รูปเล่มโปรเจค เรื่อง MiniCNCLaser

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 37

เลเซอร์ แกะสลัก

(Mini Computer Numerical Control Laser)

จัดทำโดย
นำย กฤตพีร์ คำอ้ำย
นำย ภูริณฐั สั นพะเยำว์
นำย ปธำนิน วีระพันธ์

โครงกำรที่เป็ นส่ วนหนึ่งของกำรศึกษำตำมหลักสู ตรวิศวกรรมศำสตร์ บัณฑิต


สำขำวิศวกรรมอุตสำหกำร คณะวิศวกรรมศำสตร์
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ เชียงใหม่
ปี กำรศึกษำ 2566
เลเซอร์ แกะสลัก
(Mini Computer Numerical Control Laser)

จัดทำโดย
นำย กฤตพีร์ คำอ้ำย
นำย ภูริณฐั สั นพะเยำว์
นำย ปธำนิน วีระพันธ์

โครงกำรที่เป็ นส่ วนหนึ่งของกำรศึกษำตำมหลักสู ตรวิศวกรรมศำสตร์ บัณฑิต


สำขำวิศวกรรมอุตสำหกำร คณะวิศวกรรมศำสตร์
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลล้ำนนำ เชียงใหม่
ปี กำรศึกษำ 2566

หัวข้อโครงงาน : งานแกะสลัก Mini CNC Laser


ชื่อนักศึกษา : นาย กฤตพีร ์ คาอ้าย
: นาย ภูรณ
ิ ฐั สันพะเยาว์
: นาย ปธานิน วีระพันธ์
คณะ :วิศวกรรมศาสตร์
สาขา : วิศวกรรมอุตสาหการ
ปี การศึกษา : 2566
บทคัดย่อ
ในปั จจุบนั เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างมากมีการประดิษฐ์นวัตกรรมทางเทคโนโลยีท่ีทั นสมัย ช่วยให้มนุษย์
ได้รบั ความสะดวกสบายในการดาเนินชีวิตมากยิ่งขึน้ การทางานด้วยเครื่องจักรอัตโนมัติเป็ นระบบที่ทนั สมัยสามารถ
ประยุก ต์ใ ช้ไ ด้ห ลายรู ป แบบ ในการจดัก ารเรี ย นการสอนวิ ช าการออกแบบ จ าเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะใช้เ ครื่ อ ง CNC
(Computer Numerical Control) เพื่อตรวจสอบและศึกษารายละเอียดของชิน้ งานที่ได้ศึกษาเครื่อง CNC จาก
อินเทอร์เน็ต ในประเด็น เรื่องการสร้างเครื่องการทางานของเครื่อง ประโยชน์และความคุม้ ค่าในการจัดสร้างเครื่องจาก
การศึกษาพบว่าเครื่องที่สามารถสร้าง กัด เจาะ ได้หลายรูปแบบ กลุม่ กะผมจึงคิดสร้างเครื่อง Mini CNC เป็ นเครื่องจักร
ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ มีกระบวนการทางาน2กระบวนการ คือ 1.ใช้กระบวนการเติมเนือ้ วัตถุเพื่อให้เกิดเป็ น
ลวดลาย ตามต้องการโดยอาศัยรู ปแบบดิจิตอล ซึ่งการเติมเนือ้ หรือ วัสดุลงไปเรียกว่า Additive Process ซึ่งการกัด
เจาะ นัน้ จะค่อยไปทีละ Layer หรือทีละชัน้ หรือตามที่ส่งั 2. ใชก้ระบวนการกัดเนือ้ วัตถุเพื่อให้เกิดเป็ นรูปร่างที่ตอ้ งการ
โดยอาศยัรูปแบบดิจิตอล ซึ่งการกัดเนือ้ หรือวัตถุลงไป เรียกว่า Cutting Process ซึ่งการกัดนัน้ จะค่อยกดัไปทีละ Layer
หรือทีละชัน้ ยกตัวอย่างถ้าเราตอ้งการขุดดินลง 2 เมตรเรา ต้องเริ่มขุด จากข้างบนก่อนแล้วค่อยๆขุดลงมาทีละชัน้ ซึ่ง
เป็ นหลักการเดียวกับเครื่อง CNC

กิตติกรรมประกำศ
โครงการออกแบบและพัฒนาเครื่ อง Mini CNC Laser โครงการที่ทางคณะผูจ้ ดั ได้ทาการสร้างขึ้นโดยทุ่มเททั้ง
แรงกายและแรงใจจนกระทัง่ ประสบผลสาเร็ จทั้งนี้เพราะได้รับคาแนะนาและได้รับความช่วยเหลือด้านต่างๆจากบุคลากร
หลายฝ่ ายจึงทางานได้สาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี จึงได้ขอขอบคุณไว้ ณ ที่น้ ีเป็ นอย่างสู ง
ขอขอบคุณอาจารย์สาขาวิศวกรรมอุตสาหการทุกท่านที่ให้คาปรึ กษาโครงการได้ให้คาปรึ กษาต่างๆเกี่ยวกับการ
ออกแบบเครื่ องชัง่ น้ าหนักแบบเคลื่อนย้ายผูป้ ่ วยและช่วยเหลือในด้านเครื่ องมืออุปกรณ์และตลอดจนให้คาปรึ กษาต่างๆ
จนโครงการสาเร็ จลุล่วงไปด้วยดี
คณะผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ได้ให้การสนับสนุนในด้านกาลังทรัพย์และอยูเ่ คียงข้างตลอดจน
ให้กาลังใจตลอดเรื่ อยมารวมไปถึงขอขอบคุณเพื่อนๆทุกคนที่ได้ให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆนอกจากนี้ยงั มาบุคคลที่
เกี่ยวข้องอีกหลายท่านที่ไม่ได้กล่าวนามของท่านในนี้ได้ท้ งั หมดทางคณะผูจ้ ดั ทาโครงการจึงขอขอบคุณท่านทั้งหลายไว้
ณ โอกาสนี้ดว้ ย

คณะผู้จัดทำ
นาย กฤตพีร ์ คาอ้าย
นาย ภูรณ
ิ ฐั สันพะเยาว์
นาย ปธานิน วีระพันธ์

สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญรูป จ
สารบัญตาราง ช
บทที่ 1 บทนา 1

1.1 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน 1

1.2 วัตถุประสงค์ 1

1.3 ขอบเขตการศึกษา 1

1.4 ประโยชน์ที่จะได้รับ 2

บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 3

2.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3

2.1.1 เทคโนโลยีทางด้าน CNC 3

2.1.2 ไดโอดเปล่งแสง (Light Emitter Diode: LED) 5

2.1.3 เลเซอร์ไดโอด (Laser Diode) 7

2.2 โครงสร้างและหลักการทางานของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์ 11

2.2.1 โครงสร้างของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์ 11

2.2.2 หลักการเขียนลายเส้นของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบ 14


ต่อ
เรื่ อง หน้ ำ
2.2.3 การสร้างลายต้นแบบด้วยเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์ 16

บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 19

3.1 ลาดับการจัดทาโครงงาน 19

3.2 การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 19
3.3 เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั 20

3.4 วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล 20
3.5 การทดสอบประสิ ทธิภาพ 24

3.6 การออกแบบและสร้างเครื่ องกัดซีเอ็นซีเลเซอร์ขนาดเล็ก 24

3.7 การออกแบบระบบฮาร์ดแวร์ 27

3.8 การออกแบบและพัฒนาโปรแกรม 27

3.9 วิธีการทดลอง 29

สำรบัญรูปภำพ
เรื่ อง หน้ ำ
รู ปภาพ2.1 แสดงเครื่ องจักรซีเอ็นซีในงานด้านการกัดชิ้นงาน 3

รู ปที่ 2.2 แสดงโครงสร้างของเครื่ องซีเอ็นซี 3 แกน 4

รู ปที่ 2.3 แสดงโครงสร้างพื้นฐานและรู ปร่ างของไดโอดเปล่งแสงแบบรอยต่อพี-เอ็น 6


รู ปที่ 2.4 แถบพลังงานของไดโอดเปล่งแสง 6

รู ปที่ 2.5 แสดงกลไกปฏิกิริยาระหว่างโฟตอนกับอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นในสาร 7

รู ปที่ 2.6 หลักการป้อนกลับของโฟตอนเพือ่ กระตุน้ ให้อิเล็กตรอนปลดปล่อยพลังงาน 8

รู ปที่ 2.7 โครงสร้างแสดงส่ วนประกอบๆ ของเลเซอร์ไดโอด 9

รู ปที่ 2.8 แสดงโครงสร้างชั้นต่างๆ ของเลเซอร์ไดโอด 9


รู ปที่ 2.9 แสดงโครงสร้างจริ งของ 9
รู ปที่2.10 แสดงลักษณะของเลเซอร์ไดโอดที่นาไปใช้เป็ นเลเซอร์พอยด์เตอร์ทวั่ ไป 10

รู ปที่2.11 โครงสร้างแสดงส่ วนประกอบต่างๆ ของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์ 11

รู ปที่ 2.12 ไดอะแกรมแสดงส่ วนประกอบต่างๆ ของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์ 12


รู ปที่2.13 การสร้างเส้นตรงเป็ นเชื่อมระหว่างจุด (ก) ในทางทฤษฎี และ (ข) ในทางปฏิบตั ิ 14

รู ปที่ 2.14 ลักษณะของเส้นตรงที่เขียนขึ้นมาในทางปฏิบตั ิจริ ง 15


รู ปที่ 2.15 แสดงขั้นตอนการสร้างลวดลายด้วยเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบเลเซอร์ 16

รู ปที่ 3.1 ตัวอย่างสไลด์ประกอบการบรรยายเรื่ องระบบพิกดั ของเครื่ องซีเอ็นซี 20


รู ปที่ 3.2 โจทย์ปัญหาเรื่ องระบบพิกดั ของเครื่ องซีเอ็นซี พร้อมเฉลย 20
รู ปที่ 3.3 ตัวอย่างรหัสควบคุมเครื่ องซีเอ็นซี 21

ต่อ
เรื่ อง หน้ ำ
รู ปที่ 3.4 ตัวอย่างโจทย์ปัญหาเรื่ องการเขียนรหัสควบคุมเครื่ องซีเอ็นซี 22
รู ปที่ 3.5 กระดาษกริ ดสาหรับการออกแบบชิ้นงาน 22
รู ปที่ 3.6 ตัวอย่างชิ้นงานที่ผา่ น (ซ้าย) และไม่ผา่ นการตรวจสอบ (ขวา) 23
รู ปที่ 3.7การออกแบบเครื่ องกัดซีเอ็นซีเลเซอร์ 24
รู ปที่ 3.8 เครื่ องกัดซีเอ็นซีเลเซอร์ (ก)ก่อนใช้งาน (ข) ขณะใช้งาน 24

รู ปที่ 3.9 ขนาดของเครื่ องกัดซีเอ็นซี 25

รู ปที่ 3.10 พื้นที่การทางานของชิ้นงาน 25


รู ปที่ 3.11 ระบบฮาร์ดแวร์และวงจรการเชื่อมต่อ 26
รู ปที่ 3.12 หน้าจอควบคุมการท างานบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล 27
รู ปที่ 3.13 หน้าจอควบคุมการทางานบนมือถือ 27

สำรบัญตำรำง
เรื่ อง หน้ ำ
ตารางที่ 3.1 คาสัง่ ที่กาหนดระยะการคลื่อนที่ 29
1

บทที่ 1
บทนำ
1.ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน
เนื่องจากในปัจจุบนั มีการสลักลาย 2D ด้วยเลเซอร์แพร่ หลายในบ้างพื้นที่จึงทาการเลือกทา
เครื่ องเลเซอร์สลักลายไม้เลยทาให้เห็นว่าเครื่ องจักรมีขนาดที่ใหญ่ยากต่อการพกพาไปในทุกสถานที่ ได้ทาการศึกษาและ
ข้อมูลเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ต่างๆได้เจอกับเครื่ อง Laser Pecker 1 Pro (Basic) ได้ลองศึกษาดูจึงได้รู้วา่ ค่าใช้จ่ายมีมูลค่าที่
สู งและราคาของเครื่ องมีราคาที่แพงมากผมจึงทาการคิดค้นและหาข้อมูลของและวัสดุและคิดหาวิธีการลดต้นทุนลงเพื่อที่
ประชาชนทัว่ ไปสามารถหาซื้อและใช้งานง่ายได้และสามารถพกพาไปทุกสถานที่
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1เพื่อทาให้มีราคาที่ถูก
1.2.2เพื่อง่ายต่อการพกพา
1.2.2 เพื่อใช้งานประเภท กัด เจาะ เซาะร่ อง ชิ้นงานจาพวกไม้
1.2.3 เพื่อกัดลายชิ้นงานแบบ 2D
1.2.4 เพื่อสร้างชิ้นงานไห้ สวยงาม และนาไปใช้งานการในอนาคต
1.3 ขอบเขตกำรศึกษำ
1.3.1โครงสร้างเครื่ อง CNC มีลกั ษณะโครงสร้างเป็ นพลาสติก ในการเคลื่อนที่แกน X, Y ใช้เฟื องและสเต็ปมอ
เตอร์เป็ นตัวขับเคลื่อนแกนต่าง ๆ
1.3.2 การควบคุม ใช้การโปรแกรมมิ่งบนบอร์ด Arduino โดยใช้โปรแกรม Autodesk Fusion 360 เป็ นส่วนที่
ใช้ออกแบบ และใช้โปรแกรม universal G-Code sender 2.0.0 เป็ นตัวสัง่ งานให้กบั สเต็ปเปอร์มอเตอร์เพื่อขับเคลื่อน
เฟื องในแนวแกน X, Y และขับเคลื่อนบอลสกรู ในแนวแกน Z

1.3.3 พื้นที่การใช้งานแกน X = 15cm. แกน Y = 15cm แกนZ ไม่เคลื่อนที่ ระยะ 20 cm.


2

1.4 ประโยชน์ ที่จะได้ รับ

• สามารถสร้างเครื่ องได้เองในต้นทุนที่ต่าและบารุ งรักษาได้ง่าย


• สามารถสร้างป้ายชื่อ ป้ายต่างๆ พวงกุญแจ และ สิ่ งของประดับได้
• สามารถนาไปใช้งานประเภทกัด เจาะ เซาะร่ อง จาพวกไม้ พลาสติก และวาดรู ปลายเส้นได้
• สามารถใช้ในการศึกษาภายในโรงเรี ยนได้
• สามารถพกพาไปได้ทุกสถานที่
3

บทที่ 2
ทฤษฎีและงำนวิจัยที่เกีย่ วข้ อง
2.1 ทฤษฎีที่เกีย่ วข้ อง
2.1.1 เทคโนโลยีทำงด้ำน CNC

เครื่ อ งจัก รซี เ อ็ น ซี (CNC) คื อ เป็ นเครื่ อ งจัก รกลอัต โนมัติ ที่ ท างานโดยการโปรแกรมเข้า ไปด้ว ยเครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์โดยจะทาให้มนั สามารถทางานตามแบบที่ได้โปรแกรมเข้าไป ซึ่งมีหลาย ภาษาที่ใช้กบั เครื่ องส่ วนมากจะใช้
ในงานโลหะที่มีความซับซ้อนและต้องการความแม่นยาสู งที่ การหล่อไม่สามารถทาได้หรื อสามารถทาได้กต็ าม หรื องาน
การกัดก้อนวัตถุอื่นๆ เช่น โลหะ, ไม้ หรื อ พลาสติกสังเคราะห์ เป็ นต้น ทาให้ได้รูปร่ าง ตามแบบชิ้นงานที่ได้ออกแบบไว้
แล้ว

รูปที่ 2.1 แสดงเครื่ องจักรซีเอ็นซีในงานด้านการกัดชิ้นงาน


CNC เป็ นคาย่อมาจาก Computer Numerical Control แปลว่าการควบคุมเชิงตัวเลข ด้วยคอมพิวเตอร์ เป็ น
เทคโนโลยีการใช้คอมพิวเตอร์ เข้ามาควบคุมการทางานของเครื่ องจักรกล ต่างๆ เช่น เครื่ องกัดซี เอ็นซี (CNCMilling),
เครื่ องกลึงซีเอ็นซี (CNC Lathe), เครื่ องเจียระไน(Grinding), EDM, Wire cut และอื่นๆซึ่งสามารถทาให้ผลิตชิ้นส่ วนที่
ผลิตได้รวดเร็ วถูกต้องและเที่ยงตรงมากโดยเครื่ องจักรซีเอ็นซีแต่ละแบบแต่ละรุ่ นจะมีลกั ษณะเฉพาะ และการประยุกต์ใช้
งานที่ต่างกันออกไปแต่เครื่ องจักรกลซีเอ็นซีท้งั หมดมีขอ้ ดีเหมือนๆ กันคือ
4

1. เครื่ องจักรกลซีเอ็นซีทุกเครื่ องได้รับการปรับปรุ งให้มีการทางานอัตโนมัติทาให้ลดความวุน่ วายของผูค้ วบคุม


เครื่ อ งจัก รในการผลิ ต ชิ้ น งานเครื่ อ งจัก รซี เ อ็น ซี ห ลายเครื่ อ งสามารถท างานโดยที่ ผูค้ วบคุ ม ไม่ ต้อ งคอยนั่ง เฝ้ า ใน
ระหว่างวัฏจักรการทางานของเครื่ อง (Machining cycle) และผูค้ วบคุมสามารถไปทางานอย่างอื่ นได้ สิ่ งนี้ ทาให้
ผูใ้ ช้เครื่ องจักรซีเอ็นซีได้ประโยชน์หลายอย่าง รวมทั้งลดความเหนื่อยล้าของผูป้ ฏิบตั ิงานความผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากคนมี
น้อยมากมีความคง เส้นคงวาในการผลิตและสามารถคานวณเวลาในการผลิตแต่ละชิ้นได้ซ่ ึงเป็ นผลดีกบั การวาง แผนการ
ผลิต
2. เทคโนโลยีซีเอ็นซีคือมีความคงเส้นคงวาและความถูกต้องแม่นยาของชิ้นงานซึ่ง หมายความว่าเมื่อโปรแกรม
ที่เขียนทางานอย่างถูกต้องแล้วการผลิตชิ้นส่ วน 2 ชิ้น 10 ชิ้น หรื อ 1000 ชิ้นให้เหมือนกันทุกประการสามารถทาได้อย่าง
ง่ายดายด้วยความสม่าเสมอ
3. ความยืดหยุน่ ในการทางาน เนื่องจากเครื่ องจักรกลเหล่านี้ทางานตามโปรแกรมการทางานที่ต่างกันทาให้ง่าย
เหมือนกับการโหลดโปรแกรมที่ต่างกันเมื่อโปรแกรมประมวลผลและทา การผลิตชิ้นงานแล้ว สามารถเรี ยกโปรแกรม
นั้นกลับมาใช้ใหม่ในครั้งต่อไปเมื่อต้องทางานชิ้นนั้นอีก

รูปที่ 2.2 แสดงโครงสร้างของเครื่ องซีเอ็นซี 3 แกน


เครื่ องจักรซีเอ็นซีมีหลายแบบหลายประเภทด้วยกันซึ่งจะมีโครงสร้างที่แตกต่างกันออกไป แล้วแต่วตั ถุประสงค์
ของการใช้งานในที่น้ ีจะกล่าวถึงเครื่ องซี เอ็นซี ที่มีโครงสร้างแบบง่ายที่สุดคือเครื่ องจักรซี เอ็นซี แบบ 3 แกน ดังรู ปที่ 2.2
5

เครื่ องซี เอ็นซี ประเภทนี้มีโครงสร้างแบบง่ายและไม่ซบั ซ้อนโดยประกอบด้วยแกน X, แกน Y และแกน Z การนาไปใช้


งานจะเป็ นงานกัดแบบ 3 มิติ ทัว่ ไป แกน X และแกน Y จะเป็ นตัวเคลื่อนที่ในแนวราบ ส่ วนแกน Z จะเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
ขึ้น-ลง เพื่อให้สามารถกัดงานแบบ 3 มิติได้ การควบคุมการทางานทาได้ง่ายกว่าเครื่ องซี เอ็นซี ที่มีจานวน แกนมากกว่า
โดยเครื่ องซีเอ็นซีประเภทนี้เหมาะสาหรับงานกัดที่ไม่ซบั ซ้อนมีขนาดเล็กและจานวนชิ้นงานไม่มาก และที่สาคัญราคาไม่
แพงด้วย ซึ่งในงานวิจยั นี้จะประยุกต์ใช้งานจากเครื่ องซีเอ็นซี แบบ 3 แกนนี้
2.1.2 ไดโอดเปล่งแสง (Light Emitter Diode: LED)

ไดโอดเปล่งแสงเป็ นสิ่ งประดิษฐ์สารกึ่งตัวนาชนิดหนึ่ง ที่สามารถแปลงพลังงานไฟฟ้าเป็ น พลังงานแสงได้ โดย


การเปล่งแสงของไดโอดจะเกิดขึ้นเมื่อพาหะเช่นอิเล็กตรอนในสารกึ่งตัวนา คายหรื อปลดปล่อยพลังงานออกมาเพื่อลด
ระดับพลังงานลงไปอยูท่ ี่ระดับพลังงานที่ต่ากว่า เช่น อิเล็กตรอนจากแถบนาไฟฟ้า (conduction band) ลดระดับลงไป
อยูท่ ี่แถบวาเลนซ์ กรณี น้ ี อิเล็กตรอนจะปลดปล่อยพลังงานออกมาในรู ปของเคลื่อนแม่เหล็กไฟฟ้า และเมื่อโฟตอนของ
คลื่น นี้มีความยาวคลื่นในช่วงที่สายตามองเห็นได้ ดังนั้นจะสามารถเห็นว่าไดโอดสามารถเปล่งแสงออกมาได้ความยาว
คลื่นของโฟตอนจะถูกกาหนดด้วยขนาดของ E ของสารกึ่งตัวนาการปลดปล่อยพลังงานของอิเล็กตรอนเช่นนี้ เรี ยกว่า
“Band to band Transition” จะมีโอกาสเกิดได้สูงในกรณี ที่สารกึ่งตัวนานั้นเป็ นสารกึ่งตัวนาชนิด “Direct band gap
semiconductor” เช่น GaAs สาหรับสารกึ่งตัวนาอีกกลุ่มหนึ่ งได้แก่ ซิ ลิคอน เยอรมันเนี ยม ซึ่ งเป็ นสารกึ่งตัวนาชนิ ด
“Indirect band gap semiconductor” การเปลี่ยนแปลงระดับพลังงานจะเป็ นไปในลักษณะที่เรี ยกว่า “Indirect
Transition” นั้นคืออิเล็กตรอนจากแถบนาไฟฟ้าจะลดระดับพลังงานไปอยูท่ ี่แถบวาเลนซ์ โดยผ่านระดับพลังงานที่เป็ น
ระดับ Trap หรื อระดับ R-G ที่มีอยูใ่ นช่องว่างพลังงานของ E ซึ่ งกรณี นี้อิเล็กตรอนจะปลดปล่อยพลังงานออกมาในรู ป
ของความร้อน ซึ่งเราไม่สามารถมองเห็นได้ ลักษณะโครงสร้างและรู ปร่ างของไดโอดเปล่งแสงแสดงดังรู ปที่ 2.3 ซึ่งเป็ น
โครงสร้างแบบง่ายของ รอยต่อพี-เอ็นของ GaAs
6

รูปที่ 2.3 แสดงโครงสร้างพื้นฐานและรู ปร่ างของไดโอดเปล่งแสงแบบรอยต่อพี-เอ็น

เมื่อไดโอดได้รับแรงดันไบอัสตรง จะมีอิเล็กตรอนและโฮลถูกฉีดข้ามรอยต่อเข้าไปยังด้านตรงข้าม การฉีดพาหะ


ดังกล่าวนี้จะทาให้เกิดกระบวนการรวมตัวใหม่ (recombination) ระหว่าง อิเล็กตรอนกับโฮลขึ้นในบริ เวณปลอดพาหะ
และบริ เวณใกล้เคียง ซึ่ งหากเป็ นสารกึ่งตัวนาชนิด "Direct band gap semiconductor" การรวมตัวของพาหะจะเป็ น
แบบ band to band หรื อ เรี ย กว่า direct transition ทาให้มีก ารปลดปล่อยพลังงานออกมาในรู ปคลื่ น แสงได้
ปรากฏการณ์น้ ี ถูกเรี ยกว่า "Injection Electroluminescence” ผลที่ตามมาคือ ไดโอดนี้สามารถเปล่งแสงได้ เมื่อ ได้รับ
แรงดันไบอัสตรง และเรี ยกไดโอดประเภทนี้ ว่า “ไดโอดเปล่งแสง” หรื อ Light Emitting Diode (LED) ลักษณะของ
แถบพลังงานของไดโอดเปล่งแสงขณะได้รับแรงดันไบอัสตรงแสดงดังรู ปที่ 2.4

รูปที่ 2.4 แถบพลังงานของไดโอดเปล่งแสงขณะได้รับแรงดันไบอัสตรง ทาให้มีการคลายพลังงาน ออกมาในรู ปพลังงาน


ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตามองเห็นได้
7

2.1.3 เลเซอร์ ไดโอด (Laser Diode)

คาาว่า เลเซอร์ หรื อ Laser ย่อมาจากคาเต็มคือ "Light Amplification by the Stimulated Emission of
Radiation" เลเซอร์ไดโอดเป็ นเลเซอร์ประเภทหนึ่งที่มีโครงสร้างแบบไดโอดซึ่งกลไกการเกิดแสงจะมีลกั ษณะคล้ายกัน
มากกับการเกิดแสงของไดโอดเปล่งแสงหรื อ LED แสงที่เกิดจากไดโอดเปล่งแสงเป็ นการเกิดโดยไม่มีการกระตุน้
(Stimulation) ซึ่งกรณีน้ ีจะไม่มีปฏิกิริยาใดๆเกิดขึ้นระกว่างโฟตอนกับอิเล็กตรอนแต่แสงเลเซอร์เป็ นการเกิดโดยการ
กระตุน้ ด้วยโฟตอนที่เกิดขึ้นแล้วสะท้อนกลับเข้าไปภายในตัวไดโอดอีกครั้ง เพื่อกระตุน้ อิเล็กตรอนอื่นๆให้ปลดปล่อย
โฟ ตอนใหม่ออกมาอีกครั้ง โดยสามารถพิจารณาได้ดงั ต่อไปนี้

• หลักกำรทำงำนของเลเซอร์ ไดโอด (Operating principle)

มีสามกลไกหลักของปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นภายในสารระหว่างอิเล็กตรอนกับโฟตอนดังแสดง ในรู ปที่ 2.5 กลไกแรก


(ก) การดูดซับ (Absorption) คือโฟตอนอาจจะถูกดูดซับ (Absorb) พลังงานโดยอิเล็กตรอนในสถานะพื้นของแถบวา
เลนส์ (Valence band) ขึ้นไปอยู่ในสถานะกระตุน้ ของแถบตัวนา (Conduction band)ได้ซ่ ึ งกระบวนการนี้ มีใช้น้ ี
อุปกรณ์เช่น Photodetector หรื อ เซลล์ แสงอาทิตย์ (ข) การปล่อยพลังงาน (Spontaneous emission) คือในทาง
กลับกันกับกรณี แรก อิเล็กตรอนในแถบตัวนาสามารถที่จะเปลี่ยนกลับไปยังระดับวาเลนซ์ได้

รูปที่ 2.5 แสดงกลไกปฏิกิริยาระหว่างโฟตอนกับอิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นในสาร


8

รูปที่ 2.6 หลักการป้อนกลับของโฟตอนเพือ่ กระตุน้ ให้อิเล็กตรอนปลดปล่อยพลังงาน


ที่สูงกว่าออกมากลายเป็ นแสงเลเซอร์

• โครงสร้ ำงของเลเซอร์ ไดโอด (Laser diode structure)

ลักษณะโครงสร้างของเลเซอร์ไดโอดแสดงดังรู ปที่ 2.7 เมื่อไดโอดได้รับแรงดันไบอัสตรง อิเล็กตรอนในชั้นเย็น


จะถูกฉีดข้ามร่ อยต่อ (p -n junction) เข้าไปในชั้นแอคทีฟ (active layer) ซึ่งมี ขนาดแคบมาก ขณะเดียวกันโฮลจากชั้น
พี่ (heteroisolation junction) จะถูกฉีดเข้ามาในชั้นแอคทีฟด้วยเช่นเดียวกันพาหะส่ วนมาจะอยูใ่ นชั้นนี้ เมื่ออิเล็กตรอน
เข้ารวมตัวกับโฮลจะมีการปล่อยพลังงานแสงออกมา เนื่องจากด้านทั้งสองของสารกึ่งตัวนาจะถูกขัดให้เรี ยบและสามารถ
สะท้อน แสงได้ดี แสงที่ออกมาในช่วงแรกจะมีพลังงานต่าและมีหลายความถี่จะถูกสะท้อนกลับเข้าไป ภายในไดโอดเพื่อ
กระตุน้ ให้มีการปลดปล่อยโฟตอนตอนอื่นๆ อีก ในที่สุดจะได้แสงเลเซอร์ที่มีความเข้ม สู งและเป็ นความถี่เดี่ยวหรื อหลาย
ความถี่แต่มี Bandwidth ที่แคบมากทาให้สามารถทะลุผา่ นออกมาได้ หลักการนี้แสดงได้ดงั รู ปที่ 2.7และ 2.8

รูป 2.7 โครงสร้างแสดงส่ วนประกอบๆ ของเลเซอร์ไดโอด


9

รูปที่ 2.8 แสดงโครงสร้างชั้นต่างๆ ของเลเซอร์ไดโอด


สาหรับโครงสร้างจริ งของเลเซอร์ไดโอดแสดงได้ดงั รู ปที่ 2.9 โดยรู ป (ก),แสดงให้เห็น ส่ วนประกอบภายในสอง
เลเซอร์ ประเภทนี้ ซึ่ งประกอบด้วยส่ วน คือ 1.ส่ วนของเลเซอร์ ไดโอด ที่ทาจากสารกึ่งตัวนา (Semiconductor laser
diode) ที่เป็ นแหล่งกาเนิ ดแสง 2. เลนส์รวมแสงทาหน้าที่รวมแสงเลเซอร์ ให้เป็ นลา (Beam) 3. ตัวระบายความร้อน
(Heat sink) เนื่องจากเลเซอร์ชนิด นี้มีความร้อนเกิดขึ้นในระบบสู งมากซึ่ งอาจทาให้ประสิ ทธิภาพของอุปกรณ์ลดลงได้
ดังนั้น จาเป็ นต้องมีการติดตัวระบายความร้อนไว้ และ 4. ตัวถังภายนอก (Base) เป็ นที่ยึดติดชิ้นส่ วน ค่างๆ เข้าด้วยกัน
ส่ วนรู ป (1) แสดงรู ปถ่ายจริ งเรอ โตโก - ทานกับทัว่ ไป

รูปที่ 2.9 แสดงโครงสร้างจริ งของเลเซอร์ไดโอด (ก) โครงสร้างภายในของเลเซอร์ไดโอดและ (ข) หัวเลเซอร์ไดโอดที่ใช้


ในท้องตลาดทัว่ ไป
10

แสงเลเซอร์ ถูกนาไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น เป็ นแหล่งกาเนิ ดความร้อนใช้ในทางการแพทย์


สาหรับงานผ่าตัดใช้ในงานรับ-ส่ งข้อมูลหรื อใช้เป็ นอุปกรณ์ช้ ี จุด (Laser pointer) ซึ่ งแสดงได้ดงั รู ปที่ 2.10 โดยใน
งานวิจยั นี้ ได้มีการนาเลเซอร์ ไดโอดมาประยุกต์ใช้ในงานด้านการเขียนลวดลายต้นแบบสาหรับงานทางด้านไมโคร
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไป

รูปที่2.10 แสดงลักษณะของเลเซอร์ไดโอดที่นาไปใช้เป็ นเลเซอร์พอยด์เตอร์ในท้องตลาดทัว่ ไป

2.2 โครงสร้ ำงและหลักกำรทำงำนของเครื่ องเขียนลวดลำยต้ นแบบด้ วยเลเซอร์


เป้าหมายหรื อวัตถุประสงค์หลักของงานวิจยั นี้คือการลดขั้นตอนการสร้างลวดลาย (Pattern) ในกระบวนการ
สร้างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ โดยการนาเทคโนโลยีทางด้าน CNC มา ประยุกต์ใช้งาน จากที่ได้กล่าวผ่านมาแล้วเกี่ยวกับ
โครงสร้างและการทางานของเครื่ อง CNC ดังนั้นในการดัดแปลงหรื อนาหลักการทางานของเครื่ อง CNC มาประยุกต์ใช้
จาเป็ นต้องทาการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไปจากเดิมโดยการตัดแกน Z (Z-Axis) เดิมทิ้งไปก่อนจะเพิ่มหัวเลเซอร์ เข้า มา
แทนที่ โดยเครื่ องจักรตัวใหม่น้ ีมีชื่อว่า เครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์ (Laser Draw Pattern Machine) ซึ่งการ
ทางานของเครื่ องตัวใหม่น้ ียงั คงใช้รูปแบบเดียวกันกับเครื่ อง CNC คือ การเคลื่อนที่ของแกน X และแกน Y จะเคลื่อนที่
ไปยังแต่ละพิกดั ในรู ปแบบเดิม ในขณะที่หัวเลเซอร์ ที่นามาใช้งานแทนแกน Z นั้น จะทาหน้าที่เขียนลวดลายลงบน
ชิ้นงานตามที่ได้ออกแบบไว้ โดย สามารถควบคุมขนาดของเส้นสายได้จากระยะโฟกัสและความเร็ วของการกัด สาหรับ
โครงสร้าง และหลักการทางานของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบ
11

2.2.1 โครงสร้ ำงของเครื่ องเขียนลวดลำยต้ นแบบด้ วยเลเซอร์


โครงสร้างและไดอะแกรมแสดงการทางานของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบดัดแปลงมา จากเครื่ อง CNC
โดยการใช้หวั เลเซอร์แทนแกน Z เดิม ซึ่งส่วนประกอบหลักต่างๆ แสดงได้ดงั รู ปที่ 2.11 และรู ปที่ 2.12 ตามลาดับ โดย
สามารถอธิบายรายละเอียดของส่ วนต่างๆ เบื้องต้นได้ดงั นี้
o โครงสร้ ำง (BODY)

คือส่ วนของโครงสร้างรวมทั้งหมดของเครื่ องจักรดังรู ปที่ 2.11 ทาหน้าที่เป็ นส่ วนรองรับหรื อ เป็ นที่ยดึ ติด
ส่ วนประกอบต่างๆเข้าไว้ดว้ ยกัน ชิ้นส่ วนทั้งหมดของโครงสร้างนี้ทาขึ้นมาจากแผ่นอะคริ ลิคหนาทั้งหมด มีความ
แข็งแรงและน้ าหนักเบา โดยออกแบบให้ถอดและประกอบได้ง่าย เพื่อความสะดวกในการขนย้ายกรณี ตอ้ งการนาไป
ทดลองในสถานที่อื่น
o สเต็ปมอเตอร์ (Step motor)

คือส่ วนที่ทาหน้าที่ในการขับเคลื่อนแกน สาหรับแกน X และแกน Y สเต็ปมอเตอร์ที่ใช้ท้งั สองแกนเป็ น


สเต็ปมอเตอร์ชนิดไบโพลาร์ มีขนาดเล็ก ขนาด (Size) กว้างxยาว = 42x42 cm, สู ง = 41.5 cm ความละเอียดอยูท่ ี่ 1.8
องศา/สเต็ป แรงบิดระดับปานกลาง ใช้งานง่ายเหมาะสาหรับ การนาไปใช้งานกับเครื่ องจักรขนาดเล็ก

รูปที่2.11 โครงสร้างแสดงส่ วนประกอบต่างๆ ของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์


12

รูปที่ 2.12 ไดอะแกรมแสดงส่ วนประกอบต่างๆ ของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์

• ไดรเวอร์ สเต็ปมอเตอร์ (Stepper driver)

ไดรเวอร์สเต็ปมอเตอร์คือ ส่ วนที่ทาหน้าในการควบคุมการทางานของสเต็ปมอเตอร์ โดย รับสัญญาณต่างๆ จาก


ไมโครคอนโทรเลอร์ อี ก ขั้น หนึ่ งเนื่ อ งจากในงานทางด้า นการสร้ า งเส้ น ลายต้น แบบส าหรั บ การสร้ า งอุ ป กรณ์
อิเล็กทรอนิ กส์น้ นั จาเป็ นต้องใช้ความละเอียดของลายเส้น ค่อนข้างสู งดังนั้นไดรเวอร์ สเต็ปมอเตอร์ ที่ใช้ตอ้ งสามารม
ควบคุมให้สเต็ปมอเตอร์ หมุนได้อย่างราย เรี ยบมากที่สุด ซึ่ งในที่น้ ีจะใช้ไดรเวอร์ รุ่น IM483 เป็ นไดรเวอร์ ราคาไม่สูงนัก
สามารถขับมอเตอร์ ขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใช้ไฟเลี้ยงไม่สูงมากนักให้ความระเอียดของสเต็ปสู งและปรับได้หลาย
ระดับที่สาคัญสามารถควบคุมการทางานจากไมโครคอนโทรเลอร์ ได้โดยง่าย รายละเอียดของการ ใช้งานเพิ่มเติมจะได้
กล่าวถึงในบทที่ 4

• เลเซอร์ ไดโอด (Laser diode)

เลเซอร์ ไดโอดคือ ส่ วนที่ทาหน้าที่เขียนเส้นลวดลายลงบนชิ้นงานโดยการกัดหรื อการเผา (Burning) เนื้อฟิ ล์มที่


ปกคลุมอยูท่ ี่ผิวของชิ้นงาน (Surface) ให้หลุดออกไป เพื่อให้ได้เป็ นช่องเปิ ด ตามที่ได้ออกแบบไว้ โดยรายละเอียดของ
13

เลเซอร์ไดโอดได้กล่าวไว้แล้วในหัวข้อที่ 2.1.3 ในการ เขียนลวดลายลงบนชิ้นงานนั้น สามารถควบคุมขนาดของเส้นลาย


ได้จากการปรับระยะห่าง ระหว่างชิ้นงานกับหัวเลเซอร์ และความเร็ วที่ใช้ในการกัดเส้นลาย

• แหล่งจ่ ำยไฟเลีย้ ง (Power Supply)

แหล่งจ่ายไฟทาหน้าที่จ่ายไฟเลี้ยงให้แก่ระบบทั้งหมดโดยใช้กระแสไฟฟ้าตรง (DC Current) แรงดันอยูร่ ะดับ


12-15 Volt ส่ วนของไฟเลี้ยงที่จ่ายให้แก่คอนโทรเลอร์และไดรเวอร์สเต็ปมอเตอร์จะทาการแปลงให้อยูท่ ี่ระดับแรงดัน 5
Volt ขณะที่เลเซอร์ จะต้องแปลงให้ได้ระดับแรงดัน เท่ากับ 2.2 – 2.5 Volt เพื่อป้องกันความเสี ยหายที่อาจเกิดขึ้นกับหัว
เลเซอร์ได้

• ไมโครคอนโทรเลอร์ (Microcontroller)

ไมโครคอนโทรเลอร์เป็ นส่ วนประมวลผลที่รับส่ งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์หรื อส่ วนควบคุมหลักโดยทาหน้าที่


จัดการข้อมูลต่างๆ ก่อนส่ งสัญญาณไปยังไดรเวอร์ มอเตอร์ เพื่อควบคุมการหมุนของสเต็ปมอเตอร์ และส่ งไปยังเลเซอร์
เพื่อเปิ ด/ปิ ดการทางานของหัวเลเซอร์ไมโครคอน- โทรเลอร์ที่ใช้เป็ นรุ่ น Arduino เบอร์ Stamp Atmega168 ที่พฒั นามา
จากรุ่ น AVR ข้อดีของคอนโทรเอลร์ตวั นี้คือขนาดเล็ก ราคาถูกประมวลผลเร็ วและสามารถพัฒนาหรื ออัพโหลดโปรแกรม
ผ่านทาง USB port ได้ ทาให้สะดวกในการนาไปใช้งานมากยิง่ ขึ้น

• ส่ วนควบคุมหลัก (Computer)

ส่ วนควบคุมหลักคือ คอมพิวเตอร์ เป็ นส่ วนที่ใช้ในการออกแบบต้นแบบ และควบคุมการ ทางานทั้งหมดของ


เครื่ องจักร คอมพิวเตอร์ที่นามาใช้งานนั้นเป็ นคอมพิวเตอร์ทวั่ ไปที่มี USB Port ไว้ติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกและสามารถ
ติดตั้งโปรแกรมที่ใช้งานร่ วมกับกับเครื่ องจักรได้
จำกรู ปที่ 2.12 แสดงไดอะแกรมการทางานของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วยเลเซอร์ จากรู ปส่ วนประมวลผลหลัก
คือ คอมพิวเตอร์ ซ่ ึ งทาหน้าที่ในการออกแบบต้นแบบและควบคุมการ ทางานทั้งหมดของเครื่ อง โดยหลังจากที่ทาการ
ออกแบบต้นแบบเรี ยบแล้ว ข้อมูลของไฟล์ตน้ แบบ จะถูกส่ งไปยังไมโครคอนโทรเลอร์ ผ่านทาง USB port เพื่อทาการ
ประมวลผล หลังจากนั้นไมโครคอนโทรเลอร์จะส่ งสัญญาณไปยังไดรเวอร์เพื่อบังคับให้สเต็ปมอเตอร์หมุนไปในทิศทาง
ต่างๆ ตามที่ได้ประมวลผลไว้แล้ว ขณะเดียวกันไมโครคอนโทรเลอร์จะส่ งสัญญาณไปยังหัวเลเซอร์เพื่อ ควบคุมการเปิ ด-
ปิ ดของหัวเลเซอร์ เมื่อเครื่ องทางานเสร็ จแล้วจะได้ลวดลายต้นแบบตามที่ได้ออกแบบไว้ และสุ ดท้าไมโครคอนโทรเลอร์
14

จะส่ งสัญญาณกลับไปยังคอมพิวเตอร์ เพื่อบอกสิ้ น สุ ดการทางานโดยงานต้นแบบที่ ทาเสร็ จแล้วก็จะถูกนาไปใช้ใ น


กระบวนการผลิตอื่นๆ ต่อไป
2.2.2 หลักกำรเขียนลำยเส้ นของเครื่ องเขียนลวดลำยต้ นแบบ
ในการทางานของเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบคือ การวนลูปรับข้อมูลของจุดหรื อตาแหน่ง แล้วทาการประมวล
ของจุดที่ได้รับมาใหม่เปรี ยบเทียบกับจุดเดิม ผลก่อนส่ งสัญญาณไปควบคุม การหมุนของสเต็ปมอเตอร์ ต่อไป โดยมี
หลักการในการเขียนเส้นเพื่อเชื่อมจุดต่างๆ ดังนี้

• หลักกำรสร้ ำงเส้ นเชื่ อมระหว่ำงจุดสองจุด


กาหนดให้จุด P1 (x1, y1) เป็ นจุดเริ่ มต้น และจุด P2 (x2, y2) เป็ นจุดปลาย หากทาการ เขียนเส้นเพื่อเชื่ อม
ระหว่างจุด P1 กับ P2 จะได้ดงั รู ปที่ 2.13 (ก) ซึ่งมีลกั ษณะเป็ นเส้นตรง แต่ ในทางปฏิบตั ิแล้วเช่น การแสดงผลของหน้าจอ
คอมพิวเตอร์ หรื อการเขียนลายเส้นด้วยอุปกรณ์ ประเภท CNC จะไม่สามารถสร้างเส้นตรงแบบทางทฤษฎีได้ เนื่ องจาก
รู ปแบบการแสดงผลของอุปกรณ์ดงั กล่าวมีลกั ษณะเป็ นแบบ Pixel (คอมพิวเตอร์ ) และประกอบจากการเคลื่อนที่ของ
แกน X และแกน Y (CNC) ดังนั้นในการสร้างเส้นตรงเพื่อเชื่ อมระหว่างจุดสองจุดแบบใหม่จาเป็ นต้องมี การคานวณ
อัตราส่ วนต่างๆ ก่อนแสดงผลออกมา ซึ่ งการเขียนเส้นตรงเพื่อเชื่อมระหว่างจุด P1 และ P2 ในทางปฏิบตั ิจะได้ดงั รู ปที่
2.13 (ข)

รูปที่2.13 การสร้างเส้นตรงเป็ นเชื่อมระหว่างจุด (ก) ในทางทฤษฎี และ (ข) ในทางปฏิบตั ิ


15

ในการสร้างเพือ่ เชท่อมระหว่างจุดสองจุดอาศัยพื้นฐานมาจากสมการเส้นตรงทัว่ ไปคือ


Y = m*X + C

m (slope) = AY / AX = (Y2 - Y1) / (X2 - X1)

เนื่องจาก m ต้องเป็ นจานวนเต็มดังนั้นจะได้วา่ ถ้าจุดทศนิยมหลัง m มากกว่า 0.5 ให้ปัดเพิ่มหนึ่ง และถ้าน้อย


กว่า 0.5 ให้ปัดทิ้งไป และสาหรับจุด P (X, Y) ใดๆ จะได้วา่

m = (Y - Y1) / (X - X1)

ดังนั้นจากสมการที่ 2.1, 2.2 และ 2.3 สามารถเขียนสมการใหม่ได้ดงั นี้

Y = [(Y2 - Y1) / (X2 - X1)]*X + [-(Y2 - Y1) / (X2 - X1)]*X1 + Y1

จากสมการที่ 2.4 คือสมการในการคานวณการจุด P (X, Y) ใดๆ ที่อยูร่ ะหว่างจุด P1(X1, Y1) และ จุด P2(X2, Y2)
เพื่อสร้างเส้นตรงเชื่อมระหว่างจุดสองจุดนั้น ลักษณะของเส้นที่ได้จะเป็ นดังรู ปที่ 2.14(ก) และรู ปที่ 2.14(ข) เป็ นการ
เขียนเส้นด้วยเครื่ องจักรจากการเคลื่อนที่ของแกน X และ Y

รูปที่ 2.14 ลักษณะของเส้นตรงที่เขียนขึ้นมาในทางปฏิบิติจริ ง


16

2.2.3 กำรสร้ ำงลำยต้ นแบบด้ วยเครื่ องเขียนลวดลำยต้ นแบบด้ วยเลเซอร์


การสร้างลวดลายด้วยวิธีการใหม่น้ ี เป็ นการพัฒนาและปรับปรุ งมาจากกระบวนการโฟโต้ ลีโธกราฟฟี แบบเดิม
วัตถุประสงค์เพื่อต้องการลดขั้นตอนกระบวนการผลิ ตต่างๆลงและเป็ นการประหยัดเวลาและวัสดุที่ใช้ โดยการนา
เลเซอร์ไดโอดมาประยุกต์ใช้งานดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น สาหรับการสร้างลวดลายแบบวิธีการใหม่น้ ีสามารถแสดงได้
ดังรู ปที่ 2.15

รูปที่ 2.15 แสดงขั้นตอนการสร้างลวดลายด้วยเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบเลเซอร์


17

จากรู ปที่ 2.15 แสดงขั้นตอนการสร้างลวดลายด้วยเครื่ องเขียนลวดลายต้นแบบด้วย เลเซอร์ วิธีการคือ เริ่ มต้นจาก


(ก) การจัดเตรี ยมผิวหน้าของฐานรอง (Substrate) ที่จะใช้ โดยการทาความสะอาดสิ่ งสกปรกหรื อฝุ่ นละอองต่างๆ
ออกไป เพื่อให้ผิวหน้าของฐานรองสามารถยึดติด กับสารอื่นที่โดปลงไปได้อย่างเต็มที่ ต่อมา (ข) ทาการเคลือบชั้นฟิ ลม์
บางลงบนผิวหน้าของฐานรอง โดยต้องเป็ นฟิ ล์มที่ทึบแสงและสามารถเผา (Burn) ออกได้ดว้ ยแสงเลเซอร์ ซึ่ งอาจเป็ น
น้ ายาไวแสง หรื อฟิ ล์มบาง ( Dry film ) ที่ใช้ในกระบวนการผลิตลายวงจรอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ หลังจากนั้น (ค) นา แผ่น
ฐานรองที่เคลือบด้วยฟิ ล์มบาง ไปเขียนลวดลายต่างๆ ลงไปตามที่ได้ออกแบบไว้ดว้ ยเครื่ อง เขียนลวดลายต้นแบบ โดย
แสงเลเซอร์จะทาการเผาฟิ ล์มตรงบริ เวณที่ได้มีการออกแบบไว้ ฟิ ล์มที่ ได้รับความร้อนจากแสงเลเซอร์จะระเหยไปในอา
กาส เกิ ดเป็ นช่ องเปิ ดมี ลกั ษณะเป็ นลวดลายต่างๆ ตามที่ ได้ออกแบบไว้ ต่อไป (ง) นาแผ่นที่ ผ่านกระบวนการเขียน
ลวดลายด้วยเลเซอร์ แล้วไปใช้ใน กระบวนการโดปสารเจื อต่ อไป โดยอาจใช้ก ระบวนการแพร่ (Diffusion) หรื อ
กระบวนการยิงฝัง ประจุ ( lon implantation ) ก็ได้ และสุ ดท้ายหลังจากการโดปสารเจือลงไปเรี ยบร้อยแล้ว (จ) ทาการ
ลอกหรื อกาจัดชั้นฟิ ล์มส่ วนที่เหลือทิ้งไป หลักจากนั้นจะได้ลวดลายของสารเจือตามที่ตอ้ งการ
ข้อดีของการสร้างลวดลายวงจรด้วยวิธีการนี้คือ ประหยัดเวลาและวัสดุที่ใช้ เหมาะสาหรับ งานที่ตอ้ งการความ
ละเอียดไม่สูงมากและจานวนชั้น (Layer) น้อยๆ เนื่องจากข้อจากัดของฟิ ล์มที่ นามาใช้กบั แสงเลเซอร์ และข้อเสี ยคือ ใน
ขั้นตอนการเขียนลายต้นแบบ ถ้าแสงเลเซอร์เผาชั้นฟิ ล์ม ออกไปไม่หมดหรื อมีอนุภาคของฟิ ล์มหลงเหลืออยูบ่ นฐานรอง
อาจส่ งผลให้ในขั้นตอนการโดป สารเจือนั้นเกิดได้ไม่เต็มที่ การแก้ปัญหาเบื้องต้นคือหลังจากขั้นตอนการเผาชั้นฟิ ล์มทิ้ง
ไปแล้ว ควรนาแผ่นชิ้ นงานไปส่ องกล้องดู เพื่อตรวจสอบดู ว่าช่ องเปิ ดมี อนุ ภาคของฟิ ล์มหลงเหลื ออยู่หรื อไม่ ถ้ามี ก็
สามารถนาชิ้นงานไปเขียนลายต้นแบบด้วยเลเซอร์อีกรอบหนึ่ง เพื่อกัดฟิ ล์มส่ วนที่เหลือออกไป
18

บทที3่

วิธีกำรดำเนินงำน
3.1 ลำดับกำรจัดทำโครงงำน

1. ศึกษาค้าคว้าข้อมูล

2. ออกแบบโครงสร้างเครื่ องและชุดขับเคลื่อน
3. ออกแบบและสร้างชุดควบคุม

4. จัดหาวัสดุอุปกรณ์มาทาโครงสร้างเครื่ อง
5. ประกอบชิ้นส่ วนทั้งหมดของเครื่ อง Mini CNC

6. ทาการทดสอบ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

7. สรุ ปผลการทดลองและหาประสิ ทธิภาพ

8. รวบรวมเอกสารจัดทารู ปเล่ม

3.2 กำรศึกษำเอกสำรที่เกีย่ วข้ อง

ผูจ้ ดั ทาโครงงานได้ทาการศึกษาทฤษฎีและข้อมูลที่เกี่ยวข้องของเครื่ อง Mini CNC ได้ทาการลาดับการศึกษา


เอกสารข้อมูลดังนี้
1. คุณสมบัติทวั่ ไปของเครื่ อง Mini CNC
2. สเต็ปปิ้ งมอเตอร์
3. วงจรชุดควบคุม
4. วงจรขับสเต็ปปิ้ งมอเตอร์
5. การออกแบบฮาร์ดแวร์
6. การออกแบบโครงสร้างและชุดขับเคลื่อน
19

3.3 เครื่ องมือที่ใช้ ในกำรวิจยั

การวิจยั ในครั้งนี้มีเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั คือ โปรแกรมห้องปฏิบตั ิการจาลอง ซึ่งมีข้นั ตอนในการ


สร้างและพัฒนาดังนี้
1. ศึกษารู ปแบบการเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่ องจักรซีเอ็นซี (G-Code) โดยเน้นเฉพาะค าสัง่ พื้นฐานเบื้องต้นที่
สามารถเข้าใจได้ง่าย และเหมาะสาหรับผูเ้ ริ่ มต้นที่เรี ยนในรายวิชาพื้นฐาน
2. ออกแบบกิจกรรมการเรี ยนรู ้โดยใช้เทคโนโลยีซีเอ็นซีเป็ นเครื่ องมือให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจถึงหลักการของระบบพิกดั
ทางเรขาคณิ ต และการนาไปประยุกต์ใช้ในการสร้างชิ้นงานจริ ง
3. ศึกษาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาจาวา
4. สร้างโปรแกรมห้องปฏิบตั ิการจาลองให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จดั ขึ้นในที่น้ ี โปรแกรมที่สร้างขึ้น
ได้ ถูกออกแบบ ให้รองรับกับชิ้นงานที่กาหนดให้ผเู ้ รี ยนทาและมีรูปแบบการใช้งานที่เข้าใจง่าย
5. ทดสอบการทางานของโปรแกรมโดยใช้โค้ดและแบบชิ้นงานที่เคยมีนักศึกษาออกแบบและสร้ างไว้ เพื่อ
ตรวจสอบความถู กต้องของโปรแกรม แก้ไ ขและปรั บปรุ งข้อบกพร่ องต่ างๆ โปรแกรมห้องปฏิ บตั ิ การจ าลองที่ ได้
พัฒนาขึ้นเป็ นโปรแกรมภาษาจาวาซึ่งสามารถเรี ยกใช้งานได้ทนั ทีจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ใดๆก็ตามที่มีตวั อ่านภาษาจาวา
อยู่ (หากไม่มีสามารถดาวน์โหลดมาติดตั้งได้ฟรี โดยผูใ้ ช้จะต้องทาการเขียนรหัสคาสั่ง G-Code ตามแบบชิ้นงานที่ได้
ออกแบบไว้ดว้ ยโปรแกรม NotePad และบันทึกไว้ในโฟลเดอร์ เดียวกับตัวโปรแกรม เป็ นไฟล์ขอ้ ความชื่อ gcode.txt
เมื่อเรี ยกใช้งานโปรแกรม ตัวโปรแกรมจะอ่านรหัสค าสั่งจากไฟล์ขอ้ ความดังกล่าวแล้วแสดงผลเป็ นภาพเส้นทางการ
เคลื่อนที่ของเครื่ องจักรบนหน้าจอในรู ปแบบ 2 มิติ เพื่อให้ผใู ้ ช้ตรวจสอบความถูกต้องของรหัสคาสัง่ ที่เขียนขึ้น

3.4 วิธีเก็บรวบรวมข้ อมูล

ในการรวบรวมข้อมูล ผูว้ ิจยั ได้จดั กิจกรรมการเรี ยนรู ้เสริ มโดยใช้เครื่ องจักรซีเอ็นซีเป็ นเครื่ องมือให้
ผูเ้ รี ยนได้เล็งเห็นถึงความสาคัญขององค์ความรู ้ที่ได้รับจากการเรี ยนในรายวิชาพื้นฐานทางคณิ ตศาสตร์
วิทยาศาสตร์กบั การปฏิบตั ิงานในโรงงานอุตสาหกรรมโดยเป้าหมายหลักของกิจกรรมที่จดั ขึ้นคือผูเ้ รี ยน
จะต้องสามารถออกแบบและลงมือปฏิบตั ิการสร้างชิ้นงานด้วยเครื่ องจักรซีเอ็นซีดว้ ยตนเองได้ ซึ่งกิจกรรม
การเรี ยนรู ้ที่จดั ขึ้นมีข้นั ตอนดังนี้
1. บรรยายเรื่ องเครื่ องจักรซีเอ็นซีในงานอุตสาหกรรม แบบต่างๆ เช่น เครื่ องกัด เครื่ องกลึง แขนกล
อุตสาหกรรมโดยใช้สื่อผสมพร้อมคลิปวีดีโอตัวอย่างการทางานของเครื่ องจักร เพื่อโน้มน้าวให้ผเู ้ รี ยนเกิด
20

ความสนใจโดยเน้นที่เครื่ องกัดซีเอ็นซีชนิด 3 แกน ซึ่งผูเ้ รี ยนกลุ่มดังกล่าวจะต้องลงมือปฏิบตั ิ


2. อธิบายเรื่ องระบบพิกดั ที่ใช้ในการออกแบบชิ้นงาน การเขียน G-Code เบื้องต้นโดยแสดงให้เห็น
การเชื่อมโยงความรู ้พ้นื ฐานด้านเรขาคณิตวิเคราะห์กบั การนาไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบชิ้นงาน พร้อม
ทั้งยกตัวอย่างประกอบ

รูปที่ 3.1 ตัวอย่างสไลด์ประกอบการบรรยายเรื่ องระบบพิกดั ของเครื่ องCNC

รูปที่ 3.2 โจทย์ปัญหาเรื่ องระบบพิกดั ของเครื่ องซีเอ็นซี พร้อมเฉลย

อธิบายเรื่ องการเขียนรหัสควบคุมเครื่ องจักร (G-Code) โดยยกตัวอย่างรหัสควบคุมเครื่ องจักรของชิ้นงานที่


กาหนด
21

รูปที่ 3.3 ตัวอย่างรหัสควบคุมเครื่ องCNC

5. ให้ผเู ้ รี ยนทาแบบฝึ กหัดเขียนรหัสควบคุมเครื่ องจักรตามแบบชิ้นงานที่กาหนด (รู ปที่ 12) โดยให้


ผูเ้ รี ยนใช้โปรแกรมห้องปฏิบตั ิการจาลองที่ได้พฒั นาขึ้นในการตรวจสอบรหัสของตนเองว่าได้ชิ้นงานตรงตาม
แบบหรื อไม่
ในทางปฏิบตั ิ การสร้างชิ้นงานหนึ่งชิ้นสามารถเขียนรหัสควบคุมได้หลายแบบขึ้นอยูก่ บั แนวคิดของ
ผูเ้ รี ยนแต่ละคน หลังจากผูเ้ รี ยนกลุ่มทดลองทุกคนเขียนรหัสของตนเองเสร็ จให้ผเู ้ รี ยนปรึ กษากันเพื่อค้นหา
ว่าการเขียนรหัสควบคุมแบบใดมีประสิ ทธิภาพมากที่สุด โดยพิจารณาจากจานวนบรรทัด,ระยะการเคลื่อนที่
ทั้งหมด และจานวนการเคลื่อนที่เข้า-ออก
22

รูปที่ 3.4 ตัวอย่างโจทย์ปัญหาเรื่ องการเขียนรหัสควบคุมเครื่ องCNC

6. ให้ผเู ้ รี ยนกลุ่มทดลองออกแบบชิ้นงานของตนเองลงบนกระดาษกริ ดที่ได้รับแจก ซึ่งกระดาษ


ดังกล่าวจะมีขนาดเท่ากับขนาดของชิ้นงานจริ งคือ 150x75mm และเป็ นขนาดอ้างอิงที่ตรงกับในโปรแกรม
ห้องปฏิบตั ิการจาลองที่สร้างขึ้นช่องตาราง (Major Grid) มีขนาดช่องละ 10mm และแบ่งช่องเล็ก (Minor
Grid) ขนาดช่องละ 5 mm เพื่อให้สะดวกต่อการออกแบบ ดังรู ปที่ 13

รูปที่ 3.5 กระดาษกริ ดสาหรับการออกแบบชิ้นงาน


23

7. ผูส้ อนทาการตรวจสอบแบบร่ างทั้งหมด เพื่อพิจารณาว่าแต่ละแบบสามารถนาไปเขียน


รหัสควบคุม และสามารถนาไปสร้างชิ้นงานได้จริ งหรื อไม่ชิ้นงานที่ไม่ผา่ นอาจเป็ นเพราะว่ามีความซับซ้อน
มากเกินไป หรื อมีการกาหนดองค์ประกอบทางเรขาคณิตที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะเรื่ องรัศมีความโค้ง

รูปที่ 3.6 ตัวอย่างชิ้นงานที่ผา่ น (ซ้าย) และไม่ผา่ นการตรวจสอบ (ขวา)

3.5 กำรทดสอบประสิ ทธิภำพ


ทาการประกอบโครงสร้างเครื่ อง, ชุดขับเคลื่อนและวงจรควบคุมเรี ยบร้อยแล้ว จึงทาการทดสอบเครื่ อง mini
CNCสามารถนาไปใช้งานประเภท ใช้แกะสลักไม้สามารถทาป้ายชื่อต่างพวงกุญแจ

3.6 กำรออกแบบและสร้ ำงเครื่ องกัดซีเอ็นซีเลเซอร์ ขนำดเล็ก

ขั้นตอนนี้จะเป็ นการออกแบบและสร้างเครื่ องกัดซีเอ็นซีเลเซอร์โดยได้ทาการออกแบบโครงสร้างของเครื่ องกัด


ซีเอนซีดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อกาหนดขนาดและส่ วนประกอบต่างๆ จากนัน่ ทาการเชื่อมต่อกับ
ไมโครคอนโทรลเลอร์สาหรับใช้ในการรับค่าสัง่ ตามโปรแกรมที่พฒั นาขึ้น ส่ วนหน่วยประมวลผลจะประกอบด้วย
อุปกรณ์ไมโครคอนโทรลเลอร์ทาหน้าที่รับข้อมูลจากแอปพลิเคชันในการสัง่ งานสเต็ปเปอร์มอเตอร์ให้หมุนตามระยะที่
กาหนดในตาแหน่งแนวแกน X แนวแกน Y และแนวแกน Z ดังแสดงในภาพที่ 1 และ 2 ตามลาดับ
24

รูปที่ 3.7 การออกแบบเครื่ องกัดซีเอ็นซีเลเซอร์

(ก)

(ข)

รูปที่ 3.8 เครื่ องกัดซีเอ็นซีเลเซอร์ (ก)ก่อนใช้งาน (ข) ขณะใช้งาน


25

เครื่ องกัดซีเอ็นซีชนาดเล็กที่ได้รับการพัฒนาสามารถให้บริ การการออกแบบของขนาดสู งสุ ด 500 มม. x 400 มม.


x 350 มม. ดังแสดงในภาพที่ 3 และรองรับการกัดชิ้นงานขนาด 340 มม. X 200 มม. x 8 มม. ดังแสดงในภาพที่ 4 วัสดุที่
ใช้ในการดาเนินการทดลองการใช้เครื่ องมือตัดที่ผลิตจาก ไม้และแผ่นอะคริ ลิค โดยส่ วนประกอบหลักของเครื่ องกัด
ซีเอ็นซีประกอบไปด้วย 1) สปิ นเดิลมอเตอร์1200 รอบต่อวินาที 2) สเต็ปเปอร์มอเตอร์สาหรับควบคุมแกน X แกน Y และ
แกน Z 3) Screw rod linear 500 mm ทาให้ตวั Spindle motor เคลื่อนที่ในแนวแกน X แนว Y และ แกน Z ในแนว
เส้นตรง

รูปที่ 3.9 ขนาดของเครื่ องกัดซีเอ็นซี

รูปที่ 3.10 พื้นที่การทางานของชิ้นงาน


26

3.7 กำรออกแบบระบบฮำร์ ดแวร์

ในการออกแบบระบบฮาร์ดแวร์และสร้างวงจรการเชื่อมต่อของเครื่ องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็ก ประกอบด้วยบอร์ด


MKS DLC32 เป็ นชุดตัวควบคุมหลักที่รองรับการเชื่อมต่อกับสัญญาณไร้สายโดย จะสัง่ ให้สเต็ปเปอร์มอเตอร์ของ
เครื่ องกัดซีเอ็นซีท้งั 3 แกน ทางานตามระยะที่กาหนดของชุดคาสัง่ โปรแกรมจากส่วนผูใ้ ช้งานด้วยเว็บเบราว์เซอร์ และส่ ง
ค่าข้อมูลไปยังเครื่ องกัดซีเอ็นซีดว้ ยโปรโตคอล MQTT ดังแสดงในภาพที่ 5

รูปที่ 3.11 ระบบฮาร์ดแวร์และวงจรการเชื่อมต่อ

3.8 กำรออกแบบและพัฒนำโปรแกรม

ในการออกแบบและพัฒ นาโปรแกรมส าหรั บ ควบคุ ม แกนของสเต็ป เปอร์ ม อเตอร์ ท้ ัง 3 แกน พัฒ นาด้ว ย
ซอฟต์แวร์ Node-RED และแสดงผลหน้าจอส่ วนต่อประสานกับผูใ้ ช้งาน (User interface) ที่รองรับการท างานด้วยเว็บ
เบราว์เซอร์ซ่ ึงสามารถใช้ได้ทุกแพลตฟอร์มดังแสดงในรู ปที่ 6 และ 7 ตามลาดับ
27

รูปที่ 3.12 หน้าจอควบคุมการทางานบนคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล

รูปที่ 3.13หน้าจอควบคุมการทางานบนมือถือ
28

3.9 วิธีกำรทดลอง

การทดลองประสิ ทธิภาพของระบบควบคุมเครื่ องกัดซีเอ็นซีขนาดเล็กโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพ


สิ่ งได้ทาการกาหนดระยะเพือ่ ทดสอบการเคลื่อนที่ของแกนบนเครื่ องกัดซีเอนซี 3 แกน ประกอบด้วย แกน X แกน Y
และแกน Z โดยทาการป้อนคาสัง่ ให้มอเตอร์ทางานตามระยะที่กาหนดด้วยแอปพลิเคชันที่พฒั นาด้วยซอฟต์แวร์ Node
RED เชื่อมสัญญาณข้อมูลด้วยโปรโปรโตคอล MQTT ทาการทดสอบจานวน 10 ครั้งต่อระยะแกน เพือ่ ทาทดสอบระยะ
การเคลื่อนที่ของแนวแต่ละแกนด้วยวิธีการ Jog และวัดระยะที่เกิดขึ้นจริ งด้วยไมโครมิเตอร์ เพื่อทดสอบระยะที่เกิดขึ้น
จริ งของแต่ละแกนดังแสดงในรู ปตารางที่ 1

ตำรำงที่ 3.1 คาสัง่ ที่กาหนดระยะการคลื่อนที่

You might also like