Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 100

สาขา: สิ่งแวดลอม วิชา: EV32 Hazardous Waste Engineering

ขอที่ : 1
ถามีการปนเปอนของโทลูอีน (Toluene) ลงในน้ําใตดิน จงหาวาโทลูอีนจะมีการเคลื่อนที่อยางไรในน้ําโดยใหคาความสามารถในการละลายน้ํา (water solubility) ของโทลูอีน เทา
กับ 546 มก./ล. และคาความถวงจําเพาะ (specific gravity)เปน 0.867
คําตอบ 1 : จมตัวลงไปสูดานลางจากนั้นจึงลอยน้ํา

่ า ย
คําตอบ 2 : ลอยน้ําแลวคอยๆจมตัวลงสูดานลาง


คําตอบ 3 : ลอยไปกับน้ําโดยไมมีการจมตัวเลย


คําตอบ 4 : จมตัวลงไปใตทองน้ําโดยไมมีการลอย

จ ำ

ขอที่ : 2

า้
ถามีการปนเปอนของโดยแนพธาลีน (Naphthalene) ลงในน้ําใตดิน จงหาวาแนพธาลีนจะมีการเคลื่อนที่อยางไรในน้ํา ใหคาความสามารถในการละลายน้ํา (water solubility) ของ

ิธ์ ห
แนพธาลีนเทากับ 31.9 มก./ล. และคาความถวงจําเพาะ (specific gravity)เปน 1.145
คําตอบ 1 : จมตัวลงไปสูดานลางจากนั้นจึงลอยน้ํา

ิท
คําตอบ 2 : ลอยน้ําแลวคอยๆจมตัวลงสูดานลาง


คําตอบ 3 : ลอยไปกับน้ําโดยไมมีการจมตัวเลย


คําตอบ 4 : จมตัวลงไปใตทองน้ําโดยไมมีการลอย

ง ว

ขอที่ : 3


ในการเก็บสารไตรคลอโรเอทิลีน (Trichloroethylene) ซึ่งมีจุดวาบไฟ (Flash point) ที่อุณหภูมิ32.2 C บรรจุในถังเหล็กในอาคารเก็บสารเคมีแหงหนึ่ง พบวาสารเคมีในถังมีอุณหภูมิ

กร ข
รอนถึง 138 องศาฟาเรนไฮต ถามวามีโอกาสที่จะเกิดเพลิงไหมที่อาคารแหงนั้นหรือไม
คําตอบ 1 : ไมเกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลีนแยกเก็บไวในถังเฉพาะ ไมมีการปนเปอนกับสารอื่นๆ จึงไมเกิดความรอน


คําตอบ 2 : เกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลีนตองเก็บไวในถังพลาสติก เมื่อใสในถังเหล็กจะทําใหสารไตรคลอโรเอทิลีนรอนไดงาย
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :

าว ศ

เกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลีนในถังมีอุณหภูมิสูงกวาจุดวาบไฟ
ไมเกิด เพราะสารไตรคลอโรเอทิลีนเปนสารเฉื่อย

ขอที่ : 4
ส ภ
สารเคมีใดตอไปนี้สามารถอยูรวมกันไดโดยไมเกิดปญหาหรืออุบัติภัยตามมา
คําตอบ 1 : กรดไฮโดรคลอริกและโซเดียมคลอไรด
คําตอบ 2 : กรดซัลฟูริกและโซเดียมไฮดรอกไซด
คําตอบ 3 : กรดไนตริกเขมขนและน้ํา
คําตอบ 4 : กรดฟอสฟอริกและไซยาไนด 1 of 100
ขอที่ : 5
สารใดตอไปนี้หามสัมผัสกับน้ําโดยเด็ดขาด
คําตอบ 1 : เมททานอล (Methanol)
คําตอบ 2 : เบนซิน (benzene)
คําตอบ 3 : โปตัสเซียมคลอไรด (potassium chloride)
คําตอบ 4 : โซเดียมในรูปของโลหะ (Sodium metal)

่ า ย

ขอที่ : 6


รถบรรทุกสารเคมีทําสารเอนดริน (endrin) หกรั่วไหลลงสูถนนดิน ถาความเขมขนเริ่มตนของเอนดรินที่เกิดการปนเปอนในดินเปน 7190 มก./ล. และมีคา k = 0.00229 1/วัน จงหาวา


เมื่อไรความเขมขนของเอนดรินในดินจะเหลือเปน 0.001 มก./ล. เมื่อสมการการสลายตัวของเอนดริน คือ ln (c/c0) = -kt

lnlc / เอ )

คําตอบ 1 : 9 ป


ะ -

kt

า้
คําตอบ 2 : 19 ป

ิธ์ ห
ln
คําตอบ 3 : 29 ป
(¥) 0.00229 t
-

,
คําตอบ 4 : 39 ป
t = ln (า )
ขอที่ : 7

ส ิท
0.00229
-


ตามพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 จงระบุวาขอใดตอไปนี้ไมจัดวาเปนวัตถุอันตราย
คําตอบ 1 : วัตถุที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม

ง ว

คําตอบ 2 : วัตถุที่ทําใหเกิดโรค


คําตอบ 3 : วัตถุรีดิวซ

กร ข
คําตอบ 4 : วัตถุเปอรออกไซด

ขอที่ : 8


ิ ว
าว
ตามทายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) วิธี Leachate Extraction Procedure มีความสําคัญอยางไร
คําตอบ 1 :


ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย โดยสารปนเปอนที่มีในของเสียนั้นจะถูกชะลางออกมาไมเกินคามาตรฐาน


คําตอบ 2 : ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย เนื่องจากมีโลหะหนักต่ํากวา มาตรฐานที่กําหนดไว
คําตอบ 3 : ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย โดยสามารถนําไปฝงกลบในหลุมฝงกลบได โดยไมมีการชะลางของสารปนเปอนออกมา
คําตอบ 4 : ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย เนื่องจากไมมีลักษณะกัดกรอน ติดไฟได และทําปฏิกิริยารุนแรง

ขอที่ : 9
ตามกฎหมาย The Resource Conservation and Recovery Act (RCRA) วิธี Toxicity Characteristic Leaching Procedure มีความสําคัญอยางไร
2 of 100
คําตอบ 1 : ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย โดยสารปนเปอนที่มีในของเสียนั้นจะไมถูกชะลางออกมาดวยน้ําฝนกรด
คําตอบ 2 : ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย เนื่องจากมีโลหะหนักต่ํากวา มาตรฐานที่กําหนดไว
ฏฺ
คําตอบ 3 : ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย โดยสามารถนําไปฝงกลบในหลุมฝงกลบได โดยมีการชะลางของสารปนเปอนออกมามีคาไมเกินมาตรฐาน
คําตอบ 4 : ใชในการระบุวาของเสียนั้นไมเปนของเสียอันตราย เนื่องจากไมมีลักษณะกัดกรอน ติดไฟได และทําปฏิกิริยารุนแรง

ขอที่ : 10
ขอใดตอไปนี้ไมใชลักษณะของสารไดออกซิน
คําตอบ 1 : เปนสารเคมีที่มีชื่อเต็มวา Pentachlorinated Dibenzenedioxins ซึ่งมีคลอรีนอยู 5 อะตอม และมีโครงสรางของเบนซินจํานวน 2 วง เปนโครงสรางหลัก
คําตอบ 2 : เปนสารที่เกิดจากการเผาไหมของสารประกอบอินทรียตางๆ และจากการตกคางหรือเหลือคางจากกระบวนการผลิตตางๆ

่ า ย

คําตอบ 3 : นอกจากธาตุหลัก C, H, O ซึ่งเปนสวนประกอบหลักของสารอินทรียแลว ไดออกซินมีคลอรีนเปนธาตุหลักที่ทําใหสารนี้มีความเปนพิษสูง


คําตอบ 4 : ไดออกซินเปนชื่อของกลุมสารเคมี ที่มีโครงสรางแตกตางกันเปนจํานวนมาก ขึ้นอยูกับตําแหนงและจํานวนของคลอรีนเปนหลัก

จ ำ

ขอที่ : 11
สารใดตอไปนี้เปนสารที่ถูกจัดกลุมวาเปนของเสียอันตรายที่ไมอยูในกลุมของสารอินทรีย

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีเธน
คําตอบ 2 : เบนซิน

ิท
คําตอบ 3 : คารบอนเตตระคลอไรด


คําตอบ 4 : คลอโรฟอรม

ขอที่ : 12

ง ว น สาร เค ก ด แมลง ประ ท ภาพ ง


กต


สารที่ใชในการกําจัดแมลงสารใดที่ไมจัดวาเปนสารในกลุมของ Organochlorine Insecticid


คําตอบ 1 : DDT

กร
คําตอบ 2 : Lindane


คําตอบ 3 : Endosulfan



ษ ทาง การ เกษตร
คําตอบ 4 : Malation การ ต

ขอที่ : 13

ภ าว

ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียกลุม aliphatic ระเหยไดยากกวากลุม aromatic
คําตอบ 2 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียกลุม aliphatic ละลายน้ําไดนอยกวากลุม aromatic
คําตอบ 3 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียที่มีไนโตรเจนเปนสวนประกอบ จะทําใหความเปนพิษของสารอินทรียเพิ่มขึ้น
คําตอบ 4 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียที่มีคลอรีนเปนสวนประกอบ จะทําใหความเปนพิษของสารอินทรียลดลง

3 of 100
ขอที่ : 14
ที่มี
วั
สู
มีพิ

มี
ถุ
จั
สิ
ธิ
ขอใดตอไปนี้ผิด
คําตอบ 1 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียกลุม aliphatic ละลายน้ําไดมากกวากลุม aromatic
คําตอบ 2 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียกลุม aromatic สามารถยอยสลายไดยากกวาสารประกอบอินทรียในกลุม aliphatic
คําตอบ 3 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียกลุม aliphatic ระเหยไดยากกวากลุม aromatic
คําตอบ 4 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียกลุม aromatic จะแตกตัวไดยากกวากลุม aliphatic

่ า ย
ขอที่ : 15


จงคํานวณหาคาคงที่ของเฮนรี่สําหรับสาร Perchloroetylene ที่ความดันไอ 90 มม.ปรอทเมื่อคาคงที่เฮนรี่ = ความดันไอ (บรรยากาศ) / คาการละลาย (โมลตอลบ.ม.) (คา water


solubility 275 มก./ลิตร และน้ําหนักโมเลกุล 166 กรัม/โมล)


คําตอบ 1 : 54.3 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล


คําตอบ 2 : 0.07 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล
คําตอบ 3 : 2.58 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 6.39 บรรยากาศ. ลบ.ม./โมล

ิท
ขอที่ : 16


หากพิจารณาวาสารใดจะปนเปอนในน้ําใตดินไดมากหรือนอย ควรพิจารณาลักษณะสมบัติใดของสาร


คําตอบ 1 : Water/Vapor Pressure
คําตอบ 2 : Water Reactivity * ความ สามารถ ของ สส ใน
า ใน
การ ละลาย

ง ว

คําตอบ 3 : Water Solubility


คําตอบ 4 : Specific Gravity

ขอที่ : 17

กร ข

ิ ว
หากพิจารณาวาสารใดจะถูกดูดซับในดินไดมากหรือนอย ควรพิจารณาลักษณะสมบัติใดของสาร

าว
คําตอบ 1 : Water distribution Coefficient (Kw)
คําตอบ 2 : Soil water distribution coefficient (Ksw)
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ส ภ Soil distribution coefficient (Kd)
Water soil distribution coefficient (Kws)

ขอที่ : 18
ขอใดตอไปนี้ถูก
คําตอบ 1 : โครเมียมเปนโลหะหนักที่มีชนิดของประจุอยู 2 ชนิดเทานั้น คือ ประจุ +6 และ ประจุ +3
4 of 100
คําตอบ 2 : ลักษณะเดนของตะกั่วคือ มีจุดหลอมเหลวต่ํา มีความหนาแนนสูง ทําใหระเหยกลายเปนไอไดยาก
คําตอบ 3 : อารเซนิคชนิดที่มีประจุ +5 เปนสารที่มีความเปนพิษต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับอารเซนิคที่มีประจุหมายเลขอื่นๆ
นํ้
คําตอบ 4 : โครเมียมที่มีประจุ +6 ปนสารที่มีความเปนพิษต่ําที่สุดเมื่อเทียบกับโครเมียมที่มีประจุหมายเลขอื่นๆ

ขอที่ : 19
ชื่อสารที่เปนที่รูจักกันโดยทั่วไปในขอใดตอไปนี้ มีชื่อวิทยาศาสตรของสารนั้นผิด
คําตอบ 1 : TCE = Trichloroethylene
คําตอบ 2 : Chloroform = Trichloromethane
คําตอบ 3 : PCB = Polychlorinated biphenyls

่ า ย

คําตอบ 4 : PCDD = Polychlorinated benzodioxins

ขอที่ : 20

จ ำ ห

ชื่อสารที่เปนที่รูจักกันโดยทั่วไปในขอใดตอไปนี้ มีชื่อวิทยาศาสตรของสารนั้นผิด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : PCE = Perchloroethylene
คําตอบ 2 : Xylene = methylphenol
คําตอบ 3 : Toluene = methylbenzene

ิท
คําตอบ 4 : PCDF = Polychlorinated dibenzofurans

นส
ประกอบไฮโดรคา บอน


สาร
ขอที่ : 21 µ น 2 นไป


วง เบน วง

สารใดตอไปนี้ไมอยูในกลุมของ Polycyclic aromatic hydrocarbon


คําตอบ 1 : Naphthalene

อ ส

คําตอบ 2 : Phenanthrene

กร
คําตอบ 3 : Anthracene


คําตอบ 4 : Nitrobenzene

ขอที่ : 22

าว ศ


สารใดตอไปนี้จัดอยูในกลุมของ Polycyclic aromatic hydrocarbons


คําตอบ 1 : Xylene
คําตอบ 2 : Toluene
คําตอบ 3 : Pyrene
คําตอบ 4 : Phenol

ขอที่ : 23 5 of 100
ขอใดมิใชองคประกอบของการเผาไหมที่ดีของไฟ ที่อยูในสามเหลี่ยมของการเกิดไฟ (Fire triangle)
ซี
ขึ้
ร์
คําตอบ 1 : เวลา (Time)
คําตอบ 2 : สภาพความรอน (Thermal condition)
คําตอบ 3 : ความปนปวน (Turbulence)
คําตอบ 4 : อุณหภูมิ (Temperature)

ขอที่ : 24

่ า ย
ถาเกิดเหตุการณที่มีการรั่วไหลของของเสียอันตรายลงในแมน้ําแหงหนึ่ง คาคงที่ใดดังตอไปนี้ ที่สามารถใชในการประมาณวาจะมีการสะสมของของเสียนั้น ในดินตะกอนแมน้ําหรือสิ่ง
มีชีวิตในน้ําในปริมาณมากนอยเพียงใด
คําตอบ 1 : Ka

หน

คําตอบ 2 : Koc


คําตอบ 3 : KH
คําตอบ 4 : Kw

า้ ม
ิธ์ ห
สาร คา ไป คา บอน
ra
ขอที่ : 25 อง ประกอบ คลอ น ฟ ไร
ออ
โพรวน

ิท
สาร CFC เปนสารที่ตองควบคุม เนื่องจากจัดอยูในประเภทใด


คําตอบ 1 : Toxic


คําตอบ 2 : Reactive
คําตอบ 3 : Corrosive

ง ว

คําตอบ 4 : Persistent

ขอ
กร
ขอที่ : 26
สารไดออกซินเปนสารอันตรายในประเภทใด
คําตอบ 1 : Toxic


ิ ว
าว
คําตอบ 2 : Reactive
คําตอบ 3 : Corrosive

ขอที่ : 27 ส
คําตอบ 4 :

ภ Ignitable

สาร Carcinogen คือสารที่มีคุณสมบัติอยางไร


คําตอบ 1 : สารเคมีที่ระเบิดไดเมื่อถูกความชื้น
คําตอบ 2 : สารที่อาจกอใหเกิดความผิดปกติตอเซลของสิ่งมีชีวิต
คําตอบ 3 : สารที่อาจมีผลใหเกิดการกลายพันธของสิ่งมีชีวิต 6 of 100

คําตอบ 4 : สารที่มีสวนทําใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก
ลู
มี
ด์
ลู
ค์
ร์
ร์
รี
ขอที่ : 28
แหลงกําเนิดของเสียอันตรายประเภทใดที่จัดเปน Non-Point Source
คําตอบ 1 : น้ําเสียจากโรงงานที่มีโลหะหนักปนเปอน
คําตอบ 2 : สลัดจจากระบบบําบัดน้ําเสียของโรงงานปโตรเลียม
คําตอบ 3 : น้ําเสียจากหองปฏิบัติการวิจัยของมหาวิทยาลัย


คําตอบ 4 : น้ําที่ไหลผานพื้นที่เพาะปลูกที่ใชปุยเคมี และยาฆาแมลงปริมาณมาก

น่ า

ขอที่ : 29


ดก อน

สารอันตรายที่ Corrosive คือสารที่มีคุณสมบัติอยางไร


คําตอบ 1 : pH นอยกวาหรือเทากับ 2 หรือ มากกวาหรือเทากับ 12.5

มจ
า้
คําตอบ 2 : จะทําใหเกิดกาซพิษ เมื่อถูกความชื้น

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : กัดกรอนเหล็กไดมากกวา 0.2 นิ้วตอป ที่อุณหภูมิ 55 oC
คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 30 ของ เ ย เฉพาะ

ส ิท

ของเสียอันตรายใดที่จัดเปน Specific Source Waste
คําตอบ 1 :

ง ว
ของเสียอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไป เชน สารทําละลายฮาโลเจน หรือไดออกซิน


คําตอบ 2 : ของเสียอันตรายที่ระบุประเภทอุตสาหกรรมของแหลงที่มาเชน ของเสียจากโรงกลั่นน้ํามัน


คําตอบ 3 : ของเสียที่ระบุชนิดของสารเคมีอันตราย เชน DDT
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

กร ข
ขอที่ : 31


ิ ว
าว
Incompatible Waste หมายถึง


คําตอบ 1 : ของเสียอันตรายที่อาจกัดกรอนภาชนะที่ไมเหมาะสมที่ใชรองรับไว


คําตอบ 2 : ของเสียอันตรายที่ผสมกับสารอื่นแลวเกิดปฏิกิริยาที่อาจไดกาซพิษ หรือระเบิดได
คําตอบ 3 : ของเสียซึ่งไมสามารถบดอัดได มิฉะนั้นอาจเกิดระเบิดขึ้น
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 32
สมบัติหรือลักษณะในขอใดดังตอไปนี้ของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ที่ไมพบในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540)
7 of 100
คําตอบ 1 : เปนสารไวไฟ
กั
สี
ร่
คําตอบ 2 : เปนสารระเหยงาย
คําตอบ 3 : เปนสารกัดกรอน
คําตอบ 4 : เปนสารที่ถูกชะลางได

ขอที่ : 33
ขอใดไมใชลักษณะสมบัติเฉพาะของสารมีพิษและของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : สารที่มีฤทธิ์กัดกรอนและทําใหระคายเคือง

่ า ย

คําตอบ 2 : สารที่มีแนวโนมที่จะระเบิดเมื่อเกิดปฏิกิริยา


คําตอบ 3 : สารที่ระเหยไดงาย


คําตอบ 4 : สารไวไฟ

มจ
า้
ขอที่ : 34

ิธ์ ห
ขอใดถูกที่สุดสําหรับสารอินทรียที่มี flash point ต่ํากวาอุณหภูมิหอง
คําตอบ 1 : ระเหยเปนไอไดงายที่อุณหภูมิหอง

ิท
คําตอบ 2 : สามารถละลายน้ําไดนอย


คําตอบ 3 : มีความเปนพิษนอย

ว น
คําตอบ 4 : สามารถติดไฟไดเองที่อุณหภูมิหอง

ส ง

ขอที่ : 35


ขอใดถูกที่สุดสําหรับสารอินทรียที่มีความสามารถในการละลายน้ํามาก

กร
คําตอบ 1 : เมื่อรั่วไหลสูสิ่งแวดลอม มักจะคงอยูไดนาน


คําตอบ 2 : มีความดันไอนอย



คําตอบ 3 : มักจะมีมวลโมเลกุลสูง

าว
คําตอบ 4 : สามารถดูดซับกับตะกอนดินไดนอย

ขอที่ : 36

ส ภ
ใดถูกที่สุดสําหรับสารอินทรียที่มีความถวงจําเพาะนอยกวาหนึ่ง (เมื่อเปรียบเทียบกับน้ํา)
คําตอบ 1 : ตองแยกตัวจากน้ําและลอยอยูเหนือน้ําเสมอ
คําตอบ 2 : มีความหนาแนนนอยกวาน้ํา
คําตอบ 3 : มีความสามารถในการละลายน้ํานอย
คําตอบ 4 : เปนสารไฮโดรคารบอนที่มีมวลโมเลกุลต่ํา
8 of 100
ขอที่ : 37
ขอใดถูกสําหรับสารอินทรียที่มีคลอรีน (Chlorine) เปนองคประกอบอยูมาก
คําตอบ 1 : เมื่อรั่วไหลสูสิ่งแวดลอม มักจะคงอยูไดนาน
คําตอบ 2 : เมื่อผานกระบวนการเผาทําลาย อาจจะไดสารกลุมไดออกซิน (dioxin) เปนผลิตภัณฑ
คําตอบ 3 : มักจะมีความเปนพิษสูง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 38


ขอใดถูกสําหรับสารกําจัดวัชพืชและแมลง


คําตอบ 1 : มักจะมีคลอรีน (Chlorine) เปนองคประกอบ
คําตอบ 2 : สามารถสะสมในสิ่งแวดลอม และในสิ่งมีชีวิต

มจ
า้
คําตอบ 3 : มักจะเปนพิษตอสัตวเลี้ยงลูกดวยนม

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 39


ขอใดถูกสําหรับสารกลุมโลหะหนัก

ว น
คําตอบ 1 : ทุกรูปแบบเปนพิษรายแรงตอสัตวเลี้ยงลูกดวยนม


คําตอบ 2 : ปฏิกิริยาชีวเคมีไมสําคัญตอการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโลหะหนักในสิ่งแวดลอม


คําตอบ 3 : บางชนิดเปนธาตุอาหารสําคัญตอสิ่งมีชีวิต


คําตอบ 4 : พบในสิ่งแวดลอมในรูปของสารประกอบที่ละลายในน้ําไดนอยเทานั้น

กร ข

ขอที่ : 40



ของผสมในขอใดอาจจะเกิดระเบิดหรือติดไฟไดเองงายที่สุด

าว
คําตอบ 1 : สวนผสมของสารทําละลายอินทรียกับเถาลอย


คําตอบ 2 : สวนผสมของสารละลายที่มีสารตัวทําละลายละลายอินทรียและกรดอินทรีย


คําตอบ 3 : สวนผสมของสารพวกเปอรออกไซดหรือคลอรีนกับสารทําละลายอินทรีย
คําตอบ 4 : ถานกัมมันตที่ใชแลวในกระบวนการบําบัดสีจากน้ําและกรดอินทรียเจือจาง

ขอที่ : 41
การกระทําในขอใดเปนสิ่งที่ไมสมควร เนื่องจากอาจมีอันตรายหรือสารพิษเกิดขึ้น
คําตอบ 1 : การใชปูนขาวเพื่อทําเสถียรขยะอันตรายที่มีแบตเตอรีรถยนตที่ใชแลว
9 of 100
คําตอบ 2 : การทิ้งสวนผสมของกรดจากกระบวนการกัดแตงผิวโลหะและเศษผงโลหะไวในภาชนะปดรวมกัน
คําตอบ 3 : การทิ้งสวนผสมของสารทําละลายอินทรียจากการลางชิ้นงานรวมกับกับสารละลายกรด
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 42
จากขอมูลลักษณะสมบัติทางเคมีกายภาพในตาราง เมื่อมีการรั่วไหลของสารดังกลาวสูสิ่งแวดลอม สารใดนาจะมีการสะสมไดดีในดินตะกอนไดดีที่สุดจากมากไปนอย ที่สภาวะสมดุล
-

่ า ย
หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
D>C>B>A
A>B>C>D

ง ว น

คําตอบ 3 : A>C>B>D
คําตอบ 4 : B>C>A>D

ขอ
ขอที่ : 43

ว กร


ถามีการทิ้งของเสียจากโรงงานแบตเตอรี่ คุณคิดวาจะมีสารเสี่ยงอันตรายชนิดใดที่แหลงน้ําทิ้งชนิดนี้

าว
คําตอบ 1 : ปรอท


คําตอบ 2 : ไซยาไนต


คําตอบ 3 : ยูเรเนียม
คําตอบ 4 : แคลเซียม

ขอที่ : 44
ขอใดไมใชคูของเสียประเภทที่ปนกันไมได
คําตอบ 1 : น้ําสมสายชู กับโซเดียมไซยาไนต 10 of 100
คําตอบ 2 : Sodium carbonate กับ Hydrochloric acid
คําตอบ 3 : ปูนขาว กับ กรดแบตเตอรี่
คําตอบ 4 : ไม กับ กอนยากําจัดศัตรูพืช

ขอที่ : 45
ขอไมใชปญหาที่เกิดจากการผสมกันของของเสียที่ปนกันไมได
คําตอบ 1 : เกิดระเบิด
คําตอบ 2 : เกิดไฟไหม

่ า ย

คําตอบ 3 : เกิดความรอนสูง


คําตอบ 4 : เกิดกาซออกซิเจน

จ ำ

ขอที่ : 46
การใชสารออกซิไดสเปนแนวทางหนึ่งในการกําจัดสารพิษจงบอกวาสารใดไมใชสารออกซิไดส

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : โอโซน
คําตอบ 2 : ไฮโดรเจนเปอรออกไซด

ิท
คําตอบ 3 : แคดเมียมคลอไรด


คําตอบ 4 : คลอรีน

ขอที่ : 47

ง ว น
อ ส
ขอใดไมใชตะกอนผลึกอนินทรียที่เกิดจากกระบวนการตกตะกอน(precipitation)


คําตอบ 1 : hydroxides

กร
คําตอบ 2 : silicates ไป
ปกค ม
วย ความ
เ น
บน


คําตอบ 3 : glaciate



คําตอบ 4 : carbonates

ขอที่ : 48

ภ าว

ในการจัดแบงประเภทของเสียอันตราย ขอใดไมใชของเสียที่เปนกาซติดไฟไดงาย
คําตอบ 1 : LPG
คําตอบ 2 : Hydrogen
คําตอบ 3 : Butadiene
คําตอบ 4 : Xenon

11 of 100
ขอที่ : 49
ด้
ย็
ลุ
สารที่เขากันไมไดจะตองเก็บใหหางกัน เนื่องจากอาจเกิดปฏิกิริยารุนแรงเมื่อผสมกัน คูใด ตอไปนี้ ไมใช สารที่เขากันไมได
คําตอบ 1 : ดางกับเกลือไซยาไนด
คําตอบ 2 : กรดกับเกลือไซยาไนด
คําตอบ 3 : กรดไนตริกกับแอลกอฮอล
คําตอบ 4 : ตัวออกซิไดซ กับ ตัวรีดิวซ

่ า ย
ขอที่ : 50


เมื่อแคลเซียมคารไบดโดนน้ําหรือความชื้นในบรรยากาศ จะเกิดสารลุกติดไฟได คือสารอะไร


คําตอบ 1 : แคลเซียมไฮดรอกไซด


คําตอบ 2 : อะเซติลีน
คําตอบ 3 : แคลเซียมออกไซด

มจ
า้
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 51
ิธ์ ห
ิท
ขอใดคือ ความหมายของคําวา กากของเสียอันตราย


คําตอบ 1 : ของเหลือทิ้งจากการผลิต หรือ ของที่เสื่อมสภาพจนใชการไมไดแลว

ว น
คําตอบ 2 : ของที่มีคุณสมบัติในการกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม


คําตอบ 3 : ถูกทั้งสองความหมาย


คําตอบ 4 : ผิดทั้งสองความหมาย

ขอ
กร
ขอที่ : 52


ขอใดไมใชคุณสมบัติของ Hazardous waste



r การ
ดก อน
คําตอบ 1 : corrosivity

าว
การ เ ด ป ยา
คําตอบ 2 : reactivity
r

ใน การ
ความ สามารถ
อยสลาย


f-
คําตอบ 3 : degradablility


คําตอบ 4 : ignitability - ดไฟ

ขอที่ : 53
สารประเภทตัวทําละลายจะพบในกากของเสียจากโรงงานประเภทไหน
คําตอบ 1 : กากของเสียจากอุตสาหกรรมพลาสติก

ntn }

คําตอบ 2 : กากของเสียจากอุตสาหกรรมใยสังเคราะห
12 of 100
คําตอบ 3 : กากของเสียจากโรงงานอิเล็กโทรนิกส
กั
ติ
ย่
กิ
ฏิ
กิ
ร่
ริ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 54
ทานคิดวาแหลงใดตอไปนี้เปนแหลงกําเนิดหลักของขยะพิษ
คําตอบ 1 : อูซอมรถ
คําตอบ 2 : สนามบิน
คําตอบ 3 : บานพักอาศัย

่ า ย

คําตอบ 4 : โรงเรียน

ขอที่ : 55

จ ำ ห

ขยะมูลฝอยติดเชื้อมีที่มาจากแหลงใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : โรงงานอุตสาหกรรม
คําตอบ 2 : บานเรือนที่พักอาศัย
คําตอบ 3 : โรงพยาบาล

ิท
คําตอบ 4 : แหลงเกษตรกรรม

นส

ขอที่ : 56


ขอใดไมใชของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : วัตถุระเบิดได

อ ส

คําตอบ 2 : วัตถุไวไฟ

กร
คําตอบ 3 : วัตถุที่ไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม


คําตอบ 4 : วัตถุที่ทําใหเกิดโรค

ขอที่ : 57

าว ศ


แหลงกําเนิดสําคัญที่สุดของสารไดออกซินคือขอใด


คําตอบ 1 : Secure Landfill
คําตอบ 2 : เตาเผาขยะ
คําตอบ 3 : Sanitary landfill
คําตอบ 4 : การหมักปุย

ขอที่ : 58 13 of 100
ขอใดตอไปนี้ไมใชของเสียอันตรายประเภทสารกัดกรอน
คําตอบ 1 : ตะกอนน้ํามัน
คําตอบ 2 : น้ํายาฟอกขาว
คําตอบ 3 : น้ํายาขัดพื้น
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 59

่ า ย
ขอใดตอไปนี้จัดเปนของเสียอันตรายประเภทสารพิษ


คําตอบ 1 : ตะกอนสี


คําตอบ 2 : ดินประสิว


คําตอบ 3 : ยาฆาแมลง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 60
สารประกอบในขอใดที่มีครึ่งชีวิต (half life) ยาวนานที่สุด

ิท
คําตอบ 1 : Bromomethane


คําตอบ 2 : Trichloromethane

ว น
คําตอบ 3 : Bromodichloromethane


คําตอบ 4 : Tetrachloromethane

อ ส

ขอที่ : 61

กร
แหลงใดที่กอใหเกิดการปนเปอนของแคดเมียมสูสิ่งแวดลอมมากที่สุด


คําตอบ 1 : โรงงานผลิตพลาสติก



คําตอบ 2 : โรงงานชุบโลหะ

าว
คําตอบ 3 : โรงงานผลิตกระดาษ


คําตอบ 4 : โรงงานทําแกว

ขอที่ : 62

สารเคมีใดที่มักจะพบในยาฆาแมลง
คําตอบ 1 : TNT
คําตอบ 2 : PCB
คําตอบ 3 : BTEX
14 of 100
คําตอบ 4 : DDT
ขอที่ : 63
ถามีการสัมผัสสารอันตรายที่มีฤทธิ์เปนกรดสูงควรปฏิบัติเชนไร
คําตอบ 1 : ลางดวยน้ําสบู
คําตอบ 2 : ลางดวยน้ําสะอาด
คําตอบ 3 : ประคบดวยน้ําแข็ง


คําตอบ 4 : ลางดวยเบสกอนเพื่อปรับสภาพใหเปนกลาง

อมะเ ง

น่ า

ขอที่ : 64 สาร


/

ลักษณะของเสียแบบ carcinogenicity คือ อยางไร


คําตอบ 1 : การติดเชื้อ

มจ
า้
คําตอบ 2 : การระคายเคือง

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : การกอใหเกิดมะเร็ง
คําตอบ 4 : การกัดกรอน

ขอที่ : 65

ส ิท

ไดออกซิน มีองคประกอบของอะไรบาง
คําตอบ 1 : O

ง ว

คําตอบ 2 : O, Cl


คําตอบ 3 : O, C
คําตอบ 4 : O, S

กร ข
ขอที่ : 66


ิ ว
าว
ยาฆาแมลงที่มีคลอรีนเปนองคประกอบ คือขอใด


คําตอบ 1 : PCB


คําตอบ 2 : TCDD
คําตอบ 3 : DDT
คําตอบ 4 : PBB

ขอที่ : 67
สารกอมะเร็งที่มักพบในน้ําประปาที่มีการฆาเชื้อโรคดวยสารคลอรีน คือขอใด
-

15 of 100
คําตอบ 1 : benzene
ก่
ร็
คําตอบ 2 : dioxin
คําตอบ 3 : trichloroethylene
คําตอบ 4 : trihalomethane

ขอที่ : 68
สารใดเปนสารกอมะเร็งที่เกิดจากการเผาขยะที่มีคลอรีนเปนสวนประกอบ
คําตอบ 1 : Dioxin, Furan

่ า ย

คําตอบ 2 : Benzene, Toluene


คําตอบ 3 : PCB, DDT


คําตอบ 4 : Xylene, Ethylene

มจ
า้
ขอที่ : 69

ิธ์ ห
ขอใดสามารถวิเคราะหไดดวยเครื่อง Inductively Coupled Plasma Spectrometer (ICPs)
คําตอบ 1 : VOC

ิท
คําตอบ 2 : โลหะหนัก


คําตอบ 3 : Furan

ว น
คําตอบ 4 : Dioxin

ส ง

ขอที่ : 70


น้ําเสียจากอุตสาหกรรมชุบโลหะพบสารชนิดใดปนเปอน

กร
คําตอบ 1 : Phenol


คําตอบ 2 : Cyanide



คําตอบ 3 : Dioxin

าว
คําตอบ 4 : Toxin

ขอที่ : 71

ส ภ
น้ําเสียปนเปอนดวยฟอรมาดีไฮด พบไดในแหลงน้ําเสียใด
คําตอบ 1 : น้ําเสียอุตสาหกรรมผลิตนม
คําตอบ 2 : น้ําเสียอุตสาหกรรมปโตรเคมี
คําตอบ 3 : น้ําเสียโรงพยาบาล
คําตอบ 4 : น้ําเสียอุตสาหกรรมผลิตแอลกอฮอล
16 of 100
ขอที่ : 72
ขอใดจัดเปนสาร Polycyclic Aromatic Hydrocarbons
คําตอบ 1 : Pyrene
คําตอบ 2 : Benzene
คําตอบ 3 : Toluene
คําตอบ 4 : Xylene

่ า ย

ขอที่ : 73


ของเสียประเภทติดเชื้อจากโรงพยาบาลจะบรรจุในถุงสีอะไร


คําตอบ 1 : สีดํา
คําตอบ 2 : สีสม

มจ
า้
คําตอบ 3 : สีแดง

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : สีเขียว

ิท
ขอที่ : 74


การตรวจสอบลักษณะสมบัติการชะละลายของตะกอนของเสียตามมาตรฐาน กรมโรงงานอุตสาหกรรมใชวิธีใด

ว น
คําตอบ 1 : EP Toxicity


เ ย
คําตอบ 2 : TCLP
ของ
- การ ชะ ละลาย ของ ตะกอน


คําตอบ 3 : LD 50


คําตอบ 4 : LC 50

กร ข

ขอที่ : 75



น้ําเสียที่เกิดจากการวิเคราะหคาบีโอดี ในหองปฏิบัติการมีโลหะชนิดใดปนเปอน

าว
คําตอบ 1 : ปรอท


คําตอบ 2 : ปรอทและโครเมียม


คําตอบ 3 : ปรอทและเงิน
คําตอบ 4 : ปรอท โครเมี่ยม และ เงิน

ขอที่ : 76
ตะกอนอุตสาหกรรมที่มีคอปเปอรปนเปอน เมื่อทําการสกัดดวยวิธี TCLP แลวจะสังเกตไดวาสารละลายมีสีอะไร
คําตอบ 1 : สีน้ําตาล
17 of 100
คําตอบ 2 : สีฟา
วิ
สี
ธี
คําตอบ 3 : สีมวง
คําตอบ 4 : สีสม

ขอที่ : 77
ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการนํากลับโลหะหนักมาใชประโยชน
คําตอบ 1 : ราคาของ Zn > Ni > Cu
คําตอบ 2 : ราคาของ Ni > Cu > Zn

่ า ย

คําตอบ 3 : ราคาของ Ni > Zn > Cu


คําตอบ 4 : ราคาของ Cu > Ni > Zn

จ ำ

ขอที่ : 78
คาเฉลี่ยปริมาณของเสียอันตรายจากจํานวนประชากรทั่วประเทศ คือขอใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มากกวา 1.5 กิโลกรัมตอคนตอป
คําตอบ 2 : มากกวา 15 กิโลกรัมตอคนตอป

ิท
คําตอบ 3 : มากกวา 5 กิโลกรัมตอคนตอป


คําตอบ 4 : มากกวา 0.5 กิโลกรัมตอคนตอป

ขอที่ : 79

ง ว น
ขอใดไมใชลักษณะของของเสียอันตราย

อ ส

คําตอบ 1 : ถูกชะลางได มีคุณสมบัติเปนกลาง

กร
คําตอบ 2 : ติดไฟงาย


คําตอบ 3 : เกิดปฏิกิริยางาย



คําตอบ 4 : ทําใหเกิดโรค

ขอที่ : 80

ภ าว

สิ่งใดจัดเปนของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : น้ํากลั่นเติมแบตเตอรี่
คําตอบ 2 : น้ํามันหลอลื่น
คําตอบ 3 : ผงซักฟอก
คําตอบ 4 : กระปองน้ําอัดลม

18 of 100
ขอที่ : 81
ขอใดไมใชลักษณะสมบัติของพีซีบี
คําตอบ 1 : มีความคงตัวสูง
คําตอบ 2 : ละลายน้ําไดงาย
คําตอบ 3 : ติดไฟ
คําตอบ 4 : ระเหยชา

่ า ย
ขอที่ : 82


พีซีบี (PCB) ยอมาจาก


คําตอบ 1 : Phosphochlorinated biphenyls


คําตอบ 2 : Polychlorinated biphenyls
คําตอบ 3 : Phosphochoro biphenyls

มจ
า้
คําตอบ 4 : Polychloro biphenyls

ขอที่ : 83
ิธ์ ห
ิท
Arochlor 1242 หมายถึงสารที่ประกอบดวยคลอรีนกี่เปอรเซ็นต


คําตอบ 1 : 24

ว น
คําตอบ 2 : 12


คําตอบ 3 : 42


คําตอบ 4 : 2

ขอ
กร
ขอที่ : 84


ดีดีที(DDT) เปนยาฆาแมลงจําพวกใด



คําตอบ 1 : Chlorinated hydrocarbon

าว
คําตอบ 2 : Dichlorinated hydrocarbon


คําตอบ 3 : Biphenylchlorinated hydrocarbon


คําตอบ 4 : Diphenylchlorinated hydrocarbon

ขอที่ : 85
ขอใดตอไปนี้เปนลักษณะสมบัติของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวประเภทสารไวไฟ ตามกฎหมาย
คําตอบ 1 : เปนสารออกซิไดเซอร (Oxidizer)
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
เปนสารที่ไมใชของเหลวแตสามารถลุกเปนไฟได
เปนของเหลวที่มีจุดวาบไฟ (Flash point) ต่ํากวา 60 องศาเซลเซียส
} ✓
19 of 100
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 86
ขอใดตอไปนี้ไมเปนลักษณะสมบัติของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวประเภทสารที่เกิดปฏิกิริยาไดงาย ตามกฎหมาย
คําตอบ 1 : เปนสารซึ่งเมื่อผสมกับน้ํา จะทําใหเกิดมีกาซพิษ
คําตอบ 2 : เปนสารซึ่งทําปฏิกิริยาอยางรุนแรงกับน้ํา
คําตอบ 3 : เปนสารซึ่งเมื่อถูกทําใหรอนในที่จํากัดจะกอใหเกิดปฏิกิริยาระเบิดรุนแรงได

่ า ย

คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 87

จ ำ ห

ขอใดเปนหนวยของคาความเปนพิษ LD50


า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : สวนในลานสวน
คําตอบ 2 : มิลลิกรัมตอกิโลกรัม
คําตอบ 3 : มิลลิกรัมตอลิตร

ิท
คําตอบ 4 : มิลลิกรัม

นส

ขอที่ : 88


ขอใดเปนหนวยของคาความเปนพิษ LC50
คําตอบ 1 : สวนในลานสวน

อ ส

คําตอบ 2 : มิลลิกรัมตอกิโลกรัม

กร
คําตอบ 3 : มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 4 : มิลลิกรัมตอเซลล

ขอที่ : 89

าว ศ


สาร PCB สามารถพบไดในขอใด


คําตอบ 1 : หมอแปลงไฟฟา
คําตอบ 2 : กาซที่ใชในการเชื่อม
คําตอบ 3 : ฉนวนและวัสดุกอสราง
คําตอบ 4 : น้ํามันเครื่อง

ขอที่ : 90 20 of 100
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับสารประเภท Polycyclic Aromatic Hydrocarbon (PAH)
คําตอบ 1 : มีวงแหวนเบนซีน (benzene ring) ที่มีธาตุ O N หรือ S มากกวา 2 วงขึ้นไป
คําตอบ 2 : พบมากในสวนที่มีมวลโมเลกุลมากของผลิตภัณฑจากปโตรเลียม
คําตอบ 3 : พบในเถาลอยจากกระบวนการเผา
คําตอบ 4 : สาร PAH ที่มีโมเลกุลเล็กที่สุดคือแนพธาลีน

ขอที่ : 91

่ า ย
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตองเกี่ยวกับสารฆาแมลงประเภทออรแกโนคลอรีน (organochlorine)


คําตอบ 1 : ดีดีที และเอนโดซัลแฟน นับเปนสารประเภทนี้


คําตอบ 2 : ถูกหามจําหนายและใช แลวในประเทศไทย


คําตอบ 3 : สะสมไดมากในสิ่งมีชีวิต
คําตอบ 4 : มีพิษรายแรง แตถูกยอยสลายไดงายในธรรมชาติ

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 92
ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับสารฆาแมลงประเภทออรแกโนฟอสเฟต (organophosphate)

ิท
คําตอบ 1 : ดีดีที และเอนโดซัลแฟน นับเปนสารประเภทนี้


คําตอบ 2 : ถูกหามจําหนายแลวในประเทศไทย

ว น
คําตอบ 3 : สะสมไดมากในสิ่งมีชีวิต


คําตอบ 4 : มีพิษรายแรง แตถูกยอยสลายไดงายในธรรมชาติ

อ ส

ขอที่ : 93

กร
ขอใดตอไปนี้คือสารปราบศัตรูพืช (pesticide)


คําตอบ 1 : ยาฆาแมลง (insecticide)



คําตอบ 2 : ยาฆาหญา (herbicide)

าว
คําตอบ 3 : ยาฆาหนู (rodenticide)


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 94

สารตอไปใดที่สามารถพบไดในน้ํามัน และใชเปนตัวชี้วัดการปนเปอนของน้ํามันในสิ่งแวดลอม
คําตอบ 1 : เบนซีน
คําตอบ 2 : โทลูอีน
คําตอบ 3 : เอธิลเบนซีน
21 of 100
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 95
คาคงที่ของสมดุลในขอใดที่อธิบายการละลายของสารหนึ่งในระหวางสองเฟส คือเฟสที่เปนแกสและของเหลว
คําตอบ 1 : Kd
คําตอบ 2 : Ksp
คําตอบ 3 : KH


คําตอบ 4 : Ka

น่ า

ขอที่ : 96


คาคงที่ของสมดุลในขอใดที่อธิบายการละลายของสารหรือการตกตะกอน
คําตอบ 1 : Kd

มจ
า้
คําตอบ 2 : Ksp

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : KH
คําตอบ 4 : Ka

ขอที่ : 97

ส ิท

เราสามารถสมมติไดวาการยอยสลายทางชีวภาพในธรรมชาติ ดําเนินไปตามปฏิกิริยาอันดับใด
คําตอบ 1 : อันดับศูนย

ง ว

คําตอบ 2 : อันดับที่หนึ่ง


คําตอบ 3 : อันดับที่สอง
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

กร ข
ขอที่ : 98


ิ ว
าว
ผลจากการไดรับสารเคมีในขอใด เปนการเกิดเนื้องอกในรางกายของผูไดรับสารเคมีนั้น


คําตอบ 1 : Carcinogenic effect


คําตอบ 2 : Mutagenic effect
คําตอบ 3 : Teratogenic effect
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 99
ผลจากการไดรับสารเคมีในขอใด เปนการเกิดการกลายพันธุในเซลลในรางกายของผูไดรับสารเคมีนั้น
22 of 100
คําตอบ 1 : Carcinogenic effect
คําตอบ 2 : Mutagenic effect
คําตอบ 3 : Teratogenic effect
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 100
ผลจากการไดรับสารเคมีในขอใด เปนการเกิดการผิดปกติในตัวออนในรางกายของผูไดรับสารเคมีนั้น
คําตอบ 1 : Carcinogenic effect

่ า ย

คําตอบ 2 : Mutagenic effect


คําตอบ 3 : Teratogenic effect


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

มจ
า้
ขอที่ : 101

ิธ์ ห
สารในขอใดกอใหเกิดโรค methemoglobinemia หรือ blue baby ในเด็กที่ไดรับในปริมาณมาก
คําตอบ 1 : ตะกั่ว

ิท
คําตอบ 2 : ไนเตรท


คําตอบ 3 : ปรอท

ว น
คําตอบ 4 : ซัลไฟด

ส ง

ขอที่ : 102


เครื่องมือวิเคราะหในขอใด ใหผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของตัวอยาง เปนปริมาณของธาตุตางๆในตัวอยางนั้น

กร
คําตอบ 1 : X-ray fluorescence spectroscope (XRF)


คําตอบ 2 : Atomic absorption spectrophotometer (AAS)



คําตอบ 3 : Inductively coupled plasma spectrometer (ICP)

าว
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 103

ส ภ
เครื่องมือวิเคราะหในขอใด ใหผลวิเคราะหองคประกอบทางเคมีของตัวอยาง เปนปริมาณของสารประกอบตางๆในตัวอยางนั้น
คําตอบ 1 : X-ray diffraction spectroscope (XRD)
คําตอบ 2 : Atomic absorption spectrophotometer (AAS)
คําตอบ 3 : Inductively coupled plasma spectrometer (ICP)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
23 of 100
ขอที่ : 104
ขอใดกลาวถูกตอง
คําตอบ 1 : ควรจัดเก็บกรดเขมขน ในภาชนะแกว
คําตอบ 2 : ควรจัดเก็บดางเขมขนในภาชนะโลหะ
คําตอบ 3 : ควรจัดเก็บสารระเหยงายในภาชนะพลาสติก
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ


มษ

่ า
กระท
จาก การ
แห ง มา


ขอที่ : 105 ✓


มลพิษกลุมใดที่ไมไดมีแหลงกําเนิดมาจาก Anthropogenic source


คําตอบ 1 : NOx
คําตอบ 2 : SOx

มจ
า้
คําตอบ 3 : Volatile organic compounds (VOCs)

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Radon

ิท
ขอที่ : 106


ขอใดไมถูกกําหนดเปนขยะอันตราย

ว น
คําตอบ 1 : แบตเตอรรี่รถยนต


คําตอบ 2 : ยาและผลิตภัณฑรักษาสุขภาพ


คําตอบ 3 : สีทาบาน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 107



ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว พ.ศ. ๒๕๔๘ แบงหมวดกากของเสียดวยวิธีใด

าว
คําตอบ 1 : แบงตามการบําบัด


คําตอบ 2 : แบงตามความเปนพิษ


คําตอบ 3 : แบงตามลักษณะทางกายภาพ
คําตอบ 4 : กําหนดรหัสเฉพาะ 6 หลัก

ขอที่ : 108
HA (Hazardous waste – Absolute entry) ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๐) คืออะไร
คําตอบ 1 : สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่มีคุณสมบัติเปนของเสียอันตราย
24 of 100
คําตอบ 2 : สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ผูประกอบการสามารถทําการโตแยงวาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวดังกลาวไมเขาขายเปนของเสียอันตราย
ที่
นุ
ล่

ย์
คําตอบ 3 : สิ่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่มีคุณสมบัติเปนสารที่เปนอันตรายตอสุขอนามัยหรือสิ่งแวดลอม เพราะมีคุณสมบัติของความเปนสารกอมะเร็ง สารพิษแบบเฉียบพลัน
คําตอบ 4 : สิ่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่มีคุณสมบัติเปนสารซึ่งเมื่อถูกทําใหรอนในที่จํากัดจะกอใหเกิดปฏิกิริยาระเบิดรุนแรงได

ขอที่ : 109
HM (Hazardous waste – Mirror entry) ในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๔๐) คืออะไร
คําตอบ 1 : สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่มีคุณสมบัติเปนของเสียอันตราย
คําตอบ 2 :

่ า ย
สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ผูประกอบการสามารถทําการโตแยงวาสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวดังกลาวไมเขาขายเปนของเสียอันตราย


คําตอบ 3 : สิ่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่มีคุณสมบัติเปนสารที่เปนอันตรายตอสุขอนามัยหรือสิ่งแวดลอม เพราะมีคุณสมบัติของความเปนสารกอมะเร็ง สารพิษแบบเฉียบพลัน


คําตอบ 4 : สิ่งสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่มีคุณสมบัติเปนสารซึ่งเมื่อถูกทําใหรอนในที่จํากัดจะกอใหเกิดปฏิกิริยาระเบิดรุนแรงได

จ ำ

ขอที่ : 110
คุณสมบัติขอใดสามารถบอกไดวาของเสียอันตรายนั้นสามารถปนเปอนสูบรรยากาศได

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Solubility
คําตอบ 2 : Ignitability

ิท
คําตอบ 3 : Toxicity


คําตอบ 4 : Vapor pressure

ขอที่ : 111

ง ว น
อ ส
การกําจัดของเสียอันตรายดวยเตาเผา เหมาะสมกับคุณสมบัติขยะเชนไร


คําตอบ 1 : ขยะอันตรายที่ติดไฟงาย

กร
คําตอบ 2 : ขยะอันตรายที่ระเหยงายเมื่อความรอนเพิ่มขึ้น


คําตอบ 3 : ขยะอนินทรีย



คําตอบ 4 : ขยะอินทรีย

ขอที่ : 112

ภ าว

หากคุณลักษณะของน้ําชะขยะในขอใดในปริมาณมาก สามารถบงชี้วามียาฆาแมลงปนเปอนในปริมาณมาก
คําตอบ 1 : Alkalinity
คําตอบ 2 : BOD
คําตอบ 3 : Heavy metal
คําตอบ 4 : COD

25 of 100
ขอที่ : 113
สารเคมีใดตอไปนี้มีระดับความเปนพิษสูงสุด โดยพิจารณาจากคา LD50
คําตอบ 1 : Malathion, LD50 = 100 มก./กก.
คําตอบ 2 : Dieldrin, LD50 = 10.0 มก./กก.
คําตอบ 3 : Dicofol, LD50 = 690 มก./กก.
คําตอบ 4 : Demeton, LD50 = 1.70 มก./กก.

่ า ย
ขอที่ : 114


ถังบรรจุสาร Chlorobenzene (ความหนาแนน 1.106 กก./ลิตร) มีสารนี้อยูในถัง 30 ลิตร หกรั่วปนกับน้ําใตดินในถังที่มีปริมาตร 10,000 ลบม. จงคํานวณหาคาความเขมขนของสารนี้


ในน้ําใตดิน


คําตอบ 1 : 3.318 มิลลิกรัมตอลิตร


คําตอบ 2 : 33.18 มิลลิกรัมตอลิตร
คําตอบ 3 : 368.67 มิลลิกรัมตอลิตร

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 36.87 มิลลิกรัมตอลิตร

ิท
ขอที่ : 115


ความเขมขนของโครเมียมในน้ําเสีย 200 มก./ลิตร ถาน้ําเสียมีปริมาตร 30 ลิตร และเกิดการหกปนเปอนลงบนดินที่มีน้ําหนัก 2,000 กก. จงหาความเขมขนของโครเมียมในดิน


คําตอบ 1 : 3.33 มก./กก.
คําตอบ 2 : 3 มก./ลิตร

ง ว

คําตอบ 3 : 3.33 มก./ลิตร


คําตอบ 4 : 3 มก./กก.

ขอที่ : 116

กร ข

ิ ว
สารใดตอไปนี้เมื่อปนเปอนในดินแลวผานไปอีก 10 ป จะยังคงคางเหลืออยูในดินมากที่สุด

าว
คําตอบ 1 : Methyl isobutyl ketone (Vapor Pressure = 15 mm Hg)
คําตอบ 2 : Methyl ethyl ketone (Vapor Pressure = 77.5 mm Hg)


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 : ภ Methyl formate (Vapor Pressure = 476 mm Hg)
Methyl chloride (Vapor Pressure = 3,790 mm Hg

ขอที่ : 117
หากจะพิจารณาคาระดับความเขมขนของสารเคมีที่อยูในอากาศที่ทําใหคนงานทํางานได 8 ชั่วโมงตอวันอยางปลอดภัย ตองพิจารณาคาใด
คําตอบ 1 : Reference dose (RfD)
26 of 100
คําตอบ 2 : Threshold limit value (TLV)
คําตอบ 3 : Slope Factor (SF)
คําตอบ 4 : Carcinogen class

ขอที่ : 118
หากพิจารณาถึงระดับความเขมขนของสารเคมีตอวันที่สามารถรับเขาสูรางกายไดไมวาจะเปนจากการกิน หรือการหายใจ โดยไมทําอันตรายใดๆกับรางกาย ตองพิจารณาคาใด
คําตอบ 1 : Reference dose (RfD)
คําตอบ 2 : Threshold limit value (TLV)
คําตอบ 3 : Slope Factor (SF)

่ า ย

คําตอบ 4 : Carcinogen class

ขอที่ : 119

จ ำ ห

คาใดตอไปนี้ใชในการหาความเสี่ยงในการเกิดมะเร็ง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Reference dose (RfD)
คําตอบ 2 : Threshold limit value (TLV)
คําตอบ 3 : Slope Factor (SF)

ิท
คําตอบ 4 : Carcinogen class

นส

ขอที่ : 120


คา LD90 หมายถึงอะไร
คําตอบ 1 :

อ ส
คาระดับความเขมขนของสารเคมีที่ทําใหสัตวทดลองตายรอยละ 90 ของจํานวนสัตวทดลองทั้งหมด


คําตอบ 2 : คาระดับความเขมขนของสารเคมีที่ทําใหสัตวทดลองรอดชีวิตรอยละ 90 ของจํานวนสัตวทดลองทั้งหมด

กร
คําตอบ 3 : คาระดับความเขมขนที่ 90 % ของระดับความเขมขนเริ่มตนของสารเคมีที่ทําใหสัตวทดลองรอดชีวิตทั้งหมด


คําตอบ 4 : คาระดับความเขมขนที่ 90 % ของระดับความเขมขนเริ่มตนของสารเคมีที่ทําใหสัตวทดลองตายทั้งหมด

ขอที่ : 121

าว ศ


หากพิจารณาตาม carcinogen class ตอไปนี้ Bromoform : class B2 1,1,1-Trichloroethane: class D Chromium(VI) : class A 1,2- Dichlrobenzene: class D


Formaldehyde: class B1 Hexachloroethane: class C ขอใดที่บอกถึงสารที่มีโอกาสทําใหเกิดโรคมะเร็งได ไมวาจะดวยจากหลักฐานหรือผลการทดสอบของสารนั้นจากคนหรือ
สัตวก็ตาม
คําตอบ 1 : Bromoform, Chromium(VI), 1,2- Dichlrobenzene, Formaldehyde, Hexachloroethane
คําตอบ 2 : Bromoform, 1,2- Dichlrobenzene, Formaldehyde, Hexachloroethane
คําตอบ 3 : Bromoform, Chromium(VI), Formaldehyde, Hexachloroethane
คําตอบ 4 : Bromoform, Formaldehyde
27 of 100

ขอที่ : 122
คําศัพทใดตอไปนี้ที่ใชในการเรียก การพบความเขมขนของสารปนเปอน ที่สะสมในปลาหรือสิ่งมีชีวิตในน้ําในปริมาณที่สูงกวาความเขมขนของสารปนเปอนในน้ํานั้นเอง
คําตอบ 1 : Biomagnification
คําตอบ 2 : Bioaugmentation
คําตอบ 3 : Biosorption
คําตอบ 4 : Biostimulation

่ า ย
ขอที่ : 123


สาร Mutagen คือสารที่มีคุณสมบัติใด


คําตอบ 1 : สารเคมีที่ระเบิดไดเมื่อถูกความชื้น


คําตอบ 2 : สารที่อาจกอใหเกิดความผิดปรกติตอเซลของสิ่งมีชีวิต
คําตอบ 3 : สารที่อาจมีผลใหเกิดการกลายพันธของสิ่งมีชีวิต โดยยังไมเห็นผลในรุนที่ไดรับสาร

มจ
า้
คําตอบ 4 : สารที่มีสวนทําใหเกิดปรากฏการณเรือนกระจก

ขอที่ : 124
ิธ์ ห
ิท
Chronic Effect คือ


คําตอบ 1 : ผลรายรุนแรงที่เกิดขึ้นอยางเฉียบพลันอันเกิดจากการไดรับสารอันตราย

ว น
คําตอบ 2 : ผลรายที่เกิดขึ้นสะสมอยางชาๆอันเกิดจากการไดรับสารอันตราย


คําตอบ 3 : ผลที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณเรือนกระจก


คําตอบ 4 : กาซพิษที่เกิดขึ้นเนื่องจากการผสมกันของสารอันตราย

ขอ
กร
ขอที่ : 125


กระบวนการบําบัดและฟนฟูพื้นที่ที่ถูกปนเปอนในขอใด ที่สามารถทําในดิน ณ จุดที่ถูกปนเปอนนั้นเลยได (in-situ remediation)



คําตอบ 1 : การเผา (Incineration)

าว
คําตอบ 2 : รีเวอรส ออสโมซิส (Reverse osmosis


คําตอบ 3 : การสกัดไอระเหยจากดิน (Soil vapor extraction)


คําตอบ 4 : การลางดิน (Soil washing)

ขอที่ : 126
Acute Effect มีความหมายตามขอใด
คําตอบ 1 : ผลรายรุนแรงที่เกิดขึ้นอยางเฉียบพลันอันเกิดจากการไดรับสารอันตราย
คําตอบ 2 : ผลรายที่เกิดขึ้นสะสมอยางชาๆอันเกิดจากการไดรับสารอันตราย
28 of 100
คําตอบ 3 : ผลที่เกิดขึ้นจากปรากฏการณเรือนกระจก
คําตอบ 4 : กาซพิษที่เกิดขึ้นเนื่องจากการผสมกันของสารอันตราย

ขอที่ : 127
สารพิษสามารถเขาสูรางกายของสิ่งมีชีวิตไดจากทางใดบาง
คําตอบ 1 : การหายใจ
คําตอบ 2 : การสัมผัส
คําตอบ 3 : การรับประทาน

่ า ย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 128

จ ำ ห

Threshold Dose 50 หมายถึง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ปริมาณของสารเคมีที่ใชเพื่อการบําบัดสารอันตรายแลวไดประสิทธิภาพในการบําบัด 50%
คําตอบ 2 : ปริมาณของสารเคมีที่ใชเพื่อการบําบัดสารอันตราย คือ 50 มก.ตอลิตร
คําตอบ 3 : ปริมาณต่ําสุดของสารที่รับเขาสูรางกายแลว พบวาเกิดผลรายขึ้น 50% ของการทดลอง

ิท
คําตอบ 4 : ปริมาณสูงสุดของสารที่รับเขาสูรางกายแลว พบวาเกิดผลรายขึ้น 50% ของการทดลอง

นส

ขอที่ : 129


การสูดไอปรอทเขาไปทีละนอย แตเปนเวลานาน ๆ ทําใหเกิดผลตอระบบใด
คําตอบ 1 : ระบบทางเดินอาหาร

อ ส

คําตอบ 2 : ระบบประสาท

กร
คําตอบ 3 : ระบบทางเดินหายใจ


คําตอบ 4 : ระบบการเคลื่อนไหว

ขอที่ : 130

าว ศ


ขอใดแสดงเสนทางของสารพิษเขาสูรางกาย


คําตอบ 1 : ทางระบบทางเดินอาหาร
คําตอบ 2 : ทางระบบทางเดินหายใจ
คําตอบ 3 : ดวยการสัมผัสทางผิวหนัง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 131 29 of 100


ความเปนพิษขึ้นอยูกับขอใด
คําตอบ 1 : ปจจัยทางชีววิทยา เชน อายุ เพศ และน้ําหนัก
คําตอบ 2 : ลักษณะและวิธีการที่สารพิษเขาสูรางกาย
คําตอบ 3 : ชนิดและปริมาณของสารพิษ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 132

่ า ย
ขอใดกลาวไดถูกตองที่สุดเกี่ยวกับคา LC50


คําตอบ 1 : เปนการทดสอบความเปนพิษแบบเรื้อรัง (chronic toxicity testing)


คําตอบ 2 : ปริมาณสารพิษ (dose) ที่ฆาประชากรของสัตวทดลองไปครึ่งหนึ่งในระยะเวลาที่กําหนด


คําตอบ 3 : สารที่มีความเปนพิษมาก มักจะมีคา LC50 มาก
คําตอบ 4 : เปนคาที่ขึ้นกับชนิดของสัตวทดลองเทานั้น

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 133
ขอใดกลาวถูกตอง สําหรับ MATERIAL SAFETY DATA SHEET (MSDS)

ิท
คําตอบ 1 : ควรจัดใหมีไวในบริเวณปฏิบัติงานเพื่อใหผูปฏิบัติงานใชอางอิงได


คําตอบ 2 : มีขอมูลเกี่ยวกับลักษณะของสารหรือวัตถุอันตราย

ว น
คําตอบ 3 : มีขอมูลของอาการที่เกิดขึ้นเมื่อสารพิษเขาสูรางกาย


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

อ ส

ขอที่ : 134

กร
ขอใดกลาวถูกตองที่สุดเกี่ยวกับคา No Observed Adverse Effect Level (NOAEL)


คําตอบ 1 : เปนคาที่ไดจากการทดลองในสัตวทดลองและสามารถใชกับมนุษยไดเลย



คําตอบ 2 : ใชสําหรับประเมินความเปนพิษแบบเรื้อรังและเฉียบพลัน

าว
คําตอบ 3 : เปนคาเดียวกับ Acceptable Daily Intakes (ADI)


คําตอบ 4 : ใชในการประมาณคา Reference Doses ที่ใชในการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)

ขอที่ : 135

ขอใดกลาวถูกตองในการนําคา Acute และ Chronic Toxicity มาประยุกตใชกับคน
คําตอบ 1 : ถาสัตวทดลองเปนสัตวเลี้องลูกดวยนม เชน หนู สามารถใชไดเลย
คําตอบ 2 : โดยทั่วไปจะไมนําคาที่ทดลองจากสัตวทดลองมาประยุกตใชกับคน
คําตอบ 3 : นํามาประยุกตใชกับคนไดแตตองปรับดวย Safety Factor ที่เหมาะสม
30 of 100
คําตอบ 4 : เฉพาะคา Acute Toxicity เทานั้นที่ประยุกตใชกับคนได
ขอที่ : 136
ขอใดไมใชปจจัยที่สําคัญที่มีผลตอรางกายมนุษยเนื่องจากสารพิษเขาสูรางกาย
คําตอบ 1 : อายุและน้ําหนักรางกาย
คําตอบ 2 : การกิน การอยูของมนุษย
คําตอบ 3 : การหายใจของมนุษย


คําตอบ 4 : ภาวะทางอารมณของมนุษย

น่ า

ขอที่ : 137


สารพิษใดที่ทําใหเกิดโรคมะเร็ง
คําตอบ 1 : ใยหิน

มจ
า้
คําตอบ 2 : ฟอสฟอรัส

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : กรดผลไม
คําตอบ 4 : แคลเซียม

ขอที่ : 138

ส ิท

โรคอิไต-อิไต เกิดจากพิษของโลหะหนักชนิดใด
คําตอบ 1 : ปรอท

ง ว

คําตอบ 2 : แคดเมียม


คําตอบ 3 : ตะกั่ว
คําตอบ 4 : อารซินิก

กร ข
ขอที่ : 139


ิ ว
าว
โรคมินามาตะ เกิดจากพิษของโลหะหนักชนิดใด


คําตอบ 1 : ปรอท


คําตอบ 2 : แคดเมียม
คําตอบ 3 : ตะกั่ว
คําตอบ 4 : อารซินิก

ขอที่ : 140
ขอใดตอไปนี้เปนผลกระทบจากของเสียอันตราย
31 of 100
คําตอบ 1 : สารบางชนิดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
คําตอบ 2 : สงผลกระทบตอสุขภาพของมนุษย เชน การเกิดโรคภัยไขเจ็บอันเนื่องมาจากโลหะหนัก
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังและอวัยวะตางๆ ของรางกาย
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 141
สารพิษในขอใดตอไปนี้ที่เปนสารกอมะเร็ง
คําตอบ 1 : กรดน้ําสม

่ า ย

คําตอบ 2 : แคลเซียม


คําตอบ 3 : ใยหิน


คําตอบ 4 : ฟอสฟอรัส

มจ
า้
ขอที่ : 142

ิธ์ ห
คูของโรคและสารพิษใดที่จับคูกันผิด
คําตอบ 1 : แคดเมียม อิไต อิไต

ิท
คําตอบ 2 : ปรอท มินามาตะ


คําตอบ 3 : ฟลูออไรด ฟลูออโรซิส

ว น
คําตอบ 4 : ตะกั่ว ลูคิเมีย

ส ง

ขอที่ : 143


สารใดที่ทําใหเกิดโรค Beryllicosis

กร
คําตอบ 1 : นิกเกิล


คําตอบ 2 : ลิเทียม



คําตอบ 3 : โบรมีน

าว
คําตอบ 4 : เบริลเลียม

ขอที่ : 144

ส ภ
ขอใดมิใชสารในกลุมของยาฆาแมลง
คําตอบ 1 : Cresols
คําตอบ 2 : Lindane
คําตอบ 3 : Alachlor
คําตอบ 4 : Aldrin
32 of 100
ขอที่ : 145
จงคํานวณเวลาครึ่งชีวิต (Half life) ของเมทิลเมอคิวรี ในรางกายของคนที่ไดรับ โดยการสลายตัวของเมทิลเมอคิวรี่เปนไปตามปฏิกิริยาอันดับ 1 โดยมีคาคงที่เทากับ 0.0175/วัน
คําตอบ 1 : 56 วัน
คําตอบ 2 : 39.6 วัน
คําตอบ 3 : 2 วัน
คําตอบ 4 : 0.03 วัน

่ า ย

ขอที่ : 146


ความเปนพิษ (Toxicity) ของสารใดๆ ตอรางกายมนุษย ขึ้นกับขอใด


คําตอบ 1 : เสนทางการไดรับ
คําตอบ 2 : ปริมาณที่ไดรับ

มจ
า้
คําตอบ 3 : สมบัติของสาร

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 147


คา TLV (Threshold Limit Values) เปนคาที่กําหนดระดับการไดรับการไดรับสารอันตรายในทางใด

ว น
คําตอบ 1 : การกิน


คําตอบ 2 : การสัมผัส


คําตอบ 3 : การหายใจ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 148



เสนทางการไดรับสารพิษ (Rout of Exposure) ทางใดที่ใชในการกําหนดปริมาณการไดรับสารพิษของคนงานในโรงงานอุตสาหกรรม

าว
คําตอบ 1 : การสัมผัส


คําตอบ 2 : การหายใจ


คําตอบ 3 : การกิน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 149
ไซยาไนดกอใหเกิดผลรายตอรางกายโดยกระบวนการใด
คําตอบ 1 : การขัดขวางเซลลในการรับออกซิเจน
33 of 100
คําตอบ 2 : การมีพิษตอตับ
คําตอบ 3 : การมีพิษตอไต
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 150
PCB (Polychlorinated biphenyls) เปนสารกอมะเร็ง B2 ตามการแบงระดับโดย USEPA ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
คําตอบ 1 : เปนสารกอมะเร็งในมนุษย (Human carcinogen)
คําตอบ 2 : อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย (Probable human carcinogen) โดยมีขอมูลในมนุษยที่จํากัด

่ า ย

คําตอบ 3 : อาจกอใหเกิดมะเร็งในมนุษย (Portable human carcinogen) โดยมีขอมูลเพียงพอในสัตวแตมีขอมูลไมเพียงพอในมนุษย


คําตอบ 4 : ไมเปนสารกอมะเร็ง

จ ำ

ขอที่ : 151
แกสใดตอไปนี้มีผลตอระบบประสาทสัมผัส ทําใหรางกายของผูสัมผัสทําใหไมไดรับกลิ่น

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : คารบอนมอนอกไซค
คําตอบ 2 : ไฮโดรเจนไซยาไนด

ิท
คําตอบ 3 : ไนโตรเจนไดออกไซค


คําตอบ 4 : ไฮโดรเจนซัลไฟด

ขอที่ : 152

ง ว น

ขอมูลพิษวิทยาของสารตางๆ สามารถหาไดจากแหลงใด



คําตอบ 1 : IRIS

กร
คําตอบ 2 : ORIS


คําตอบ 3 : DOT



คําตอบ 4 : DOJ

ขอที่ : 153

ภ าว

รังสีหรืออนุภาคใดตอไปนี้มีความสามารถในการทะลุทะลวงสูงสุด
คําตอบ 1 : อัลฟา
คําตอบ 2 : เบตา
คําตอบ 3 : แกมมา
คําตอบ 4 : ซีตา

34 of 100
ขอที่ : 154
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับ bioconcentration factor (BCF)
คําตอบ 1 : เปนการวัดการสะสมของสารพิษในเนื่อเยื่อของปลา
คําตอบ 2 : มีหนวยเปน ลิตรตอกก.
คําตอบ 3 : คา BCF ของดีดีที สูงกวาคา BCF ของแคดเมียมมาก
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย
ขอที่ : 155


ถาชายผูหนึ่งมีน้ําหนักตัว 70 กก. รับประทานปลาโดยเฉลี่ย 6.5 กรัมตอวัน ปลาที่รับประทานนี้ถูกจับมาจากแหลงน้ําที่ปนเปอนดวยไตรคลอโรเอธิลีน (TCE) ที่มีความเขมขน 100


ppb ถาคา bioconcentration factor (BCF) ของ TCE มีคาเปน 10.6 ลิตรตอกก. คา Chronic daily intake (CDI) มีคาเปนเทาไร


คําตอบ 1 : 6.9 มก./กก./วัน


คําตอบ 2 : 0.0069 มก./กก./วัน
คําตอบ 3 : 9.8 มก./กก./วัน

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 0.000098 มก./กก./วัน

ิท
ขอที่ : 156


ขอใดตอไปนี้ถูกตองเกี่ยวกับความเปนพิษของสาร


คําตอบ 1 : LC50 เปนการวัดความเปนพิษของสารที่ไดรับทางการหายใจ
คําตอบ 2 : น้ําตาลมีคา LD50 ที่สูง

ง ว

คําตอบ 3 : สารทุกชนิดเปนพิษ ขึ้นกับปริมาณที่เขาสูรางกาย


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 157

กร ข

ิ ว
โรค มินามาตะ (Minamata disease) เกิดจากการไดรับสารใด?

าว
คําตอบ 1 : เหล็ก (Ferrous: Fe)
คําตอบ 2 : สารหนู (Arsenic: As)


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 : ภ ปรอท (Mercury: Hg)
ตะกั่ว (Lead: Pb)

ขอที่ : 158

35 of 100

คําตอบ 1 : 2.40 กรัม


คําตอบ 2 : 2.66 กรัม
คําตอบ 3 : 2.84 กรัม
คําตอบ 4 : 3.01 กรัม

ขอที่ : 159

่ า ย
หน

คําตอบ 1 : 4,200 มก./กก.
คําตอบ 2 : 4,400 มก./กก.

มจ
า้
คําตอบ 3 : 4,900 มก./กก.

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : 5,300 มก./กก.

ิท
ขอที่ : 160


ขอพิจารณาในการเลือกใชวิธีการในการบําบัดและกําจัดของเสียอันตรายขอใดตอไปนี้ถูกตอง


คําตอบ 1 : ของเสียอันตรายที่มีคลอรีนเปนสวนประกอบ ควรนําไปบําบัดดวยวิธีการยอยสลายทางชีวภาพ

คําตอบ 2 :

ง ว
ของเสียอันตรายที่มีโครงสรางมีกิ่งกานสาขาของสารอินทรียมาก สามารถยอยสลายทางชีวภาพไดดีกวาของเสียอันตรายที่มีโครงสรางมีกิ่งกานสาขาของสารอินทรีย


นอยๆ


คําตอบ 3 : ของเสียอันตรายที่เปนสารประกอบ aromatic สามารถยอยสลายไดยากกวาสารประกอบอินทรียในกลุม aliphatic


คําตอบ 4 : ของเสียอันตรายกลุมของสารอินทรียที่มีโพลีเมอรเปนสวนประกอบ จะยอยสลายทางชีวภาพไดดี

ขอที่ : 161

ว กร
าว ศ

ของเสียอันตรายชนิดใดสามารถยอยสลายทางชีวภาพไดดีที่สุด
คําตอบ 1 : ไนโตรเบนซิน


คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ ฟนอล
คลอโรฟอรม
คลอโรเบนซิน

ขอที่ : 162
ของเสียอันตรายใดตอไปนี้สามารถกําจัดดวยวิธี reduction ไดดีที่สุด
36 of 100
คําตอบ 1 :

คําตอบ 2 :

่ า ย
หน

คําตอบ 3 :

มจ
า้
ิธ์ ห
คําตอบ 4 :

ส ิท
ขอที่ : 163

ง ว น
อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : air stripping


คําตอบ 2 : UV/ozone oxidation


คําตอบ 3 : activated carbon
คําตอบ 4 : aerobic biodegradation

ขอที่ : 164

37 of 100
คําตอบ 1 : air stripping


คําตอบ 2 : UV/ozone oxidation
คําตอบ 3 : activated carbon

น่ า

คําตอบ 4 : aerobic biodegradation

จ ำ

ขอที่ : 165

า้
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น

คําตอบ 1 : air stripping


คําตอบ 2 : UV/ozone oxidation
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
activated carbon
aerobic biodegradation

กร ข

ิ ว
าว
ขอที่ : 166


Off-Site Treatment หมายถึงขอใด


คําตอบ 1 : การบําบัดของเสียอันตรายที่ใชเทคโนโลยีที่ล้ํายุค
คําตอบ 2 : การบําบัดของเสียอันตรายในโรงบําบัดที่ปดมิดชิดเพื่อกันการรั่วไหลของสารอันตราย
คําตอบ 3 : การบําบัดของเสียนอกพื้นที่ที่เปนแหลงกําเนิดของเสียนั้น
คําตอบ 4 : การบําบัดของเสียอันตรายที่ไมไดมาตรฐานและผิดกฎหมาย

ขอที่ : 167
38 of 100
สารที่ใชในการตกผลึกตะกอนของโครเมียมในน้ําเสียคือขอใด
คําตอบ 1 : ซัลเฟอรไดออกไซด และปูนขาว
คําตอบ 2 : สารสม และ ปูนขาว
คําตอบ 3 : ซัลเฟอรไดออกไซด และสารสม
คําตอบ 4 : สารสม และ เฟอริกไดออกไซด

ขอที่ : 168

่ า ย
วิธีการกําจัดของเสียอันตรายที่เปนของเหลวได คือขอใด


คําตอบ 1 : Incineration


คําตอบ 2 : Solidification


คําตอบ 3 : ถูกทั้งสองวิธี
คําตอบ 4 : ไมมีขอที่ถูก

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 169
การบําบัดของเสียจากโรงงานชุบโลหะที่มีไซยาไนดเจือปน ดวยการเติมสารละลายไฮโปคลอไรทเปนการบําบัดดวยวิธีใด

ิท
คําตอบ 1 : Neutralization


คําตอบ 2 : Coagulation

ว น
คําตอบ 3 : Oxidation


คําตอบ 4 : Reduction

อ ส

ขอที่ : 170

กร
อุณหภูมิต่ําสุดที่ใชไดในการเผาของเสียอันตราย คือขอใด


คําตอบ 1 : 800 C



คําตอบ 2 : 1000 C

าว
คําตอบ 3 : 1200 C


คําตอบ 4 : 2000 C

ขอที่ : 171

การบําบัดวิธีใด ที่ไมใชการบําบัดทางเคมี
คําตอบ 1 : Oxidation
คําตอบ 2 : Ion Exchange
คําตอบ 3 : Reverse Osmosis
39 of 100
คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก
ขอที่ : 172
Manifest คือขอใด
คําตอบ 1 : เอกสารที่ใชกํากับเพื่อติดตามการเกิด การขนสง และ การกําจัดของเสียอันตราย
คําตอบ 2 : การเก็บรวบรวมขยะอันตรายดวยแรงคนเปนหลัก
คําตอบ 3 : เอกสารกํากับสารอันตราย เพื่อใหรายละเอียดตัวสาร วิธีการใช และวิธีแกไขกรณีหกหลน


คําตอบ 4 : การติดตามดูแลการจัดเก็บของเสียอันตรายของโรงงาน โดยภาครัฐ

น่ า

ขอที่ : 173


MSDS – Material Safety Data Sheet คือขอใด
คําตอบ 1 : เอกสารที่ใชกํากับเพื่อติดตามการเกิด การขนสง และ การกําจัดของเสียอันตราย

มจ
า้
คําตอบ 2 : เอกสารบันทึกการใชสารอันตราย เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในการใช

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : เอกสารกํากับสารอันตราย เพื่อใหรายละเอียดตัวสาร วิธีการใช และวิธีแกไขกรณีหกหลน
คําตอบ 4 : การติดตามดูแลการจัดเก็บของเสียอันตรายของโรงงาน โดยภาครัฐ

ขอที่ : 174

ส ิท

Bench Scale Operation หมายถึง
คําตอบ 1 :

ง ว
ระบบบําบัดของเสียอันตรายชนิดพิเศษสําหรับโรงงานที่มีของเสียนี้ในปริมาณไมมาก จึงออกแบบใหทํางานสะดวกโดยมีขนาดเล็ก และพรอมเคลื่อนยายได


การจําลองระบบบําบัดของเสียอันตรายของอุตสาหกรรมซึ่งเกิดของเสียที่มีคุณสมบัติพิเศษเฉพาะ ใหเปนระดับของการทดลองเพื่อหาคาพารามิเตอรที่เหมาะสมในการ


คําตอบ 2 :
ออกแบบระบบ บําบัดนั้น

กร ข
คําตอบ 3 : แนวทางในการปฏิบัติการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมที่ใชสารเคมีอันตราย ซึ่งตองมีคูมือใน ทุกขั้นตอนของการผลิตเพื่อความปลอดภัย
คําตอบ 4 : วิธีการปฏิบัติในการสั่งการตามลําดับขั้นของผูมีอํานาจสั่งการ ในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินจากการใชสารอันตราย


ิ ว
าว
ขอที่ : 175
ใหเรียงลําดับแนวคิดในการจัดการของเสียอันตรายตอไปนี้ โดยเรียงจากที่พึงประสงคมากที่สุดลงไป 1) การแลกเปลี่ยน หรือขาย ใหเปนวัตถุดิบสําหรับโรงงานอื่น 2) การเผาเพื่อนํา


พลังงานความรอน และ/หรือ ไฟฟามาใช 3) การแยก และลดปริมาณของเสียที่เกิดขึ้น 4) การบําบัด 5) รีไซเคิลเพื่อใชซ้ําในกระบานการผลิต 6) การลดการเกิด 7) การกําจัด
คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ส 3), 1), 2), 5), 4), 6), 7)
6), 3), 4), 5), 2), 1),7)
6), 1), 3), 5), 4), 2), 7)
คําตอบ 4 : 6), 3), 5), 1), 2), 4), 7)

ขอที่ : 176 40 of 100


ขอใดไมใชวิธีการสําหรับระบบการกําจัดฝุน
คําตอบ 1 : Cyclone separators
คําตอบ 2 : Baffles and screens
คําตอบ 3 : Electrostatic – precipitators
คําตอบ 4 : Air Stripping

ขอที่ : 177

่ า ย
น้ําปนเปอนดวย Benzene จะตองไดรับการบําบัดจนความเขมขนลดลงจาก 200 ไมโครกรัมตอลิตร เหลือ 0.05 ไมโครกรัมตอลิตร ในถังปฏิกิริยาไหลแบบกวนสมบูรณ โดยใหทํา


ปฏิกิริยากับ UV/Ozone ถาความเขมขนของ oxidant มีคาคงที่ โดยมีผลคูณคาคงที่อัตราการเกิดปฏิกิริยาและความเขมขนของoxidant (k’) เปน 0.05 ตอวินาที จงใชสูตรที่ให
คํานวณเวลากักพักของถังปฏิกิริยารนี้

จ ำ ห
า้ ม
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
คําตอบ 1 : 3 นาที

กร ข
คําตอบ 2 : 8 นาที


ิ ว
าว
คําตอบ 3 : 22 นาที
คําตอบ 4 : 33 นาที

ขอที่ : 178
ส ภ
ในการบําบัดดวย Ozone ขอใดกลาวถูกตองที่สุด
คําตอบ 1 : ไมตองคํานึงถึงสาร Intermediate ที่เปนพิษ
คําตอบ 2 : มักใชรวมกับ Peroxide หรือ UV เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
คําตอบ 3 : เหมาะสําหรับน้ําที่ปนเปอนโลหะหนัก
คําตอบ 4 : ไมตองคํานึงถึงการสงผาน Ozone ลงในน้ําเพราะ Ozone ละลายน้ําไดดี 41 of 100
ขอที่ : 179
ในการบําบัดไซยาไนดดวยคลอรีน ขอใดกลาวผิด
คําตอบ 1 : ตองให pH ในระบบต่ําๆ เพื่อใหเกิดกรดมากๆ
คําตอบ 2 : pH ควรสูงกวา 10 เพื่อปองกันการเกิดกาซพิษ
คําตอบ 3 : ปริมาณคลอรีนจะตองมีมากเกินพอดีเสมอ
คําตอบ 4 : ไซยาไนดจะถูกทําลายดวยปฏิกิริยาออกซิเดชัน

่ า ย

ขอที่ : 180


ขอใดกลาวถูกสําหรับระบบ Reverse Osmosis


คําตอบ 1 : ไมตองมีระบบ Pre - และ Post - Filter
คําตอบ 2 : เหมาะที่จะบําบัดน้ําที่มีความเขมขนสูง

มจ
า้
คําตอบ 3 : ตองคํานึงถึงการกําจัดน้ําเสียที่ออกจากระบบ

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ตองมีการเปลี่ยนเยื่อกรองบอยๆ

ิท
ขอที่ : 181


ขอใดเปนระบบที่สามารถใชกําจัดสารอินทรียระเหยออกจากน้ํา

ว น
คําตอบ 1 : Air Stripping


คําตอบ 2 : Activated Carbon Adsoprtion


คําตอบ 3 : Chemical Oxidation


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 182



สารเคมีใดไมเกี่ยวของกับปฏิกิริยา Oxidation

าว
คําตอบ 1 : Ozone


คําตอบ 2 : Hydrogen Peroxide


คําตอบ 3 : Hydroxide ion
คําตอบ 4 : Permanganate

ขอที่ : 183
ขอใดเปนบทบาทหลักของระบบ Carbon Adsorption ในการบําบัดน้ําเสีย
คําตอบ 1 : เปนกระบวนการบําบัดเสริมตอจากกระบวนการบําบัดหลักอื่นๆ
42 of 100
คําตอบ 2 : ใชกรองอนุภาคขนาดเล็ก
คําตอบ 3 : ใชฆาเชื้อโรค
คําตอบ 4 : เปนกระบวนการบําบัดน้ําเสียที่มีความเขมขนสูง

ขอที่ : 184
ขอใดเปนเปนกระบวนการหลักที่มีประสิทธิภาพและงายที่สุดในการบําบัดน้ําเสียที่มีโลหะหนักปนเปอนอยูที่ความเขมขนสูงๆ
คําตอบ 1 : Biological Process
คําตอบ 2 : Filtration

่ า ย

คําตอบ 3 : Reverse Osmosis


คําตอบ 4 : Precipitation

จ ำ

ขอที่ : 185

า้
ขอใดเปนขอจํากัดของระบบ Air Stripping

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เปนระบบที่มีขนาดใหญ
คําตอบ 2 : ใชไดดีกับสารอินทรียระเหย

ิท
คําตอบ 3 : อาจจะมีการสะสมของจุลชีพและตะกรันในระบบ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 186

ง ว น
อ ส
ของเสียอันตรายใดที่สามารถกําจัดดวยวิธีไลดวยอากาศ


คําตอบ 1 : พวกตัวทําละลาย

กร
คําตอบ 2 : พวกโลหะหนัก


คําตอบ 3 : พวกสารซักลาง



คําตอบ 4 : พวกสารกัมมันตภาพรังสี

ขอที่ : 187

ภ าว

ขอใดไมใชแตกตางระหวางระบบไลดวยไอน้ําและระบบไลดวยอากาศ
คําตอบ 1 : ระบบไลดวยไอน้ําจะมีอุณหภูมิสูงกวาระบบไลดวยอากาศ
คําตอบ 2 : ระบบไลดวยไอน้ําจะใชไอน้ําไลแทนที่จะเปนอากาศ
คําตอบ 3 : ไอน้ําจะละลายไดในของเหลวหรือในน้ําไดอยางมีขอบเขต
คําตอบ 4 : ระบบไลดวยไอน้ําสามารถกําจัดสารปนเปอนที่มีความสามารถระเหยไดนอย

43 of 100
ขอที่ : 188
ขอใดไมใชความสามารถของการกรองแบบออสโมซิสผันกลับ
คําตอบ 1 : กําจัด voc
คําตอบ 2 : กําจัดของแข็งแขวนลอย
คําตอบ 3 : กําจัดสารอนินทรียละลาย
คําตอบ 4 : กําจัดสารอินทรียละลาย

่ า ย
ขอที่ : 189


ขอใดผิดเกี่ยวกับการยอยสลายทางชีวภาพ


คําตอบ 1 : สารที่มีการแตกแขนงจะยอยสลายยาก


คําตอบ 2 : Aromatic จะยอยสลายยากกวา Aliphatic
คําตอบ 3 : Aliphatic แบบโซยาวแนวเดียวจะยอยสลายยาก

มจ
า้
คําตอบ 4 : Aromatic ที่มี Halogen เกาะจะยอยสลายยาก

ขอที่ : 190
ิธ์ ห
ิท
น้ําเสียใดเหมาะที่จะบําบัดดวยระบบบําบัดทางชีวภาพ


คําตอบ 1 : น้ําทิ้งจากโรงพิมพ

ว น
คําตอบ 2 : น้ําทิ้งจากบานเรือน


คําตอบ 3 : น้ําทิ้งจากโรงงานแบตเตอรี่


คําตอบ 4 : น้ําทิ้งจากเหมืองแร

ขอ
กร
ขอที่ : 191


ทําไมการบําบัดน้ําเสียทางชีวภาพของของเสียอันตรายจึงอาจตองการเวลานานกวาน้ําเสียชุมชน



คําตอบ 1 : เพราะมีสารอินทรียที่ยอยสลายยากปนอยูดวย

าว
คําตอบ 2 : เพราะมีปริมาณน้ําที่มากกวา


คําตอบ 3 : เพราะมีสารอินทรียที่ยอยงายมากกวา


คําตอบ 4 : เพราะตองเสียเวลาในการออกแบบระบบ

ขอที่ : 192
ขอใดไมใชผลของการใชกระบวนการปรับเสถียรภาพ(stabilizer)
คําตอบ 1 : ลดการเคลื่อนที่ออกของสารปนเปอนสูสิ่งแวดลอม
คําตอบ 2 : ปรับคา pH ของสารปนเปอน
44 of 100
คําตอบ 3 : ลดความเปนพิษ
คําตอบ 4 : บําบัดของเสีย

ขอที่ : 193
ขอใดไมใชสารปรับสภาพหรือสารที่ทําใหเกิดกอนแข็งซึ่งใชในกระบวนการบําบัดของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : ซีเมนต
คําตอบ 2 : Silicates
คําตอบ 3 : Pozzolans

่ า ย

คําตอบ 4 : ดินทราย

ขอที่ : 194

จ ำ ห

การบําบัดโดยกองดินไมเหมาะกับกรณีใด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ดินปนเปอนที่มีสารอินทรียนอย
คําตอบ 2 : ดินปนเปอนดวยสารฟนอล น้ํามันดินจากถานหิน
คําตอบ 3 : บริเวณที่มีพื้นที่มาก

ิท
คําตอบ 4 : พื้นที่ที่ไกลจากแหลงน้ําชุมชน

นส

ขอที่ : 195


พื้นที่ใดที่เราสามารถตรวจพบสาร BTEX
คําตอบ 1 : ปมน้ํามัน

อ ส

คําตอบ 2 : โรงงานผลิตยา

กร
คําตอบ 3 : ไรเกษตรกรรม


คําตอบ 4 : โรงงานผลิตนม

ขอที่ : 196

าว ศ


การกําจัดกากอุตสาหกรรม มีการทําใหสารเสถียรกอน อยางไรบาง


คําตอบ 1 : ปรับ pH ใหเปนกลาง
คําตอบ 2 : ทําใหเปนกอน โดยผสมกับ cement
คําตอบ 3 : ทําการบําบัดใหมีความเปนพิษเหลือนอยที่สุด
คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 197 45 of 100


ขอใดตอไปนี้จัดเปนการบําบัดของเสียอันตรายทางกายภาพ (Physical Treatment)
คําตอบ 1 : การดูดซับดวยคารบอน
คําตอบ 2 : การยอยสลายแบบ aerobic
คําตอบ 3 : การเผา
คําตอบ 4 : การแลกเปลี่ยนประจุ

ขอที่ : 198

่ า ย
ขอใดตอไปนี้จัดเปนการบําบัดของเสียอันตรายทางเคมี (Chemical Treatment)


คําตอบ 1 : การกรอง


คําตอบ 2 : การทําสะเทิน


คําตอบ 3 : การหมักทําปุย
คําตอบ 4 : การเหวี่ยงดวยแรงหนีศูนยกลาง

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 199
ขอใดตอไปนี้ไมใชวิธีการกําจัดขยะอันตราย

ิท
คําตอบ 1 : การปรับเสถียรและการฝงกลบ


คําตอบ 2 : การหมักทําปุย

ว น
คําตอบ 3 : การผสมเชื้อเพลิงสังเคราะห


คําตอบ 4 : การบําบัดน้ําเสียชุบโลหะ

อ ส

ขอที่ : 200

กร
โดยปกติแลวเตาเผาขยะพิษหรือขยะอันตรายจะตองมีอุณหภูมิเทาใด


คําตอบ 1 : 500 องศาเซลเซียส



คําตอบ 2 : 800 องศาเซลเซียส

าว
คําตอบ 3 : 1000 องศาเซลเซียส


คําตอบ 4 : 1200 องศาเซลเซียส

ขอที่ : 201

ขอใดคือเทคนิคการกําจัดขยะมูลฝอยติดเชื้อ
คําตอบ 1 : การทําลายเชื้อดวยสารเคมี (Chemical Disinfection)
คําตอบ 2 : เตาเผา (Incineration)
คําตอบ 3 : การทําลายเชื้อดวยไอน้ํา (Steam Sterilization / Autoclaving)
46 of 100
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
ขอที่ : 202
ขอใดเปนการกําจัดขยะอันตรายที่ไมควรกระทํามากที่สุด
คําตอบ 1 : เผากลางแจง
คําตอบ 2 : เผาในเตาเผาขยะแบบ Pyrolysis
คําตอบ 3 : การฝงกลบแบบ Secure Landfill


คําตอบ 4 : เผาในเตาเผาขยะแบบ Multiple-chamber incierators

น่ า

ขอที่ : 203


ขอใดตอไปนี้ไมใชขอดีของการกําจัดขยะดวยเตาเผา
คําตอบ 1 : ประหยัดพื้นที่

มจ
า้
คําตอบ 2 : ลดมลพิษ

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : คาใชจายต่ํา
คําตอบ 4 : ไดพลังงานทดแทน

ขอที่ : 204

ส ิท

ของเสียอันตรายในขอใดตอไปนี้ที่สามารถทําการกําจัดดวยวิธีไลดวยอากาศ
คําตอบ 1 : กลุมสารซักลาง

ง ว

คําตอบ 2 : กลุมสารกํามันตะภาพรังสี


คําตอบ 3 : กลุมตัวทําละลาย
คําตอบ 4 : กลุมโลหะหนัก

กร ข
ขอที่ : 205


ิ ว
าว
กระบวนการหลังการเผาโดยเตาเผา (Incinerator) เศษเถาที่เหลือตางๆจากกระบวนการเผาควรมีการจัดการอยางไร


คําตอบ 1 : ฝงกลบลงในดิน


คําตอบ 2 : ทําใหเศษเถาตางๆ เสถียรไมมีการเกิดปฏิกิริยาใดๆ อีก
คําตอบ 3 : เผาอีกครั้งจนไดเถาสีขาว
คําตอบ 4 : นําไปผานน้ํากลั่น

ขอที่ : 206
การทําลายเชื้อดวยสารเคมีในมูลฝอยติดเชื้อควรราดดวยสารใด
47 of 100
คําตอบ 1 : Sodium Hydroxide
คําตอบ 2 : Sodium Hypochloride
คําตอบ 3 : Ammonium Hydroxide
คําตอบ 4 : Ammonium Hypochloride

ขอที่ : 207
อุปกรณในขอใดไมใชอุปกรณในระบบ Air pollution control ของเตาเผาขยะอันตราย
คําตอบ 1 : electrostatic precipitator

่ า ย

คําตอบ 2 : scrubber


คําตอบ 3 : air sparking


คําตอบ 4 : fabric filter

มจ
า้
ขอที่ : 208

ิธ์ ห
วิธีการใดไมใชวิธีฟนฟูน้ําบาดาลจากการปนเปอนโดยของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : air stripping

ิท
คําตอบ 2 : bio venting


คําตอบ 3 : retention wall

ว น
คําตอบ 4 : composting

ส ง

ขอที่ : 209


การบําบัดน้ําเสียที่มีไซยาไนดปนเปอนไมสามารถกําจัดโดยสารเคมีชนิดใด

กร
คําตอบ 1 : โซเดียมไฮดรอกไซด


คําตอบ 2 : โซเดียมไฮโปคลอไรท



คําตอบ 3 : โซเดียมคลอไรด

าว
คําตอบ 4 : ปูนขาว

ขอที่ : 210

ส ภ
โซเดียมไฮโปคลอไรทไมสามารถกําจัดน้ําเสียชนิดใด
คําตอบ 1 : น้ําเสียที่มีโลหะหนักปนเปอน
คําตอบ 2 : น้ําเสียที่มีไซยาไนดปนเปอน
คําตอบ 3 : น้ําเสียที่มีไซยาไนดและโลหะหนักปนเปอน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ
48 of 100
ขอที่ : 211
กรณีศึกษาจากเหตุการณไฟไหมทาเรือคลองเตย ในป 2534 หลุมฝงกากสารเคมีอยูที่จังหวัดใด
คําตอบ 1 : กาญจนบุรี
คําตอบ 2 : ราชบุรี
คําตอบ 3 : ชลบุรี
คําตอบ 4 : ปราจีนบุรี

่ า ย

ขอที่ : 212


สารอันตรายซึ่งใชในอุตสาหกรรมชุบโลหะ หรือถลุงแร ไดแกขอใด


คําตอบ 1 : สารปรอท
คําตอบ 2 : สารตะกั่ว

มจ
า้
คําตอบ 3 : สารหนู

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ไซยาไนด

ิท
ขอที่ : 213


วิธีการที่เหมาะสมในการกําจัดและบําบัดกากสารกัมมันตภาพรังสี ไดแกขอใด

ว น
คําตอบ 1 : Cement Based


คําตอบ 2 : Pozzolanic


คําตอบ 3 : Surface Encapsulation


คําตอบ 4 : Glassification

กร ข

ขอที่ : 214



สารในขอใดจะเกิดขึ้นในการยอยสลายเตตตระคลอโรอีธีน (PCE)

าว
คําตอบ 1 : ไตรคลอโรอีธีน (TCE)


คําตอบ 2 : ไดคลอโรอีธีน (DCE)


คําตอบ 3 : ไวนิลคลอไรด (VC)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 215
ในการบําบัดของเสียอันตราย กระบวนการใดตอไปนี้ที่ไมเหมาะสมในการบําบัดน้ําเสียที่มีโลหะหนัก
คําตอบ 1 : การแลกเปลี่ยนอิออน
49 of 100
คําตอบ 2 : การตกตะกอนทางเคมี
คําตอบ 3 : การเผาไหม
คําตอบ 4 : การใชเมมเบรน

ขอที่ : 216
ในการบําบัดของเสียอันตรายที่มีสารอินทรียคลอรีน (chlorinated organics) กระบวนการใดตอไปนี้ที่เหมาะสมในการบําบัดของเสียนั้น
คําตอบ 1 : การแลกเปลี่ยนอิออน
คําตอบ 2 : การตกตะกอนทางเคมี

่ า ย

คําตอบ 3 : การเผาไหม


คําตอบ 4 : การใชเมมเบรน

จ ำ

ขอที่ : 217
ขอใดเปนการบําบัดน้ําเสียโลหะหนัก

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : การตกตะกอนดวยไฮดรอกไซด
คําตอบ 2 : การดูดซับดวยถานกัมมันต

ิท
คําตอบ 3 : การแลกเปลี่ยนอิออน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 218

ง ว น
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการตกตะกอนดวยไฮดรอกไซด

อ ส

คําตอบ 1 : ทําการบําบัดไดงาย สารเคมีหาไดไมยาก

กร
คําตอบ 2 : การรีดน้ําออกจากตะกอนอาจทําไดยาก


คําตอบ 3 : เมื่อเพิ่ม pH สูงขึ้น อาจมีการละลายของตะกอนโลหะหนักบางชนิด



คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 219

ภ าว

ขอใดเปนการบําบัดดวยวิธี advanced oxidation
คําตอบ 1 : Fenton’s reagent
คําตอบ 2 : Ozone
คําตอบ 3 : UV
คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

50 of 100
ขอที่ : 220
ขอใดเปนการบําบัดของเสียอันตรายดวยกระบวนการที่ใช membrane
คําตอบ 1 : Reverse osmosis
คําตอบ 2 : Electrodialysis
คําตอบ 3 : Ultrafiltration
คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

่ า ย
ขอที่ : 221


สารเคมีชนิดหนึ่งมีคาคงที่อัตราเร็วปฏิกิริยาอันดับหนึ่ง 0.02 /วัน สารนี้จะมีเวลาครึ่งชีวิตเปนเทาไร


คําตอบ 1 : 15 วัน


คําตอบ 2 : 25วัน
คําตอบ 3 : 35 วัน

มจ
า้
คําตอบ 4 : 45 วัน

ขอที่ : 222
ิธ์ ห
ิท
กระบวนการบําบัดของเสียอันตรายในขอใดที่มักพบปญหา concentration polarization


คําตอบ 1 : Reverse Osmosis

ว น
คําตอบ 2 : Electrodialysis


คําตอบ 3 : Chemical oxidation


คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

ขอ
กร
ขอที่ : 223


สารไดออกซินเกิดจากการเผาขยะกลุมใด



คําตอบ 1 : สําลีและเลือดจากโรงพยาบาล

าว
คําตอบ 2 : ขยะที่ปนเปอนโลหะหนัก


คําตอบ 3 : ขยะอินทรียและพลาสติก PVC


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 224
ขอใดเปนการปองกันการเกิดสารกลุมไดออกซิน (Dioxin) และฟูราน (Furan) ในระหวางการเผา
คําตอบ 1 : เติมอากาศใหเพียงพอขณะทําการเผา
คําตอบ 2 : พนสารละลายคลอรีนในเตาเผา
51 of 100
คําตอบ 3 : ติดตั้งระบบ Electrostatic precipitator ในเตาเผา
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 225
ขอใดเกี่ยวของกับการกําจัดขยะอันตราย
คําตอบ 1 : Secure Landfill
คําตอบ 2 : Sanitary Landfill
คําตอบ 3 : Composting

่ า ย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 226

จ ำ ห

ของเสียอันตรายในขอใดไมเหมาะสมในการบําบัดดวยกระบวนการ Chemical oxidation- reduction?

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : น้ําที่ปนเปอน Cr (VI) ใชกระบวนการ Reduction
คําตอบ 2 : น้ําที่ปนเปอน Fe (II) ใชกระบวนการ Oxidation
คําตอบ 3 : น้ําที่ปนเปอน สาร Phenol ใชกระบวนการ Oxidation

ิท
คําตอบ 4 : เหมาะสมทุกขอ

นส

ขอที่ : 227


ขอใดไมใชวิธีการควบคุม NOx
คําตอบ 1 : Selective catalytic Reduction

อ ส

คําตอบ 2 : Selective noncatalytic Reduction

กร
คําตอบ 3 : Electrostatic precipitator


คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 228

าว ศ


ขอใดคือวิธีการควบคุมการเกิดแกสคารบอนมอนนอกไซด (CO) ในการเผา


คําตอบ 1 : ทําใหเตาเผามีปริมาณออกซิเจนเพียงพอ
คําตอบ 2 : ทําใหเตาเผามีความรอนเพียงพอ
คําตอบ 3 : ทําใหเตาเผามีเชื้อเพลิงเกินพอ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 229 52 of 100


ขอใดคือวิธีการควบคุมแกสซัลเฟอรไดออกไซด
คําตอบ 1 : Wet scrubber
คําตอบ 2 : Dry scrubber
คําตอบ 3 : ถูกทั้งสองวิธี
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 230

่ า ย
ขอใดทําใหเกิด Acid gases


คําตอบ 1 : เมื่อทําการเผาขยะที่มีฟลูออรีนเปนสวนประกอบ


คําตอบ 2 : เมื่อทําการเผาขยะที่มีคลอรีนเปนสวนประกอบ


คําตอบ 3 : เมื่อทําการเผาขยะที่มีการปนเปอนของโลหะหนัก
คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 231
ขยะติดเชื้อจากโรงพยาบาลควรกําจัดดวยวิธีการใด

ิท
คําตอบ 1 : ฝงกลบ


คําตอบ 2 : เผาในเตาเผาขยะโรงพยาบาล

ว น
คําตอบ 3 : เติมสารเคมีเพื่อฆาเชื้อโรค แลวนําไปฝงกลบ


คําตอบ 4 : ฆาเชื้อดวย UV แลวทิ้งรวมกับขยะชุมชน

อ ส

ขอที่ : 232

กร
โลหะหนักควรกําจัดอยางไร


คําตอบ 1 : Recovery



คําตอบ 2 : Landfill

าว
คําตอบ 3 : Incineration


คําตอบ 4 : Chemical fixation

ขอที่ : 233

Afterburner ในเตาเผา Rotary Kiln ของเตาเผาขยะอันตรายมีไวเพื่ออะไร
คําตอบ 1 : เพื่อกําจัด CO
คําตอบ 2 : เพื่อกําจัก HCl

53 of 100
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :


ขอที่ : 234
วิธีใดใชในการแยกเถาลอยออกจากกาซจากการเตาเผา

น่ า

คําตอบ 1 : Granular filtration


คําตอบ 2 : Baghouse filter
คําตอบ 3 : Filter press

มจ
า้
คําตอบ 4 : ใชไดทุกวิธีที่กลาวมา

ขอที่ : 235
ิธ์ ห
ส ิท
ง ว น
อ ส
กร ข
คําตอบ 1 :


ิ ว
าว
คําตอบ 2 :


คําตอบ 3 :

คําตอบ 4 :

54 of 100
ขอที่ : 236
การทดสอบการชะละลายเพื่อตรวจสอบสมบัติหรือลักษณะการเปนของเสียอันตราย (TCLP) ตามขอกําหนดของ US EPA โดยใชกรดอะซิติก (Acetic acid) เปนน้ําชะละลาย นั้น
เปนการจําลองสถานการณใด
คําตอบ 1 : การเทของเสียอันตรายรวมกับขยะจากบานเรือน
คําตอบ 2 : การเทของเสียอันตรายใน monofill
คําตอบ 3 : การทิ้งบนดิน
คําตอบ 4 : การทิ้งในแมน้ําลําคลอง

ขอที่ : 237
่ า ย
การทํา Solidification กากของเสียอันตรายกอนนําไปกําจัด มีวัตถุประสงคเพื่อ

หน

คําตอบ 1 : ลดปริมาตรของของเสีย เพื่อประหยัดพื้นที่ในการกําจัด


คําตอบ 2 : ลดการถูกชะของสารพิษดวยน้ําที่ไหลผานหลุมฝงกลบ เพื่อปองกันการปนเปอนแหลงน้ํา
คําตอบ 3 : ทําใหสารอันตรายเสถียรขึ้น ไมสามารถเปลี่ยนรูปใหเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอมไดอีก

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : เปลี่ยนรูปของสารที่อยูในสภาพที่เปนพิษ ใหไมเปนพิษ

ิท
ขอที่ : 238


ขอใดไมมีสวนเกี่ยวของกับ Solidification เลย


คําตอบ 1 : Filtration
คําตอบ 2 : Portland Cement

ง ว

คําตอบ 3 : Immobilization


คําตอบ 4 : Leaching

ขอที่ : 239

กร ข

ิ ว
ของเสียอันตรายที่หลอใหเปนกอนแข็งกอนนําไปฝงกลบไมจําเปนตองทดสอบลักษณะสมบัติขอใด

าว
คําตอบ 1 : Hardness
คําตอบ 2 : Compressive Strength


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 : ภ Leachability
Density

ขอที่ : 240
กระบวนการบําบัดและกําจัดของเสียที่มีโลหะหนักละลายปนเปอนอยูไดแก
คําตอบ 1 : Coagulation + Sedimentation + Solidification + Landfill
55 of 100
คําตอบ 2 : Precipitation + Sedimentation + Solidification + Landfill
คําตอบ 3 : Activated Sludge + Precipitation + Landfill
คําตอบ 4 : Neutralization + Coagulation + Sedimentation + Landfill

ขอที่ : 241
ขอใดไมไชวัตถุประสงคในการนํากากอุตสาหกรรมอันตรายมาปรับเสถียรและทําเปนกอนแข็ง
คําตอบ 1 : เพื่อลดความเปนพิษของกากอุตสาหกรรมอันตราย
คําตอบ 2 : เพื่อนํากากอุตสาหกรรมกลับมาใชในกระบวนการผลิตใหม
คําตอบ 3 : เพื่อลดอัตราการปลดปลอยสารพิษของกากอุตสาหกรรมอันตราย

่ า ย

คําตอบ 4 : เพื่อบําบัดกากอุตสาหกรรมอันตรายกอนนําไปฝงกลบ

ขอที่ : 242

จ ำ ห

ขอใดกลาวผิด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : กากอุตสาหกรรมอันตรายที่เปนสารอนินทรีย เชน เถาลอยที่มีโลหะหนัก สามารถนําไปฝงกลบไดเลย โดยไมตองผานการปรับเสถียรและทําเปนกอนแข็ง
คําตอบ 2 : การปรับเสถียรไมสามารถประยุกตใชกับการฟนฟูพื้นดินปนเปอนสารมลพิษในบริเวณกวาง
คําตอบ 3 : กากที่ผานกระบวนการปรับเสถียรและทําเปนกอนแข็งจะสามารถซึมผาน้ําไดดีขึ้น

ิท
คําตอบ 4 : กลาวผิดทุกขอ

นส

ขอที่ : 243


ขอใดจัดเปนกลไกการปรับเสถียรและทําเปนกอนแข็ง
คําตอบ 1 :

อ ส
Macroencapsulation และ Microencapsulation


คําตอบ 2 : Adsorption และ Absorption

กร
คําตอบ 3 : Precipitation


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 244

าว ศ


สารในขอใดเหมาะสําหรับการปรับเสถียรและทําเปนกอนแข็งกากปนเปอนน้ํามันที่สุด


คําตอบ 1 : ซีเมนต
คําตอบ 2 : ปูนขาว
คําตอบ 3 : ดินเหนียวดัดแปลง
คําตอบ 4 : Pozzolans

ขอที่ : 245 56 of 100


ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการปรับเสถียรและทําเปนกอนแข็งโดยใชซีเมนต
คําตอบ 1 : ไมเหมาะกับกากปนเปอนโลหะหนัก
คําตอบ 2 : ไมเหมาะกับกากปนเปอนสารทําละลายอินทรีย
คําตอบ 3 : ไมสามารถบําบัดกรดได
คําตอบ 4 : ไมเหมาะกับกากที่มีความชื้นสูง

ขอที่ : 246

่ า ย
ขอใดไมใชเกณฑที่ใชในการบงสภาพความเสถียรของของเสีย


คําตอบ 1 : ความแข็งแรงของของเสียหลังการปรับเสถียร


คําตอบ 2 : ความสามารถในการยอมใหน้ําซึมผาน


คําตอบ 3 : ไมมีขอใดถูก
คําตอบ 4 :

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 247
ขอใดไมใชกลไกที่ใชในการปรับเสถียรของเสียอันตราย

ิท
คําตอบ 1 : Adsorption


คําตอบ 2 : Coagulation

ว น
คําตอบ 3 : Precipitation


คําตอบ 4 : Encapsulation

อ ส

ขอที่ : 248

กร
ขอใดตอไปนี้เปนเกณฑที่สําคัญที่สุดในการคัดเลือกพื้นที่สําหรับการฝงกลบของเสียอันตราย


คําตอบ 1 : ระยะหางระหวางแหลงกําเนิดของเสียและพื้นที่ฝงกลบ



คําตอบ 2 : สภาพทางธรณีวิทยาของพื้นที่ฝงกลบ

าว
คําตอบ 3 : สภาพภูมิประเทศของพื้นที่ฝงกลบ


คําตอบ 4 : ระบบนิเวศวิทยาในบริเวณพื้นที่ฝงกลบ

ขอที่ : 249

ขอใดไมใชมลพิษที่เกิดจากการเตาเผาขยะ
คําตอบ 1 : กาซกรด
คําตอบ 2 : โลหะหนัก
คําตอบ 3 : ไดออกซิน
57 of 100
คําตอบ 4 : ไบโอติน
ขอที่ : 250
ในการจัดแบงประเภทของเสียอันตราย ขอใดไมใชของเสียที่เปนกาซติดไฟไดงาย
คําตอบ 1 : LPG
คําตอบ 2 : Hydrogen
คําตอบ 3 : Butadiene


คําตอบ 4 : Xenon

น่ า

ขอที่ : 251


ตะกอนโลหะหนักชนิดใดที่ตองเปลี่ยนรูปใหเปนโลหะซัลไฟดกอนเขาสูกระบวนการทําใหเปนกอนตอไป
คําตอบ 1 : อารเซนิค

มจ
า้
คําตอบ 2 : โครเมียม

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : แมงกานีส
คําตอบ 4 : ปรอท

ขอที่ : 252

ส ิท

สารเคมีชนิดใดนิยมใชในกระบวนการปรับเสถียรของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : โซเดียมไฮดรอกไซด

ง ว

คําตอบ 2 : โซเดียมไฮโปคลอไรท


คําตอบ 3 : แคลเซียมออกไซด
คําตอบ 4 : ไฮโดรเจนเปอรออกไซด

กร ข
ขอที่ : 253


ิ ว
าว
การกําจัดตะกอนที่มีแคดเมียมปนเปอนตองเติมสารเคมีชนิดใด เพื่อใหอยูในรูปตะกอนที่ไมละลายน้ํา


คําตอบ 1 : ปูนขาว


คําตอบ 2 : ไฮโดรเจนเปอรออกไซด
คําตอบ 3 : ไฮโดรเจนซัลไฟด
คําตอบ 4 : โซเดียมไฮโปคลอไรท

ขอที่ : 254
สารประกอบของโลหะหนักชนิดใดมีสถานะที่เสถียร เมื่อหลอใหเปนกอนแข็งกอนนําไปฝงกลบ
58 of 100
คําตอบ 1 : ปรอทไฮดรอกไซด
คําตอบ 2 : ปรอทซัลไฟด
คําตอบ 3 : แคดเมียมไฮดรอกไซด
คําตอบ 4 : โครเมียมไซยาเนต

ขอที่ : 255
ของเสียอันตรายที่หลอใหเปนกอนแข็งกอนนําไปฝงกลบตองมีลักษณะสมบัติเชนใด
คําตอบ 1 : ผายเกณฑมาตรฐาน TCLP

่ า ย

คําตอบ 2 : มีลักษณะสมบัติเปนกลาง


คําตอบ 3 : มีคากําลังรับแรงอัดมากกวา 50 Ksc


คําตอบ 4 : น้ําไมสามารถซึมผานได

มจ
า้
ขอที่ : 256

ิธ์ ห
คาสัดสวนน้ําตอซีเมนต (w/c) ที่นิยมใชในการหลอของเสียอันตรายใหเปนกอนแข็งมีคาเทาใด
คําตอบ 1 : 0.25

ิท
คําตอบ 2 : 0.50


คําตอบ 3 : 0.75

ว น
คําตอบ 4 : 1.00

ส ง

ขอที่ : 257


ของเสียชนิดใดใชผสมกับของเสียอันตรายในกระบวนการหลอใหเปนกอนแข็งได

กร
คําตอบ 1 : ตะกอนของเสียอุตสาหกรรม


คําตอบ 2 : เถาลอย



คําตอบ 3 : ตะกอนน้ําเสียชุมชน

าว
คําตอบ 4 : ตะกอนจากระบบแอนแอโรบิก

ขอที่ : 258

ส ภ
ปฏิกิริยาที่เกิดในกระบวนการหลอของเสียอุตสาหกรรมดวยซีเมนต คือขอใด
คําตอบ 1 : Neutralization
คําตอบ 2 : Oxidation
คําตอบ 3 : Pozzolanic
คําตอบ 4 : Reduction
59 of 100
ขอที่ : 259
เหตุใดการทําเสถียรและการทําเปนกอน จึงไมเหมาะสมกับของเสียที่เปนสารอินทรีย
คําตอบ 1 : อาจกอใหเกิดการระเหย
คําตอบ 2 : ขัดขวางการแข็งตัว
คําตอบ 3 : ทําใหเกิดรูพรุน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 260


โลหะหนักในขอใดที่ตองมีการปรับเสถียรกอน การทําเปนกอน


คําตอบ 1 : ตะกั่ว
คําตอบ 2 : นิกเกิล

มจ
า้
คําตอบ 3 : โครเมียม

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 261


มาตรฐานกําลังรับแรงอัดของสิ่งปฏิกูลที่ผานกระบวนการทําใหเปนกอนแข็งตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540)

ว น
คําตอบ 1 : ไมต่ํากวา 15 กิโลกรัม ตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 2 : ไมต่ํากวา 1.5 กิโลกรัม ตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : ไมต่ํากวา 35 กิโลกรัม ตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 4 : ไมต่ํากวา 3.5 กิโลกรัม ตอลูกบาศกเมตร

กร ข

ขอที่ : 262



มาตรฐานความหนาแนนของสิ่งปฏิกูลที่ผานกระบวนการทําใหเปนกอนแข็งตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540)

าว
คําตอบ 1 : ไมต่ํากวา 1.15 ตัน ตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 2 : ไมต่ํากวา 11.5 ตัน ตอลูกบาศกเมตร


คําตอบ 3 : ไมต่ํากวา 11.5 กิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
คําตอบ 4 : ไมต่ํากวา 1.15 กิโลกรัม ตอลูกบาศกเมตร

ขอที่ : 263
การทําเสถียรหลอดฟลูออเรสเซนสที่ใชแลว ตองใชสารเคมีประเภทใด
คําตอบ 1 : คลอไรด
60 of 100
คําตอบ 2 : ไฮดรอกไซด
คําตอบ 3 : ซัลไฟด
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 264
ขอใดตอไปนี้เปนกลไกที่เกิดขึ้นในการทําเสถียรและทําใหเปนกอน (stabilization/solidification)
คําตอบ 1 : การดูดซับ (adsorption)
คําตอบ 2 : การดูดซึม (absorption)

่ า ย

คําตอบ 3 : การคลุมจับ (encapsulation)


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ : 265

า้
สารในขอใดตอไปนี้ ที่สามารถใชเปนตัวประสาน (binder) ในการทําเสถียรและทําใหเปนกอน (stabilization/solidification) ได

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ซีเมนต
คําตอบ 2 : ดินเหนียว

ิท
คําตอบ 3 : เถาลอยถานหิน


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 266

ง ว น
อ ส
ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง เกี่ยวกับการทําเสถียรและทําใหเปนกอน (stabilization/solidification)


คําตอบ 1 : สวนใหญจะใชปูนซีเมนต

กร
คําตอบ 2 : ไมเหมาะในการบําบัดการปนเปอนสารอินทรีย


คําตอบ 3 : สามารถบําบัดการปนเปอนโลหะหนักไดทุกชนิด



คําตอบ 4 : ใชพลาสติก เชน โพลีเอธิลีนได

ขอที่ : 267

ภ าว

ในการทําเสถียรและทําใหเปนกอนโดยใชปูนซีเมนตนั้น สารประกอบใดในซีเมนตที่สรางความแข็งแรง เมื่อทําปฏิกิริยากับน้ํา
คําตอบ 1 : แคลเซียมออกไซด
คําตอบ 2 : แคลเซียมซัลเฟต
คําตอบ 3 : แคลเซียมคารบอเนต
คําตอบ 4 : แคลเซียมซิลิเกต

61 of 100
ขอที่ : 268
ในการทําเสถียรและทําใหเปนกอนโดยใชปูนซีเมนตนั้น วัสดุใดที่สามารถชวยสรางความแข็งแรง เมื่อทําปฏิกิริยากับแคลเซียมไฮดรอกไซดที่เกิดจากปฏิกิริยาไฮเดรชันของปูนซีเมนต
กับน้ํา
คําตอบ 1 : ปอซโซลาน
คําตอบ 2 : มวลรวม
คําตอบ 3 : หินปูน
คําตอบ 4 : ไฟเบอรกลาส

ขอที่ : 269
่ า ย

ในการทําเสถียรและทําใหเปนกอนโดยใชปูนซีเมนตนั้น สารอนินทรียใดที่จําเปนตองผานกระบวนการทําเสถียรโดยใชสารเคมีกอน


คําตอบ 1 : Pb


คําตอบ 2 : Cr (III)
คําตอบ 3 : Cr (VI)

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Se

ิท
ขอที่ : 270


ในการบําบัดของเสียที่มีโลหะหนักดวยการตกตะกอนนั้น โลหะหนักใดที่จําเปนตองผานกระบวนการทําเสถียรโดยใชสารเคมีกอน


คําตอบ 1 : Pb
คําตอบ 2 : Ba

ง ว

คําตอบ 3 : As (III)


คําตอบ 4 : As (V)

ขอที่ : 271

กร ข

ิ ว
อะไรคือขอเสียของการบําบัดแบบ Solidification

าว
คําตอบ 1 : ราคาแพง
คําตอบ 2 : เกิด Sludge


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ ไมเหมาะสําหรับขยะอินทรีย
ถูกทุกขอ

ขอที่ : 272
วัสดุขอใดที่มักใชในการจัดการขยะอันตรายใหอยูในสภาวะเสถียร
คําตอบ 1 : Portland cement
62 of 100
คําตอบ 2 : Pozzolans
คําตอบ 3 : Lime
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 273
ขอใดเปนกลไกที่ทําใหขยะอันตรายอยูในสภาวะเสถียร (Stabilization)
คําตอบ 1 : Macroencapsulation
คําตอบ 2 : Precipitation
คําตอบ 3 : Detoxification

่ า ย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 274

จ ำ ห

ขอพิจารณาในการเลือกใชวิธีการในการบําบัดและกําจัดของเสียอันตรายขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียที่มีโครงสรางทางเคมีแบบแขนงจะถูกดูดซับไดงายกวาแบบเสนตรง
คําตอบ 2 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียที่แตกตัวไดนอยจะถูกดูดซับไดดีกวาสารอินทรียที่แตกตัวไดมาก
คําตอบ 3 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียที่มีน้ําหนักโมเลกุลนอยจะถูกดูดซับไดดีกวาสารอินทรียที่มีน้ําหนักโมเลกุลมาก

ิท
คําตอบ 4 : ของเสียอันตรายที่เปนสารอินทรียที่ละลายน้ําไดนอยจะถูกดูดซับไดดีกวาสารอินทรียที่มีละลายน้ําไดดี

นส

ขอที่ : 275


สารใดตอไปนี้มีคา Kd (คาสัมประสิทธิ์การกระจายในดิน) สูงสุด
คําตอบ 1 : Benzene

อ ส

คําตอบ 2 : Chlorobenzene

กร
คําตอบ 3 : 1,2,3,5- tetrachlorobenzene


คําตอบ 4 : Pentachlorobenzene

ขอที่ : 276

าว ศ


จงพิจารณาคา Kow ของสารตอไปนี้ และบอกวาสารใดถูกดูดซับดวยดินไดมากที่สุด


คําตอบ 1 : 2,3,7,8-TCDD, log Kow = 6.64
คําตอบ 2 : Naphthalene, log Kow = 3.36
คําตอบ 3 : Trichloroethene, log Kow = 2.42
คําตอบ 4 : Benzene, log Kow = 2.13

ขอที่ : 277 63 of 100


สิ่งที่ตองใหความสําคัญมากที่สุดในการฝงกลบของเสียอันตรายคือขอใด
คําตอบ 1 : กาซมีเทนที่เกิดขึ้น
คําตอบ 2 : การทรุดตัวของพื้นที่หลังการฝงกลบ
คําตอบ 3 : การปนเปอนของน้ําใตดิน
คําตอบ 4 : กลิ่น และพาหะนําโรค

ขอที่ : 278

่ า ย
ขอใดคือคุณสมบัติสําคัญของ Secure Landfill


คําตอบ 1 : มีชั้นกันซึมรองพื้นหลุมอยางนอย 2 ชั้น


คําตอบ 2 : มีทอระบายน้ําชะขยะเฉพาะชั้นกันซึมชุดลางสุด


คําตอบ 3 : ทอระบายน้ําชะขยะตองทําดวยกระเบื้องเทานั้นเพื่อกันการกัดกรอน
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 279
Recharge Well หมายถึงขอใด

ิท
คําตอบ 1 : บอที่ใชดูดน้ําใตดินที่ถูกปนเปอนขึ้นมาเพื่อนํามาบําบัด


คําตอบ 2 : บอที่ใชอัดน้ําเสียอันตรายที่บําบัดแลวสูชั้นใตดิน

ว น
คําตอบ 3 : บอน้ําใตดินชั้น Confined Aquifer ที่ใชเปนบอน้ําเพื่อการอุปโภคเทานั้น


คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ

อ ส

ขอที่ : 280

กร
ขอใดไมจัดเปนการกําจัดแบบ Land Disposal


คําตอบ 1 : Landfill



คําตอบ 2 : Injection Well

าว
คําตอบ 3 : Drying Bed


คําตอบ 4 : Waste Piles

ขอที่ : 281

ของเสียจากโรงงานปโตรเลียมไมเหมาะจะจัดการดวยวิธีใด
คําตอบ 1 : Conventional Anaerobic Digestion
คําตอบ 2 : Land Farming
คําตอบ 3 : Augmented Activated Sludge
64 of 100
คําตอบ 4 : มีคําตอบที่ถูกมากกวา 1 ขอ
ขอที่ : 282
Secure Landfill เหมาะกับขยะประเภทใด
คําตอบ 1 : ขยะประเภทกระดาษ
คําตอบ 2 : ขยะจากครัวเรือน
คําตอบ 3 : ขยะจากตลาดสด


คําตอบ 4 : ขยะประเภทภาชนะบรรจุสารเคมี

น่ า

ขอที่ : 283


ขอใดตอไปนี้ไมไดเกี่ยวของกับการเกิดน้ําชะขยะใน landfill
คําตอบ 1 : Precipitation

มจ
า้
คําตอบ 2 : Evaporation

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : Transpiration
คําตอบ 4 : Groundwater

ขอที่ : 284

ส ิท

แผนพลาสติกที่ใชปูดาดในหลุมฝงกลบของเสียอันตรายไดแก
คําตอบ 1 : High Density Polypropylene

ง ว

คําตอบ 2 : High Density Polyethylene


คําตอบ 3 : Low Density Polypropylene
คําตอบ 4 : Low Density Polyethylene

กร ข
ขอที่ : 285


ิ ว
าว
กาซที่เกิดจากหลุมฝงกลบไดแกขอใด


คําตอบ 1 : โอโซน


คําตอบ 2 : ไนโตรเจน
คําตอบ 3 : มีเทน
คําตอบ 4 : ไดออกซิน

ขอที่ : 286
ขอใดที่ไมควรพบในหลุมฝงกลบขยะอันตราย
65 of 100
คําตอบ 1 : Double layer Liner System
คําตอบ 2 : Leachate control system
คําตอบ 3 : Enriched gas เชน Methane
คําตอบ 4 : Cover system

ขอที่ : 287
กระบวนการบําบัดและฟนฟูพื้นที่ที่ถูกปนเปอนในขอใด ที่สามารถทําในดิน ณ จุดที่ถูกปนเปอนนั้นเลยได (in-situ remediation)
คําตอบ 1 : การเผา (Incineration)

่ า ย

คําตอบ 2 : รีเวอรส ออสโมซิส (Reverse osmosis)


คําตอบ 3 : การสกัดไอระเหยจากดิน (Soil vapor extraction)


คําตอบ 4 : การลางดิน (Soil washing)

มจ
า้
ขอที่ : 288

ิธ์ ห
Superfund เปนกองทุนที่จัดตั้งในสหรัฐอเมริกามีวัตถุประสงคเพื่อขอใด
คําตอบ 1 : ชวยเหลือผูประสบภัยจากอุบัติภัยที่เกิดจากสารอันตราย

ิท
คําตอบ 2 : ใชเปนคาใชจายในการทําความสะอาดพื้นที่ที่ปนเปอนสารอันตรายที่ไมสามารถหาผูรับผิดชอบได


คําตอบ 3 : จัดตั้งหนวยงานตอบโตอุบัติภัยกรณีฉุกเฉินจากสารอันตราย

ว น
คําตอบ 4 : ชวยเหลือประเทศยากจนที่มีปญหาสิ่งแวดลอมที่ถูกปนเปอนดวยสารอันตราย

ส ง

ขอที่ : 289


In-Situ Treatment หมายถึงขอใด

กร
คําตอบ 1 : การบําบัดของเสียอันตรายที่ใชเทคโนโลยีที่ล้ํายุค


คําตอบ 2 : การบําบัดของเสียอันตรายในโรงบําบัดที่ปดมิดชิดเพื่อกันการรั่วไหลของสารอันตราย



คําตอบ 3 : การบําบัดของเสียภายในบริเวณพื้นที่ที่เปนแหลงกําเนิดของเสียนั้น

าว
คําตอบ 4 : การบําบัดและกําจัดของเสียอันตราย ณ จุดที่เปนพื้นที่ที่ปนเปอนสารอันตราย

ขอที่ : 290

ส ภ
การทํา Containment หมายถึงขอใด
คําตอบ 1 : การปองกันการซึมของสารอันตรายสูชั้นใตดิน
คําตอบ 2 : ภาชนะที่จัดเตรียมพิเศษสําหรับบรรจุของเสียอันตรายกอนนําไปกําจัด
คําตอบ 3 : ภาชนะใสสารดูดซับของเสียอันตรายกรณีเกิดการหกหลน หรือรั่วไหล
คําตอบ 4 : ถังบําบัดของเสียอันตรายดวยวิธีทางเคมี
66 of 100
ขอที่ : 291
ขอใดเปน การทํา Containment
คําตอบ 1 : Excavation
คําตอบ 2 : Ground Water Pumping
คําตอบ 3 : Bioremediation
คําตอบ 4 : Grout Curtain

่ า ย

ขอที่ : 292


ขอใดเปน การทํา Bioremediation


คําตอบ 1 : การเติมจุลินทรียพิเศษลงในดินที่ถูกปนเปอนเพื่อทําลายสารพิษในดิน
คําตอบ 2 : การเติมสารอาหารใหจุลินทรียที่มีอยูแลวในดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทําลายสารพิษของจุลินทรีย

มจ
า้
คําตอบ 3 : การเติมอากาศใหกับจุลินทรียที่มีอยูแลวในดินหรือชั้นน้ําใตดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทําลายสารพิษของจุลินทรีย

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ิท
ขอที่ : 293


Extraction Well หมายถึงขอใด

ว น
คําตอบ 1 : บอที่ใชสําหรับบําบัดน้ําเสียอันตราย ดวยการดูดสารอันตรายออกจากน้ํา


คําตอบ 2 : บอที่ใชอัดน้ําดีเพื่อเจือจางน้ําใตดินที่ถูกปนเปอนใหอยูในมาตรฐานที่ยอมรับได


คําตอบ 3 : บอที่ใชดูดน้ําใตดินที่ถูกปนเปอนขึ้นมาเพื่อนําไปบําบัด


คําตอบ 4 : บอที่ใชอัดน้ําเสียอันตรายที่บําบัดแลวสูชั้นใตดิน

กร ข

ขอที่ : 294



ในการสกัดสารระเหยงายออกจากดินสิ่งที่ขาดไมไดคือขอใด

าว
คําตอบ 1 : การบําบัดกาซหรือไอของสารปนเปอนกอนปลอย


คําตอบ 2 : สํารวจวาความดันปมคงที่หรือไม


คําตอบ 3 : เปลี่ยนตัวทําละลายที่ใชสกัด
คําตอบ 4 : นําไประเหยเอาไอน้ําออกใหหมด

ขอที่ : 295
ขอใดไมใชขอดีของการนําขึ้นมากําจัด
คําตอบ 1 : สามารถเลือกวิธีกําจัดไดงาย
67 of 100
คําตอบ 2 : มีแนวโนมที่จะกําจัดไดงาย
คําตอบ 3 : ไมกอใหเกิดมลพิษบริเวณพื้นดิน
คําตอบ 4 : รูถึงประสิทธิภาพที่แทจริงของการบําบัด

ขอที่ : 296
ขอใดไมใชตะกอนผลึกอนินทรียที่เกิดจากกระบวนการตกตะกอน(precipitation)
คําตอบ 1 : hydroxides
คําตอบ 2 : silicates

่ า ย

คําตอบ 3 : glaciate


คําตอบ 4 : carbonates

จ ำ

ขอที่ : 297
ในประเทศไทย พบของเสียอันตรายประเภทใดมากที่สุด

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ตะกอนและของแข็งโลหะหนัก
คําตอบ 2 : ตัวทําละลาย (solvent)

ิท
คําตอบ 3 : น้ําเสียลางอัดรูป


คําตอบ 4 : ขยะติดเชี้อ

ขอที่ : 298

ง ว น
อ ส
ในการบําบัดของเสียอันตรายดวยวิธีทางชีวภาพ (Bioremediation) ที่ปนเปอนในชั้นดินถาหาก พบวาคา permeability ของชั้นดินมีคาสูงควรจะเลือกการบําบัดอยางไร


คําตอบ 1 : In situ

กร
คําตอบ 2 : Ex situ


คําตอบ 3 : Out situ



คําตอบ 4 : Above situ

ขอที่ : 299

ภ าว

ระดับของเครื่องปองกันภัยสวนบุคคล ตามขอกําหนดของ USEPA ทีมีการปองกันสูงสุด มีทางผิวหนัง ระบบการหายใจ และตา คือระดับในขอใด
คําตอบ 1 : A
คําตอบ 2 : B
คําตอบ 3 : C
คําตอบ 4 : D

68 of 100
ขอที่ : 300
กระบวนการในขอใดตอไปนี้ ที่เปนการใหความรอนที่ไมสูงแก ดิน สลัดจ ตะกอนที่ปนเปอน เพื่อระเหยสารอินทรียระเหยงาย (Volatile organic compound) ออกโดยไมทําใหเกิด
การเผาไหม
คําตอบ 1 : Air sparging
คําตอบ 2 : Soil venting
คําตอบ 3 : Thermal desorption
คําตอบ 4 : Catalytic oxidation

ขอที่ : 301
่ า ย
ขอใดเปนกระบวนการบําบัดฟนฟูที่ปนเปอน โดยใชกระบวนการทางธรรมชาติในการเก็บกักและลดปริมาณความปนเปอนลง

หน

คําตอบ 1 : Natural Attenuation


คําตอบ 2 : Natural Elimination
คําตอบ 3 : Self Purification

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 4 : Conservation

ิท
ขอที่ : 302


ในการเผาไหมของเสียอันตรายใหสมบูรณ ขึ้นกับปจจัยใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : เวลา
คําตอบ 2 : ความปนปวน

ง ว

คําตอบ 3 : อุณหภูมิ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 303

กร ข

ิ ว
ในการปฏิบัติงานในการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนในที่จํากัด ผูปฏิบัติตองใชถังอากาศ (Self Containated Breathing Apparatus, SCBA) หรือทอจายอากาศ เมื่อออกซิเจนมี

าว
ปริมาณต่ํากวาเทาใด
คําตอบ 1 : 23%


คําตอบ 2 : 21%


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
19%
18%

ขอที่ : 304
ในการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนเมื่อตองเขาไปสํารวจอาคารที่เก็บถังสารเคมีที่ไมทราบชนิด ผูปฏิบัติงานตองใสชุดปองกันสวนบุคคล (Personal Protective Equipment) ระดับใด
คําตอบ 1 : A 69 of 100

คําตอบ 2 : B
คําตอบ 3 : C
คําตอบ 4 : D

ขอที่ : 305
วิธีการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนในขอใด ที่เปนวิธีที่ไดรับการยอมรับ ใชมานานและมีขอมูลประกอบการตัดสินใจมาก (Established technology)
คําตอบ 1 : Phytoremediation
คําตอบ 2 : Pump and treat

่ า ย

คําตอบ 3 : Microwave extraction


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ : 306

า้
การบําบัดฟนฟูพื้นที่ในพื้นที่ที่ปนเปอนดวย Benzene ที่มีดินเปนดินรวนปนทราย ในขอใดเหมาะสมที่สุด

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : In-situ Stabilization/Solidification
คําตอบ 2 : Thermal desorption

ิท
คําตอบ 3 : In-situ vartification


คําตอบ 4 : Soil Vapor extraction

ขอที่ : 307

ง ว น
อ ส
ในการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอน การขุดดินปนเปอนขึ้นมาเพื่อทําการบําบัดแบบ ex-situ จะกอใหเกิดผลกระทบในขอใด


คําตอบ 1 : คาใชจายสูง

กร
คําตอบ 2 : เกิดปญหาเนื่องจากฝุน


คําตอบ 3 : ทําใหสารปนเปอนระเหยสูบรรยากาศ



คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 308

ภ าว

ชั้นดินที่ชุมดวยน้ําบาดาล เรียกวาอยางไร
คําตอบ 1 : Vadose zone
คําตอบ 2 : Saturated zone
คําตอบ 3 : Aquifer
คําตอบ 4 : Aquitard

70 of 100
ขอที่ : 309
ชั้นดินที่อยูเหนือระดับน้ําบาดาลและไมอิ่มตัวหรือชุมน้ําบาดาล เรียกวาอยางไร
คําตอบ 1 : Vadose zone
คําตอบ 2 : Saturated zone
คําตอบ 3 : Aquifer
คําตอบ 4 : Aquitard

่ า ย
ขอที่ : 310


ดินชนิดใดตอไปนี้มี Hydraulic conductivity ต่ําสุด


คําตอบ 1 : ดินเหนียว


คําตอบ 2 : ดินรวน
คําตอบ 3 : ดินทราย

มจ
า้
คําตอบ 4 : กรวด

ขอที่ : 311
ิธ์ ห
ิท
จงเรียงลําดับความสําคัญในการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอน จากมากไปนอย


คําตอบ 1 : น้ําบาดาล น้ําผิวดินปนเปอน ดินปนเปอน

ว น
คําตอบ 2 : ถังสารเคมีรั่ว ดินปนเปอน น้ําบาดาลปนเปอน


คําตอบ 3 : ดินปนเปอน ถังสารเคมีรั่ว น้ําบาดาลปนเปอน


คําตอบ 4 : น้ําผิวดินปนเปอน น้ําบาดาลปนเปอน ดินปนเปอน

ขอ
กร
ขอที่ : 312


ขอใดเปนขั้นตอนในการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนสารอันตราย



คําตอบ 1 : การปลอยใหธรรมชาติบําบัด โดยมีการตรวจติดตามและดูแล

าว
คําตอบ 2 : การจํากัดหรือกําหนดการใชประโยชนที่ดิน


คําตอบ 3 : การตรวจภาพถายทางอากาศในอดีต ของบริเวณที่มีการปนเปอน


คําตอบ 4 : มีคําตอบถูกมากกวา 1 ขอ

ขอที่ : 313
ขอใดเปนการบําบัดดินปนเปอน โดยใชความรอนสูงมากในการทําใหกลายเปนแกว
คําตอบ 1 : Thermal destruction
คําตอบ 2 : Thermal desorption
71 of 100
คําตอบ 3 : Vitrification
คําตอบ 4 : Soil vapor extraction

ขอที่ : 314
ขอใดเปนการบําบัดดินปนเปอน โดยใชความรอนในการเผาไหมสารอินทรียระเหยงายและกึ่งระเหยงาย
คําตอบ 1 : Thermal destruction
คําตอบ 2 : Thermal desorption
คําตอบ 3 : Vitrification

่ า ย

คําตอบ 4 : Soil vapor extraction

ขอที่ : 315

จ ำ ห

ขอใดเปนการบําบัดดินปนเปอน โดยใชความรอนในการระเหยสารอินทรียระเหยงายและกึ่งระเหยงายออกจากดินที่ปนเปอนนั้น

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Thermal destruction
คําตอบ 2 : Thermal desorption
คําตอบ 3 : Vitrification

ิท
คําตอบ 4 : Soil vapor extraction

นส

ขอที่ : 316


สารในขอใดเมื่อปนเปอนในดินและน้ําบาดาลจะเกิด Light Aqueous Phase Liquid (LNAPL)
คําตอบ 1 : ไตรคลอโรอีธีน (TCE)

อ ส

คําตอบ 2 : เบนซีน (Benzene)

กร
คําตอบ 3 : โครเมียม (Chromium)


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 317

าว ศ


สารในขอใดเมื่อปนเปอนในดินและน้ําบาดาลจะเกิด Dense Aqueous Phase Liquid (DNAPL)


คําตอบ 1 : ไตรคลอโรอีธีน (TCE)
คําตอบ 2 : เบนซีน (Benzene)
คําตอบ 3 : โครเมียม (Chromium)
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 318 72 of 100


ขอใดตอไปนี้ผิด เกี่ยวกับการบําบัดดินที่ปนเปอนแบบ ex-situ bioremediation
คําตอบ 1 : โดยทั่วไปแลว จะใชเวลาในการบําบัดนอย
คําตอบ 2 : โดยทั่วไปแลว จะมีคาใชจายสูง
คําตอบ 3 : อาจมีประสิทธิภาพไมดี ในการบําบัดดินที่แบงชั้นมาก
คําตอบ 4 : อาจใชกระบวนการหมัก (composting)

ขอที่ : 319

่ า ย
การบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนแบบใดตอไปนี้ เปนการบําบัดโดยใชพืช


คําตอบ 1 : Bioventing


คําตอบ 2 : Phytoremediation


คําตอบ 3 : Soil flushing
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 320
การบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนแบบใดตอไปนี้ เปนการบําบัดโดยใชไฟฟาความตางศักยสูง ทําใหสิ่งที่ถูกปนเปอน เชน ดิน กลายเปนแกว ซึ่งจะคลุมทับสิ่งปนเปอนไว

ิท
คําตอบ 1 : solidification


คําตอบ 2 : chemical extraction

ว น
คําตอบ 3 : vitrification


คําตอบ 4 : incineration

อ ส

ขอที่ : 321

กร
ถาพบวา soil distribution coefficient (Kd) ของ Cr(VI) ในหนาดินที่ปนเปอนดวยกรดโครมิกมีคา 0.63 mL/g หนาดินนี้จะเปนแหลงที่ทําใหน้ําบาดาลปนเปอนจากการซึมชะของ
น้ําฝนหรือไม
คําตอบ 1 :


ิ ว
ใช เนื่องจาก Cr(VI) จะถูกชะละลายไปอยางชาๆ

าว
คําตอบ 2 : ใช เนื่องจาก Cr(VI) จะถูกชะละลายไปอยางรวดเร็ว
คําตอบ 3 : ไมใช เนื่องจาก Cr(VI) จะไมถูกชะละลาย

ขอที่ :
คําตอบ 4 :

322 ส ภ ไมใช เนื่องจาก Cr(VI) จะถูกรีดิวซเปน Cr(III) อยางรวดเร็ว

ดินที่ปนเปอนดวยไซลีน (xylene) ในปริมาณ 3500 mg/kg จะตองใชเวลาบําบัดอยางนอยเทาใด เพื่อใหเหลือความปนเปอนของไซลีนในดิน 100 mg/kg เมื่อการยอยสลายทาง
ชีวภาพมีคาคงที่อัตราเร็วของปฏิกิริยาอันดับที่หนึ่ง เทากับ 0.032 /วัน
คําตอบ 1 : 36 วัน
คําตอบ 2 : 114 วัน 73 of 100

คําตอบ 3 : 235 วัน


คําตอบ 4 : 479 วัน

ขอที่ : 323
ในการ กระบวนการใดตอไปนี้ที่เปนการเปาอากาศลงไปในชั้นน้ําบาดาล เพื่อไลใหสารเคมีระเหยงายหรือกึ่งระเหยงายออกจากน้ําบาดาลนั้น
คําตอบ 1 : Air stripping
คําตอบ 2 : Air sparging
คําตอบ 3 : aeration

่ า ย

คําตอบ 4 : soil venting

ขอที่ : 324

จ ำ ห

ขอใดตอไปนี้ผิด เกี่ยวกับการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนดวยวิธี soil vapor extraction

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : เหมาะสมในการบําบัดสารระเหยงายและกึ่งระเหยงาย
คําตอบ 2 : ใชเครื่องเปาอากาศ (blower) หรือ เครื่องดูดอากาศ (vacuum pump)
คําตอบ 3 : เหมาะสมในการบําบัดพื้นที่ที่เปนดินเหนียว

ิท
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูกตอง

นส

ขอที่ : 325


ผลการวิเคราะหดินจากพื้นที่ปนเปอนของโรงงานที่ใชกรดโครมิก มีดังนี้

อ ส
กร ข

ิ ว
ภ าว

74 of 100

คําตอบ 1 : 0.50 mL/g


คําตอบ 2 : 0.59 mL/g
คําตอบ 3 : 0.63 mL/g
คําตอบ 4 : 0.70 mL/g

ขอที่ : 326
ขอใดเปนการบําบัดฟนฟูพื้นที่ที่ปนเปอนของเสียอันตรายแบบที่ทําในพื้นที่ (in-situ remediation)
คําตอบ 1 : Supercritical fluid extraction

่ า ย

คําตอบ 2 : Incineration


คําตอบ 3 : Soil vapor extraction


คําตอบ 4 : มีขอถูกมากกวา 1 ขอ

มจ
า้
ขอที่ : 327

ิธ์ ห
ขอใดเปนการบําบัดฟนฟูน้ําบาดาลที่ปนเปอนของเสียอันตรายแบบที่ทําในพื้นที่ (in-situ remediation)
คําตอบ 1 : Air sparging

ิท
คําตอบ 2 : Nutrient injection


คําตอบ 3 : Permeable reactive barrier

ว น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ส ง

ขอที่ : 328


ขอใดเปนการบําบัดฟนฟูพื้นที่ที่ปนเปอนของเสียอันตรายแบบที่ทํานอกพื้นที่ (ex-situ remediation)

กร
คําตอบ 1 : Air sparging


คําตอบ 2 : Bioventing



คําตอบ 3 : Permeable reactive barrier

าว
คําตอบ 4 : Thermal desorption

ขอที่ : 329

ส ภ
ขอใดเปนการบําบัดฟนฟูพื้นที่ที่ปนเปอนของเสียอันตรายแบบที่ทํานอกพื้นที่ (ex-situ remediation)
คําตอบ 1 : Landfarming
คําตอบ 2 : Slurry-phase reactor
คําตอบ 3 : Soil washing
คําตอบ 4 : ถูกมากกวาหนึ่งขอ
75 of 100
ขอที่ : 330
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการบําบัดฟนฟูพื้นที่ที่ปนเปอนของเสียอันตรายดวยวิธี in-situ bioremediation
คําตอบ 1 : ปริมาณออกซิเจนมักเปนตัวจํากัดอัตราเร็วปฏิกิริยา
คําตอบ 2 : สามารถใชไฮโดรเจน เปอรออกไซดในการเติมออกซิเจนได
คําตอบ 3 : เพื่อใหปฏิกิริยาดําเนินไปอยางรวดเร็ว อาจตองมีการเติมสารอาหารที่จําเปนดวย
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 331


ถาไตรคลอโรเอธิลีน (TCE) ที่ปนเปอนในน้ําใตดินมีการยอยสลายทางชีวภาพ และมีเวลาครึ่งชีวิต (half life) เทากับ 10 ป สมมติวาการยอยสลายนี้เปนแบบ exponential ไตรคลอ


โรเอธิลีนจะมีคาคงที่ของอัตราเร็วปฏิกิริยาเปนเทาไร


คําตอบ 1 : 14.4 /วัน
คําตอบ 2 : 0.069 /วัน

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 3 : 0.00019 /วัน
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 332

ส ิท

ขอใดถูกในการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอน
คําตอบ 1 :

ง ว
การสราง slurry wall เพื่อปองกันการแพรกระจายของน้ําบาดาลปนเปอน


คําตอบ 2 : การบําบัดแบบ pump and treat


คําตอบ 3 : การกําหนดการใชประโยชนของพื้นที่นั้นในโฉนด

กร ข
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 333


ิ ว
าว
กระบวนการในขอใดมีผลตอการเคลื่อนที่ของมลพิษในน้ําบาดาล
คําตอบ 1 : การแพร (Diffusion)
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :ส ภ การดูดซับ (Adsorption)
การยอยสลายทางชีวภาพ (Biodegradation)
ถูกทุกขอ

ขอที่ : 334
กระบวนการบําบัดฟนฟูพื้นที่ปนเปอนทางชีวภาพ (bioremediation) ในขอใดที่เปนการใหสารอาหาร และออกซิเจนแกจุลินทรียที่มีอยูแลวในพื้นที่ เพื่อใหเกิดการยอยสลายได
76 of 100
คําตอบ 1 : Bioventing
คําตอบ 2 : Bioconcentration
คําตอบ 3 : Biostimulation
คําตอบ 4 : Bioaugmentation

ขอที่ : 335
เมื่อมีรั่วไหลของสาร DNAPL (Dense Non Aqueous Phase Liquid) ลงสูน้ําใตดิน มีวิธีการจัดการอยางไร
คําตอบ 1 : Vertical Barrier Wall
คําตอบ 2 : Air Sparging

่ า ย

คําตอบ 3 : Horizontal Barrier


คําตอบ 4 : Air Stripping

จ ำ

ขอที่ : 336

า้
ขอใดเปนวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการพื้นที่ที่มีการปนเปอนดวยสารอินทรียระเหยงาย (Volatile Organic Compound: VOC)

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : Pump and Treat
คําตอบ 2 : Vertical Barrier Wall

ิท
คําตอบ 3 : Soil Vapor Extraction (SVE)


คําตอบ 4 : Horizontal Barrier

ขอที่ : 337

ง ว น
อ ส
ถังบรรจุ PCE (Perchloroethylene) มีสาร PCE อยู 20 ลิตร ถูกเททิ้งลงบอน้ําใตดินที่มีปริมาตร 500,000 ลบ.ม. จงคํานวณหาคาความเขมขนของสาร PCE ในน้ําใตดิน (กําหนดให
ความหนาแนนของสาร PCE = 1.623 กก./ล.)
คําตอบ 1 : 52.5 ไมโครกรัม/ล.

กร ข

คําตอบ 2 : 64.9 ไมโครกรัม/ล.



คําตอบ 3 : 74.5 ไมโครกรัม/ล.

าว
คําตอบ 4 : 75.9 ไมโครกรัม/ล.

ขอที่ : 338

ส ภ
น้ําเสียปริมาตร 10 ลบ.ม. ถูกทิ้งลงบนดินที่มีมวลเทากับ 1100 กก. โดยน้ําเสียดังกลาวมีความเขมขนของสารแคดเมียมเทากับ 20 มก./ล. จงคํานวณหาคาความเขมขนของสาร
แคดเมียมในดินในหนวย มก./กก.
คําตอบ 1 : 151.25 มก./กก.
คําตอบ 2 : 165.11 มก./กก.
คําตอบ 3 : 170.45 มก./กก.
คําตอบ 4 : 181.82 มก./กก. 77 of 100
ขอที่ : 339
จงคํานวณหาคาความเขมขนของสาร PCE ในบรรยากาศในหองขนาด 5 ม. X 10 ม. สูง 4 ม. เมื่อมีมวลของสาร PCE เทากับ 70 กรัม ภายในหองมีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส และ
มีความดันบรรยากาศเทากับ 730 มม. ปรอท กําหนดใหน้ําหนักโมเลกุลของสาร PCE เทากับ 166
คําตอบ 1 : 54.5 ppm
คําตอบ 2 : 57.4 ppm
คําตอบ 3 : 64.1 ppm


คําตอบ 4 : 68.2 ppm

น่ า

ขอที่ : 340


จงคํานวณหาคาคงที่เฮนรี่สําหรับสาร Carbon Tetrachloride กําหนดให คาการละลายได (S) = 911 มก./ล. คาความดันไอ (PVP) = 90 มม.ปรอท = 0.118 บรรยากาศ น้ําหนัก


โมเลกุลของสาร Carbon Tetrachloride = 154 กรัม/โมล

า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 :

ิท
คําตอบ 2 :

นส
คําตอบ 3 :

ง ว
อ ส
กร ข
คําตอบ 4 :


ิ ว
าว
ขอที่ : 341
ถังบรรจุน้ํามันเบนซินขนาด 200 ลิตร จํานวน 10 ถัง หกกระจายทิ้งลงบนถังน้ําประปา 400 ลบ.ม. จงคํานวณหาปริมาณสารเบนซินที่ละลายอยูในน้ําและปริมาณเบนซินที่ลอยอยูบนน้ํา


ในรูปของเปอรเซ็นต กําหนดให คาสภาพละลายน้ําไดของเบนซิน = 1770 มก./ล. คาความหนาแนนของเบนซิน = 0.877 กก./ล.


คําตอบ 1 :
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :
ปริมาณสารเบนซินที่ละลายในน้ําประปาเทากับ 708 กก. (30.3%) ปริมาณสารเบนซินที่ลอยในน้ําประปาในถังเทากับ 69.7%
ปริมาณสารเบนซินที่ละลายในน้ําประปาเทากับ 708 กก. (34.8%) ปริมาณสารเบนซินที่ลอยในน้ําประปาในถังเทากับ 65.2%
ปริมาณสารเบนซินที่ละลายในน้ําประปาเทากับ 708 กก. (40.4%) ปริมาณสารเบนซินที่ลอยในน้ําประปาในถังเทากับ 59.6%
คําตอบ 4 : ปริมาณสารเบนซินที่ละลายในน้ําประปาเทากับ 708 กก. (44.7%) ปริมาณสารเบนซินที่ลอยในน้ําประปาในถังเทากับ 55.3%

ขอที่ : 342 78 of 100

ในบอน้ํา 4000 ลบ.ม. มีสาร Malathion หกกระจายลง ทําใหน้ําในบอมีความเขมขนของสาร Malathion ถึง 8 มก./ล. วิศวกรสิ่งแวดลอมไดเสนอใชดิน 800 กก. เพื่อทําหนาที่ดูดซับ
สาร Malathion ในบอได โดยมีคาคงที่ของ Langmuir Isotherm a เทากับ 0.01 และ b เทากับ 4.5 จงคํานวณหาวาน้ําในบอจะมีสาร Malathion เหลืออยูกี่ มก./ล.
คําตอบ 1 : 5.27 มก./ล.
คําตอบ 2 : 5.83 มก./ล.
คําตอบ 3 : 6.07 มก./ล.
คําตอบ 4 : 6.44 มก./ล.

่ า ย
ขอที่ : 343


หนวยงานใดของรัฐมีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับของเสียอันตรายโดยตรง


คําตอบ 1 : สํานักงานแผนและนโยบายสิ่งแวดลอม


คําตอบ 2 : การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
คําตอบ 3 : กรมควบคุมมลพิษ

มจ
า้
คําตอบ 4 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

ขอที่ : 344
ิธ์ ห
ิท
สมบัติหรือลักษณะในขอใดดังตอไปนี้ของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ที่ไมพบในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540)


คําตอบ 1 : เปนสารไวไฟ

ว น
คําตอบ 2 : เปนสารระเหยงาย


คําตอบ 3 : เปนสารกัดกรอน


คําตอบ 4 : เปนสารที่ถูกชะลางได

ขอ
กร
ขอที่ : 345


ถาโรงงานของทานมีสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) ทานสามารถติดตอบริษัทใดใหมาจัดการได



คําตอบ 1 : GINKGO

าว
คําตอบ 2 : ORINOCO


คําตอบ 3 : GENCO


คําตอบ 4 : HAZMAT

ขอที่ : 346
ลําดับความสําคัญในการจัดการของเสียอันตราย (Hazardous Waste Management Hierarchy) ที่กําหนดโดย US EPA ในขอใดตอไปนี้ที่เรียงลําดับไดอยางถูกตอง 1). การ
บําบัด 2). การทิ้ง 3). การลดที่จุดกําเนิด 4). การนํากลับมาใชใหม
คําตอบ 1 : 2-1-3-4
79 of 100
คําตอบ 2 : 3-4-2-1
คําตอบ 3 : 3-4-1-2
คําตอบ 4 : 1-2-3-4

ขอที่ : 347
หนวยงานใดดังตอไปนี้ของประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีหนาที่รับผิดชอบคลายกับกรมควบคุมมลพิษ ของประเทศไทย
คําตอบ 1 : USGS
คําตอบ 2 : USMC
คําตอบ 3 : US DOE

่ า ย

คําตอบ 4 : US EPA

ขอที่ : 348

จ ำ ห

ถาน้ํามันจากสถานีเติมน้ํามันรั่วลงในชั้นดินแลวมีการนําดินที่ปนเปอนนั้นมาวางตากบนพื้นคอนกรีต ซึ่งสรางความรบกวนตอประชาชน ขอใดคือมาตรการปองกันการระเหยออกมามาก

า้
เกินไป

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : จุดไฟเผาน้ํามันในดิน
คําตอบ 2 : นําน้ํามาลางน้ํามันออกไป

ิท
คําตอบ 3 : นําแผนพลาสติกมาปกคลุมดินที่นําขึ้นมาตาก


คําตอบ 4 : นํามาสกัดน้ํามันเพื่อนํากลับมาใชใหม

ขอที่ : 349

ง ว น

ในแงของการคัดแยกของเสียอันตราย ขอปฏิบัติใดไมควรกระทํา
คําตอบ 1 :

ขอ
แยกของเสียอันตรายที่เปนอันตรายออกจากขยะทั่วไป

กร
คําตอบ 2 : ใชน้ําฉีดลางพื้นที่มีวัสดุอันตรายอยูบนพื้นบางสวน
คําตอบ 3 :


ไมนําของเสียอันตรายที่เปนของแข็งผสมกับน้ําแลวทิ้งลงทอระบายน้ํา



คําตอบ 4 : มีแบบพิมพเขียวแสดงรายละเอียดการวางทอระบายน้ํา

ขอที่ : 350

ภ าว

ถังขยะที่ใชสําหรับขยะอันตรายคือถังสีอะไร
คําตอบ 1 : ถังสีเขียว
คําตอบ 2 : ถังสีเหลือง
คําตอบ 3 : ถังสีสม
คําตอบ 4 : ถังสีน้ําเงิน

80 of 100
ขอที่ : 351
รถขนขยะประเภทใดไมเหมาะที่จะใชกับขยะอันตรายและขยะรีไซเคิล
คําตอบ 1 : รถอัดขยะชนิด 6 ลอ
คําตอบ 2 : รถยนตบรรทุกขยะแบบเปดขาง
คําตอบ 3 : รถบรรทุกเททาย 6 ลอ
คําตอบ 4 : รถยนตบรรทุกขยะแบบขอเกี่ยว

่ า ย
ขอที่ : 352


ขอใดไมใชขยะอันตราย


คําตอบ 1 : ถานไฟฉาย


คําตอบ 2 : แบตเตอรรี่มือถือ
คําตอบ 3 : หลอดไฟ

มจ
า้
คําตอบ 4 : กระปองอะลูมิเนียม

ขอที่ : 353
ิธ์ ห
ิท
ในประเทศไทย แหลงกําเนิดของเสียอันตรายแหลงใดผลิตของเสียมากที่สุด


คําตอบ 1 : ขยะชุมชน

ว น
คําตอบ 2 : กิจการถลุงโลหะ


คําตอบ 3 : กิจการไฟฟา


คําตอบ 4 : เกษตรกรรม

ขอ
กร
ขอที่ : 354


สารอันตรายที่พบมากในประเทศไทย ซึ่งเปนประเทศเกษตรกรรม มักเปนพวกสารปองกันศัตรูพืชและสัตว ขอใดตอไปนี้เปนกลุมสารอันตรายที่พบมากที่สุด



คําตอบ 1 : ฟอสเฟต

าว
คําตอบ 2 : อีเทอร


คําตอบ 3 : ออรกาโนคลอรีน


คําตอบ 4 : ดีดีที

ขอที่ : 355
ขอใดควรทําในการปองกันและควบคุมอันตรายจากสารพิษ
ประชาสัมพันธใหประชาชนไดตระหนักถึงอันตรายเนื่องจากการใชสารอันตราย รวมทั้งเผยแพรความรู เกี่ยวกับสารอันตรายใหแกผูใชสารอันตราย ทั้งในภาค
คําตอบ 1 :
อุตสาหกรรม และเกษตรกรรมใหมากขึ้น
81 of 100
จัดใหมีการตรวจวิเคราะห ปริมาณสารตกคาง ในผลผลิตทางการเกษตร และในแหลงเกษตรกรรม และในอาหารอยางสม่ําเสมอ และตอเนื่อง เพื่อเป นการเฝาระวังผล
คําตอบ 2 :
กระทบเนื่องจากสารอันตราย
คําตอบ 3 : ควรมีมาตรการจัดทํา ระบบการจัดการ ภาวะฉุกเฉิน อันเนื่องมาจากสารอันตราย
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 356
ควรจัดการขยะติดเชื้ออยางไร ใหเหมาะสม
คําตอบ 1 : ฝงกลบ
คําตอบ 2 : ใชเตาเผาขยะติดเชื้ออุณหภูมิสูง

่ า ย

คําตอบ 3 : สง GENCO


คําตอบ 4 : ไมมีขอถูก

จ ำ

ขอที่ : 357
จะปองกันการเกิดกากของเสียอันตรายจากกิจกรรมการลางชิ้นสวนเครื่องยนตอยางไร

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ทําความสะอาดเทาที่จําเปน ไมควรทําความสะอาดมากเกินไป
คําตอบ 2 : ทําความสะอาดเครื่องมือใน solvent ใหม เพื่อใหไดประสิทธิภาพสสูงสุด

ิท
คําตอบ 3 : เปลี่ยนตัวทําละลายตามเวลากําหนด


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 358

ง ว น
อ ส
ในการกรอกสารเคมีลงขวด ไมควรกรอกจนเต็ม ควรเหลือที่วางไวเผื่อการขยายตัวของสารอยางนอยปนสัดสวนเทาไร ทั้งนี้เพื่อปองกันไมใหเกิดอันตราย


คําตอบ 1 : 1/3

กร
คําตอบ 2 : 1/5


คําตอบ 3 : 1/8



คําตอบ 4 : 1/10

ขอที่ : 359

ภ าว

การเก็บสารไวไฟที่เปนของเหลว ควรทําอยางไร เพื่อปองอันตรายอันอาจเกิดขึ้นได
คําตอบ 1 : จัดเก็บในขวดสีชา เพื่อลดความรุนแรงจากแสงแดด
คําตอบ 2 : เก็บในตูเย็นสําหรับเก็บสารโดยเฉพาะ
คําตอบ 3 : เก็บใหหางจากน้ําและความรอน
คําตอบ 4 : เก็บในที่มืดและอากาศถายเทไดดี

82 of 100
ขอที่ : 360
การเก็บไฮโดรเจนเปอรออกไซดควรทําอยางไร เพื่อปองอันตรายอันอาจเกิดขึ้นได
คําตอบ 1 : จัดเก็บในขวดสีชา เพื่อลดความรุนแรงจากแสงแดด
คําตอบ 2 : เก็บในตูเย็นสําหรับเก็บสารโดยเฉพาะ
คําตอบ 3 : เก็บใหหางจากน้ําและความรอน
คําตอบ 4 : เก็บในที่มืดและอากาศถายเทไดดี

่ า ย
ขอที่ : 361


การเก็บอีเทอรควรทําอยางไร เพื่อปองอันตรายอันอาจเกิดขึ้นได


คําตอบ 1 : จัดเก็บในขวดสีชา เพื่อลดความรุนแรงจากแสงแดด


คําตอบ 2 : เก็บในตูเย็นสําหรับเก็บสารโดยเฉพาะ
คําตอบ 3 : เก็บใหหางจากน้ําและความรอน

มจ
า้
คําตอบ 4 : เก็บในที่มืดและอากาศถายเทไดดี

ขอที่ : 362
ิธ์ ห
ิท
สิ่งที่ตองมีการกําหนดสําหรับการขนสงกากของเสียอันตราย คือขอตอไปนี้ ยกเวนขอใด


คําตอบ 1 : เสนทางที่ใชในการเดินทางโดยละเอียด

ว น
คําตอบ 2 : รายชื่อคนขับ และผูรวมทาง


คําตอบ 3 : ชนิดของยานพาหนะที่ใชในการขนสง


คําตอบ 4 : ปริมาณของสารเคมีที่ใชในการขนสง

ขอ
กร
ขอที่ : 363


กากของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรมแบงไดเปนกี่ประเภท



คําตอบ 1 : 5

าว
คําตอบ 2 : 7


คําตอบ 3 : 10


คําตอบ 4 : 12

ขอที่ : 364
ของเสียที่มี ฤทธิ์เปนกรด ตองมี pH ระดับไหน จึงจัดวาเปนของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : <2
คําตอบ 2 : <4
83 of 100
คําตอบ 3 : < 7 และตองมีโลหะปนอยูดวย
คําตอบ 4 : < 7 ไมจําเปนตองมีโลหะหนักปน

ขอที่ : 365
สีทาบานที่ใชกันทั่วไปในปจจุบันจัดเปนของเสียอันตรายได เพราะมีสารใดเปนองคประกอบ
คําตอบ 1 : ปรอท
คําตอบ 2 : ตะกั่ว
คําตอบ 3 : ปโตรเคมี

่ า ย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 366

จ ำ ห

กากของเสียอันตรายไมไดเกิดจากอุตสาหกรรมเทานั้น สามารถเกิดจากกิจกรรมตางๆ ภายในบานเรือนดวย ตอไปนี้ขอใด เปนของเสียอันตราย จากบานเรือน

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : น้ํามันเครื่อง
คําตอบ 2 : ยาฆาแมลง
คําตอบ 3 : หลอดไฟ

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส

ขอที่ : 367


สัญลักษณนี้แสดงของเสียอันตรายประเภทใด

อ ส
กร ข

คําตอบ 1 : สารควบคุมอุณหภูมิ ขณะการขนสง
คําตอบ 2 :
คําตอบ 3 :

าว ศ

สารที่เปนกาซความดันสูง
สารอันตรายเบ็ดเตล็ด


คําตอบ 4 : สารแพรเชื้อ

ขอที่ : 368 ส
สัญลักษณนี้แสดงของเสียอันตรายประเภทใด

84 of 100
คําตอบ 1 : poison
คําตอบ 2 : toxic
คําตอบ 3 : danger
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 369

่ า ย
สัญลักษณนี้แสดงของเสียอันตรายประเภทใด

หน
จ ำ
า้ ม
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : poison
คําตอบ 2 : corrosive
คําตอบ 3 : explosive

ิท
คําตอบ 4 : flammable

นส

ขอที่ : 370


สัญลักษณนี้แสดงของเสียอันตรายประเภทใด

อ ส
กร ข

ิ ว
าว
คําตอบ 1 : poison
คําตอบ 2 : corrosive


คําตอบ 3 :
คําตอบ 4 :
ภ explosive
flammable

ขอที่ : 371
การคัดแยกกระปองสเปรยที่ใชแลวใหทําดังตอไปนี้ ยกเวนขอใด
คําตอบ 1 : จัดเก็บไวในภาชนะที่ปดมิดชิด เชน ลังไม
คําตอบ 2 : เจาะกระปองและบีบใหแบนไลอากาศออกใหหมด 85 of 100

คําตอบ 3 : ถอดฝาฉีดสเปรยออก
คําตอบ 4 : แยกเปนขยะประเภทกระปองโลหะ

ขอที่ : 372
Poly Chlorinated Biphenyls (PCBs) เปนสารอันตรายและไมมีการนําเขามาตั้งแต ป 2518 แลว แตยังพบไดในกากของเสียประเภทไหน
คําตอบ 1 : ถังเก็บประจุไฟฟา
คําตอบ 2 : กากของเสียจากกิจกรรมลางภาพ
คําตอบ 3 : กากของเสียจากโรงงานชุบโลหะ

่ า ย

คําตอบ 4 : ไมมีการพบอีก ตั้งแตป 2520 เปนตนมา

ขอที่ : 373

จ ำ ห

ขอใดคือความหมายของ ขยะอันตราย

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : ขยะตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไมเปนพิษหรืออันตรายรายแรง ไดแก วัสดุหรือเศษวัสดุที่ไมใชแลว
คําตอบ 2 : ขยะหรือเศษวัสดุอุปกรณที่ไมใชแลว ที่มีองคประกอบหรือปนเปอนวัตถุอันตรายชนิดตางๆ เชน ถานไฟฉาย
คําตอบ 3 : ขยะ ของเสีย หรือวัสดุเหลือใช ซึ่งสามารถนํากลับมาใชประโยชนใหมได โดยนํามาแปรรูป เปนวัตถุดิบในกระบวนการผลิต

ิท
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

นส

ขอที่ : 374


ขอใดคือปญหาของของเสียอันตราย
คําตอบ 1 :

อ ส
การเก็บรวบรวมและขนสงของเสียอันตรายยังไมถูกตองเหมาะสม


คําตอบ 2 : การขาดการบําบัดหรือกําจัดอยางถูกวิธี

กร
คําตอบ 3 : การลักลอบทิ้งของเสียอันตรายในสถานที่สาธารณะ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 375

าว ศ


สาเหตุของปญหาของเสียอันตรายคือขอใด


คําตอบ 1 : ระบบการจัดการของเสียอันตรายยังไมครอบคลุมครบทุกแหลงกําเนิด
คําตอบ 2 : ระบบกําจัดของเสียอันตรายที่มีอยูไมเพียงพอ
คําตอบ 3 : ประชาชนยังขาดความรู และความเขาใจถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้น จากของเสียอันตรายที่ขาดการจัดการที่ถูกตอง
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 376 86 of 100


ขยะในขอใดเปนขยะอันตราย
คําตอบ 1 : ถุงพลาสติก
คําตอบ 2 : ถานไฟฉาย
คําตอบ 3 : กระดาษ
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 377

่ า ย
สารเคมี เศษวัตถุดิบ เศษผลิตภัณฑ น้ําเสีย อากาศเสีย เปนของเสียจากแหลงใด


คําตอบ 1 : ของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรม


คําตอบ 2 : ของเสียอันตรายจากสถานพยาบาล


คําตอบ 3 : ของเสียอันตรายจากบานเรือน
คําตอบ 4 : ของเสียอันตรายจากภาคเกษตรกรรม

มจ
า้
ิธ์ ห
ขอที่ : 378
ขอใดเปนการจัดการของเสียอันตรายที่เหมาะสม

ิท
คําตอบ 1 : ชุมชนควรแยกของเสียอันตรายออกจากขยะประเภทอื่น และนําไปทิ้งในที่หนวยงานภาครัฐจัดไวใหเฉพาะ


คําตอบ 2 : ควรกําจัดของเสียอันตรายโดยการฝงกลบอยางถูกสุขลักษณะ

ว น
คําตอบ 3 : รณรงคใหประชาชนลดการใชสินคาที่กอใหเกิดของเสียอันตราย เชน ใชผลิตภัณฑที่ยอยสลายไดงาย และสามารถนํากลับมาใชไดอีก


คําตอบ 4 : ขอ ก และ ค ถูก

อ ส

ขอที่ : 379

กร
ขอใดไมใชคุณสมบัติที่ใชในการพิจารณาของเสียอันตราย


คําตอบ 1 : Corrosivity



คําตอบ 2 : Ignitability

าว
คําตอบ 3 : Flammability


คําตอบ 4 : Permeability

ขอที่ : 380

น้ํายาทําความสะอาดหองน้ําจัดเปนของเสียอันตราย เพราะมีคุณสมบัติในขอใดที่เขาเกณฑของเสียอันตราย
คําตอบ 1 : Corrosivity
คําตอบ 2 : Ignitability
คําตอบ 3 : Flammability
87 of 100
คําตอบ 4 : Explosivity
ขอที่ : 381
ควรเก็บสารเคมีที่เปนของเหลวและไวไฟดวยวิธีใด
คําตอบ 1 : เก็บในตูเย็นสําหรับเก็บสารโดยเฉพาะ
คําตอบ 2 : เก็บในที่มืดและอากาศถายเทไดดี
คําตอบ 3 : เก็บใหหางจากความชื้นและความรอน


คําตอบ 4 : จัดเก็บในขวดสีชา เพื่อลดความผลกระทบจากแสงแดด

น่ า

ขอที่ : 382


ซากเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณอิเล็กทรอนิกส มีชื่อยอเปนภาษาอังกฤษวาอยางไร
คําตอบ 1 : WEEE

มจ
า้
คําตอบ 2 : EEWE

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : EEEW
คําตอบ 4 : EWWE

ขอที่ : 383

ส ิท

อนุสัญญาสตอกโฮลมวาดวยสารมลพิษที่ตกคางยาวนาน คืออะไร
คําตอบ 1 : SOPs

ง ว

คําตอบ 2 : POPs


คําตอบ 3 : STPs
คําตอบ 4 : OPTs

กร ข
ขอที่ : 384


ิ ว
าว
สนธิสัญญาที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนยายของเสียอันตรายขามเขตแดนคือขอใด


คําตอบ 1 : สนธิสัญญาเกียวโต


คําตอบ 2 : สนธิสัญญาบาเซล
คําตอบ 3 : สนธิสัญญาเจนนีวา
คําตอบ 4 : สนธิสัญญาสตอกโฮลม

ขอที่ : 385
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540) เกี่ยวของกับของเสียประเภทใด
88 of 100
คําตอบ 1 : ของเสียอันตราย
คําตอบ 2 : ของเสียไมอันตราย
คําตอบ 3 : ของเสียอุตสาหกรรม
คําตอบ 4 : ของเสียติดเชื้อ

ขอที่ : 386
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (พ.ศ. 2541) เกี่ยวของกับของเสียประเภทใด
คําตอบ 1 : ของเสียอันตราย

่ า ย

คําตอบ 2 : ของเสียไมอันตราย


คําตอบ 3 : ของเสียอุตสาหกรรม


คําตอบ 4 : ของเสียติดเชื้อ

มจ
า้
ขอที่ : 387

ิธ์ ห
อนุสัญญาใดเกี่ยวของกับการคุมครองสุขภาพอนามัยของมนุษยและสิ่งแวดลอมจากสารมลพิษที่ตกคางยาวนาน
คําตอบ 1 : สนธิสัญญาเกียวโต

ิท
คําตอบ 2 : สนธิสัญญาบาเซล


คําตอบ 3 : สนธิสัญญาเจนนีวา

ว น
คําตอบ 4 : สนธิสัญญาสตอกโฮลม

ส ง

ขอที่ : 388


เกณฑการกําหนดคาเทรซโฮลด (Threshold Value) ของสารอินทรียที่ปนพิษหรือโลหะหนักจะมีคาประมาณกี่เทาของมาตรฐานน้ําดื่ม

กร
คําตอบ 1 : 10 เทา


คําตอบ 2 : 50 เทา



คําตอบ 3 : 100 เทา

าว
คําตอบ 4 : 150 เทา

ขอที่ : 389

ส ภ
ชื่อทางการคาของพีซีบี (PCB) คือขอใด
คําตอบ 1 : Polychlor
คําตอบ 2 : Phosphochlor
คําตอบ 3 : Arochlor
คําตอบ 4 : Benzochlor
89 of 100
ขอที่ : 390
ผลิตภัณฑทางการคาของสารพีซีบี (PCB) มีหมายเลข 4 ตัวตามหลังชื่อทางการคาซึ่งหมายเลข 2 ตัวหลังหมายถึงขอใด
คําตอบ 1 : เปอรเซ็นตคลอรีน
คําตอบ 2 : จํานวนอะตอมคลอรีน
คําตอบ 3 : เปอรเซ็นตฟอสเฟต
คําตอบ 4 : จํานวนอะตอมฟอสเฟต

่ า ย

ขอที่ : 391


ขอใดเปนกฎหมายของเสียอันตรายที่มีผลบังคับใชในปจจุบัน


คําตอบ 1 : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2541)
คําตอบ 2 : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540)

มจ
า้
คําตอบ 3 : ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (พ.ศ. 2535)

ิท
ขอที่ : 392


ขอใดเปนการจัดการของเสียอันตรายที่เพิ่งปรากฏในกฎหมายของเสียอันตรายที่มีผลบังคับใชในปจจุบัน

ว น
คําตอบ 1 : การบําบัด


คําตอบ 2 : การกักเก็บ


คําตอบ 3 : การทิ้ง


คําตอบ 4 : การแลกเปลี่ยน

กร ข

ขอที่ : 393



สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวดังตอไปนี้ ไดรับการยกเวนไมตองปฏิบัติตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)

าว
คําตอบ 1 : กากกัมมันตรังสี


คําตอบ 2 : น้ําเสียที่สงไปบําบัดนอกบริเวณโรงงานทางทอสง


คําตอบ 3 : สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวที่ไมเปนของเสียอันตราย จากสํานักงาน บานพักอาศัย
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 394
ตามกฎหมาย ผูประกอบการตองไมครอบครองสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวไวภายในโรงงานเกินระยะเวลาเทาใด
คําตอบ 1 : 30 วัน
90 of 100
คําตอบ 2 : 60 วัน
คําตอบ 3 : 90 วัน
คําตอบ 4 : 120 วัน

ขอที่ : 395
สิ่งใดที่ผูประกอบกิจการบําบัดหรือกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตองมีตามกฎหมาย
คําตอบ 1 : แผนการปองกันอุบัติภัยเพื่อรองรับเหตุฉุกเฉิน
คําตอบ 2 : รายงานการเงินประจําป

่ า ย

คําตอบ 3 : รายงานกระบวนการบําบัดและสารเคมีที่ใชโดยละเอียด


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

จ ำ

ขอที่ : 396
ผูประกอบการในขอใดตอไปนี้ ที่เปนผูกอกําเนิดของเสียอันตรายขนาดใหญ

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 2000 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป
คําตอบ 2 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 1000 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป

ิท
คําตอบ 3 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 500 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป


คําตอบ 4 : มีของเสียอันตรายในครอบครองตั้งแต 100 กิโลกรัมตอเดือนขึ้นไป แตไมถึง 1000 กิโลกรัมตอเดือน

ขอที่ : 397

ง ว น
อ ส
ผูครอบครองของเสียอันตรายในขอใดตอไปนี้ ที่ไดรับการยกเวนใหไมตองปฏิบัติตามกฎหมายของเสียอันตราย


คําตอบ 1 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 2000 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป

กร
คําตอบ 2 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 1000 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป


คําตอบ 3 : มีของเสียอันตรายในครอบครองไมเกิน 500 กิโลกรัมตอเดือน



คําตอบ 4 : มีของเสียอันตรายในครอบครองไมเกิน 100 กิโลกรัมตอเดือน

ขอที่ : 398

ภ าว

ผูประกอบการในขอใดตอไปนี้ ที่เปนผูกอกําเนิดของเสียอันตรายขนาดกลาง
คําตอบ 1 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 2000 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป
คําตอบ 2 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 1000 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป
คําตอบ 3 : มีของเสียอันตรายในครอบครอง 500 กิโลกรัมตอเดือน ขึ้นไป
คําตอบ 4 : มีของเสียอันตรายในครอบครองตั้งแต 100 กิโลกรัมตอเดือนขึ้นไป แตไมถึง 1000 กิโลกรัมตอเดือน

91 of 100
ขอที่ : 399
ใบกํากับการขนสงของเสียอันตรายและคูฉบับที่ผูกอกําเนิดของเสียอันตรายตองกรอกขอมูลมีจํานวน
คําตอบ 1 : 4 ฉบับ
คําตอบ 2 : 5 ฉบับ
คําตอบ 3 : 6 ฉบับ
คําตอบ 4 : 7 ฉบับ

่ า ย
ขอที่ : 400


รหัสของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548) เปนตามขอใดตอไปนี้


คําตอบ 1 : รหัสเลข 6 หลัก


คําตอบ 2 : รหัสเลข 5 หลัก
คําตอบ 3 : รหัสเลข 4 หลัก

มจ
า้
คําตอบ 4 : รหัสตัวอักษร 1 ตัว และเลข 3 หลัก

ขอที่ : 401
ิธ์ ห
ิท
ขอใดเปนวิธีสกัดสารอนินทรียอันตรายและสารอินทรียอันตราย ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)


คําตอบ 1 : Synthetic Precipitation Leaching Procedure (SPLP)

ว น
คําตอบ 2 : Toxicity Characteristic Leaching Procedure (TCLP)


คําตอบ 3 : Waste Extraction Test (WET)


คําตอบ 4 : วิธีสกัดตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2540)

ขอ
กร
ขอที่ : 402


ขอใดเปนผูเก็บรวบรวมบําบัดและกําจัดของเสียอันตราย



คําตอบ 1 : โรงงานปรับคุณภาพของเสียอันตรายรวม

าว
คําตอบ 2 : โรงงานเผาของเสียอันตราย


คําตอบ 3 : โรงงานกําจัดมูลฝอยติดเชื้อ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 403
ในกรณีที่มีเหตุสุดวิสัย ผูขนสงของเสียอันตรายสามารถเก็บของเสียอันตรายไวชั่วคราว ไดไมเกินกี่วัน
คําตอบ 1 : 3 วัน
คําตอบ 2 : 7 วัน
92 of 100
คําตอบ 3 : 10 วัน
คําตอบ 4 : 14 วัน

ขอที่ : 404
ขอใดถูกตองเกี่ยวกับรหัสของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)
คําตอบ 1 : มีการกําหนดรหัสเฉพาะของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว โดยใชรหัสเลข 6 หลัก
คําตอบ 2 : สิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวถูกแบงออกเปน 19 หมวดหมู
คําตอบ 3 : เลข 2 หลักแรกแสดงถึงประเภทของการประกอบกิจการ

่ า ย

คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ขอที่ : 405

จ ำ ห

ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับรหัสของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)

า้
ิธ์ ห
คําตอบ 1 : มีการกําหนดรหัสเฉพาะของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว โดยใชรหัสเลข 7 หลัก
คําตอบ 2 : เลข 2 หลักกลาง แสดงถึงกระบวนการเฉพาะในการประกอบกิจการที่ทําใหเกิดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว
คําตอบ 3 : เลข 2 หลักแรกแสดงถึงประเภทของการประกอบกิจการ

ิท
คําตอบ 4 : เลข 2 หลักสุดทาย แสดงถึงลักษณะเฉพาะของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว

นส

ขอที่ : 406


ขอใดเปนหมวดของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว จากการสํารวจ การทําเหมืองแร การทําเหมืองหินและการปรับสภาพแรธาตุโดยวิธีกายภาพและเคมี ตาม


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)
คําตอบ 1 : หมวด 01

ขอ
กร
คําตอบ 2 : หมวด 05


คําตอบ 3 : หมวด 10



คําตอบ 4 : หมวด 15

ขอที่ : 407

ภ าว

หมวดของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548) มีทั้งสิ้นกี่หมวด
คําตอบ 1 : 9 หมวด
คําตอบ 2 : 15 หมวด
คําตอบ 3 : 19 หมวด
คําตอบ 4 : 25 หมวด

93 of 100
ขอที่ : 408
ขอใดเปนหมวดของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว จากกระบวนการกลั่นปโตรเลียม การแยกกาซธรรมชาติ และกระบวนการบําบัดถานหินโดยการเผาแบบไมใช
ออกซิเจน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)
คําตอบ 1 : หมวด 01
คําตอบ 2 : หมวด 05
คําตอบ 3 : หมวด 10
คําตอบ 4 : หมวด 15

ขอที่ : 409
่ า ย
หน
ขอใดเปนหมวดของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว จากกระบวนการใชความรอน ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว


(พ.ศ. 2548)


คําตอบ 1 : หมวด 01

า้ ม
คําตอบ 2 : หมวด 05

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : หมวด 10
คําตอบ 4 : หมวด 15

ขอที่ : 410

ส ิท

ขอใดเปนหมวดของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว จากงานกอสรางและการรื้อทําลายสิ่งกอสราง รวมถึงดินที่ขุดจากพื้นที่ปนเปอน ตามประกาศกระทรวง


อุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)


คําตอบ 1 : หมวด 01
คําตอบ 2 : หมวด 07

อ ส

คําตอบ 3 : หมวด 10

กร
คําตอบ 4 : หมวด 17

ขอที่ : 411


ิ ว
าว
ขอใดเปนหมวดของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว จากการสาธารณสุขสําหรับมนุษยและสัตวรวมถึงการวิจัยทางดานสาธารณสุข ตามประกาศกระทรวง


อุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)


คําตอบ 1 : หมวด 01
คําตอบ 2 : หมวด 08
คําตอบ 3 : หมวด 18
คําตอบ 4 : หมวด 28

ขอที่ : 412
94 of 100
ขอใดเปนหมวดของชนิดและประเภทของสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว โรงปรับคุณภาพของเสีย โรงบําบัดน้ําเสีย โรงผลิตน้ําประปา และ โรงผลิตน้ําใชอุตสาหกรรม ตามประกาศกระ
ทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548)
คําตอบ 1 : หมวด 8
คําตอบ 2 : หมวด 9
คําตอบ 3 : หมวด 18
คําตอบ 4 : หมวด 19

ขอที่ : 413

่ า ย
การทดสอบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว โดยนํามาสกัดดวยวิธี Waste Extraction Test (WET) จะทําขึ้นก็ตอเมื่อ คาความเขมขนทั้งหมด (Total Concentration) ของสาร


อันตรายใดๆ เปนไปตามขอใด


คําตอบ 1 : มีคาไมเกินคา TTLC แตมีคาเทากับหรือมากกวาคา STLC ของสารนั้น


คําตอบ 2 : มีคาไมเกินคา STLC แตมีคาเทากับหรือมากกวาคา TTLC ของสารนั้น


คําตอบ 3 : มีคาไมเกินคา STLC แตมีคาเทากับหรือมากกวาคา TCLP ของสารนั้น
คําตอบ 4 : มีคาไมเกินคา TCLP แตมีคาเทากับหรือมากกวาคา STLC ของสารนั้น

า้ ม
ิธ์ ห
ขอที่ : 414

ิท
การหาคาความเขมขนทั้งหมดของสิ่งเจือปน ที่มีองคประกอบของสารอนินทรียอันตรายและสารอินทรียอันตราย มาเทียบกับคา Total Threshold Limit Concentration (TTLC) ที่


ปรากฏในประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548) นั้น มีที่มาจากที่ใด


คําตอบ 1 : US EPA


คําตอบ 2 : California EPA
คําตอบ 3 : EU Code

ส ง

คําตอบ 4 : Australia EPA

ขอที่ : 415

กร ข

การสกัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลวดวยวิธี Waste Extraction Test (WET) และนําผลการวิเคราะหองคประกอบของสารอนินทรียอันตรายและสารอินทรียอันตรายของน้ําสกัดมา



เทียบกับคา Soluble Threshold Limit Concentration (STLC)นั้น มีที่มาจากที่ใด

าว
คําตอบ 1 : California EPA


คําตอบ 2 : US EPA


คําตอบ 3 : EU Code
คําตอบ 4 : Taiwan EPA

ขอที่ : 416
ในการแจงรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตามประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548) จะตองใชรหัส
เลขกี่หลัก
95 of 100
คําตอบ 1 : 3 หลัก
คําตอบ 2 : 4 หลัก
คําตอบ 3 : 5 หลัก
คําตอบ 4 : 6หลัก

ขอที่ : 417
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่องการกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว (พ.ศ. 2548) กําหนดใหแผนปองกันอุบัติภัยและแผนฉุกเฉิน ตองประกอบดวยรายละเอียดในขอใดตอไปนี้
คําตอบ 1 : ขั้นตอนและวีธีการปฏิบัติ ในการตอบสนองตออัคคีภัย การระเบิด หรือการรั่วไหล

่ า ย

คําตอบ 2 : การเตรียมการกับหนวยงานทองถิ่น


คําตอบ 3 : แผนการหนีภัยสําหรับบุคลากรของสถานประกอบการ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

มจ
า้
ขอที่ : 418

ิธ์ ห
การสกัดดวยวิธี Waste Extraction Test (WET) เพื่อวิเคราะหหาคาสารที่ระเหยไดงาย เชน trichloroethylene จะตองปฏิบัติตามขอใด
คําตอบ 1 : เติมน้ําสกัดลงในตัวอยาง จากนั้นนําของผสมไปไลอากาศดวยกาซไนโตรเจน

ิท
คําตอบ 2 : ไลอากาศและออกซิเจนออกจากน้ําสกัด กอนที่จะเติมลงในตัวอยาง


คําตอบ 3 : ใสน้ําสกัดลงในตัวอยางในขวดที่มีฝาปดมิดชิด

ว น
คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

ส ง

ขอที่ : 419


น้ําสกัดที่ใชในวิธี Waste Extraction Test (WET) เปนสารใด

กร
คําตอบ 1 : กรดซัลฟวริกและกรดไนตริก


คําตอบ 2 : กรดอะซิติก



คําตอบ 3 : กรดซิตริก

าว
คําตอบ 4 : กรดไฮโดรคลอริก

ขอที่ : 420

ส ภ
โรงงานที่จะประกอบกิจการปรับสภาพของเสียรวม ที่เปนสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตองขอใบอนุญาตเปนโรงงานประเภทใดกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
คําตอบ 1 : 101
คําตอบ 2 : 105
คําตอบ 3 : 106
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ
96 of 100
ขอที่ : 421
โรงงานที่จะประกอบกิจการคัดแยก และ/หรือฝงกลบสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตองขอใบอนุญาตเปนโรงงานประเภทใดกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม
คําตอบ 1 : 101
คําตอบ 2 : 105
คําตอบ 3 : 106
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

่ า ย

ขอที่ : 422


โรงงานที่จะประกอบกิจการนํากลับมาใชประโยชนสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไมใชแลว ตองขอใบอนุญาตเปนโรงงานประเภทใดกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม


คําตอบ 1 : 101
คําตอบ 2 : 105

มจ
า้
คําตอบ 3 : 106

ิธ์ ห
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ิท
ขอที่ : 423


การปฏิบัติในขอใดเปนการลดมลพิษที่แหลงกําเนิด

ว น
คําตอบ 1 : การจัดระเบียบสถานที่ในโรงงานใหเรียบรอยและเปนระเบียบ


คําตอบ 2 : การเปลี่ยนไปใชสารเคมีที่เปนอันตรายนอยลงในกระบวนการผลิต


คําตอบ 3 : การลดการใชน้ําในการลางผลิตภัณฑ


คําตอบ 4 : ถูกทุกขอ

กร ข

ขอที่ : 424



การปฏิบัติในขอใดเปนการลดมลพิษที่แหลงกําเนิด

าว
คําตอบ 1 : การแยกของเสียอันตรายออกจากของเสียไมอันตราย


คําตอบ 2 : การนําสารเคมีกลับมาใชใหมในกระบวนการผลิต


คําตอบ 3 : การเผาทําลายของเสียในโรงงาน
คําตอบ 4 : การแลกเปลี่ยนของเสียกับโรงงานอื่น

ขอที่ : 425
ขอใดเปนการปฏิบัติที่ไมถูกตอง
คําตอบ 1 : การแยกของเสียอันตรายออกจากของเสียไมอันตราย
97 of 100
คําตอบ 2 : การทําสะเทินสารเคมีที่เปนกรดหรือดาง กอนสงบริษัทรับกําจัดของเสีย
คําตอบ 3 : การเก็บสารเคมีในหองทดลองใหเปนระเบียบบนชั้น เรียงตามตัวอักษรของชื่อสาร
คําตอบ 4 : มีคําตอบมากกวาหนึ่งขอ

ขอที่ : 426
ขอใดตอไปนี้ที่กําหนดใหผูผลิตเครื่องใชไฟฟาที่สงไปจําหนายในประเทศในกลุม EU รับซากเครื่องใชไฟฟานั้นกลับมาบําบัดเอง
คําตอบ 1 : WEEE
คําตอบ 2 : ISO

่ า ย

คําตอบ 3 : GRI


คําตอบ 4 : EMS

จ ำ

ขอที่ : 427

า้
ขอใดตอไปนี้มีการกําหนดปริมาณโลหะหนักในผลิตภัณฑตางๆที่ สงไปจําหนายในประเทศในกลุม EU

ิธ์ ห
คําตอบ 1 : WEEE
คําตอบ 2 : RoHS

ิท
คําตอบ 3 : IEEE


คําตอบ 4 : EMS

ขอที่ : 428

ง ว น
อ ส
แมน้ําที่มีอัตราการไหล 5.0 ลบ.ม.ตอวินาที และมีความเขมขนของสาร X เทากับ 10.0 มก. ตอลิตร ไหลลงสูทะเลสาบขนาด 10 ลานลบ.ม. ที่มีโรงงานปลอยสาร X ความเขมขน
100 มก. ตอลิตร มาในน้ําเสียลงสูทะเลสาบ โดยน้ําเสียมีอัตราการไหล 0.5 ลบ.ม.ตอวินาที ความเขมขนของสาร X ในทะเลสาบที่ steady state เปนเทาใด
คําตอบ 1 : 3.5 มก. ตอลิตร

กร ข

คําตอบ 2 : 35.0 มก. ตอลิตร



คําตอบ 3 : 350 มก. ตอลิตร

าว
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ขอที่ : 429

ส ภ
ขอใดไมเกี่ยวของกับ “Resource Conservation and Recovery Act (RCRA)”?
คําตอบ 1 : “Cradle-to-grave” concept
คําตอบ 2 : Hazardous waste identification system
คําตอบ 3 : Hazard Ranking System
คําตอบ 4 : Manifest system
98 of 100
ขอที่ : 430
ขอใดเกี่ยวของกับ “Comprehensive Environmental Response, Compensation, and Liability Act (CERCLA)”
คําตอบ 1 : Abandoned hazardous waste sites
คําตอบ 2 : Hazardous waste identification system
คําตอบ 3 : Manifest system
คําตอบ 4 : WEEE

่ า ย

ขอที่ : 431


ขอใดคือคําจํากัดความของ Material safety data sheet (MSDS)


คําตอบ 1 : เอกสารกํากับการขนสงแสดงรายละเอียดการติดตามการขนสงวัตถุอันตราย

คําตอบ 2 :

มจ
เอกสารชุดตัวเลขโดยแตละชุดจะหมายถึง สารที่สามารถแสดงสูตรไดในเชิงอะตอม การจับของอะตอม และโครงสราง 3 มิติ ซึ่งประกอบดวยชุดตัวเลขไมเกิน 9 หลัก

า้
(xxxxxx-xx-x) ใชสําหรับตรวจสอบความถูกตองของตัวเลขทั้งชุดดวยคอมพิวเตอร

ิธ์ ห
เอกสารขอมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ แสดงรายละเอียดความปลอดภัยเบื้องตนทางดานขอมูลกายภาพ อันตรายตอสุขภาพอนามัย การปฐมพยาบาล การดับเพลิง
คําตอบ 3 :
การจัดการกรณีหกรั่วไหล อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล
คําตอบ 4 : ผิดทุกขอ

ส ิท

ขอที่ : 432


ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง การกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม ใช แล ว พ.ศ. 2548 ไดแบงประเภทของขยะอันตรายตามลักษณะสมบัติของสาร (Characteristics-based)


ออกเปน 5 ประเภท โดยสารกลุมที่มีลักษณะเปนสารกัดกรอน (Corrosive substance) นั้นจะมีคาพีเอช (pH) เปนอยางไร
คําตอบ 1 : นอยกวา 2 หรือ มากกวา 11

อ ส

คําตอบ 2 : นอยกวา 4 หรือ มากกวา 11

กร
คําตอบ 3 : นอยกวา 2 หรือ มากกวา 12.5


คําตอบ 4 : นอยกวา 4 หรือ มากกวา 12.5

ขอที่ : 433

าว ศ


เอกสารกํากับการขนสงของเสียอันตราย (Hazardous waste manifest document) ในขั้นตอนการดําเนินการตามระบบเอกสารกํากับการขนสงของเสียอันตราย มีจํานวนรวมทั้งหมด


กี่ฉบับ?
คําตอบ 1 : 4 ฉบับ
คําตอบ 2 : 5 ฉบับ
คําตอบ 3 : 6 ฉบับ
คําตอบ 4 : 7 ฉบับ

99 of 100
ขอที่ : 434
เมื่อสิ้นสุดกระบวนการดําเนินการตามระบบเอกสารกํากับการขนสงของเสียอันตราย (Manifest system) ผูกําเนิดของเสียอันตราย (Hazardous waste generator) จะตองมีเอกสาร
กํากับการขนสงของเสียอันตราย (Hazardous waste manifest document) จํานวนรวมทั้งหมดกี่ฉบับ?
คําตอบ 1 : 1 ฉบับ ฉบับที่ 1
คําตอบ 2 : 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 และ 2
คําตอบ 3 : 1 ฉบับ ฉบับที่ 2
คําตอบ 4 : 2 ฉบับ ฉบับที่ 2 และ 6

่ า ย

ขอที่ : 435


ขอใดถูกตองเกี่ยวกับประเภทของผูกําเนิดของเสียอันตราย (Hazardous waste generator)


คําตอบ 1 : กลุมผูกําเนิดของเสียอันตรายขนาดสูง คือจะเกิดของเสียอันตรายปริมาณสูงกวา 1,000 กก./เดือน จะสามารถเก็บครอบครองไวไดไมเกิน 90 วัน


กลุมผูกําเนิดของเสียอันตรายขนาดกลาง, คือจะเกิดของเสียอันตรายตั้งแต 100 กก./เดือน แตไมเกิน 1,000 กก./เดือน จะสามารถเก็บครอบครองไวไดไมเกิน 180


คําตอบ 2 :

า้
วัน

ิธ์ ห
คําตอบ 3 : ถูกทั้งสองขอ
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 436

ส ิท

ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการเขียนรายงานเมื่อเกิดอุบัติเหตุขณะขนสงของเสียอันตราย


เขียนรายงานเมื่อมีการรั่วไหลของของเสียอันตรายที่เปนของแข็ง 400 กก. หรือของเสียอันตรายที่เปนของเหลว 450 กก. ลงสูแหลงน้ําธรรมชาติ เชน ทะเล แมน้ํา


คําตอบ 1 :
และมหาสมุทร
คําตอบ 2 :

อ ส
ผูขนสงของเสียอันตรายจะตองสงรายงานภายใน 5 วัน นับตั้งแตวันที่เกิดอุบัติเหตุ และตองทําการเก็บสําเนาไวอยางนอย 5 ป


คําตอบ 3 : ถูกทั้งสองขอ

กร
คําตอบ 4 : ไมมีขอใดถูก

ขอที่ : 437


ิ ว
าว
การขนยายของเสียอันตรายตองขออนุญาตองคกรใด


คําตอบ 1 : กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม


คําตอบ 2 : สํานักจัดการของเสียและขยะอันตราย
คําตอบ 3 : การนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
คําตอบ 4 : กรมโรงงานอุตสาหกรรม

100 of 100

You might also like