานเครื่องจักรกล
อัตโนมัติซีเอ็น ซี เนื่อ งจากทั้งสองเทคนิค มีข้อ ดี และข้อด้อยที่
สามารถเสริมกันได้ ข้อดีของกระบวนการดั้งเดิม คือสามารถใช้
กับ งานที่มีร ายละเอีย ด และมีความซับ ซ้อนสูงได้ อีกทั้งพิมพ์
สามารถทาสาเนาได้หลายชิ้น แต่จาเป็นต้องมีพื้นที่ ในการเก็บ
รักษา ส่วนการใช้เทคโนโลยีสามารถลอกแบบงานที่มีขนาดใหญ่
เช่น ปราสาททั้งหลังให้อยู่ในข้อมูล ระบบดิจิตอลที่แสดงภาพ
จาลองให้เห็นได้ ซึ่งสามารถทาสิ่งของหรือมรดกทางวัฒนธรรม
ที่มีความสาคัญทางประวัติศาสตร์ ที่สูญหายไปแล้ว ขึ้นมาใหม่
ได้ ฉะนั้น จึงเห็นได้ว่าการอนุรักษ์โบราณวัตถุจึงมีความจาเป็นที่
จะต้องเก็บข้อมูลเพื่อการเปรียบเทียบ อ้างอิง ทั้งที่เป็นสาเนา
ดิจิตอล 3 มิติ เพื่อเป็นหลักฐานสาหรับศึกษาและการซ่อมแซม
ที่ถูกต้องในอนาคต เพราะลักษณะเด่นหรือข้อดีของเทคโนโลยี
ดังกล่าวนี้ คือ
2

 เก็บรูปทรงและลวดลายได้คมชัดกว่าวิธีลอกลาย
แบบปัจจุบัน
 เป็นการสร้างฐานข้อมูลดิจิตอลแบบสามมิติ (3D
Database) ของรูปทรงและลวดลายโบราณสถานต่างๆ
 สามารถสร้างแบบจาลองโบราณสถานต่าง ๆ ได้
จากฐานข้อมูลดิจิตอลแบบสามมิตินี้ได้ง่าย
 สามารถใช้ฐ านข้อมูล ดิจิตอลแบบสามมิตินี้เป็น
ต้นแบบเพื่ออ้างอิงในการซ่อมแซมโบราณสถานต่าง ๆ ในอนาคต
ได้
 สามารถใช้ฐานข้อมูลดิจิตอลแบบสามมิตินี้เพื่อนา
ลวดลายบางส่วนไปใช้ในการสร้างงานใหม่ ๆ ได้
 ผสมผสานกระบวนการทางวิศวกรรมและกระบวน
ทางศิลปกรรมและประติมากรรมโดยใช้ฐานข้อมูลดิจิตอลแบบ
สามมิตินี้มาทาการขึ้นรูปชิ้นงานปูนปลาสเตอร์ด้วยวิธีการทาง
วิศวกรรมเพื่อให้ได้รูปทรงและรายละเอียดตามสภาพของลาย
ปูนปั้นบนสะพานในปัจจุบันและทาการตกแต่งลายให้สวยงาม
คมชัดด้วยวิธีการทางศิล ปกรรมและประติมากรรมซึ่งยังไม่มี
โรงหล่อใดเคยทา
3

สะพำนมหำดไทยอุทิศกับกำรจัดทำสำเนำ 3 มิติ
การอนุรักษ์และการบริหารจัดการโบราณสถาน โบราณ
วัตถุ มักประสบปัญหา เนื่องจากขาดการสนับสนุนร่วมมือจาก
หน่วยงานที่มีส่ว นเกี่ย วข้อง และขาดการให้ความรู้แก่ชุมชน
อย่างต่อเนื่อง ทาให้ชุมชนขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแล
รั ก ษาโบราณสถาน โบราณวัต ถุ และขาดความตระหนัก ถึง
ความสาคัญ รวมถึงไม่กล้าเข้าไปมีส่วนในจัดการ ส่งผลให้การ
จัดการดูแลโบราณสถาน โบราณวัตถุส่วนใหญ่ที่อยู่ในความดูแล
ของท้องถิ่นยังไม่สามารถดาเนินงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
ด้ว ยข้อ จากัด ทางด้า นความรู้ค วามเข้า ใจ การขาดบุค ลากร
เฉพาะทาง และเทคโนโลยีในการดาเนินงานอนุรักษ์ที่ไม่เพียงพอ
ต่อจานวนโบราณสถานทั้งหมดทั่วประเทศไทย ส่งผลให้การ
อนุรักษ์โบราณสถาน โบราณวัตถุหลายแห่งถูกละเลยจนกล่าว
ได้ว่าเป็นมรดกเมืองที่ถูกลืม
“...มรดกเมืองที่ถูกลืม...” กรณีศึกษาที่สาคัญและถือ
เป็นจุดเริ่มต้นของการทางานวิจัยร่วมกันระหว่ างมหาวิทยาลัย
ศิล ปากร มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร์ และกรุงเทพมหานคร
ได้แก่ สะพานมหาดไทยอุทิศ ซึ่งกรมศิล ปากรได้ประกาศขึ้น
ทะเบี ย นเป็ น โบราณสถานสาคั ญ ของชาติ โดยประกาศใน
ราชกิ จ จานุเบกษา เล่มที่ 92 ตอนที่ 61 วันที่ 18 มีนาคม พ.ศ.
2518
4

ภำพที่ 1 ราวสะพานมหาดไทยอุทิศ
สะพานมหาดไทยอุทิศ ตั้ง อยู่ ใ นบริเ วณใกล้เคีย งกับ
ภูเขาทอง วัดสระเกศ และป้อมมหากาฬ เปิดใช้เป็นทางการ
เมื่อวัน ที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2457 เป็นสะพานของถนนบริพัตร
เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร ถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้เป็น
ทางเชื่อมข้ามคลองมหานาค ณ จุดบรรจบระหว่างคลองมหานาค
กับคลองรอบกรุงหรือคลองโอ่งอ่างบางลาพู มาเชื่อมกับถนน
ดารงรักษ์ และถนนหลานหลวง รวมทั้งถนนราชดาเนิน
การก่อสร้างสะพานมหาดไทยอุทิศเป็นพระราชดาริ
ของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 มี
รูปแบบทางสถาปัตยกรรมแบบยุโรปและก่อสร้างตามวิธีสมัยใหม่
กลางราวสะพานด้านขวามีภาพประติมากรรมนูนด้านต่า เป็นรูป
สตรีอุ้มเด็ก ในมือมีช่อดอกซ่อนกลิ่น ด้านซ้ายเป็นรูปผู้ชายยืน
จับไหล่ของเด็ก (ดังภาพที่ 1) เป็นภาพแสดงถึงความโศกเศร้า
อาลั ย ราลึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ของพระบาทสมเด็ จ พระ
5

จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
เสด็จพระราชดาเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดสะพานในวันคล้าย
วันสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว
สะพำนเจริญรัช 31 กับกำรจัดทำสำเนำ 3 มิติ
สะพานเจริญรัช 31 เป็นสะพานแรกในสะพานชุดเจริญ
ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว พระราชทานทรัพย์
ให้ ก รมสุ ข าภิ บ าลสร้ า งเพื่ อ สาธารณประโยชน์ ในวั น เฉลิ ม
พระชนมายุค รบ 31 พรรษา ใน พ.ศ. 2454 ซึ่งเป็น ปีแ รกที่
เสด็จ ขึ้น ครองราชย์ โดยคาว่า “เจริญ ” มีความหมายว่า เมื่อ
รัชกาลที่ 5 เฉลิมสวรรค์แล้ว รัชกาลที่ 6 เจริญรัชกาลสืบต่อไป

ภำพที่ 2 สะพานเจริญรัช 31
ตัว สะพานมีลักษณะเป็น สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก
ราวสะพานทั้งสองข้างโค้งเป็นรูป ครึ่งวงกลม ภาพที่ 2 แสดง
“ลู ก กรง”ทาเป็ น ปู น ปั้ น รู ป เสื อ ป่ า ยื น หั น ข้ า ง เท้ า คู่ ห น้ า ถื อ
6

พระขรรค์ ป้ายกลางสะพานเป็นรูปโล่จารึกชื่อสะพานประดับ
ด้วยลายใบไม้แบบยุโรป เหนือป้ายประดิษฐานพระปรมาภิไธย
ย่อ ว.ป.ร. ปลายราวสะพานทั้งสี่มีป้ายรูปวงกลมจารึกเลข 31
ด้านล่างราวสะพานฝั่งคลองประดับลายดอกบัวเรียงต่อกันไป
ตรงกลางของแถวดอกบัวมีป้ายตัวเลข 130 ปัจจุบันตั้งอยู่บริเวณ
ปากคลองตลาด แขวงพระบรมมหาราชวัง เขตพระนคร ถือเป็น
หนึ่งในโบราณสถานที่ทรงคุณค่าของประเทศ แต่สะพานเจริญรัช
31 ประสบปัญ หาเช่น เดีย วกับ สะพานอื่น ๆ คือ เสื่อ มโทรม
เสียหายตามกาลเวลา ไม่ได้รับการอนุรักษ์ดูแลรักษาเท่าที่ควร
ปูนและสีหลุดลอก มีร อยแตกร้าว (ภาพที่ 3) มีคราบสกปรก
ปกคลุมบดบังลวดลาย (ภาพที่ 4) ชิ้นส่วนแตกหักเสียหาย ทั้ง
ลวดลายบางส่วนยังผิดเพี้ยนไปเพราะการซ่อมแซมแบบไม่ถูกต้อง
ตามหลักวิชาการ (ภาพที่ 5)

ภำพที่ 3 ปูนหลุดลอก แตกเป็นรอยร้าว


7

ภำพที่ 4 คราบสกปรกดาบดบังความสวยงามของสะพาน
8

ภำพที่ 5 ลวดลายแตกหักเสียหายของสะพาน
การอนุ รั ก ษ์ ป ระติ ม ากรรมปู น ปั้ น ประดั บ สะพาน
แนวทางหนึ่ง ได้แ ก่ การทาสาเนา 3 มิติ เพื่อ จัด เก็บ ไว้เป็น
หลักฐานสาหรับศึกษาและการซ่อมแซมที่ถูกต้องต่อไป การทา
สาเนา 3 มิติ เป็น วิธีการที่ใช้กับ มรดกทางวัฒ นธรรมที่ตั้งอยู่
กลางแจ้งและเคลื่อนย้ายไม่ได้ ตัวอย่างที่เห็นผลชัดเจนจากการ
9

ใช้วิธีการนี้ในประเทศไทย ได้แก่ การเก็บสาเนาภาพปูนปั้นรูป


พระพุทธประวัติปางเสด็จลงจากดาวดึงส์อยู่ที่ผนังด้านนอกของ
มณฑป วัดตระพังทอง เมืองสุโขทัยเก่า ปัจจุบันพบว่างานชิ้นจริง
ที่ตั้งอยู่กลางแจ้งทรุดโทรมแตกหักเสียหายไปมากเมื่อเทียบกับ
สาเนาหล่อปลาสเตอร์ที่เก็บไว้ในพิพิธภัณฑ์ อีกตัวอย่างที่ชัดเจน
ในต่ า งประเทศ ได้ แ ก่ ประติ ม ากรรมนู น ต่าสร้ า งในปลาย
ศตวรรษที่ 15 ซึ่งเคยประดับที่โบสถ์แห่งเมืองลือเบค ประเทศ
เยอรมนี ซึ่งถูกทาลายลงในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ปัจจุบัน
คงเหลื อ แต่ ง านปลาสเตอร์ ห ล่ อ ถอดแบบที่ เ ก็ บ รั ก ษาไว้ ใ น
พิพิธภัณฑ์วิกตอเรีย แอนด์ อัลเบิร์ต กรุงลอนดอน เป็นต้น
ปัจจุบันการทาสาเนา 3 มิติ ถอดแบบจากศิลปกรรมที่
อยู่กลางแจ้ง สามารถใช้ทั้งวิธีการแบบดั้งเดิมคือ การทาแม่พิมพ์
และการหล่อซึ่งเป็นกระบวนการด้านประติมากรรม และแบบที่
ใช้เทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์การสแกน 3 มิติ ร่วมกับเทคนิค
การผลิ ต ซ้าโดยใช้ ก ารใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ค วบคุ ม การทางาน
เครื่องจักรกลอัตโนมัติ ซีเอ็นซี ดังนั้น องค์ความรู้จากงานวิจัยสู่
การถ่า ยทอดเทคโนโลยีที่ป ระมวลและสัง เคราะห์ส รุป จาก
นักวิจัยได้ 3 องค์ความรู้ ประกอบด้วย การสารวจสภาพ การใช้
เทคโนโลยีทาสแกน 3 มิติ และการสาเนาศิลปกรรม 3 มิติ เพื่อ
การอนุรักษ์โบราณสถาน รายละเอียด ขั้นตอนการดาเนินการ
สรุปเป็น flow chart ได้ดังนี้
10

แจ้งข่าว ขอข้อมูล
จัดทาเอกสารถึง และขออนุญาต
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ขอการสนับสนุน

ถ่ายภาพ

วัดพื้นที่
สารวจรอบแรก
แยกองค์ประกอบ
ลวดลายเบื้องต้น

จัดทาแผนผัง ปฏิบัติงาน
โดยฝ่าย
ออกแบบการสารวจ ศิลปกรรม
การสารวจสภาพ จัดทาแบบสารวจ
โบราณสถาน สภาพ

ประชุมทีมทาความ
เข้าใจในแผนผังและ
หลักการ
ลงสารวจ ทาบันทึก
ลงพื้นที่สารวจ
แยกตาม
องค์ประกอบ
เก็บตัวอย่างวัสดุและ
สีเพื่อนามาวิเคราะห์

รวบรวมแบบสารวจ
ทาการประมวลผล
สรุปผล
คัดเลือกชิ้นงานที่
เหมาะสมให้การทา ปฏิบัติงานร่วมกัน
3D สแกน ระหว่างฝ่าย
ศิลปกรรมและ
วิศวกรรม
ประชุมทีม วางแผนในการปฏิบัติงาน

ติดต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพือ่ ขอเข้าพื้นที่และอุปกรณ์
สนับสนุน
การทา
3D สแกน ปฏิบัตกิ ารทา 3D สแกน ปฏิบัติงาน
โดยฝ่ายวิศวกรรม
แต่งไฟล์ 3 มิติเบื้องต้น

ประกอบไฟล์ที่ได้มาให้สมบูรณ์และแต่งไฟล์ที่ได้อีกรอบ
11

เลือกวัสดุทเี่ หมาะสม
ประชุมหาแนวทาง
เลือกเทคโนโลยีใน
การทาสาเนา 3 มิติ ปฏิบัติงาน
ร่วมกันระหว่าง
ฝ่ายศิลปกรรม
ขึ้นรูปชิ้นงาน/แม่พมิ พ์ด้วย และวิศวกรรม
การทาสาเนา CNC หรือ RP
3 มิติด้วยเครื่อง
CNC ขั้นตอนการผลิต แยกชิ้นงาน/แม่พิมพ์
ด้วยมือ และหล่อ
ชิ้นงานจากแม่พิมพ์

ปฏิบัติงานโดย
สารวจความคมชัดของสาเนา 3 มิติ
ฝ่ายศิลปกรรม

สรุป รำยงำนผล
บ ทที่ 2
การสารวจสภาพศิลปกรรม 3 มิติ
การสารวจสภาพ (Condition Report) คือ การศึกษา
ตรวจดูศิลปกรรม โบราณสถาน หรือโบราณวัตถุ ว่ายังรักษา
สภาพสมบูร ณ์ห รือมีความเสื่อมสภาพในปัจจุบันอย่างไรบ้าง
หรื อ ถู ก ซ่ อ มแซมและเปลี่ ย นแปลงมาแล้ ว หรื อ ไม่ อ ย่ า งไร
การประเมินสภาพของศิล ปกรรมเป็นข้อมูลอ้างอิงที่สาคัญใน
การอนุรักษ์ต่อไปในอนาคต โดยมีขั้นตอนการดาเนินการดังนี้
1. จัด ทาหนังสือแจ้งยื่น ไปหน่ว ยการที่เกี่ยวข้องกับ
โบราณสถาน
2. การสารวจเบื้องต้นเพื่อจัดทาแผนผังและกาหนด
รหัสของลวดลาย
3. การออกแบบเอกสารสาหรับใช้ในการสารวจลวดลาย
แต่ละตาแหน่ง
4. การลงพื้นที่สารวจ
5. การรวบรวมผลการสารวจ และสรุปประเมินสภาพ
สิ่งสาคัญก่อนการเข้าสารวจโบราณสถานครั้งแรกคือ
การทาหนังสือแจ้งไปยัง องค์กรบริหารส่วนท้องถิ่นที่เป็นที่ตั้ง
ของโบราณสถานนั้น ๆ เช่น ก่อนการเข้าสารวจสะพานมหาดไทย
13

อุทิศ นักวิจัยต้องแจ้งไปที่สานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร ซึ่ง


เป็นผู้ได้รับสิทธิ์ดูแลโบราณสถานแห่งนี้เพื่อขออนุญาตเข้าทา
การสารวจ รวมถึ ง การขอการสนั บ สนุ น จากสานั ก งานเขต
ป้ อ มปราบศั ต รู พ่ า ยซึ่ ง เป็ น ผู้ ดู แ ลพื้ น ที่ เ พื่ อ ประสานขอการ
สนั บ สนุ น ต่ า งๆ อาทิ การแจ้ ง ให้ ผู้ ใ ช้ พื้ น ที่ โ ดยรอบทราบ
เจ้ า หน้ า ที่ ดู แ ลรั ก ษาความปลอดภั ย การใช้ พื้ น ที่ ท างเท้ า ใน
ระหว่างปฏิบัติงาน เป็นต้น
การสารวจรอบแรก
เป็ น การสารวจสภาพโดยรวมเพื่ อ เก็ บ ข้ อ มู ล ของ
โบราณสถานด้านต่าง ๆ สาหรับการวางแผนขั้นตอนการทางาน
การจัดทาแผนผังและออกแบบเอกสารสาหรับ ใช้ในการสารวจ
ลวดลายในขั้นต่อไป การสารวจรอบแรก ได้แก่
1. การสารวจลักษณะทางภูมิทัศน์และสภาพแวดล้อม
ของโบราณสถาน อาทิ สารวจตาแหน่ ง ทิ ศ ที่ ตั้ ง ทางเข้ า สู่
โบราณสถาน สิ่งแวดล้อมและชุมชนโดยรอบ การวัดขนาดพื้นที่
ผู้สารวจสามารถบันทึกด้วยการถ่ายภาพ ภาพร่างพื้นที่ และการ
จดบันทึกเบื้องต้น
2. การสารวจลั ก ษณะทางศิล ปกรรมที่ป ระกอบใน
โบราณสถาน เป็นการจาแนกชนิดของศิลปกรรมเพื่อให้ทราบถึง
องค์ประกอบของศิลปกรรมทั้งหมด ผู้สารวจสามารถบันทึกด้วย
การถ่ายภาพ ภาพร่าง และการจดบันทึก โดยพิจารณาจาก
14

2.1 วัสดุที่ใช้สร้างสรรค์ เช่น แยกบันทึกลวดลายที่


สร้างจากปูน เหล็กหล่อ สาริด หรือหินอ่อนออกจากกัน
2.2 รู ป แบบและองค์ ป ระกอบของศิ ล ปกรรม
การแยกแยะศิลปกรรมโดยดูจากรูปแบบ เช่น เป็นประติมากรรม
ลอยตัว ประติมากรรมนูนต่า หรือลวดลายแกะสลักลึกลงไปใน
วั ส ดุ เป็น ต้น และการถ่า ยภาพแต่ล ะส่ว นองค์ป ระกอบของ
ศิลปกรรมประดับซุ้มสะพาน
2.3 ตาแหน่งของศิลปกรรมบนโบราณสถาน เช่น
ลวดลายแถวประดับ สะพาน ลวดลายป้ายสะพาน ลวดลาย
ลู กกรงราวสะพาน ประติม ากรรมนู น ต่าประดับซุ้ม หรือเสา
ประติมากรรมลอยตัวกลางสะพาน หรือมุมทั้งสี่ เป็นต้น
การทาแผนผัง
การจัดทาแผนผังมีความสาคัญมากเพราะเป็นเอกสาร
กาหนดตาแหน่งของศิลปกรรมบนโบราณสถานทั้ งหมด ทั้งยัง
เป็นเอกสารที่นักสารวจใช้อ้างอิงคู่กับแบบสารวจสภาพลวดลาย
แต่ละองค์ประกอบ การประมวลข้อมูล จากการสารวจรอบแรก
สามารถนามาใช้กาหนดหมวดหมู่ของศิลปกรรมบนโบราณสถาน
ลัก ษณะที่เด่น ชัดบางประการของภูมิทัศ น์ของโบราณสถาน
สามารถใช้เป็นคาสาคัญ และสัญลักษณ์กากับในแผนผัง วิธีการนี้
จะช่วยให้คณะผู้สารวจเข้าใจตาแหน่งของศิลปกรรมทั้งหมดได้
ตรงกัน และยั งช่ว ยให้คณะผู้สารวจแยกกัน ทางานได้อย่างมี
เอกภาพในขั้นตอนการสารวจสภาพ นอกจากนี้ ยังสะดวกต่อ
15

การรวบรวม และการรายงานสรุป ผลการสารวจสภาพของ


ลวดลายและศิลปกรรม
การกาหนดคาสาคัญและสัญลั กษณ์บนแผนผังสามารถ
พิจารณาได้จาก
1. กาหนดคาสาคัญบนแผนผังตามทิศที่ตั้ง เช่น กรณี
ของสะพานมหาดไทยอุทิศ แนวสะพานตั้งค่อนข้างขนานไปตาม
แนวทิศเหนือและทิศใต้โดยปลายสะพานด้านทิศใต้เชื่อมต่อกับ
ถนนบริพัต ร ด้า นทิศ เหนือ เชื่อ มกับ ถนนดารงรัก ษ์ไ ปสู่ถ นน
หลานหลวงและถนนราชดาเนินได้ ราวสะพานทั้งสองข้างหันหน้า
ออกทางทิศตะวันตกและทิศตะวันออก แผนผังการสารวจสะพาน
แห่ ง นี้ จึ ง เหมาะจะใช้ ทิ ศ เป็ น คาสาคั ญ ผู้ วิ จั ย จึ ง กาหนดให้
ราวสะพานด้านทิศตะวันออก ใช้รหัส“E” (East) ส่วนราวสะพาน
ด้านทิศตะวันตกใช้รหัส “W” (West) นอกจากนี้ ราวสะพาน
ด้านในซึ่งหันหน้าเข้าสู่ถนนกาหนดใช้อักษร “I” (Inside) เป็น
รหัส และราวสะพานด้านนอกซึ่งหันหน้าออกสู่คลองสองข้างใช้
อักษร “O” (Outside) เป็นต้น (ภาพที่ 6)
2. ใช้สถานที่หรือสิ่งสาคัญทางภูมิทัศน์ซึ่งมีความเด่นชัด
ในบริเวณรอบโบราณสถานกาหนดคาสาคัญ เช่น อาคาร ถนน
แม่น้า เป็นต้น เช่น สะพานเจริญรัช 31 แนวสะพานแห่งนี้ไม่ได้
ตั้ ง ตามทิ ศ เหนื อ ใต้ ห รื อ ตะวั น ออกตะวั น ตก ผู้ วิ จั ย จึ ง เลื อ ก
สถานที่สาคัญ เป็น ตัว กาหนดรหัส ในแผนผัง ดังนี้ ราวสะพาน
ด้า นหัน หน้าออกไปทางแม่น้าเจ้าพระยา กาหนดให้เรียกว่า
“ฝั่งแม่น้า” ราวสะพานด้านที่หัน หน้าเข้าไปทางคลองคูเมือ ง
16

เรียกว่า “ฝั่งคลอง” และกาหนดชิ้นงานลาดับที่ 1 จากด้านที่


อยู่ใกล้สถานีตารวจพระราชวังเป็นหลัก โดยนับเรียงลวดลายบน
สะพานไปสู่ลาดับสุดท้ายที่ด้านปากคลองตลาด (ภาพที่ 7)
จากนั้ น จึ ง จั ด กลุ่ ม ลวดลายประเภทต่ า งๆ โดย
คานึงถึงลักษณะทางศิลปกรรมตามผลการสารสจรอบแรกดังที่
จาแนกแล้วข้างต้น ทั้งนี้กาหนดให้รูปทรงลวดลายที่มีรูปแบบ
ซ้ากัน หรือ เหมือ นกัน จัดอยู่ในประเภทเดีย วกัน และกาหนด
ลาดับลวดลายประเภทเดียวกันเรียงตามตัวเลข โดยนับลาดับที่ 1
จากทิศหรือด้านที่กาหนดไว้แล้ว ไล่เรี ยงจนถึงจบลวดลายเป็น
เลขสุดท้าย นอกจากนี้ ควรระบุสัญลักษณ์เพื่อบ่งบอกทิศหรือ
ที่ตั้ง และระบุสัดส่วนเทียบเคียงกับขนาดจริงไว้ในแผนผังเสมอ
ตัวอย่างแผนผังสาหรับใช้ในการสารวจสภาพศิลปกรรม
17

ภาพที่ 6 แผนผังสะพานมหาดไทยอุทิศฝั่งตะวันตกด้านนอก
18

ภาพที่ 7 แผนผังสะพานเจริญรัช 31 ฝั่งแม่น้า

การลาดั บรายละเอียดในลวดลายแต่ละประเภทใน
แบบบันทึก
การกาหนดวิธีการแบ่งพื้นที่สารวจในรายละเอียดของ
ลวดลายสามารถกาหนดออกเป็น 3 ลักษณะ ตามประเภทของ
งาน ได้แก่
19

1. ประเภทลวดลายที่มีรูปแบบซ้าๆ และสามารถแบ่ง
ออกเป็น ส่ว นอย่างชัดเจน ให้ร ะบุตัว เลขลงตามลั ก ษณะของ
ลวดลายส่วนต่างๆ ไล่เรียงจากเลข 1 จนถึงเลขสุดท้าย ตาม
ทิศทางหรือองค์ประกอบที่ให้ผู้สารวจเข้าใจได้ง่าย (ภาพที่ 8)
2. ประเภทของลวดลายที่มีลักษณะมีรูปร่างหลายแบบ
มาประกอบกันแต่ยังคงแยกส่วนในการสารวจได้ ให้ระบุตัวเลข
และใช้คาบอกลักษณะประกอบ เช่น ตาแหน่งเลข 1 ของเสือถือ
พระขรรค์ (ภาพที่ 9) ระบุว่า “หัวเสือ” ตาแหน่งเลข 2 ระบุว่า
“ลาตัว” ในใบบันทึกเพื่อให้สารวจบริเวณดังกล่าวให้ทั่ว
3. ประเภทของประติมากรรมที่ไม่สามารถแยกส่วนได้
ไม่สามารถแบ่งพื้นที่ในการสารวจได้อย่างชัดเจนให้ใช้วิธีการดู
ภาพรวม
ในการสร้างแบบบันทึกรายงานผลการสารวจต่อหนึ่ง
ชิ้นงานจะประกอบด้วยแบบบันทึก 2 แผ่น แถบบนของแบบ
บันทึกบ่งบอกตาแหน่ง ลาดับ และกลุ่มลวดลายของชิ้นงานที่จะ
สารวจ ส่วนด้านล่างระบุ วันที่ เวลา และชื่อของผู้สารวจ แบบ
บั น ทึ ก แผ่ น แรกเป็ น ภาพของศิ ล ปกรรมมี ห มายเลขซ้ อ นอยู่
บนภาพ เพื่อบอกรายละเอียดขององค์ประกอบที่ต้องการสารวจ
ผู้สารวจสามารถเขีย น วาดวง หรือ ชี้ร ะบุตาแหน่ง ที่เสียหาย
ลงไปบนแบบบันทึกได้ ส่วนแบบบั นทึกแผ่นที่สองใช้สาหรับจด
บันทึกเพื่ออธิบายรายละเอียดของความเสียหายที่สารวจพบ ซึ่ง
ได้แยกช่องบันทึก ไว้ตรงตามหมายเลขที่ระบุในแบบบันทึกแผ่น
ที่ 1
20

ตัวอย่างแบบบันทึกผลการสารวจสภาพ
แยกตามองค์ประกอบของศิลปกรรม

ภาพที่ 8 แบบบันทึกลายพวงหรีด สะพานมหาดไทยอุทิศ


(ซ้าย) แผ่นบันทึกที่ 1 (ขวา) แผ่นบันทึกที่ 2
21
ฝู
ง คลอง
ู เสู
อถู
อพระขรรคู ชู
นทู
ู ู

สรู
ปสภาพง านทู
ง หมด

9.1
7.1

7.2 9.2

1 1

7.3 9.3
6
8
2 5
5 2

7.4 9.4

3 45

สูรวจวู
า นทู ู เวลา ผู
สูรวจ
ู า

ภาพที่ 9 แบบบันทึกสภาพลายเสือถือพระขรรค์
สะพานเจริญรัช 31 (บน)
แผ่นบันทึกที่ 1 (ล่าง) แผ่นบันทึกที่ 2
22

วิธีการสารวจ
ผู้วิจัยจะคัดเลือกภาพศิลปกรรมที่ชัดเจนและมีสภาพ
สมบูร ณ์ที่สุด เพื่อใช้เป็นตัวอย่างในแบบบันทึกการสารวจ ซึ่ง
ภาพดังกล่าวอาจมาจากการสารวจรอบแรก หรือได้จากการศึกษา
ภาพถ่ายเดิมที่มีผู้บันทึกไว้ก่อนหน้า อย่างไรก็ดี ในขั้นตอนการ
สารวจ ผู้สารวจไม่ควรยึดเอาลักษณะของศิลปกรรมที่อยู่ในภาพ
ของแบบสารวจเป็นหลัก แต่ควรสังเกตงานศิลปกรรมของจริง
ที่กาลังสารวจอย่างละเอียดถี่ถ้วน และบันทึกอย่างรอบคอบถึง
ผลการสังเกต นอกจากนี้ มีข้อแนะนาบางประการในการสารวจ
ได้แก่
1. ในกรณีที่ล วดลายประเภทที่สารวจมีจานวนมาก
ซ้ากั น หลายชิ้ น ให้ สั ง เกตเปรี ย บเที ย บชิ้ น งานที่ ซ้ากั น เพื่ อ
เทียบเคียงทั้งรูปทรง รายละเอียดแต่ละส่วน และความเสียหาย
ที่เกิดขึ้น ในแต่ล ะจุดโดยละเอีย ดว่า มีความเหมือนหรือความ
แตกต่างกัน เพีย งใด ทั้งนี้ เพื่อให้ผ ลการสารวจมีความชัดเจน
มากที่สุด ผู้สารวจควรจับคู่ชิ้นงานเปรียบเทียบมากกว่าคู่เดียว
เพื่อ สารวจดู ว่า ลัก ษณะของรูป ทรงและรายละเอีย ดอย่างใด
อย่างหนึ่งในศิลปกรรมนั้นเกิดขึ้นซ้าๆ ในชิ้นงานทุกชิ้นหรือไม่
(ภาพที่ 10)
2. ในกรณีที่ศิล ปกรรม หรือ ลวดลายที่สารวจนั้น มี
ชิ้น เดีย ว ไม่มีชิ้น อื่น เปรีย บเทีย บ ให้พ ยายามสัง เกตชิ้น งาน
ศิลปกรรมว่ามีความผิดปกติ หรือมีลักษณะแปลกปลอมหรือไม่
เริ่ม จากการสั ง เกตรูป ทรงทั้ง หมดเพื่อค้น หาว่า มีก ารต่อ เติม
23

ดั ด แปลง แก้ ไ ขจากเดิ ม หรื อ ไม่ โดยสั ง เกตว่ า รู ป ทรงบาง


ตาแหน่งมีลักษณะบวมขึ้น หรือลีบลงหรือไม่ สึกกร่อนบางส่วน
หรือไม่ จากนั้นจึงสังเกตในแต่ละส่วนว่า พื้นผิวของรูปทรงและ
ลวดลายมีความต่อเนื่องหรือเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ วัสดุที่ใช้
สร้างงานเป็นอย่างไร เป็นต้น

ภาพที่ 10 เสือถือพระขรรค์ที่อยู่ติดกัน 3 ตัว ที่รายละเอียด


บนใบหน้าไม่เหมือนกัน

ประเภทของความเสียหาย
การระบุป ระเภทของความเสียหาย หรือคาสาคัญไว้
ตั้งต้นจะช่วยให้การสารวจเป็นไปในทิศทางเดียวกัน และสามารถ
นาผลมาสรุปได้ชัดเจนขึ้น ความเสีย หายที่พบได้โ ดยทั่วไปใน
งานโบราณสถานที่สร้างจากปูนซีเมนต์ ได้แก่
24

1. ความเสีย หายที่ปูน ซีเมนต์ คือ ความเสียหายที่มี


ลัก ษณะกิน เนื้อ ลงไปในปูน ซีเ มนต์ ซึ่ง เป็น วัส ดุที่ใ ช้ส ร้า งงาน
ประติมากรรม สามารถแบ่งออกได้ตามลักษณะดังนี้ บิ่น หัก
แตก รอยร้าว รอยแตก ผุกร่อน ผิวสึก
2. ความเสียหายประเภทสี คือ ความเสียหายที่เกิดขึ้น
กับสีหรือบนเนื้อสีที่ทาลงบนงานประติมากรรม สามารถแบ่ง
ออกได้ตามลักษณะดังนี้ สีหนา สีไหลไปกองเป็นจุด ๆ ร่องรอย
สีไหลย้อย สีลอกหลุด
3. ความเสียหายจากการซ่อมแซม คือ ความเสียหายที่
ได้รับผลมาจากการซ่อมแซมประติมากรรมส่วนที่ชารุดในแต่ละ
ครั้ง แล้วทาให้ประติมากรรมดูผิดรูปไปจากเดิม
4. ความเสียหายที่เกิดจากสิ่งแปลกปลอม คือ ความ
เสียหายที่มาจากการนาวัสดุ หรือวัตถุต่างๆ มาผูก มัด แขวน
วางชิดบนสะพาน หรือคราบร่องรอยต่างๆ ที่เกิดจากพฤติกรรม
ของผู้ใช้สะพาน
นอกเหนือจากการสารวจสภาพโดยการบันทึกแล้ว ควร
ถ่ายภาพชิ้นงานทุกชิ้นควบคู่กันไปด้วย เพื่อนามาใช้เป็นหลักฐาน
อ้างอิงในการประมวลผลความเสียหายที่เกิดขึ้น
การสรุปผลเพื่อคัดเลือกชิ้นงานเก็บเป็นต้นแบบ
ความสาคั ญ ของการสารวจสภาพประการหนึ่ ง คื อ
ผลสรุปจากการสารวจจะบ่งชี้ได้ว่าศิลปกรรมชิ้นใดในกลุ่มที่ซ้า
25

หรือเหมือนกัน มีความจริงแท้มากที่สุด และมีสภาพสมบูรณ์


หรือได้รับ ความเสียหายน้อยที่สุด ในช่ว งเวลาที่มีการสารวจ
ผลสรุปดังกล่าวสามารถใช้เป็น ตัว บ่งชี้ในการคัดเลื อกชิ้นงาน
เพื่อเก็บรักษาเป็นต้นแบบในการอ้างอิงหากมีการซ่อมแซมครั้ง
ต่อไป และเหมาะจะใช้เป็นชิ้นงานสาหรับการเก็บข้อมูล 3 มิติ
ด้วยเทคโนโลยี 3D สแกน
ในการคัดเลือกชิ้นงานเพื่อเก็บเป็นต้นแบบมีหลักเกณฑ์
ในการพิจารณา ดังนี้
กลุ่มที่ควรพิจารณาเก็บไว้เป็นต้นแบบ
1. ชิ้นงานที่มียังคงความสมบูรณ์ และคงความจริงแท้
ของลวดลาย
2. ชิ้นงานที่คงเหลือเพียงชิ้นเดียวจากงานทั้งหมด
3. ชิ้นงานที่มีการแตก หัก สึกกร่อนเล็กน้อย ไม่ทาให้
องค์ประกอบสาคัญเสียหาย
4. ชิ้ น งานที่ ยั ง คงความดั้ ง เดิ ม ของลวดลายไว้ ไ ด้
ถึงแม้ว่าจะได้รับการซ่อมแซมบางส่วนไปแล้ว
กลุ่มที่ไม่ควรพิจารณาเก็บไว้เป็นต้นแบบ
1. ชิ้นงานที่มีการแตก หัก สึกกร่อนอย่างหนัก จนทา
ให้ลวดลายสูญหายไปและกระทบต่อองค์ประกอบหลัก
26

2. ชิ้ น งานที่ ไ ด้ รั บ การซ่ อ มแซมแล้ ว ทาให้ ล วดลาย


เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
อย่างไรก็ตาม หากมีกรณีประเภทของชิ้นงานใดได้รับ
ความเสีย หายอย่างหนักทุกชิ้น หรือไม่ส ามารถคาดเดาได้ว่า
องค์ประกอบส่วนไหนของชิ้นงานที่ยังคงสภาพดั้งเดิมไว้ ควรทา
การ 3D สแกนทั้ง หมดเพื่อนาเปรีย บเทีย บและใช้โ ปรแกรม
คอมพิวเตอร์ช่วยในการประมวลผล
บ ทที่ 3
การทาสแกน 3 มิติ
เครื่องสแกน 3 มิติ (3D Scanner)
สแกนเนอร์ 3 มิติ (3D scanner) เป็นเครื่องมือที่ใช้ใน
การเก็บภาพหรือ รายละเอีย ดจากวัตถุ โดยทาการสแกนหรือ
เก็บข้อมูล และจากนั้นจะถูกส่งจากเครื่องสแกนเนอร์เข้าไปสู่
คอมพิวเตอร์ในลักษณะจุดในพิกัด 3 มิติ ที่เรียกว่า พอยต์คลาวด์
เพื่อนาไปคานวณผลต่อไป โดยเป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้งานในการ
ถ่า ยทาภาพยนตร์ และวีดีโ อเกม สแกนเนอร์เลเซอร์ 3 มิติ
ทางานโดยเครื่องจะยิงเลเซอร์ออกจากเครื่อง และรอเลเซอร์
สะท้อนจากวัตถุกลับเข้าไปสแกนเนอร์ และทาการวัดระยะเวลา
ในการเดินทางของเลเซอร์เพื่อคานวณหาระยะทางของตาแหน่ง
กล้องเทียบกับวัตถุจากสมการของความเร็วในลักษณะของไลดาร์
(LIDAR, LASER Detection and Ranging) สแกนเนอร์เลเซอร์
3 มิติ มีลักษณะขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งาน ตั้งแต่ การทารังวัด
สแกนเนอร์จะมีขนาดใหญ่ และสามารถวัดระยะทางได้ไกล หรือ
การวัดวัตถุสาหรับทาแม่พิมพ์ (Mold) ของเครื่องจักรซึ่งจะใช้
สแกนเนอร์ระยะใกล้ที่ความละเอียดสูง
เครื่องสแกนเนอนร์ 3 มิติ สามารถแบ่งตามเทคโนโลยี
ในการสแกนได้เป็น 7 ประเภท คือ
28

ภาพที่ 11 สแกนเนอร์เลเซอร์ 3 มิติ

1. สัมผัส (Contact)
เครื่องสแกนเนอร์แบบสัมผัส 3D มีความสามารถ
ในการตรวจสอบวัตถุโดยการสัมผัสทางกายภาพขณะที่วัตถุสัมผัส
สามารถทางานได้เพียงไม่กี่ร้อยเฮิรตซ์เท่านั้น ในทางตรงกันข้าม
ระบบแสง เช่น เลเซอร์สแกนเนอร์สามารถทางานได้ตั้งแต่ 10
ถึง 500 kHz ดังภาพที่ 12

ภาพที่ 12 เครื่องสแกนเนอร์แบบสัมผัส 3D
29

2. ไม่สัมผัส (Non-contact)
เครื่องสแกนเนอร์แบบไม่สัมผัสมีลักษณะเป็นกล้อง
จะยิงแสงเลเซอร์ออกมาเมื่อเลเซอร์พบวัต ถุ แสงเลเซอร์จ ะ
สะท้อนกลับเข้าไปในตัวกล้อง กล้องจะคานวณหาระยะห่างของ
กล้องกับวั ตถุจ ากระยะเวลาเดิน ทางของเลเซอร์ กับความเร็ว
ของเลเซอร์ จากนั้น อุป กรณ์ภ ายในกล้องจะหมุนและยิงแสง
เลเซอร์ลาอื่นออกไปเรื่อยๆ โดยในหนึ่งวินาที จะยิงได้หนึ่งแสน
จุดหรือมากถึงเก้าแสนจุด แล้วนาไปแปลงเป็นพื้นผิว

ภาพที่ 13 เครื่องสแกนเนอร์แบบไม่สัมผัส

3. Handheld LASER scanner


เครื่องสแกนเนอร์แบบ Handheld หลักการทางาน
ของเครื่องคือแสงเลเซอร์จะถูกฉายลงบนวัตถุจากอุปกรณ์มือถือ
โดยมีเซ็นเซอร์วัดระยะทางกับ พื้นผิว ข้อมูลจะถูกรวบรวมใน
30

ระบบพิ กั ด ภายใน ด้ ว ยเหตุ นี้ การรวบรวมข้ อ มู ล ที่ เ ครื่ อ ง


สแกนเนอร์อยู่ในท่าทางตาแหน่งของเครื่องสแกนเนอร์ต้องถูก
กาหนด ตาแหน่งนี้สามารถกาหนดโดยใช้คุณ สมบัติการอ้างอิง
บนพื้นผิวที่สแกนได้ (โดยปกติจะเป็นแถบสะท้อนแสง) หรือโดย
ใช้วิธีการติดตามภายนอก การติดตามจากภายนอกมักใช้รูปแบบ
ของเครื่องติดตามด้วยเลเซอร์ (เพื่อให้ตาแหน่งเซ็นเซอร์ ) ด้วย
กล้องในตัว (เพื่อกาหนดทิศทางของเครื่องสแกนเนอร์) หรือการ
แก้ปัญหาด้วยภาพโดยใช้กล้องสามตัวขึ้นไปให้องศาอิสระหก
องศาของเครื่องสแกนเนอร์ เทคนิคทั้งสองมีแนวโน้มที่จะใช้
ไดโอดเปล่งแสงสีแดงแบบอินฟาเรดที่ติดอยู่กับเครื่องสแกนเนอร์
ซึ่งมองเห็นได้โดยกล้องผ่านตัวกรองที่ให้ความยืดหยุ่นต่อแสง
โดยรอบ

ภาพที่ 14 เครื่องสแกนเนอร์แบบ Handheld Laser scanner


31

4. Structured light
เครื่องสแกนเนอร์แบบ Structured light หลักการ
ทางานของเครื่องคือมีระบบวัดพื้นผิวของวัตถุที่ใช้การฉายแสง
รหัสดิจิตอลทั้งพื้นที่ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าระบบฉายแสงที่มี
โครงสร้างและรหัส (coded structured light system) ซึ่งใช้
หลั ก การฉายแสงที่ มี ห นึ่ ง รู ป แบบ (pattern) หรื อ กลุ่ ม ของ
รูปแบบ (set of patterns) ไปบนวัตถุที่ต้องการวัดพื้นผิว ซึ่ง
แสงที่มีรูป แบบจะตกกระทบวัตถุ และถูกบันทึกไว้ ด้วยกล้อง
video หนึ่งตัวหรือหลายตัว แบบจะถูกออกแบบพิเศษเพื่อให้
รหัสถูกกาหนดลงไปบนกลุ่ม ของ pixels ทุก pixel จะมีรหัส
ของตัวมันเอง ดังนั้น จึงมีการจับคู่โดยตรง (direct mapping)
จากรหัสไปยังตาแหน่งของ pixel ที่สอดคล้องกัน แบบรหัสเป็น
เพียงแค่ตัวเลขซึ่งจะถูกจับคู่กับแบบโดยการใช้ระดับสีเทา (gray
level) สี หรือลักษณะทางเรขาคณิต จากนั้นจึงคานวนออกมา
เป็นพืน้ ผิวแบบสามมิติ ดังภาพที่ 15

ภาพที่ 15 ตัวอย่างภาพจากเครื่องสแกนเนอร์แบบ
Structured light
32

5. Modulated light
เครื่องสแกนเนอร์ Modulated light เป็นเครื่องที่
มีหลักการทางานโดยปรับแสงส่องสว่างตลอดเวลาที่วัตถุ โดย
ปกติแล้วแหล่งกาเนิดแสงจะหมุนรอบแอมพลิจูดในรูปแบบไซน์
(sinusoidal pattern) กล้องตรวจจับแสงสะท้อนและจานวน
รูปแบบที่ถูกเปลี่ยนโดยกาหนดระยะห่างที่แสงเดินทาง แสงแบบ
ปรับได้ช่วยให้สแกนเนอร์ไม่สนใจแสงจากแหล่งอื่นนอกเหนือ
จากเลเซอร์ ดังนั้นจึงไม่เกิดสัญญาณรบกวนใด ๆ

ภาพที่ 16 ระบบฉายแสงที่มีโครงสร้างและรหัส

6. Volumetric Techniques
เครื่องสแกนเนอร์ Volumetric Techniques มี
หลักการทางานที่ใช้มากในทางการแพทย์ โดยในการถ่ายภาพ
ทางการแพทย์จะสร้างภาพสามมิติภายในของวัตถุจากภาพรังสี
เอกซ์แบบสองมิติขนาดใหญ่ การถ่ายภาพด้วยคลื่นสนามแม่เหล็ก
เป็นอีกหนึ่งเทคนิคการถ่ายภาพทางการแพทย์ที่ให้ความคมชัด
มากขึ้น ระหว่างเนื้อเยื่ออ่อนที่แตกต่างกันของร่างกายมากกว่า
การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) ทาให้มีประโยชน์อย่างยิ่ง
33

ในด้านระบบประสาท (สมอง) กล้ามเนื้อและโครงกระดูกและ


มะเร็ง (oncological cancer imaging) เทคนิคเหล่านี้ สร้าง
การแสดงปริม าตร 3 มิติ แบบแยกส่ว นซึ่ง สามารถมองเห็น
โดยตรงจากการถ่ายภาพหรือแปลงเป็นพื้นผิว 3 มิติ แบบเดิม
โดยใช้อัลกอริทึมการแยกไอโซซัลเฟรต ดังภาพที่ 17
แม้ว่าจะเป็นที่นิยมมากที่สุดในด้านการแพทย์แล้ว
ก็ตาม การตรวจด้วยคลื่นวิทยุในเชิงอุตสาหกรรมด้วยการตรวจ
ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และ MRI ก็ยังใช้ในด้านอื่น ๆ ดังในการ
หาตัวแทนภาพดิจิทัลของวัตถุภายใน เช่น การทดสอบวัสดุที่
ไม่ เ ป็ น อั น ตรายจากการทาวิ ศ วกรรมย้ อ นกลั บ (reverse
engineering) หรือการศึก ษาตัว อย่างทางชีว วิท ยาและซาก
ดาราศาสตร์

ภาพที่ 17 เครื่องสแกนเนอร์ Volumetric Techniques


34

7. Non-contact Passive
โซลูชันการถ่ายภาพแบบ Passive 3D โดยไม่ปล่อย
รังสีชนิดใด ๆ ออกไป แต่ต้องพึ่งพาการตรวจจับรังสีจากภายนอก
การแก้ปัญ หาส่ว นใหญ่ข องอุป กรณ์ช นิด นี้จ ะตรวจจับ แสงที่
มองเห็ น ได้ เนื่ อ งจากเป็ น รั ง สี ที่ อ ยู่ ใ กล้ เ คี ย ง นอกจากนี้ ยั ง
สามารถใช้รังสีประเภทอื่น ๆ เช่น อินฟาเรดได้เช่นกัน วิธีการ
แบบพาสซีฟมีราคาถูกเพราะไม่จาเป็นต้องมีฮาร์ดแวร์เฉพาะ
แต่กล้องดิจิทัลแบบง่าย ๆ ระบบ Stereoscopic มักใช้กล้อง
วิดีโ อสองตัว แยกกัน เล็กน้อ ยมองไปที่ภ าพเดียวกัน ด้ว ยการ
วิเคราะห์ความแตกต่างเล็กน้อยระหว่ างภาพที่เห็นในกล้องแต่
ละตัวทาให้สามารถกาหนดระยะทางในแต่ละจุดในภาพได้ วิธีนี้
ใช้หลักการเดียวกันกับการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์สามมิติของมนุษย์
ระบบโฟโตมิเตอร์ทมี่ ักจะใช้กล้องเพียงตัวเดียว แต่ใช้ภาพหลาย
ภาพภายใต้สภาพแสงที่แตกต่างกัน เทคนิคเหล่ านี้พยายามที่จะ
เปลี่ยนรูปแบบการสร้างภาพเพื่อกู้คืนการวางแนวพื้นผิวที่แต่ละ
พิกเซล
เทคนิค Silhouette ใช้แ บบร่างที่ส ร้า งขึ้น จาก
ลาดับภาพรอบวัตถุสามมิติกับพื้นหลังที่ตัดกันดี ภาพเงาเหล่านี้
ถูกบีบ อัดและตัดกัน เพื่อสร้างรูป ประมาณของลาตัว ของวัตถุ
ด้วยวิธีการเหล่า นี้จะยังไม่สามารถตรวจพบความหนาแน่นของ
วัตถุบางอย่างได้
35

การเลือกใช้เครื่อง 3D Lase scanner กับงานอนุรักษ์


โดยส่ว นใหญ่การเลือกใช้เครื่อง 3D Lase scanner
กับงานอนุรักษ์ ซ่อมแซมจะนิยมใช้เทคโนโลยี noncontact,
Handheld และ structured light โดยแต่ละเทคนิคการสแกน
รูปแบบต่างๆ จะมีทั้งข้อดีและข้อเสี ยแตกต่างกัน ซึ่งเครื่องมือ
ต่างๆ เหล่านี้จะใช้ในการวัดขนาด และหาตาแหน่งต่างๆ
เครื่อ งมือวัดได้พัฒ นาอย่างมากมายจนกระทั่ งมีก าร
ค้นพบ Laser จึงทาให้เกิดการวัดชิ้นงานแบบที่ไม่สัมผัสกับ ตัว
ชิ้นงาน มีประโยชน์กับการวัดชิ้นงานที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย
ของชิ้น งาน ตลอดจนสามารถวัด ชิ้น งานที่ซับ ซ้อ นได้ ดังนั้น
จึงนิยมแพร่หลายในการวัดขนาด
36

LASER จะเป็ น เเสงที่ มี ค วามยาวคลื่ น เดี ย ว ดั ง


สแกนเนอร์เลเซอร์ 3 มิติ ที่ทางานโดยเครื่องจะยิงเลเซอร์ออก
จากเครื่อง และรอเลเซอร์ส ะท้อนจากวัตถุ กลับเข้าไปในส่ว น
สแกนเนอร์ และทาการวัดระยะเวลาในการเดินทางของเลเซอร์
เพื่อคานวณหาระยะทางของตาแหน่งกล้องเทียบกับวัตถุ จาก
สมการของความเร็ว สแกนเนอร์เลเซอร์ 3 มิติ มีลักษณะขึ้นอยู่
กั บ ลั ก ษณะการใช้ ง าน ตั้ ง แต่ ก ารทารั ง วั ด สแกนเนอร์ จ ะมี
ขนาดใหญ่ และสามารถวัดระยะทางได้ไกล หรือการวัดวัตถุ
สาหรับ ทาโมลของเครื่องจักรซึ่งจะใช้ส แกนเนอร์ระยะใกล้ที่
ความละเอียดสูงจึงได้รูปร่างที่เป็น 3 มิติ
จะเห็ น ได้ ว่ า เครื่ อ งสแกนแต่ ะ ประเภทจะมี ค วาม
เหมาะสมกับงานแต่ละประเภทไม่เหมือนกัน มีการเปรียบเทียบ
การสแกน 3 ชนิด ได้แก่ ก) Handheld Structured Light
Scanning (ภาพที่ 18) มีข้อดีคือทาการสแกนได้ต่อเนื่องเพราะ
ไม่ต้อ งใช้ข าตั้ง ข) Tripod-Mounted Structured Light
Scanning (ภาพที่ 19) มีความสามารถในการสแกนได้ดี แต่
ข้อเสียคือสแกนไม่ต่อเนื่องเพราะต้องทาการขยับขาตั้งไปเรื่อยๆ
และ ค) LASER Arm Scanning (ภาพที่ 20) มีข้อดีคือสแกนได้
ละเอียดและเร็วเพราะสแกนได้ต่อเนื่องแต่เมื่อสุดความยาวของ
แขน Arm ต้องทาการย้ายขาตั้งทีหนึ่ง
37

ภาพที่ 18 เครื่องสแกนแบบ Handheld Structured Light

ภาพที่ 19 เครื่องสแกนแบบ Tripod-Mounted Structured


Light
38

ภาพที่ 20 เครื่องสแกนแบบ LASER Arm Scanning


ชิ้น ส่ว นลวดลายของสะพานที่นามาเป็น ตัว ทดสอบ
ความสามารถในการลอกลายสะพานของเครื่องสแกนทั้ง 3 ชนิด
คือราชสีห์ หรือสิงห์ 3 ขวัญ เนื่องจากเป็นชิ้นส่วนที่ ลวดลายมี
รายละเอียดมากที่สุดโดยเฉพาะลวดลายที่เป็นขวัญ 3 ขวัญ ของ
ลาตั ว ราชสี ห์ จากรู ป ที่ 8 จะเห็ น ได้ ว่ า เครื่ อ ง Handheld
ไม่สามารถเก็บลวดลายที่เป็นขวัญ 3 ขวัญ ของลาตัวราชสีห์ได้
และผิวชิ้นงานที่เก็บได้มีความหยาบและผิดเพี้ยนจากความเป็น
จริงค่อนข้างมาก
39

ภาพที่ 21 ราชสีห์ที่สแกนได้จากเครื่องสแกน Handheld

แต่ เ มื่ อ ใช้ เ ครื่ อ งสแกนแบบ Tripod-mounted


Structure Light ดัง แสดงในรูป ที่ 9 จะเห็น ว่า สามารถเก็บ
ลายขวัญได้ครบทั้ง 3 ขวัญ แต่ยังไม่ชัดเจนมากนัก เมื่อนาไฟล์
3 มิติ ที่สแกนได้ไปเปรียบเทียบกับไฟล์ 3 มิติ ที่สแกนได้จาก
เครื่องสแกนแบบ LASER ซึ่งแสดงในภาพที่ 22
40

ภาพที่ 22 ราชสีห์สแกนได้จากเครื่องสแกน
Tripod-mounted
41

ภาพที่ 23 ราชสีห์สแกนได้จากเครื่องสแกน LASER

จากภาพที่ 23 จะเห็นได้ว่าพื้นผิวหน้าผู้ใหญ่ที่ได้จาก
เครื่ อง Handheld ดัง แสดงในภาพที่ 24 (ก) มี ความหยาบ
มากกว่าพื้นผิวหน้าผู้ใหญ่ที่ได้จากเครื่อง LASER ดังแสดงใน
ภาพที่ 24 11 (ข) เนื่องจากยังคงมองเห็นเป็นพื้นผิวสามเหลี่ยม
(Polygon Surface) ได้อย่างชัดเจนในภาพที่ 24 (ก)
42

(ก) (ข)

ภาพที่ 24 ไฟล์ 3 มิติ หน้าผู้ใหญ่


(ก) สแกนได้จาก Handheld (ข) สแกนได้จาก LASER

เมื่อทาการเปรียบเทียบการสแกนทั้งสามชนิดดังแสดง
ในตารางที่ 1 จะเห็น ได้ว่ า Tripod-mounted Structured
Light Scanning มีข้อ ดี (คะแนน) ใกล้เ คีย งกัน กับ LASER
Scanning แต่สิ่งที่ต้องคานึงถึงเป็นอันดับต้นคือความละเอียด
และความถูกต้องของชิ้นงานที่สแกนได้ ทาให้ LASER Scan มี
ข้ อ ได้ เ ปรี ย บกว่ า Tripod-mounted Structured Light
Scanning ส่ว น Handheld Structured Light Scanning
จะสะดวกกับงานที่ต้องการแต่รูปทรงและไม่ต้องความละเอียด
ของลวดลายที่อยู่บนรูปทรงซึ่งไม่เหมาะที่จะนามาใช้เพื่อการ
อนุรักษ์ลวดลาย เนื่องจากพื้นผิวจากการสแกนมี Noise และ
Spike ที่มาก และจัดการไฟล์ต้นฉบับได้ยาก
43

ตารางที่ 1 ตารางเปรียบเทียบสแกนทั้งสามชนิด
Handheld Tripod- LASER
ชนิด ภาพที่ 18 mounted ภาพที่
ภาพที่ 19 20
ขนาดของเครื่อง 3 3 2
การเคลื่อนย้าย 3 2 1
ความถูกต้อง (Accuracy) 1 2 2
ความเร็วในการสแกน 2 1 2
ความต่อเนื่องของสแกน 3 2 3
Lighting Conditions
(Ambient, 1 1 2
Environment)
Noise, Spike 1 2 3
ความปลอดภัย 3 3 3
ความหลากหลายของขนาด
1 2 3
ชิ้นงานที่สแกนได้
ความสามารถในการเก็บสี
2 3 1
ของชิ้นงานได้
สามารถแก้ไขไฟล์ได้ใน
1 3 3
ภายหลัง (Merge File)
รวม 22 24 26
หมายเหตุ: 3 = ดีมาก, 2 = ดี, 1 = ไม่ดี,

หลั ง จากการเปรี ย บเที ย บเครื่ อ งสแกนทั้ ง 3 ชนิ ด


คณะผู้วิจัยได้เลือกใช้เครื่อง LASER Scan เป็นตัวหลักในการ
44

สแกนเก็บข้อมูลดิจิตอลพื้นผิว 3 มิติ ของลวดลายปูนปั้นซึ่งได้


แสดงไว้ในรูปที่ 25 – 28

ภาพที่ 25 อุบะ สแกนได้จาก LASER


45

(ก) (ข)

ภาพที่ 26 ผู้ใหญ่และเด็ก สแกนได้จาก LASER

ภาพที่ 27 แผ่นป้ายบอกชื่อสะพาน สแกนได้จาก LASER


46

(ก)

(ข)

ภาพที่ 28 หลังคาส แกนได้จาก LASER

จะเห็นได้ชัดเจนว่าเครื่องสแกน LASER สามารถเก็บ


รายละเอียดพื้นผิวของลวดลายปูนปั้นได้ดี มากดังที่ขยายให้เห็น
ในภาพที่ 29 - 32
47

ภาพที่ 29 หน้าคนร้องไห้ สแกนได้จาก LASER

ภาพที่ 30 หน้าคนจูงเด็ก สแกนได้จาก LASER


48

ภาพที่ 31 ลาตัวคนอุ้มเด็ก สแกนได้จาก LASER

ภาพที่ 32 ลาตัวคนจูงเด็ก สแกนได้จาก LASER

และเมื่อทาการสแกนแต่ละส่วนเสร็จเรียบร้อยแล้ว เรา
สามารถนาชิ้นส่วนย่อยๆ มาต่อเรียงกันเป็นชิ้นประกอบที่ใหญ่ขึ้น
เพื่อแสดงเค้าโครงของโครงสร้างของสะพานดังแสดงในภาพที่ 33
49

ภาพที่ 33 ชิ้นประกอบจากไฟล์สแกนย่อย

เมื่อได้ไฟล์พื้นผิวของชิ้นงานแล้ว เครื่องกัด CNC ถูก


นามาทดสอบการขึ้นรูปใหม่ (Reproduction)
บ ทที่ 4
การสาเนาศิลปกรรม 3 มิติ
เพื่อการอนุรักษ์
กระบวนการผลิตโดยการขึ้นรูป
กระบวนการผลิตโดยการขึ้นรูป สามารถแบ่งได้ 3 แบบ
ตามลักษณะการผลิต คือ
1. การเอาเนื้อวัสดุออก (Subtractive) เป็นการผลิต
โดยการเตรียมชิ้นงานวัตถุดิบให้มีขนาดใหญ่กว่าชิ้นงานที่ต้องการ
แล้วทาการตัดเอาส่วนที่ไม่ต้องการทิ้ง เช่น การกัด (Milling),
การกลึง (Turning), การเจาะ (Drilling), การตัด (Cutting)

ภาพที่ 34 การเอาเนื้อวัสดุออก

2. การปั้นหรือหล่อเป็นรูป (Formative) เป็นการ


ขึ้น รูป โดยการมีแม่พิมพ์เพื่อกด อัด หรือทาให้วัส ดุค่อยๆ คง
51

รูปร่าง รวมไปถึงเครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนแปลงรูปร่างของชิ้นงานให้
มีรูปร่างตามต้องการ เช่น การอัด (Compressive), การฉีดเข้า
แม่พิม พ์ (Injection), การหล่อ (Casting), การพับ การดัด
(Bending)

ภาพที่ 35 การปั้นหรือหล่อเป็นรูป

3. การเติมเนื้อวัสดุ (Additive) ใช้การค่อยๆ เติม


เพิ่มวัสดุเข้าไปยังชิ้นงานจนได้ชิ้นงานที่สาเร็จ อาจมีการขัดเก็บ
ผิวบ้างเพื่อให้ได้ผิวของชิ้นงานที่ดีขึ้น วิธีนี้เป็นกระบวนการผลิต
ที่มีของเสีย (Waste) น้อย กระบวนการผลิตแบบนี้ในปัจจุบัน
เช่น การขึ้นต้นแบบรวดเร็ว (Rapid Prototype), การขึ้นแม่พิมพ์
รวดเร็ว (Rapid Tooling), การประกอบ (Fastening), การเชื่อม
(Welding)
52

ภาพที่ 36 การเติมเนื้อวัสดุ

จากการศึก ษาโดยมีตัว อย่า งจากสะพานปูน ปั้น คือ


สะพานมหาดไทยอุทิศ สะพานเจริญรัช 31 และสะพานผ่านฟ้า
ลีลาศ ทาให้พบว่าการผลิตชิ้ นงานนั้นมีกรรมวิธีการที่สามารถ
นามาใช้ได้ที่สาคัญๆ อยู่ 2 แบบ คือ การเอาเนื้อวัสดุออกโดย
ใช้เครื่องจักรซีเอ็นซี (Computer Numerical Control) และ
การใช้เติมเนื้อวัส ดุคือเทคนิคการผลิตชิ้นงานด้วย การขึ้นต้น
แบบรวดเร็ว (Rapid Prototype) และการขึ้นแม่พิมพ์รวดเร็ว
(Rapid Tooling)
เครื่องจักรซีเอ็นซี (Computer Numerical Control)
เครื่องจักรซีเอ็นซีคือเครื่องจักรกลที่ใช้ผลิต หรือขึ้นรูป
ชิ้นงานที่มีมาตรฐานสูง ผ่านระบบการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่
ช่ ว ยควบคุ ม การทางานของเครื่ อ งซี เ อ็ น ซี ในขั้ น ตอนต่ า งๆ
อย่างอัตโนมัติแทนการใช้แรงงานคนควบคุมเครื่อง
53

เครื่องซีเอ็นซีนั้นมีระบบควบคุมที่ป้อนข้อมูลโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ของเครื่องผ่านแผงคีย์บอร์ด/แป้นพิมพ์ (Key Board)
หรือเทปแม่เหล็ก (Magnetic Tape) เมื่อระบบควบคุมอ่าน
โปรแกรมและนาข้อมูลไปควบคุมการทางานเครื่องจักรกลโดย
อาศัยตัวมอเตอร์ป้อน (Feed Motor) เพื่อให้แท่นเลื่อนเคลื่อนที่
ตามคาสั่ง เช่น เครื่องกัดซีเอ็นซี (ซีเอ็นซี Milling) จะมีมอเตอร์
ป้อน 3 ตัว โดยระบบควบคุมอ่านโปรแกรมและเปลี่ยนรหัส
โปรแกรมเป็นสัญญาณไฟฟ้าเพื่อควบคุมมอเตอร์ แต่เนื่องจาก
สัญญาณที่ออกจากระบบควบคุมนี้มีกาลังน้อย ไม่สามารถไป
หมุน ขับ ให้ม อเตอร์ทางานได้ จึง ส่ง สัญ ญาณผ่า นภาคขยาย
สัญญาณของระบบขับ (Drive Amplified) และส่งสัญญาณต่อไป
ยังมอเตอร์ป้อนแนวแกนตามที่โปรแกรมกาหนด ทั้งความเร็ว
และระยะทางการเคลื่ อ นที่ ข องแท่ น เลื่ อ นจะถู ก โปรแกรม
ล่ว งหน้า เพื่อควบคุมเครื่องซีเอ็น ซี และมีเครื่องมืออุปกรณ์ที่
ตรวจสอบตาแหน่ง ของแท่น เลื่อ นให้ร ะบบควบคุม เรีย กว่า
ระบบวัดขนาด (Measuring System) ซึ่งประกอบด้วยสเกล
แนวตรง (Linear Scale) มีจานวนเท่ากับจานวนแนวแกนใน
การเคลื่อนที่ของเครื่องทาหน้าที่ส่งสัญญาณไฟฟ้าที่สัมพันธ์กับ
ระยะทางที่แท่นเลื่อนเคลื่อนที่กลับไปยังระบบควบคุม
จากคุณ สมบัติ นี้เองทาให้เครื่อ งซีเอ็น ซีส ามารถผลิต
ชิ้นงานให้มีรูปร่าง และรูปทรงให้มีขนาดตามที่เราต้องการได้
จากการโปรแกรมทางเดินของเครื่อง เนื่องจากการสร้างและ
การทางานที่เหนือกว่าเครื่องจักรกลทั่วไปจึงทาให้เครื่องซีเอ็นซี
เป็ น ปัจ จัย หนึ่ ง ที่มีค วามสาคัญมากในปั จ จุบัน นี้ห ากต้อ งการ
54

ผลิตสินค้าให้ได้จานวนมากๆ และลดจานวนระยะเวลาการผลิต
ของสินค้าลง

แผงควบคุมการเคลื่อนที่ Driver Motor

Signal
G - CODE

สถานะ
เครื่อง
Signal
Spindl
ส่วนติดต่อผู้ใช้และ แผงควบคุม I/O
e
แผงใส่คาสั่ง
โปรแกรม Coolin
g

ภาพที่ 37 หลักการทางานของเครื่อง ซีเอ็นซี

ภาพที่ 37 แสดงการทางานของเครื่ องจั กรซีเอ็นซี


อย่างพอสังเขป ซึ่งเครื่องจักรซีเอ็นซีนั้นมีหลายประเภท ดังนี้
ประเภทของเครื่องจักรซีเอ็นซี
1. เครื่องกลึงซีเอ็นซี (ซีเอ็นซี Machine Lathe)
เครื่องกลึงเป็นเครื่องที่มีการจับชิ้นงานที่มีลักษณะ
เป็นแท่งทรงกระบอก นามาจับด้วย Spindle เพื่อหมุนชิ้นงาน
แล้ว เลื่อนมีดกลึงเข้าหาชิ้น งานเพื่อขึ้น รูปชิ้นงาน ชิ้นงานที่ได้
จะมีความสามารถรอบแกนหมุน
55

ชิ้นงาน

ป้อมมีด

ภาพที่ 38 เครื่องกลึงซีเอ็นซี

2. เครื่องตัดด้วยลวด (Wire Cutting Machine)


เป็น การใช้ล วดที่มีความร้อน หรือ มีกระแสไฟฟ้า
ไหลผ่ า นเพื่ อ ทาการตั ด ชิ้ น งานที่ มี ลั ก ษณะเป็ น แผ่ น โดยเนื้ อ
ชิ้นงานจะหลอมเหลวและหลุดออกตามขนาดของเส้นลวดที่เดิน
ไป

ภาพที่ 39 เครื่องตัดด้วยลวดและลักษณะชิ้นงานจากการตัด
56

3. เครื่องอีดีเอ็ม (Electrical Discharge Machine


หรือ EDM)
เป็น เครื่อ งที่ใ ช้ สาหรับ กัด ชิ้น งาน 3 มิติ โดยใช้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านอิเล็คโตรด (Electrode) เพื่อทาการขึ้นรูป
ชิ้น งานให้ได้ตามแบบที่กาหนด เครื่อง EDM นี้นิยมใช้ขึ้นรูป
ชิ้น งานที่เครื่องมือทั่ว ไปขึ้น รูป ไม่ได้ รวมทั้งยังสามารถขึ้นรูป
ชิ้นงานที่มีลักษณะผนังบางได้ แต่ต้องใช้กับโลหะ

ภาพที่ 40 เครื่อง EDM

4. เครื่องตัดแผ่นโลหะ ( Sheet Metal Cutting)


เป็นเครื่องที่ลักษณะการเคลื่อนที่ในแนวแกน 2 แกน
ทาการตัดชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นแผ่นให้ขาดออกจากกันโดยจะ
มีแบบใช้หัวพลาสมา (Plasma) ซึ่งสามารถตัดโลหะด้วยความ
ร้อนได้ แต่ใช้ได้กับเฉพาะโลหะเท่านั้น ต่อมาได้มีการใช้เลเซอร์
(Laser) ในการตัดอโลหะบางชนิดได้ด้วยแต่กับวัสดุ ส ะท้อนนั้น
57

ไม่ เ หมาะเพราะจะทาให้ เ ลนส์ แ ตกได้ การใช้ น้าในการตั ด


(Water Jet) จึงถูกพัฒนาขึ้นให้สามารถตัดวัสดุได้ทุกชนิด โดย
อาจจะต้ อ งใส่ ผ งขั ด (Abrasive) เข้ า ไปด้ ว ยเพื่ อ ช่ ว ยเพิ่ ม
ประสิทธิภาพ

(a) (b)
ภาพที่ 41 (a). LASER Cut, (b). Plasma Cut

ภาพที่ 42 Water Jet Cut


58

5. เครื่องวัดโคออร์ดิเนต (Coordinate Measuring


Machine หรือ CMM)
เป็น เครื่อ งที่ใช้วัดขนาดของชิ้น งานเพื่อหาความ
ถูกต้องและสม่าเสมอของชิ้นงานจากการผลิตเพื่อตรวจสอบและ
พัฒนาการผลิตต่อๆ ไป

ภาพที่ 43 CMM
59

6. เครื่องเจียร (Grinders)
เป็น แท่น หมุน ที่มีหัว ขัด ติด อยู่ซึ่งหัว ขัด มีให้เลือ ก
หลากหลายชนิด ใช้สาหรับการขัดชิ้นงานให้ได้รูปทรง ขนาด
และความเรียบตามต้องการ เป็นเครื่องที่ใช้งานได้ง่าย

ภาพที่ 44 เครื่องเจียร

7. เครื่ อ งเคลื่ อ นย้ า ยวั ต ถุ (Pick and Place


Machines)
เป็นเครื่องที่ใช้สาหรับช่วยในการประกอบชิ้นงาน
เข้ากับส่วนอื่นๆ เช่น ประกอบอุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ บนแผ่น
บอร์ด โดยใช้หัว ที่เป็น ลมจับ ชิ้น งานเคลื่อ นที่ไ ปยัง ส่ว นที่จ ะ
ประกอบเครื่องชนิดนี้มีความแม่นยาสูง
60

ภาพที่ 45 เครื่องเคลื่อนย้ายวัตถุ

เครื่องสร้างต้นแบบรวดเร็ว และเครื่องกัด
จากเครื่องที่กล่าวมาข้างต้น เป็นเครื่องที่ไม่ค่อยได้ใช้
ในกระบวนการผลิตสะพานปูนปั้นเนื่องจากเครื่องจักรซีเอ็นซี
ส่วนใหญ่ใช้กับงานเฉพาะและอาจจะต้องใช้กับโลหะ ซึ่งวิธีที่ ใช้
ในการผลิตหรือลอกลายสะพานนั้นจะนิยมใช้เครื่องจักร 2 ชนิด
คือ เครื่องสร้างต้นแบบรวดเร็ว และเครื่องกัด
เครื่องสร้า งต้นแบบรวดเร็ ว (Rapid Prototype
หรือ RP)
การสร้างต้นแบบรวดเร็วนั้นเป็นกระบวนการเติมเนื้อ
วัสดุ (Additive Manufacturing) โดยจะเป็นกระบวนการค่อยๆ
เติมเนื้อชิ้นงานขึ้นมาเป็นชั้นๆ โดยใช้เครื่องจักรซีเอ็นซี และใช้
วัสดุที่ติดกันได้ จนได้ชิ้นงานดังภาพที่ 46
61

ภาพที่ 46 การเติมเนื้อวัสดุทีละชั้น

ทั้งนี้ การใช้วิธีการผลิตแบบนี้ในตอนต้นนั้นมีวัตถุประสงค์
สาหรับการสร้างต้นแบบเพื่อตรวจสอบการออกแบบก่อนนาไป
ผลิตจริง โดยการทาต้นแบบรวดเร็วนี้จะทาให้สามารถทดลองจับ
และใช้ในลักษณะของ Function ทดสอบการประกอบ สามารถ
พูดคุยแก้ไขเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์กับลูกค้าได้ง่าย ซึ่งทาให้ลด
ต้นทุนที่อาจเกิดจากการออกแบบที่ผิดพลาดได้ เนื่องมาจาก
ความได้เปรียบของกระบวนการนี้ที่สามารถผลิตชิ้นงานดังนี้

✓ มีลักษณะที่ซับซ้อน (Complex)
✓ มีรูปทรงที่อิสระ (Freeform)
✓ ไม่สามารถผลิตได้ด้วยเครื่องจักรซีเอ็นซีชนิดอื่นๆ
หรือยากต่อการผลิต
✓ ชิ้นงานที่มีความเป็นเอกลักษณ์ (Unique) ของแต่
ละชิ้น เช่น อวัยวะเทียม จึงถูกนามาใช้ผลิตชิ้นงานที่เป็นชิ้นงาน
เฉพาะ หรือชิ้นงานที่ผลิตเพียงไม่กี่ชิ้น ไม่คุ้มที่จะต้องทาแม่พิมพ์
เพื่อผลิตชิ้นงาน
62

ชิ้นงานออกแบบ ชิ้นงานจาก RP
3D

ภาพที่ 47 แสดงการออกแบบชิ้นงานในโปรแกรม 3D
แล้วผลิตด้วย RP

ภาพที่ 48 ลักษณะชิ้นงานที่เหมาะสาหรับการผลิตด้วย RP

เครื่อง RP มีห ลายชนิดซึ่งสามารถเลือกใช้ให้ถูกตาม


งานที่ต้องการได้โดยส่วนมากจะต่างกั นที่วัสดุของชิ้นงานที่ได้
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีให้เลือกดังนี้
1. Stereo Lithography Apparatus (SLA)
เป็นการใช้เรซินไวแสงเป็นวัสดุ ซึ่งตัวฐานแผ่นรอง
(Platform) ของตัวเครื่องจะถูกกดให้ต่ากว่าเรซินเหลวเท่ากับ
63

ความหนาของชั้นเรซินแต่ละชั้นที่กาหนดไว้ แล้วใช้ Sweeper


ปาดที่ด้านบนให้เรซินไวแสงเหลวเรียบ ขั้นตอนต่อมาคือ การ
กวาดเลเซอร์ลงไปตามภาพตัดขวางแต่ละชั้นของชิ้นงานก็จะทา
ให้เรซินเหลวแข็งตัว เครื่องจะกดแผ่นรองให้เรซินเหลวใหม่ท่วม
เข้ามาแล้วทาขั้นตอนซ้าไปเรื่อยๆ จนได้ชิ้นงาน เมื่อได้ชิ้นงาน
แล้วต้องนาไปล้างทาความสะอาดแล้ว จึง อบด้ว ย UV เพื่อให้
ชิ้นงานแห้งสนิทอีกครั้ง

ภาพที่ 49 SLA
64

ภาพที่ 50 ชิ้นงานจาก SLA


65

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของ SLA


ข้อดี ข้อเสีย
• ชิ้นงานที่ได้ค่อนข้างมี • Stair Stepping
ความสวยงามเพราะ Problem
เรซินมีความใส • ขัดแต่งผิวได้ยาก
• สามารถปรับเครื่องให้ • Trapped Volume
ความหนาของเรซินแต่ละ • เครื่องมีราคาแพง
ชั้นค่อนข้างบางได้ • วัสดุ (เรซิน) มีราคาแพง
• ทา Overhang Features • ต้องใช้เรซิน เปลี่ยนเป็น
ได้ วัสดุอื่นไม่ได้
• ขึ้นชิ้นงานได้ค่อนข้างช้า
• ต้องมีการ Cure ชิ้นงาน
ด้วย UV

จากตารางมีคาศัพท์ที่ควรรู้คือ
Overhang Features คือชิ้น งานที่ล อยอยู่โ ดยไม่มี
เนื้ อ ชิ้ น งานมารองรั บ ด้ า นล่ า งของชิ้ น ส่ ว นนี้ ด้ า นล่ า งของ
Overhang เรียกว่า Undercut ซึ่งทาให้ส ามารถผลิตได้ยาก
ด้วยวิธีอื่นๆ เพราะจาเป็นต้องมี Support มารองรับชิ้นงานไว้
66

Overhang

Undercut
Support

ภาพที่ 51 Overhang Features

Stair Stepping Problem เป็นปัญหาของผิวชิ้นงาน


ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีแบบ RP มีลักษณะเป็นชั้น ๆ เหมือนขั้นบันได
เพราะกรรมวิธีนี้สร้างด้วยการเติมเนื้อเป็นชั้น ๆ ทาให้ผิวของ
ชิ้นงานขึ้นอยู่กับความหนาของแต่ละชั้นของการผลิต RP และ
ความเอีย งของชิ้น งาน ซึ่ง ยิ่งมีความเอียงมากก็จะเกิด Stair
Step ที่มีขนาดใหญ่ขึ้นดังภาพที่ 52

Stair Step 1 Stair Step

ภาพที่ 52 แสดงปัญหา Stair Step ของความเอียงของชิ้นงาน


ที่ต่างกัน
67

Trapped Volume เป็นปัญหาของการผลิตด้วย RP


เป็นชิ้นงานที่มีลักษณะเป็นรูกลวงด้านในและถูกรูปทรงภายนอก
ปิดไว้ไม่มีรูออก ทาให้เมื่อผลิตชิ้นงาน RP จะทาให้เกิดปัญหา
การค้างอยู่ของวัสดุ ต้องเจาะเอาวัสดุออกมา

Section

ภาพที่ 53 ชิ้นงานที่มี Trapped Volume

2. Laminated Object Manufacturing (LOM)


และPaper Laminated Technology (PLT)
ทั้งสองเครื่อ งเป็น เครื่อ งสร้าง RP ที่มีวัตถุดิบคือ
กระดาษเหมือนกัน ชิ้นงานที่ได้ก็จะมีลักษณะคล้ายๆ กัน โดย
จะต่างกันตรงวิธีการผลิตบ้างดังนี้
LOM นั้นจะทาการป้อนกระดาษพิเศษที่มีกาวอยู่
ด้านล่างและมีลักษณะเป็นม้วน เมื่อป้อนกระดาษเข้ามาแล้วจะ
รี ด ด้ ว ยตั ว รี ด ร้ อ นเพื่ อ ให้ ก าวละลายติ ด กระดาษด้ า นล่ า ง
หัวเลเซอร์จะทาการตัดกระดาษตามเส้นรอบรูปของแต่ละชั้น
68

ของชิ้นงาน เมื่อตัดเสร็จจะป้อนกระดาษชั้นใหม่เข้ามาพร้อมกับ
กดชิ้น งานให้ต่าลงตามขนาดของกระดาษที่ป้อ นเข้า มาใหม่
ทาซ้าวนไปจนเสร็จ ทาการแกะส่วนเกินออก จะได้ชิ้นงานตาม
ต้องการ

ภาพที่ 54 หลักการทางานของเครื่อง LOM

PLT นั้น จะใช้ก ารป้อนกระดาษแบบเป็น แผ่น ๆ


และรีดด้วยแท่นร้อนเพื่อให้กาวละลายและติดกับกระดาษแผ่น
ก่อนหน้าและตัดด้วยการใช้ใบมีดแทนเลเซอร์

ภาพที่ 55 หลักการทางานและลักษณะชิ้นงานของเครื่อง PLT


69

ตารางที่ 3 เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของ LOM และ PLT

ข้อดี ข้อเสีย
• ขึ้นชิ้นงานได้ค่อนข้างเร็ว • ชิ้นงานเป็นกระดาษ
• สามารถขัดแต่งผิวได้ง่าย • ไม่ค่อยสวยงาม
• ทา Overhang Features • Trapped Volume
ได้ • ความแข็งแรงต่า
• ปัจจุบันไม่เป็นที่นิยม

3. Fused Deposition Modeling (FDM)


กรรมวิ ธี นี้ เ ป็ น ที่ นิ ย มในท้ อ งตลาดปั จ จุ บั น มาก
วิธีการคือการใช้หัวที่สามารถทาความร้อนจนถึงอุณหภูมิที่ทาให้
วัสดุที่มีลักษณะเป็นเส้นยาว (Filament) นั้นละลายไหลออกมา
จากหัวซึ่งเดินขึ้นรูปชิ้นงานเป็นชั้นๆ ตามภาพหน้าตัดของชิ้นงาน
โดยเมื่อวัสดุเหลวออกจากหัวทาความร้อนมาแล้ว จะแข็งตัวใน
เวลาไม่นานนัก เมื่อเดิมครบภาพหน้า ตัดของแต่ละชั้นเครื่องจะ
ทาการกดชิ้นงานลงตามขนาดของชั้นที่ได้เลือกไว้ แล้วทาการ
เดินภาพหน้าตัดชั้นต่อๆ ไป ซึ่งวัสดุเหลวที่ไหลออกมาจะติดกับ
ชั้นก่อนหน้า
70

ภาพที่ 56 หลักการทางานของเครื่อง FDM

ภาพที่ 57 ชิ้นงานที่ได้จาก FDM


71

ตารางที่ 4 เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของ FDM

ข้อดี ข้อเสีย
• ขึ้นชิ้นงานได้ค่อนข้างเร็ว • ชิ้นงานเป็นพลาสติกเท่านั้น
• ราคาเครื่องและวัสดุมี แต่ก็มีให้เลือกหลายชนิด
ราคาถูก • ผิวชิ้นงานเป็นเส้นชัด
• ทา Overhang • Trapped Volume
Features ได้ • แต่งผิวได้ยาก
• Stair Stepping
• Support ค่อนข้างแกะออก
ยาก

4. 3 D Printer
การทางานของเครื่อ ง 3D Printer จะใช้ผ งแป้ง
เฉพาะนามาขึ้นรูปโดยจะมีการลดฐาน (Platform) ของการขึ้น
รูปชิ้นงานลงแล้วเครื่องจะทาการปาดผงแป้งมาเพิ่มส่วนที่ลดลง
ไปจากขั้นตอนก่อนหน้า หลัง จากนั้นเครื่องจะพ่น Binder ซึ่งมี
ลักษณะเหมือนกาวทาให้ผงแป้งติดกันลงไปตามรูปร่างของภาพ
หน้าตัดของชิ้นงานแต่ละชั้น เสร็จแล้วเครื่องจะเลื่อนชิ้นงานลง
แล้วปาดผงแป้งใหม่เข้ามาทับชั้นเดิมซ้าไปเรื่อยๆ จนเสร็จทั้ง
ชิ้นงาน
72

ภาพที่ 58 เครื่อง 3D Printer

ภาพที่ 59 ชิ้นงานจากเครื่อง 3D Printer


73

ตารางที่ 5 เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของ 3D Printer


ข้อดี ข้อเสีย
• ขึ้นชิ้นงานได้ค่อนข้างเร็ว • เครื่องและวัสดุมีราคาแพง
• ใส่สีให้ชิ้นงานได้ • ผิวชิ้นงานไม่เรียบ
• ทา Overhang Features • Trapped Volume
ได้ • แต่งผิวได้ยาก
• ไม่ต้องแกะ Support • ชิ้นงานมีความแข็งแรงต่า
5. Selective LASER Sintering (SLS)
เครื่องชนิดนี้มีอยู่ 2 กรรมวิธีในการผลิต RP ชิ้นงาน
ที่ได้นั้น จะเป็น โลหะ โดยวิธีก ารแรกนั้น คล้า ยกับ เครื่อ ง 3D
Printer เครื่อง SLS จะใช้ผงโลหะและใช้เลเชอร์หลอมผงโลหะ
ให้ติดกันตามภาพตัดขวางของชิ้นงาน ส่วนอีกวิธีจะใช้ วิธีการยิง
ผงโลหะไปที่หัว เลเซอร์ใ ห้ห ลอมเหลวจนติด กับ ชั้นก่อนหน้า
คล้ายกับวิธีแบบ FDM

ภาพที่ 60 เครื่อง SLS


74

ออกแบบ SLS

ภาพที่ 61 ชิ้นงานจากเครื่อง SLS

ตารางที่ 6 เปรียบเทียบข้อดี ข้อเสีย ของ SLS


ข้อดี ข้อเสีย
• ได้ชิ้นงานที่สามารถ • เครื่องและวัสดุมีราคาแพง
นาไปใช้ได้เลยเพราะ มาก
ชิ้นงานที่ได้เป็นโลหะ • เปลืองผงโลหะ
• ไม่ต้องแกะ Support • ขึ้นชิ้นงานได้ช้า
• ทา Overhang Features • ผิวชิ้นงานไม่เรียบ
ได้ • Trapped Volume
• สามารถนาไปสร้าง • แต่งผิวได้ยาก
แม่พิมพ์ที่มี Colling • ชิ้นงานมีความแข็งแรงต่า
Channel ในตัว
75

เมื่ อ ทาการผลิ ต ชิ้ น งานจาก RP ที่ ไ ด้ แ ล้ ว จะได้


ชิ้นงานที่เรียกว่า Near Net Shape หรือชิ้นงานที่ใกล้กับขนาด
จริงของชิ้นงาน เราสามารถขัดแต่งชิ้นงานหรือกัดผิวชิ้นงานด้วย
เครื่องจักรเพื่อให้ผิวเรียบและขนาดเท่ากับขนาดจริงของชิ้ นงาน
แล้ ว นาชิ้ น งานไปใช้ ง าน เราเรี ย กวิ ธี นี้ ว่ า กรรมวิ ธี Rapid
Functional Part

ชิ้นงาน RP เก็บผิวชิ้นงาน
Near Net Shape เรียบร้อย

ภาพที่ 62 Near Net Shape

จากเทคโนโลยี RP ข้างต้นได้มีการพัฒนาเทคนิค
ที่คล้ายกันขึ้นมาเรียกว่า การผลิตแม่พิมพ์รวดเร็ว หรือ Rapid
Tooling (RT) เป็นกระบวนการผลิตโดยใช้การขึ้นรูปทีละชั้น
การเติ ม เนื้ อ วั ส ดุ เ หมื อ น RP แต่ สิ่ ง ที่ ไ ด้ จ าก RT นั้ น จะเป็ น
แม่พิมพ์เพื่อนาไปผลิตชิ้นงานอีกทีหนึ่ง ดังภาพที่ 63
76

ขึ้นรูป
ขึ้นรูปเสร็จ เก็บผิว

เทหล่อ (เรซิน, ปูน,


น้้า, เซรามิก)
อัด (ยาง)
ฉีดหรือเป่า (พลาสติก)
แกะแม่พิมพ์

ภาพที่ 63 กระบวนการ Rapid Tooling

ข้อได้เปรียบของกรรมวิธีนี้คือสามารถเลือกวัสดุมา
เพื่อใช้เทลงใน RT ได้หลากหลายและมีราคาถูก

แม่พิมพ์รวดเร็ว (RT) ชิ้นงาน


จากการหล่อ
ภาพที่ 64 ชิ้นงานที่ได้จาก Rapid Tooling
77

2. เครื่องกัด (Milling Machine)


เครื่องกัดเป็นเครื่องซีเอ็นซีสาหรับการกัดชิ้นงาน
2.5 มิติ และ 3 มิติ แบ่งได้ ต ามลัก ษณะของการวางตัว ของ
Spindle หัวกัดได้ 2 ชนิด คือ
2.1 แนวตั้ง (Vertical Machining Center,
VMC)

Y
X

ภาพที่ 65 เครื่องแบบแนวตั้ง VMC


78

2.2 แนวนอน (Horizontal Machining Center,


HMC)

ภาพที่ 66 เครื่องแบบแนวนอน HMC

เครื่องกัดแบบแนวตั้งนั้นใช้งานมากกว่าเครื่องแบบ
แนวนอน แต่ข้อดีของเครื่องกัดแบบแนวนอนคือ ไม่สะสมความ
ร้อนที่ชิ้นงาน เศษโลหะจะตกลงพื้นไม่สะสมบนผิวของชิ้นงาน
ที่อาจทาให้เกิดรอยขีดข่วนบนชิ้นงานได้
เครื่องซีเอ็นซีที่สามารถเปลี่ยนตาแหน่งการติดตั้ง
หัว Spindle ให้อยู่ได้ทั้งในแนวนอนหรือแนวตั้ง โดยการใช้คาสั่ง
ซี เ อ็ น ซี ใ นการเปลี่ ย นตาแหน่ ง นั้ น มี ชื่ อ เรี ย กว่ า Universal
Machining Center ฉะนั้น เครื่องจักรประเภทนี้จึงสามารถ
79

ทางานหลายขั้น ตอนให้เสร็จ ได้ภ ายในเครื่องเดียวโดยไม่ต้อง


ติดตั้งชิ้นงานใหม่
การแบ่ง ประเภทของเครื่อ งซีเ อ็น ซีต ามจานวน
ของแกนการเคลื่อนที่ของ Tool เมื่อเทียบกับชิ้นงาน ได้ดังนี้
1) แบบ 2 แกนครึ่ง (2½ Axes)
เป็น เครื่อ งที่ส ามารถเคลื่อ นที่ได้ 3 แกน แต่
เคลื่อนที่ได้พร้อมๆ กัน คราวละ 2 แกน เช่น X-Y, X-Z, Y-Z
เป็นต้น เครื่องประเภทนี้มักจะติดหัว Router เพื่อกัดชิ้นงานที่มี
ลักษณะเป็นแผ่น หรือชิ้นงานที่ต้องการเจาะ (Drilling)

ภาพที่ 67 เครื่อง Milling ซีเอ็นซี แบบ 2 แกนครึ่ง


80

2) แบบ 3 แกน (3 axes)


เป็นเครื่องที่สามารถเคลื่อนที่ได้พร้อม ๆ กันได้
ทั้ง 3 แกน เป็นเครื่องที่เห็นในท้องตลาดมากที่สุด ซึ่งในปัจจุบัน
Mini ซี เ อ็ น ซี ในตลาดเครื่ อ งจั ก รอุ ต สาหกรรมมี ใ ห้ เ ลื อ ก
หลากหลายตามความต้องการของผู้ใช้ สามารถกัดชิ้นงานที่มี
ลักษณะนูน สูงและชิ้น งาน 2.5D ได้ดี และกัดชิ้นงานสามมิติ
บางชิ้นได้

ภาพที่ 68 เครื่อง Milling ซีเอ็นซี แบบ 3 แกน

เครื่องซีเอ็นซีแบบสามแกนนี้มีข้อที่ไม่สามารถ
ผลิตได้อยู่คือชิ้นงานที่มี Undercut และชิ้นงานที่มีรูปร่างทั้ ง
หน้าและหลังหรือรอบตัว
81

ตารางที่ 7 เปรียบเทียบลักษณะงานที่ผลิตด้วยเครื่องสามแกน

ความสามารถ
ลักษณะของชิน้ งาน
ในการผลิต
- สามารถผลิตได้

- ไม่สามารถผลิตได้
เนื่องจาก Undercut
- ต้องตัดชิ้นงานเพื่อ
เปลี่ยนชิ้นงานไม่ให้
เกิด Undercut แล้ว
นามาต่อกันภายหลัง
- ไม่สามารถผลิตได้
เพราะความยาว
หัวกัดไม่พอ
- ต้องเปลี่ยนความยาว
หัวกัดซึ่งยิ่งยาวจะมี
ราคาแพง หายาก
มีโอกาสหักง่าย
- อาจต้องตัดชิ้นงานเป็น
ส่วน ๆ ผลิตแล้วจึง
นามาต่อกัน
82

ความสามารถ
ลักษณะของชิน้ งาน
ในการผลิต
- ผลิตได้ยากเพราะ
มีส่วนของชิน้ งานทั้ง
หน้าและหลัง
- ถ้าทาการกัดหน้าบน
ให้เสร็จแล้วพลิกด้าน
มีโอกาสสูงทีช่ ิ้นงานจะ
เหลื่อมกันไม่ตรง
ตามแบบ
- อาจต้องใช้วิธีตัด
แบ่งเป็นสองด้านแล้ว
นามาต่อกันภายหลัง

จะเห็นได้ว่ามีชิ้นงานบางชิ้นที่ไม่สามารถผลิต
ด้วยเครื่อง 3 แกน ได้ หรือผลิตได้ยาก รวมถึงถ้าต้องตัดเพื่อแยก
ผลิ ต แล้ ว นามาประกอบถ้ า เป็ น ชิ้ น งานจาพวกปู น สามารถ
ประกอบได้ แต่มีวัสดุที่ต่อกันได้ยาก เช่น โลหะ เซรามิก ดังนั้น
จึงมีเครื่องจักรซีเอ็นซีที่มีแกนมากกว่า 3 แกน ขึ้นมาเพื่อช่วย
ในการผลิตชิ้นงานได้ง่ายขึ้นรวดเร็วขึ้น โดยจะเพิ่มแกนหมุนเข้า
ไปตามแกนเส้นตรงทั้ง 3 คือ แกน X, Y และ Z โดยแกนหมุนที่
เกิดขึ้นจะเรียกชื่อว่า แกน A, B และ C ตามภาพที่ 69
83

ภาพที่ 69 ชื่อแกนของเครื่อง Milling ซีเอ็นซี

3) แบบ 3 แกนครึ่ง (3½ axes)


มีการเคลื่อนที่ในแกน X ,Y และ Z ในเครื่อง
HMC จะเพิ่มการหมุนของ Indexing table ในแกน B ถ้าเป็น
เครื่อง VMC จะติดตั้งให้หมุนในแกน A เป็นส่วนมาก แต่ก็มีการ
ใส่ที่แ กน B บ้า งเหมือ นกัน โดยเครื่อ งชนิด นี้จ ะเคลื่อ นที่ทั้ง
4 แกน พร้อมกันไม่ได้โดยสามารถเคลื่อนที่ในแนวแกนเชิงเส้น
X ,Y และ Z ไปพร้อมกัน ได้ พอหยุดแล้ว จึงค่อยหมุนแกน A
หรือแกน B ข้อดีของเครื่องชนิดนี้คือมีราคาที่ถูกกว่าเครื่อง 4 แกน
ขึ้นไป ราคาใกล้เคียงกับเครื่อง 3 แกน หาซื้อได้ง่าย แต่การใช้
งานในการผลิตชิ้นงานก็ยากกว่าเครื่องที่มีแกนมากกว่านี้ ซึ่ง
ต้องใช้เทคนิคและการเตรียมชิ้นงานที่ยุ่งยากและต้องระมัดระวัง
เวลา Alignment ชิ้นงานอาจทาให้ชิ้นงานเคลื่อนได้
84

ภาพที่ 70 ลักษณะของเครื่อง 3 แกนครึ่ง


4) แบบ 4 แกน (4axes)
พบมากในเครื่อง HMC โดยแกนที่ 4 เป็นแกน
หมุนของโต๊ะหมุน (Rotary Table) ในแกน B ไปพร้อมๆ กับ
การเคลื่อนที่ที่เชิงเส้น (แกน X ,Y และ Z) จึงเป็นการเคลื่อนที่
4 แกนพร้อมๆ กัน ถ้าเป็นแกนเครื่อง VMC จะติดตั้งให้หมุนใน
แกน A เป็นส่วนมาก

ภาพที่ 71 ลักษณะการกัดงานของเครื่อง 4 แกน


85

5) แบบ 5 แกน (5 axes)


มีการเคลื่อนที่เชิงเส้น (Linear Motion) 3 แกน
(X Y Z) และการเคลื่อนที่เชิงมุม (Angular Motion) หรือการ
หมุน 2 แกน เครื่อง 5 แกน สามารกเคลื่อนที่ใดพร้อมๆ กันทั้ง
5 แกน เครื่องชนิดนี้สามารถผลิตชิ้นงานที่ค่อนข้างยากได้ทั้งมี
Undercut หรือ มีรูป ร่างทั้ง หน้าหลัง แต่ร าคาเครื่อ งสูง มาก
รวมทั้งการทาโปรแกรมค่อนข้างยาก

ภาพที่ 72 เครื่อง Milling ซีเอ็นซี 5 แกน

การผลิตซ้าด้วยเครื่องกัดซีเอ็นซี 3 แกนครึ่ง
การผลิตซ้าในปัจ จุบันนั้น จะใช้วิธีการคือ กัดโฟมเป็น
รูปทรงต่างๆ และทาการแต่งผิวด้วยการไล้ปูนไว้บนผิวโฟมแล้ว
ขัดเก็บผิวปูนด้วยกระดาษทราย หรือ ทาการหล่อแม่พิมพ์จาก
ชิ้นงานโฟมแล้วหล่อปูนจากแม่พิมพ์ที่ได้แล้วทาการแต่งปูนจน
ได้ชิ้นงานที่ต้องการ ซึ่งวิธีการเหล่านี้ค่อนข้างเสียเวลาและต้นทุน
ในการผลิตซ้า ดังนั้นถ้าสามารถกัดปูนให้มี รูปร่างใกล้เคียงกับ
ชิ้นงานสะพานแล้วให้ช่างแต่งได้ทันทีจะเป็นการลดเวลาและ
ต้นทุนลง
86

ก่อนที่จ ะใช้เครื่องซีเอ็น ซีในการกัดชิ้นงานนั้น ต้องมี


การทาทางเดิน ของหั ว กัดด้ว ยโปรแกรมช่ว ยในการผลิตก่อ น
ห รื อ เ รี ย ก ว่ า โ ป ร แ ก ร ม CAM (Computer Aided
Manufacturing) ซึ่งโปรแกรม CAM นั้นมีให้เลือกหลากหลาย
แล้วแต่งานที่จะผลิต ซึ่งงานผลิตชิ้นงานปูนปั้นนั้นไม่ต้องการ
ความถูกต้องแม่นยาที่สูงมากเท่ากับชิ้นงานประกอบเครื่องจักร
ต่ า งๆ ซึ่ ง ต้ อ งการค่ า Accuracy ที่ สู ง โดยทางผู้ ผ ลิ ต ได้ ใ ช้
โปรแกรม CAM ที่ ใ ช้ กั บ งานศิ ล ปะโดยเฉพาะคื อ โปรแกรม
ARTCAM

ไฟล์ STL ที่ได้จากโปรแกรม Reverse นาไฟล์เข้าสู่โปรแกรม ARTCAM

ภาพที่ 73 การนาไฟล์ STL เข้าทา CAM

สิ่งที่ต้องคานึงถึงในการตั้งค่าโปรแกรมเพื่อสร้างทางเดิน
ของหัวกัดเครื่องจักรซีเอ็นซี คือ
1. ชนิดของ Tool ว่าใช้หัวกัดชนิดใด? ขนาดเส้นรอบ
วงเท่าไร? มีความยาวเท่าไรสา? มารถกัดชิ้นงานได้ทั้งชิ้นหรือไม่?
87

2. ค่า Stepdown คือ ค่าที่หัว กัด สามารถลงได้ลึก


สูงสุดในแต่ละครั้ง เพราะบางครั้งถ้าวัสดุที่เราใช้กัดนั้นมีความ
แข็งหรือเหนียวมากเราไม่สามารถกัดชิ้นงานที่เดียวได้เลยต้อง
ค่อยๆ ให้หัวกัดลงที่ละชั้นๆ จนเสร็จชิ้นงาน

ภาพที่ 74 การกัดชิ้นงานโดยใช้ค่า Stepdown

3. ค่า Step Over เป็นค่าที่สั่งให้หัวกัดเดินเหลื่อมกัน


เป็นระยะเท่าไหร่ในการกัดชิ้นงาน ถ้ามีค่าสูงจะทางานได้เร็วแต่
ความละเอียดของชิ้นงานจะน้อย ถ้ามีค่าน้อยความละเอียดของ
ชิ้นงานที่ได้จะมีค่าสูงแต่ใช้เวลาในการกัดนาน โดยส่วนใหญ่จะ
ตั้งค่า Step Over สูงๆ กับ ดอกกัด ที่มีข นาดใหญ่เพราะเป็น
การกัดหยาบต้องการเอาเนื้อชิ้นงานออกให้เร็ว และจะตั้งค่า
Step Over น้อ ยกับ ดอกกัด ที่ใ ช้เพื่อ เก็บ ความละเอีย ดและ
ความสวยงามของผิวชิ้นงาน
4. ค่า Spindle Speed ความเร็วของหัวกัดโดยต้อง
คานึงถึงวัสดุของชิ้นงานที่จะกัดด้วย
88

5. ค่า Feed Rate คือค่าความเร็วในการเดินของหัวกัด


ซึ่งโดยต้องคานึงถึงวัสดุของชิ้นงานที่จะกัดเพราะว้สดุแต่ละชนิด
ไม่เหมือนกัน รวมถึงต้องดูค่า Step Over และค่า Stepdown
ประกอบด้วยเพราะการที่หัวกัดกัดชิ้นงานในปริมาณที่มากและ
ยังเดินด้วยความเร็วสูงจะทาให้เกิดแรงที่หั วกัดสูงมากจนทาให้
หัวกัดหัก หรือเลื่อนหลุดจากที่จับได้
6. ค่า Plunge Rate เป็นค่าความเร็วของหัวกัดเมื่อ
เดินเข้ากัดชิ้นงานควรใส่ค่าที่ไม่สูงมากเพื่อป้องกันการหักของ
หัวกัด

ภาพที่ 75 หน้าต่างการปรับค่าของการกัดด้วยโปรแกรม
ARTCAM
89

ภาพที่ 76 หน้าต่างแสดงทางเดินของการกัดด้วยโปรแกรม
ARTCAM

เนื่องจากชิ้นส่วนสะพานมีขนาดใหญ่และเต็มไปด้ว ย
รายละเอียด Undercut ต่างๆ จึงจาเป็นต้องแบ่งชิ้นส่วนสะพาน
ออกเป็นส่วนย่อยๆ และทาการกัดแยกชิ้น แล้วนามาประกอบ
และตกแต่ ง เข้ า ด้ ว ยกั น ซึ่ ง การผลิ ต ซ้าเพื่ อ ทาสาเนาปู น
ปลาสเตอร์นั้น ค่อนข้างซับ ซ้อ น ตรรกะที่ใช้ในการทาซ้าด้ว ย
เครื่องซีเอ็นซีดังกล่าวข้างต้นนั้นสามารถสรุปได้เป็นแผนผังได้
ดังแสดงในภาพที่ 77
90

ภาพที่ 77 ตรรกะในการทาซ้าด้วยเครื่องซีเอ็นซี
91

จากภาพที่ 77 หลักในการพิจารณาแบ่งชิ้นงานและ
เลือกเทคนิคการผลิตวิธีการทาสาเนาดิจิตอล 3 มิติ และการทา
สาเนาปูนปลาสเตอร์ โ ดยใช้การทดสอบการทาซ้าด้วยเทคนิค
การกัดด้วยเครื่องกัดแบบ 3 แกนครึ่ง สาหรับงานในปัจจุบัน
และการต่อยอดในอนาคต มีแนวทางการดาเนินการดังนี้
ขั้นที่ 1 แยกชิ้นส่วนเพื่อการดาเนินการ โดยพิจารณา
แบ่งแยกชิ้นงานด้วยตาเปล่า แบ่งชิ้นที่แยกออกจากกันชัดเจน
ออกมาเป็นส่วนย่อยเพื่อให้สามารถแบ่งแยกผลิตได้ง่าย และ
ประกอบกลับเข้าหากันได้ง่าย โดยส่ วนที่แยกกันควรเป็นส่วนที่
ไม่สาคัญ ลายไม่มาก เช่น จากป้ายประดิษฐานพระปรมาภิไธย
ย่อ ว.ป.ร. (ภาพที่ 78) ซึ่งมีขนาดใหญ่มากจึงไม่สามารถกัดแบบ
3 แกนครึ่ง (4แกนเทียม) ได้ และมีลักษณะเป็นหน้าตัดเหมือนกัน
3 ชิ ้น มาประกบกัน จึง ท าการแบ่ง ออกเป็น 3 ชิ ้น ย่อ ย
ชิ้นด้านหน้า ชิ้นตรงกลาง และชิ้นด้านหลัง
92

ภาพที่ 78 ป้ายประดิษฐานพระปรมาภิไธยย่อว.ป.ร.

จากภาพที่ 79 ป้ายประดิษ ฐานพระปรมาภิไธยย่อ


ว.ป.ร. มีลัก ษณะเป็น หน้า ตัด เดีย วกัน 3 ชิ้น มาประกบกั บ
ชิ้น หน้าและชิ้น หลังเป็น ลวดลายประดิษฐานพระปรมาภิไธย
ย่อ ว.ป.ร.
93

ตัดเพื่อไม่ให้เกิด Undercut

ภาพที่ 79 การตัดป้ายประดิษฐานพระปรมาภิไธยย่อ ว.ป.ร.


ในโปรแกรม 3 มิติ

จากการตัดแบ่งออกเป็นสามส่วน จะพบว่าชิ้นงานทั้ง
สามมีลักษณะเป็นแบบนูน-ต่า และมีขนาดที่สามรถผลิตได้ โดย
ไม่ต้องตัดชิ้นงาน จึงสามารถผลิตได้ด้วยเครื่องซีเอ็นซีสามแกน
ทีละชิ้น
94

(ก)

(ข) (ค)

ภาพที่ 80 (ก) ตรา ว.ป.ร. ชิ้นด้านหน้าที่กัดได้


(ข) ตรา ว.ป.ร. ชิ้นด้านตรงกลางที่กัดได้
(ค) ตรา ว.ป.ร. ชิ้นด้านหลังที่กัดได้

ขั้นที่ 2 พิจารณารายละเอียดของแต่ละส่วนย่อย หาก


ส่ว นย่อ ยนั้น ไม่มี Undercut สามารถแบ่งชิ้นงานนั้น ลงเป็น
ส่วนย่อยแล้วไม่มีลวดลายที่เป็น Undercut ได้ หรือเป็นชิ้นงาน
95

ที่ ลั ก ษณะเป็ น ชิ้ น งานแบบนู น ต่า ชิ้ น งาน 2.5D ให้ ทาการ
แบ่ง ส่ว นแล้ว กัด ด้ว ยเทคนิค 3 แกน เพราะสามารถทาไฟล์
ทางเดินของหัวกัด (CAM) ได้ง่าย และใช้เวลากัดไม่นาน สามารถ
เก็บรายละเอียดได้พอสมควร เช่น

ภาพที่ 81 ป้าย 130 ที่กัดได้ (ซ้าย) และสาเนาดิจิตอล 3 มิติ


ป้าย 130 (ขวา)

ตรา 130 จากสะพานเจริญรัช 31 มีขนาดเล็ ก ไม่มี


ลวดลาย Undercut สามารถใช้การกัด 3 แกน ได้สะดวกและ
รวดเร็ว (ภาพที่ 82)
96

ภาพที่ 82 สิงห์ที่กัดได้ (ซ้าย) และสาเนาดิจิตอล 3 มิติ


สิงห์ (ขวา)

ภาพที่ 83 ลายอุบะ ที่กัดได้ (ซ้าย) และ สาเนาดิจิตอล 3 มิติ


ลายอุบะ (ขวา)
97

จากภาพที่ 82 และ 83 เป็ น ชิ้ น ส่ ว นจากสะพาน


มหาดไทยอุทิศซึ่งมีลักษณะเป็นรูปนูนต่า มี Undercut เล็กน้อย
สามารถใช้เครื่อง 3 แกน ผลิตได้เลย ส่วน Undercut บางจุด
สามารถให้ช่างตกแต่งได้จากปูนปลาสเตอร์
ขั้นที่ 3 หากชิ้นงานมี Undercut หรือเป็นรูปแบบลอยตัว
3 มิติ ใช้การกัด 3 แกนครึ่ง ซึ่งวิธีการกัดที่ใช้คือการหมุนชิ้นงาน
ด้ว ยแกนที่ 4 แล้ว กัน แต่ล ะหน้าให้เหมือนการกัดด้ว ยเครื่อ ง
3 แกน โดยจะหมุน 4 ด้าน คือ 0 องศา 90 องศา 180 องศา
และ 270 องศา แต่ถ้าต้องการความละเอียดมากขึ้นสามารถ
หมุนองศาเพิ่มให้มากขึ้นได้

A หมุน 90 B หมุน 90 C หมุน 90 D


B D องศา C A องศา D B องศา A C
C D A B

ภาพที่ 84 วิธีการกัดชิ้นงานด้วยเครื่อง 3 แกนครึ่ง

หากชิ้นงานมีขนาดใหญ่ต้องแบ่งเป็นชิ้นย่อยโดยชิ้นงาน
ที่เหมาะสมกับการกัด 3 แกนครึ่ง มากที่สุด ควรมีลักษณะเป็น
เสามีจุดศูนย์กลางที่ส มดุล เพราะไม่เสี่ยงต่อการบิด แตกหัก
เสียหายของชิ้นงาน ได้ชิ้นงานมีความสวยงาม ถูกต้อง ซึ่งถ้ากัด
แบบเครื่อง 3 แกน จะทาให้ไม่สามารถเก็บชิ้นงานในส่วนของ
98

Undercut ได้ ทาให้เสียเวลาช่างฝีมือในการแต่งปูนเพิ่มขึ้น เช่น


ภาพที่ 60 แสดงเสาลายพระขรรค์ และลูกกรงที่เป็นรูปเสือป่า
มือจับพระขรรค์ที่เสา และราวสะพาน และเมื่อพิจารณาแล้ว
สรุปได้ว่าสามารถแยกกัดเป็น 3 ส่วน คือ ตัวเสือ ราวสะพาน
และเสาพระขรรค์ ซึ่งทาให้ส ามารถประกอบกลับได้ง่ายและ
สามารถหาเทคนิ ค การกั ด ที่ เ หมาะสมเพื่ อ เก็ บ รายละเอี ย ด
ครบถ้วนสมบูรณ์ง่ายที่สุด

เสาที่ใส่เพื่อผลิต

เสาที่ใส่เพื่อผลิต

เสาที่ใส่เพื่อผลิต

ภาพที่ 85 การเลือกตัดเสาลายพระขรรค์ และลูกกรงที่เป็น


รูปเสือป่ามือจับพระขรรค์ที่เสา และราวสะพาน
99

การตัดรูปนี้จากข้างต้นต้องให้ชิ้นงานที่ตัดนั้นมีลักษณะ
คล้ายเสาที่มีค วามสมดุล สามารถที่จะใส่เสาสาหรับการหมุน
เพื่อผลิตได้ ซึ่งต้องคานึงถึงขนาดที่เครื่องกัดได้และจุดที่สามารถ
ประกอบได้ง่ายด้วย

ภาพที่ 86 เสาลายพระขรรค์ที่กัดได้ (ซ้าย) และสาเนาดิจิตอล


3 มิติ เสาลายพระขรรค์ (ขวา)

การกัดเสาลายพระขรรค์ด้วยซีเอ็นซี ดังแสดงในภาพที่
86 ซึ่ ง มี ลั ก ษณะที่ ป ระกอบด้ ว ยลวดลายทั้ ง ด้ า นหน้ า และ
ด้านหลัง ในส่วนของลายพระขรรค์และเท้าคู่หน้าของเสือ ไม่มี
Undercut ในทางเทคนิคสามารถใช้วิธีแบ่งครึ่งหน้าและหลัง
กัดแยกด้วยวิธี 3 แกน และนามาประกอบกันได้ แต่การประกอบ
ชิ้นงานทาให้เกิดรอยต่อและการวางแนวประกอบได้ยากมาก
ดังนั้น จึงทาการกัดเสาลายพระขรรค์ด้วยเทคนิคการกัดซีเอ็นซี
3 แกนครึ่ง มาใช้ในการผลิต สามารถกัดเสาลายพระขรรค์ได้
100

ภายในชิ้นเดียว ทั้งยังมีขนาดที่ถูกต้องแม่นยา ไม่มีรอยต่อจาก


การประกอบ
ราวสะพาน มีศูนย์กลางที่สมดุลคล้ายเสาลายพระขรรค์
แต่มี Undercut ใช้เทคนิคการกัด 3 แกนครึ่ง พบว่าสามารถกัด
ราวสะพานได้ภายในชิ้นเดียว เก็บลวดลายได้ครบถ้วน ถูกต้อง
แม่นยา ดังแสดงในภาพที่ 87

ภาพที่ 87 ราวสะพานที่กัดได้ (ซ้าย) และสาเนาดิจิตอล 3 มิติ


ราวสะพาน (ขวา)

ภาพที่ 88 ป้ายจารึกชื่อสะพานเจริญรัชประดับด้วยลายใบไม้
แบบยุโรป
101

ป้ายจารึกชื่อสะพานเจริญรัช 31 ประดับด้วยลายใบไม้
แบบยุโ รปเป็น ชิ้น งานที่มีข นาดใหญ่ม าก มีล วดลายจารึกชื่อ
สะพานประดั บ ด้ ว ยลายใบไม้ แ บบยุ โ รปที่ เ ป็ น Undercut
เหมือนกันทั้งด้านหน้าฝั่งถนนและด้านหลังฝั่งคลอง (ภาพที่ 89)
คณะผู้วิจัยจึงทาการแบ่งชิ้นงานออกเป็นชิ้นย่อยและใช้วิธีการ
กัดแยกแต่ละชิ้นด้วยวิธี 3 แกนครึ่ง

ภาพที่ 89 การเลือกตัดป้ายจารึกชื่อสะพานเจริญรัช 31
ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
102

ภาพที่ 90 เปรียบเทียบชิ้นงานที่ผลิตได้ (ซ้าย) และ


สาเนาดิจิตอล 3 มิติ (ขวา)

เมื่อพิจารณาทางเลือกวิธีการแบ่ งชิ้นงานเป็นชิ้นย่อยๆ
แล้ว เลือกแบ่งเป็น 5 ชิ้นย่อย ตัดตรงแนวตั้งตามฐานดอกบัว
เป็นลักษณะเสา 5 แท่ง แล้วทดลองใช้การกัด 3 แกนครึ่ง ผลิต
ชิ้นงานทั้ง 5 ชิ้น พบว่าสามารถทาได้ง่ายและลดความเสียหาย
จากการบิ ด แตกหั ก โค้ ง งอของชิ้ น งาน การ Alignment
สามารถทาได้ง่าย เพราะเส้นของลวดลายที่ถูกตัดแบ่งมีความ
ชัดเจน มีหลายจุดที่สามารถเชื่อมและตรวจสอบได้ง่าย และลด
ความเสี่ยงของการคลาดเคลื่อนระหว่างลวดลายด้านหน้า และ
ด้านหลัง (ภาพที่ 90) เนื่องจากการตัดแบบนี้ทาให้การประกอบ
มีสิ่งที่ต้องคานึงถึงเพีย งแค่แกนการประกอบเดียวเท่านั้นคือ
ด้านข้างของชิ้นงาน ถ้าตัดแบ่งหน้าหลังเพื่อให้สามารถใช้เครื่อง
3 แกน ได้ จะมีแกนในการประกอบเพิ่มขึ้นมาอีกทาให้ประกอบ
ได้ยาก
103

สิ่งที่ต้องคานึงถึงอีกอย่างก็คือขนาดของชิ้นงานที่ตัด
ต้องระวังไม่ให้มีความกว้างมากเกินไปเพราะชิ้นงานที่กว้างและ
มีจุดหมุนอยู่ตรงกลางเวลาหมุนเพื่อกัดหน้าอื่นๆ อาจชนหัวกัด
ได้ดังภาพที่ 91 อีกทั้งเวลาหัวกัดเดินไปตรงที่ปลายของชิ้นงาน
ชิ้น งานจะเกิด โมเมนต์สูง มากทาให้ชิ้น งานสั่น และขยับ เป็น
อย่างมาก ทาให้กัดงานผิดพลาดได้สูงดังแสดงไว้ที่รูป 92 รวม
ไปถึงชิ้นงานที่หนักมากไปจะทาให้เกิดการตกท้องช้างได้

ภาพที่ 91 ปัญหาเมื่อชิ้นงานกว้างเกินไปเวลาหมุน
จะเกิดการชนหัวกัด
104

หมุน 90 องศา
ชน
จุดหมุน

ภาพที่ 92 ปัญหาเมื่อชิ้นงานกว้างเกินไป
(ก) กัดชิ้นงานใกล้จุดหมุนเกิดโมเมนต์ไม่มากนัก
(ข) กัดชิ้นงานไกลจากจุดหมุนเกิดโมเมนต์มากจนชิ้นงานขยับ

แต่ถ้าจาเป็นต้องกัดชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่ หรือมีความ
กว้างที่มาก ควรที่จะต้องมีแม่แรงมาวางเพื่อพยุงชิ้นงานไม่ให้
ขยับเนื่องจากแรงของโมเมนต์ และไม่ให้ตกท้องช้างในชิ้นงานที่
หนักมากเกินไป
105

ภาพที่ 93 อุบะที่กัดได้ (ล่าง) และสาเนาดิจิตอล 3 มิติ


อุบะ (ซ้าย และ ขวา)
อุบะเป็นส่ วนที่พาดผ่านระหว่างป้ายจารึกชื่อสะพาน
ประดับด้วยลายใบไม้แบบยุโรป และเสาลายพระขรรค์ จึงกัด
แยกโดยใช้เทคนิค 3 แกนครึ่ง เก็บรายละเอียด Undercut และ
สามารถกัดพร้อมกัน 4 ชิ้น แล้วตัดประกอบได้ (ภาพที่ 94)

ภาพที่ 94 ส่วนป้ายจารึกชื่อสะพานเจริญรัช 31
หลังการตกแต่งโดยช่างฝีมือ
106

4. หากชิ้นงานลอยตัว 3 มิติ ไม่สามารถตัดแบ่งเป็น


เสามีจุดศูนย์กลางที่สมดุลได้ ควรพิจารณาเป็นกรณี ควรเพิ่มครีบ
เสริมความแข็งแรงในส่วนที่สามารถตกแต่งได้ง่ายในภายหลัง
เพราะเมื่อเสาไม่มีความสมดุล เมื่อหมุน ชิ้นงานเพื่อทาการกัด
ซีเอ็นซี 3 แกนครึ่ง อาจทาให้เกิดการแตกหักของชิ้นงานเนื่อง
มาจากน้าหนักได้ เช่น
เสือป่าถือพระขรรค์มีลวดลายลักษณะที่เป็น 3 มิติ
มีความโค้งเว้าไม่ สมดุลกันโดยเฉพาะในส่วนหลังเสือ จึงทาให้
ไม่สามารถผลิตเสือป่าถือพระขรรค์โดยใช้วิธีกัด 3 แกน ได้โดย
ไม่มีขั้นตอนการแบ่งเสือป่าออกเป็นชิ้นย่ อยๆ แต่เมื่อพิจารณา
ลวดลายเส้นขนของเสือป่าแล้ว พบว่ าขั้นตอนการประกอบกลับ
ทาได้ยากมาก เนื่องจากมีแกน Alignment มากหลายแกนที่
ต้องตกแต่งเพิ่มเติมและมีความยุ่งยากเพื่อให้ได้เสือป่าที่มีความ
สวยงามเหมือนของเดิม
107

ครีบรับแรง

ภาพที่ 95 เสือป่าที่กัดได้ (ซ้าย) และสาเนาดิจิตอล 3 มิติ


เสือป่า (ขวา)

คณะผู้วิจัยจึงทาการกัดเสือโดยใช้เทคนิค 3 แกนครึ่ง
และเนื่องจากความโค้งเว้าไม่สมดุลของตัวเสือป่าทาให้จาเป็น
ต้องเพิ่มเติมครีบ เพื่อประคองสมดุลชิ้น งานไม่ให้แตกหักจาก
น้าหนักและแรงต่าง ๆ โดยเฉพาะแรงบิดเมื่อทาการหมุนชิ้นงาน
เพื่อกัดด้านอื่น ๆ โดยครีบที่เพิ่มเข้าไปนั้นจะต้องอยู่ในส่วนที่
สามารถนาไปตัดทิ้งภายหลังและตกแต่งได้ง่ายดังแสดงในภาพที่
96
108

ภาพที่ 96 ปัญหางานกัดหักที่เกิดจากการไม่ใส่ครีบรับแรง

การใช้ Rapid Prototype สาหรับงานผลิต


การกัดชิ้นงานด้วยเครื่องซีเอ็นซีนั้นสามารถผลิตชิ้นงาน
ส่วนใหญ่อย่างที่ต้องการได้ แต่ก็มีงานบางลักษณะที่ไม่สามารถ
ผลิตได้ด้วยเครื่องซีเอ็นซีคือชิ้นส่วนที่มี Under Cut และมีห น้า
หลัง ซึ่งเราแยกออกมาเพื่อทาการผลิตกับเครื่อง 3 แกนครึ่ง
แล้ว แต่ชิ้นงานมีขนาดที่เล็กเกินไป หรือบางเกินไปที่จะสามารถ
สอดท่อเพื่อเป็นแกนหมุนในการผลิตได้ดังตัวอย่างจากสะพาน
ผ่านฟ้าลีลาส ในส่วนของชิ้นงานที่เป็นราวสะพานนั้นมีชิ้นงาน
ประดับ เป็น ใบไม้ กิ่งไม้ และดอกทานตะวันขนาดต่างๆ ซึ่งมี
ขนาดที่เล็ก ผลิตด้วยเครื่องซีเอ็น ซีได้ยาก ดังภาพที่ 97 และ
ภาพที่ 98
109

ภาพที่ 97 ลักษณะชิ้นงานที่ผลิตด้วย ซีเอ็นซี ได้ยาก


ใบไม้จากสะพานผ่านฟ้าลีลาศ

ภาพที่ 98 กัดด้วย ซีเอ็นซี ไม่สามารถเก็บรายละเอียดได้


ดังนั้น การผลิตชิ้นงานประเภทนี้จึงนาข้อได้เปรียบของ
Rapid prototype ที่สามารถขึ้นงานที่มี Under Cut และมี
ขนาดเล็กได้ ซึ่งเมื่อชิ้นงานมีขนาดไม่ใหญ่มาก ราคาต้นทุนของ
การผลิตด้วย RP จึงไม่สูงมากเมื่อเทียบกับต้องนาไปผลิตชิ้นงาน
ที่มีขนาดใหญ่ ซึ่งชิ้นงานขนาดใหญ่ก็จะสามารถใส่แกนกลาง
เพื่อผลิตด้วยเครื่องซีเอ็นซี 3 แกนครึ่ง ได้ โดยมีต้นทุนในการ
ผลิตชิ้นงานถูกกว่า RP โดย RP ที่เลือกใช้ สาหรับการผลิตนั้น
ส่วนมากจะใช้กระบวนการ FDM เพราะมีราคาถูก เมื่อได้ชิ้นงาน
แล้วสามารถให้ช่างฝีมือตกแต่งเก็บรายละเอียดได้

110

อกสารอ้างอิง

ชาญคณิต อาวรณ์, สายกลาง จินดาสุ, ภิญญพันธ์ พจนะลาวัณย์


และ เพ็ญสุภา สุขตะ ใจอินทร์. (2558). แนวทาง
การเสริมสร้างศักยภาพการบริหารจัดการโบราณสถาน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการถ่ายโอน
ภารกิ จ จากกรมศิ ล ปากร กระทรวงวั ฒ นธรรม.
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). สืบค้น
จ าก http://www.pcrp-org.com/home/wp-
content/uploads/2016/12/56_ว่าที่ร้อยตรี_ดร.
ชาญคณิต_อาวรณ์.pdf
ฝ่ายวางแผนปรับปรุงฟื้นฟูเมือง กองจัดรูปที่ดินและปรับปรุง
ฟื้นฟูเมือง สานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร. (2550).
โครงการจ้างที่ป รึกษาตรวจสอบและจัดทาต้น แบบ
โบราณสถาน ๓๙ แห่ง. สืบค้นจาก
http://www.urbma.org/document/studyprojec
t/4.2.1.1-2548-โครงการจ้างที่ปรึกษาตรวจสอบและ
จัดทาต้นแบบโบราณสถาน%2039%20แห่ง.pdf
111

ประติมากรรม, ภาควิชา, คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและ


ภาพพิมพ์ . (2558). รายงานสรุป โครงการอนุรักษ์
ประติมากรรมและลวดลายประดับสะพานข้ามคลอง
ในกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาสะพานมหาดไทยอุทิศ.

ศิล ปากร, กรม. (2528). ระเบีย บกรมศิล ปากรว่าด้ว ยการ


อนุรักษ์โบราณสถาน พ.ศ.2528, สืบค้นจาก
http://www.icomosthai.org/charters/FineArt.p
df
สมชาติ จึงสิริอารักษ์. (2558). ประวัติ แนวคิด ทฤษฎี และ
การปฏิบัติการในการอนุรักษ์โบราณสถาน. นครปฐม :
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ICOMOS. 1965. International charter for the
conservation and restoration of monuments
and sites (The Venice Charter 1964).
International Charters for Conservation and
Restoration. Stockholm: ICOMOS
Naai-J.S., Huey-J.W., Chen Y.L. and Chai-Y.L. 2007.
3D scan for the digital preservation of a
historical temple in Taiwan. Advances in
Engineering Software Volume 38. Issue 7,
July 2007 pp. 501-512.
112

English Heritage. 3D Laser Scanning for Heritage,


Published October 2011, English Heritage
Publishing.
Lee J.J. 2013. 5 Ways Smithsonian Uses 3-D Scanning
to Open Up History, September 05, National
Geographic.
Factum Arte. ส แ ก น มิ ต ิ for Cultural Heritage
Conservation. cited 2015 Jan 2. Available
from: http://www.factum-arte.com/pag/7 0 1 /
3D-Scanning-for-Cultural-Heritage-Conservation
Accurex. Using 3 D (White Light) scanners to uncover
details from the past, cited 2014 Dec 15,
Available from:
http://www.accurexmeasure.com/cultural-
heritage-and-arts-3D-scanning.htm
Wachowiak M.J., and Basiliki V.R. 2009. สแกน 3 มิติ
and Replication for Museum and Cultural
Heritage Applications, JAIC 48, pp. 141-158.

You might also like