Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

โรงเรียน วัดสระเกศ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรูที่ 26 เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอที่ 3 และ แรงแนวฉาก
รหัสวิชา ว30201 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 ผูสอน นายปราณนต พิมพพันธุ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 จำนวนนักเรียน 8 คน วันทีส่ อน 20 กันยายน 2564 เวลา 08.20—10.00 (100 นาที)
อาจารยนิเทศกสถานศึกษา ครูนจุ นารถ รุงอเนกทรัพย อาจารยนิเทศคณะครุศาสตร อาจารย ดร.อัศวนนทปกรณ ธเนศวีรภัทร

สาระ ฟสิกส
ผลการเรียนรู
1. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำตอวัตถุอิสระ ทดลอง และอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันและการใชกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันกับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุรวมทั้งคำนวณปริมาณตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
ผลการเรียนรูในสาระที่เชื่อมโยงกัน
1. เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษพลังงาน
กล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
- สมบัติของวัตถุที่ตานการเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ เรียกวา ความเฉื่อย มวลเปนปริมาณที่บอกใหทราบวาวัตถุใดมีความเฉื่อยมากหรือนอย
- การหาแรงลัพธที่กระทำตอวัตถุสามารถเขียนเปนแผนภาพของแรงที่กระทำตอวัตถุอสิ ระได
- เมื่อวัตถุสองกอนออกแรงกระทำตอกัน แรงระหวางวัตถุทั้งสองจะมีขนาดเทากัน แตมีทิศทางตรงขามและกระทำตอวัตถุคนละกอน เรียกวา แรงคูกิริยา-ปฏิกริ ิยา ซึ่งเปนไปตามกฎการเคลื่อนที่ขอที่สาม
ของนิวตัน และเกิดขึ้นไดทั้งกรณีที่วัตถุทั้งสองสัมผัสกันหรือไมสมั ผัสกันก็ได
สาระสำคัญ
กฎขอที่สามของนิวตัน มีใจความวา "เมื่อวัตถุที่หนึ่งออกแรงกระทำกับวัตถุที่สอง วัตถุที่สองก็จะออกแรงกระทำกลับไปที่วัตถุที่หนึ่ง โดยที่แรงทั้งสองจะมีขนาดเทากันแดทิศทางตรงขามกันเสมอ" ซึ่งจะเรียก
แรงที่เกิดเปนคูนี้วา แรงคูกริ ิยา-ปฏิกิริยา แบงไดเปน 2 กรณี คือ กรณีที่วัตถุทั้งสองสัมผัสกันทางกายภาพและกรณีที่วัตถุทั้งสองไมสมั ผัสกันทางกายภาพ และเมื่อวัตถุถูกวางบนพื้นผิวหนึ่ง วัตถุจะกดพื้นผิวดวยแรง
เนื่องจากน้ำหนักของวัตถุเอง โดยพื้นผิวมีการออกแรงดันวัตถุนั้น ๆ กลับในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิวของวัตถุ ซึ่งแรงนี้เรียกวา แรงแนวฉาก

วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู


เมื่อเรียนคาบนี้1. เนื้อหา 1. ขั้นนำ (15 นาที) - ใบบันทึกขอมูลประกอบการ - นักเรียนสามารถบอก
จบแลวนักเรียน 1.1 กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 3 ของนิวตัน 1.1 ครูทำการทบทวนเกี่ยวกับกฎการเคลื่อนที่ บรรยาย เรื่อง “กฎการ กฎการเคลื่อนที่ของนิว
สามารถ กฎขอที่สามของนิวตัน (Newton's ของนิวตันที่ไดเรียนรูไปในคาบเรียนกอนหนา เคลื่อนที่ของนิวตันขอที่ 3 และ ตันขอที่ 3 จากคำถาม
ดานพุทธิพิสัย third law) มีใจความวา "เมื่อวัตถุที่หนึ่ง ดวยการอภิปรายโดยใชคำถามตอไปนี้ แรงแนวฉาก” ในแบบฝกหัดได
1. บอกกฎการ ออกแรงกระทำกับวัตถุที่สอง วัตถุที่สองก็ 1.1.1 มวลคืออะไร (ปริมาณของวัตถุที่ตาน คะแนนคิดเปนรอยละ
เคลื่อนที่ของนิวตัน จะออกแรงกระทำกลับไปที่วัตถุที่หนึ่ง การเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ - แบบฝกหัด เรื่อง “กฎการ 50 ของคะแนนรวมขึ้น
ขอที่ 3 ได โดยที่แรงทั้งสองจะมีขนาดเทากันแดทิศ มวลเปนปริมาณ สเกลาร มีหนวยวัด เคลื่อนที่ของนิวตันขอที่ 3 และ ไป
2. บอกความหมาย ทางตรงขามกันเสมอ" เมื่อพิจารณาขณะที่ เปนกิโลกรัม(kg) ) แรงแนวฉาก”
ของแรงแนวฉากได มีแรงมากระทำกับวัตถุ จะพบวา วัตถุนั้น 1.1.2 กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 1 นิวตัน กลาวไว - นักเรียนสามารถบอก
จะมีอันตรกิริยากับแรงนั้น โดยที่วัตถุจะ วาอยางไร (ถาไมมีแรงภายนอกมา - สื่ออิเล็กทรอนิกส จาก ความหมายของแรง
ดานทักษะพิสัย ออกแรงกระทำกลับตอแรงที่มากระทำกับ โปรแกรมพาวเวอรพอยท เรื่อง แนวฉาก จากคำถาม
กระทำกับวัตถุ วัตถุจะคงสภาวะเดิม
1. คำนวณเพื่อ วัตถุ ยกตัวอยางเชน เมื่อคนออกแรงผลัก “กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอ ในแบบฝกหัดได
หรือคงสภาพการเคลื่อนที่เดิมของวัตถุ
แกปญหาเกี่ยวกับกฎ โตะดวยแรง F1 ไปทางซายจะรูสึกวาโตะ ที่ 3 และ แรงแนวฉาก” คะแนนคิดเปนรอยละ
เอาไว)
การเคลื่อนที่ของนิว ออกแรงผลักกลับมาที่มือคนไปทาง 50 ของคะแนนรวมขึ้น
1.1.3 กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 2 นิวตัน กลาวไว
ตันขอที่ 3 และแรง ขวาดวยแรง F2 ดังภาพตอไปนี้ - หนังสือเรียนอักษรเจริญทัศน ไป
แนวฉากได วาอยางไร (เมื่อมีแรงลัพธภายนอกมา รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
กระทำกับวัตถุ ความเร็วของวัตถุจะ ฟสิกส ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
เปลี่ยนแปลง และจะมีความเรงเกิดขึ้น) เลม 1
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ดานจิตพิสัย 1.1.4 กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 2 นิวตัน เขียน - วิดิทัศนเรื่อง “Space - นักเรียนสามารถ
1. มีความรับผิดชอบ เปนสมการไดวาอยางไร Shuttle Launch Audio - คำนวณเพื่อแกปญหา
โดยการเขาเรียนและ ( ∑ 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ ) play LOUD (no music) HD เกี่ยวกับกฎการ
สงงานไดตรงเวลา สมการแสดงความสัมพันธระหวางแรง 1.2 ครูใหนักเรียนสังเกต การเคลื่อนที่และแรงที่ 1080p” จาก เคลื่อนที่ของนิวตันขอที่
กิริยากับแรงปฏิกิริยาตามกฎการเคลื่อนที่ เกี่ยวของกับการออกตัวของจรวด ในวีดิโอ https://www.youtube.com 3 และแรงแนวฉาก ใน
ขอที่สามของนิวตัน สามารถเขียนเปน จากลิงค ตอไปนี้ /watch?v=OnoNITE-CLc แบบฝกหัดไดคะแนน
สมการได ดังนี้ https://www.youtube.com/watch?v= คิดเปนรอยละ 50 ของ
𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2 OnoNITE-CLc (เวลา 1:20 - 2:20) คะแนนรวมขึ้นไป
𝐹𝐹⃑1 คือ แรงกิริยาหรือแรงที่วัตถุที่หนึ่งทำ 1.3 ครูใชคำถามเพื่อเชื่อมโยงไปสูเนื้อหาถัดไป
กับวัตถุที่สอง ดังนี้ - นักเรียนมีความ
𝐹𝐹⃑2 คือ แรงปฏิกิริยาหรือแรงที่วัตถุที่สอง 1.3.1 จากวีดิโอที่ไดสังเกตไป การออกตัวของ รับผิดชอบโดยการเขา
ทำกับวัตถุที่หนึ่ง กระสวยอวกาศมีทิศทางไปทางใด (ขึ้น เรียนและสงงานไดตรง
ขางบน) เวลา
เนื่องจากแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
จะตองเกิดขึ้นกับวัตถุเปนคูเทานั้น ไม 1.3.2 จากวีดิโอที่ไดสังเกตไป นักเรียนคิดวา
สามารถมีวัตถุอื่น ๆ มาเกี่ยวของได ผลที่ แรงที่ไอพนของกระสวยปลอยออกมามี
ตามมา คือ แรงทุกชนิดจะตองเกิดเปนคู ทิศทางไปทางใด (ลงขางลาง)
เสมอไมสามารถที่จะมีแรงเดี่ยวได ซึ่งจะ 1.3.3 นักเรียนคิดวา ทำไมการที่แรงที่
เรียกแรงที่เกิดเปนคูนี้วา แรงคูกิริยา- กระสวยออกถึงตรงขามกับทิศทางการ
ปฏิกิริยา (action-reacion pair) แบงได เคลื่อนที่ (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็
เปน 2 กรณี ดังนี้ ได)
1.4 ครูทำการเชื่อมโยงการอภิปราย เขาสูเนื้อหา
ในขั้นสอน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1) กรณีที่วัตถุทั้งสองสัมผัสกันทางกายภาพ 2. ขั้นสอน (65 นาที)
เชน การผลักกำแพงเพื่อยืดกลามเนื้อกอน 2.1 ครูทำการอธิบายเพื่อสรุปความรูที่ไดจาก
ออกกำลังกาย การออกแรงดึงเครื่อง ชั่ง การอภิปรายในขั้นนำ และแนะนำให
สปริง เปนตน นักเรียนรูจักกฎของนิวตัน ดังนี้
2.1.1 กฎการเคลื่อนที่ขอที่ 3 ของนิวตัน
กลาวไววา “เมื่อวัตถุที่หนึ่งออกแรง
กระทำกับวัตถุที่สอง วัตถุที่สองก็จะ
ออกแรงกระทำกลับไปที่วัตถุที่หนึ่ง โดย
ที่แรงทั้งสองจะมีขนาดเทากันแดทิศ
2) กรณีที่วัตถุทั้งสองไมสัมผัสกันทาง ทางตรงขามกันเสมอ”
กายภาพ เชน การปลอยวัตถุตกสูพื้น แรง 2.1.2 สมการแสดงความสัมพันธระหวางแรง
ดึงดูดหรือผลักระหวางแทงแมเหล็ก และ กิริยากับแรงปฏิกิริยา เขียนไดวา
แรงดึงดูดระหวางมวลของดวงดาว เปนตน 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2
𝐹𝐹⃑1 คือ แรงกิริยาหรือแรงที่วัตถุที่หนึ่งทำกับวัตถุที่
สอง
𝐹𝐹⃑2 คือ แรงปฏิกิริยาหรือแรงที่วัตถุที่สองทำกับวัตถุ
ที่หนึ่ง
2.2 ครูใหนักเรียนสังเกตการรูปภาพที่เกี่ยวของ
กับแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาที่แตกตางกัน
2 กรณี ดังนี้
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.2 แรงแนวฉาก 2.2.1 กรณีที่ 1
ถานำวัตถุมาวางบนมือ จะรูสึกไดวามี
น้ำหนักของวัตถุกดลงที่มือ ตามกฎขอที่
สามของนิวตัน เมื่อมีแรงกระทำก็จะตอง
เกิดแรงคูกิริยา-ปฏิกิริยา ดังนั้น จึงมีแรงดัน
กลับจากผิวของวัตถุในแนวตั้งฉาก ซึ่งแรง
นั้นถูกเรียกวา “แรงแนวฉาก”
เมื่อวัตถุถูกวางบนพื้นผิวหนึ่ง วัตถุจะ 2.2.2 กรณีที่ 2
กดพื้นผิวดวยแรงเนื่องจากน้ำหนักของวัตถุ
เอง โดยพื้นผิวมีการออกแรงดันวัตถุนั้น ๆ
กลับในทิศทางตั้งฉากกับพื้นผิวของวัตถุ ซึ่ง
แรงนี้เรียกวา แรงแนวฉาก (normal
force) โดยจะใชสัญลักษณ มี มีหนวยเปน
นิวตัน (N)
ตัวอยางเชน เมื่อนำกลองบรรจุของไว
เต็มไปวางบนโตะ พื้นผิวโตะจะถูกกดดวย 2.3 ครูนำการอภิปราย เพื่อชวนคิดและให
น้ำหนักของกลอง แตในทางกลับกัน ผิวโตะ นักเรียนสังเกตเห็นประเด็นที่เกี่ยวของกับ
มีการออกแรงดันกลองกลับในทิศทางตั้ง แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา โดยใชคำถาม
ฉากเชนกัน โดยมีตัวอยางดังภาพตอไปนี้ ดังตอไปนี้
2.3.1 ในกรณีแรกเปนแรงคูกิริยาและแรง
ปฏิกิริยาระหวางแรงใด (แรงที่มือผลัก
กำแพง และแรงที่กำแพงผลักมือ)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.3.2 ในกรณีแรกเปนแรงคูกิริยาและแรง
ปฏิกิริยาระหวางแรงใด (แรงที่ดวง
จันทรดึงดูดโลก และแรงที่โลกดึงดูด
ดวงจันทร)
2.3.3 จากทั้งสองกรณีมีสิ่งใดเหมือนกันบาง
(วัตถุทั้งสองออกแรงกระทำซึ่งกันและ
กัน)
2.3.4 จากทั้งสองกรณีมีสิ่งใดแตกตางกันบาง
1.3 โจทยตัวอยาง (การสัมผัสกันของวัตถุที่ออกแรงคู
1.3.1 กลอง กลองหนึ่งวางอยูบนโตะ กลอง กิริยา-ปฏิกิริยา)
นั้นมีน้ำหนักเทากับ 25 นิวตัน จงหาวาแรง 2.3.5 นักเรียนคิดวา ทั้งสองกรณีมีกรณีใด ที่
ปฏิกิริยาของกลองที่โตะกระทำนั้นมีขนาด ไมเปน แรงคูกิริยาหรือปฏิกิริยาหรือไม
และทิศทางเทากับเทาใด กำหนดใหทิศขึ้น (คำถามชวนคิด ตอบอยางไรก็ได)
บนเปนบวก และลงลางเปนลบ 2.4 ครูทำการอธิบายเพื่อสรุปความรูที่ไดจากการ
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให : อภิปรายและแนะนำใหนักเรียนรูจัก แรงคู
𝐹𝐹⃑1 = −25 𝑁𝑁
ปฏิกิริยา 2 กรณี ดังนี้
วิธีทำ 2.4.1 แรงคูกิริยาและปฏิกิริยากรณีที่วัตถุทั้ง
จากสูตร สองสัมผัสกันทางกายภาพ
𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2 2.4.2 แรงคูกิริยาและปฏิกิริยากรณีที่วัตถุทั้ง
สองไมสัมผัสกันทางกายภาพ
2.4.3 แรงคูปฏิกิริยากระทำกับวัตถุคนละชิ้น
กัน
2.4.4 แรงคูปฏิกิริยาเกิดขึ้นพรอมกัน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
แทนคา 2.5 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “กลอง กลอง
−25 = −𝐹𝐹⃑2 หนึ่งวางอยูบนโตะ กลองนั้นมีน้ำหนักเทากับ
25 นิวตัน จงหาวาแรงปฏิกิริยาของกลองที่
𝐹𝐹⃑2 = +25 𝑁𝑁 โตะกระทำนั้นมีขนาดและทิศทางเทากับ
เทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก และลง
ดังนั้น แรงปฏิกิริยาของกลองที่โตะ ลางเปนลบ” โดยมีขั้นตอน ดังนี้
กระทำนั้นมีขนาด 25 นิวตัน 2.5.1 โจทยตองการหาปริมาณใด
และมีทิศทางขึ้นขางบน (แรงปฏิกิริยาของกลองที่โตะกระทำ)
2.5.2 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
1.3.2 นายชางคนหนึ่ง กำลังทำการติดตั้ง ( 𝐹𝐹⃑1 = −25 𝑁𝑁 )
ราวเหล็กราวหนึ่ง ซึ่งมีน้ำหนัก 30 นิวตัน 2.5.3 ควรใชสมการใด ในการคำนวณเพื่อ
กับผนัง ชางคนนั้นทำการกดราวเขากับผนัง แกไขปญหาขางตน
ดวยแรง 20 นิวตัน ไปทางขวา จงหาวาแรง ( 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2 )
ปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนังกระทำนั้นมี 2.5.4 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
ขนาดและทิศทางเทากับเทาใด กำหนดให วิธีทำ
ทิศขึ้นบนและทิศทางขวาเปนบวก และทิศ จากสูตร 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2
ลงลางและทิศทางซายเปนลบ
แทนคา −25 = −𝐹𝐹⃑2
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝐹𝐹⃑1 = +20 𝑁𝑁
𝐹𝐹⃑2 = +25 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงปฏิกิริยาของกลองที่โตะ กระทำนั้น


มีขนาดเทากับ 25 นิวตัน และมีทิศทางขึ้นขางบน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
วิธีทำ 2.6 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “นายชางคน
จากสูตร หนึ่ง กำลังทำการติดตั้งราวเหล็กราวหนึ่ง ซึ่ง
𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2 มีน้ำหนัก 30 นิวตัน กับผนัง ชางคนนั้นทำ
แทนคา การกดราวเขากับผนังดวยแรง 20 นิวตัน ไป
+20 = −𝐹𝐹⃑2 ทางขวา จงหาวาแรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่
ผนังกระทำนั้นมีขนาดและทิศทางเทากับ
𝐹𝐹⃑2 = −20 𝑁𝑁 เทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนและทิศทางขวา
เปนบวก และทิศลงลางและทิศทางซายเปน
ดังนั้น แรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนัง ลบ” โดยมีขั้นตอน ดังนี้
กระทำนั้นมีขนาด 20 นิวตัน 2.6.1 โจทยตองการหาปริมาณใด
และมีทิศไปทางซาย (แรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนัง
กระทำ)
1.3.3 ตูคอนเทอนเนอรตูหนึ่งมีน้ำหนัก 2.6.2 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
10,000 นิวตัน ถูกวางอยูนิ่ง ๆ ในลานเก็บ ( 𝐹𝐹⃑1 = +20 𝑁𝑁 )
ของ พนักงานขนยายตองการขนตูออก จึง 2.6.3 ควรใชสมการใด ในการคำนวณเพื่อ
ลวดสลิงมาผูกติดกับตูแลวดึงดวยรถเครน แกไขปญหาขางตน
ซึ่งออกแรง 7,000 นิวตัน แตก็ดึงไมขึ้น จง ( 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2 )
หาวาแรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับตูคอน 2.6.4 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
เทนเนอรในขณะนั้นมีขนาดและทิศทาง วิธีทำ
เทาใด กำหนดใหทศิ ขึ้นบนเปนบวก และลง จากสูตร
ลางเปนลบ 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให : แทนคา
��⃑ = −10,000 𝑁𝑁 , 𝐹𝐹⃑ = +7,000 𝑁𝑁
𝑤𝑤 +20 = −𝐹𝐹⃑2
วิธีทำ
จากสูตร 𝐹𝐹⃑2 = −20 𝑁𝑁
� 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑
ดังนั้น แรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนังกระทำนั้น
มีขนาดเทากับ 20 นิวตัน และมีทิศไปทางซาย
แทนคา แรงจากภาพ
��⃑ + 𝐹𝐹⃑ + 𝑁𝑁
𝑤𝑤 �⃑ = 𝑚𝑚(0)
2.7 ครูใหนักเรียนสังเกตการรูปภาพที่เกี่ยวของ
แทนคา ปริมาณ กับแรงแนวฉากที่แตกตางกัน 2 กรณี ดังนี้
�⃑ = 0
(−10,000) + (+7,000) + 𝑁𝑁 2.7.1 กรณีที่ 1 กลองวางไวเฉย ๆ บนโตะ

�⃑ = 0
(−3,000) + 𝑁𝑁
ดังนั้น
�⃑ = + 3,000 𝑁𝑁
𝑁𝑁

ดังนั้น แรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับตูคอน
เทนเนอรในขณะนั้นมีขนาด
เทากับ 3,000 นิวตัน ในทิศทางขึ้นขางบน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.3.4 จานใบใหญใบหนึ่งวางอยูบนโตะ 2.7.2 กรณีที่ 2 หนังสือวางอยูบนโตะแลวมี
จานใบนั้นมีน้ำหนักเทากับ 10 N หากนำ คนกดหนังสือเลมนั้น
อาหารที่มีน้ำหนัก 5 นิวตัน เทลงบนจาน
จงหาวาแรงแนวราบที่โตะทำกับจานใบนั้น
มีขนาดและทิศทางเทาใด กำหนดใหทิศขึ้น
บนเปนบวก และลงลางเปนลบ
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝑤𝑤
��⃑1 = −10 𝑁𝑁 , 𝑤𝑤
��⃑2 = −5 𝑁𝑁
วิธีทำ
จากสูตร 2.8 ครูนำการอภิปราย เพื่อชวนคิดและให
� 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ นักเรียนสังเกตเห็นประเด็นที่เกี่ยวของกับ
แทนคา แรงจากภาพ แรงแนวฉาก โดยใชคำถามดังตอไปนี้
𝑤𝑤
��⃑1 + 𝑤𝑤 �⃑ = 𝑚𝑚(0)
��⃑2 + 𝑁𝑁 2.8.1 ในกรณีแรก นักเรียนคิดวาแรงที่โตะ
กระทำกับกลองมีขนาดเทากันหรือไม
แทนคา ปริมาณ (เทากัน)
�⃑ = 0
(−10) + (−5) + 𝑁𝑁 2.8.2 ในกรณีที่สอง นักเรียนคิดวาแรงที่โตะ
กระทำกับหนังสือ มีขนาดเทากัน
�⃑ = 0
(−15) + 𝑁𝑁
หรือไม (ไมเทากัน)
ดังนั้น
�⃑ = + 15 𝑁𝑁 2.8.3 ในกรณีที่สองแรงที่โตะกระทำกับ
𝑁𝑁
ดังนั้น แรงแนวฉากทีโ่ ตะกระทำกับจาน หนังสือมีคามากกวาหรือนอยกวา
ในขณะนั้นมีขนาด เทากับ 15 นิวตัน น้ำหนักของหนังสือ (มากกวา)
ในทิศทางขึ้นขางบน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2. กระบวนการ 2.8.4 ทำไมแรงที่โตะกระทำกับหนังสือถึงมี
สมรรถนะสำคัญ 5 ดาน ขนาดมากกวาน้ำหนักของหนังสือ
- ความสามารถในการสื่อสาร: ในการตอบ (เนื่องจากวัตถุหยุดนิ่ง แรงลัพธตองมีคา
คำถามที่ครูทำการถามไดอยางตรงประเด็น เทากับ 0 ทำใหโตะตองออกแรงมากขึ้น
- ความสามารถในการคิด: ในการคิดหา เพื่อรับแรงที่เพิ่มขึ้นมาจากการที่มีคนใช
คำตอบที่จะตองตอบและคำนวณปริมาณได มือกดหนังสือ)
อยางถูกตอง 2.8.5 นักเรียนคิดวา แรงที่โตะกระทำกับ
- ความสามารถในการแกปญหา: ในการแก กลองในกรณีแรก หรือแรงที่โตะกระทำ
โจทยปญหา กับหนังสือในกรณีที่สอง เปนแรง
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต (-) ปฏิกิริยาระหวางโตะกับวัตถุทั้งสอง
- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี (-) กรณีหรือไม (คำถามชวนคิด ตอบ
อยางไรก็ได)
3. คุณลักษณะอันพึงประสงค 2.9 ครูทำการอธิบายเพื่อสรุปความรูที่ไดจากการ
- มีความรับผิดชอบ จากการเขาเรียนและ อภิปรายขางตนและแนะนำใหนักเรียนรูจัก
สงงานตรงเวลา ความหมายของแรงแนวฉาก
- มุงมั่นในการทำงาน จากการตอบคำถาม
ในชั้นเรียน และทำโจทยที่กำหนดใหให
เสร็จทันเวลา
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.10 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “ตูคอน
เทอนเนอรตูหนึ่งมีน้ำหนัก 10,000 นิวตัน
ถูกวางอยูนิ่ง ๆ ในลานเก็บของ พนักงานขน
ยายตองการขนตูออก จึงลวดสลิงมาผูกติด
กับตูแลวดึงดวยรถเครน ซึ่งออกแรง 7,000
นิวตัน แตก็ดึงไมขึ้น จงหาวาแรงแนวฉากที่
พื้นกระทำกับตูคอนเทนเนอรในขณะนั้นมี
ขนาดและทิศทางเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบน
เปนบวก และลงลางเปนลบ” โดยมีขั้นตอน
ดังนี้
2.10.1 โจทยตองการหาปริมาณใด
(แรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับตูคอนเทน
เนอร)
2.10.2 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
��⃑ = −10,000 𝑁𝑁 ,
(𝑤𝑤
𝐹𝐹⃑ = +7,000 𝑁𝑁 )
2.10.3 ควรใชสมการใด ในการคำนวณเพื่อ
แกไขปญหาขางตน
( ∑ 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ )
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.10.4 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
วิธีทำ
จากสูตร ∑ 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑
แทนคา แรงจากภาพ
��⃑ + 𝐹𝐹⃑ + 𝑁𝑁
𝑤𝑤 �⃑ = 𝑚𝑚(0)
แทนคา ปริมาณ
�⃑ = 0
(−10,000) + (+7,000) + 𝑁𝑁

�⃑ = 0
(−3,000) + 𝑁𝑁
ดังนั้น
�⃑ = + 3,000 𝑁𝑁
𝑁𝑁

ดังนั้น แรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับตูคอนเทนเนอร
ในขณะนั้นมีขนาด เทากับ 3,000 นิวตัน
ในทิศทางขึ้นขางบน

2.11 ครูสาธิตการแกโจทยปญหา “จานใบ


ใหญใบหนึ่งวางอยูบนโตะ จานใบนั้นมี
น้ำหนักเทากับ 10 N หากนำอาหารที่มี
น้ำหนัก 5 นิวตัน เทลงบนจาน จงหาวาแรง
แนวราบที่โตะทำกับจานใบนั้นมีขนาดและ
ทิศทางเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก
และลงลางเปนลบ” โดยมีขั้นตอน ดังนี้
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2.11.1 โจทยตองการหาปริมาณใด
(แรงแนวราบที่โตะทำกับจาน)
2.11.2 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
( 𝑤𝑤
��⃑1 = −10 𝑁𝑁 , 𝑤𝑤
��⃑2 = −5 𝑁𝑁 )
2.11.3 ควรใชสมการใด ในการคำนวณเพื่อ
แกไขปญหาขางตน
( ∑ 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑ )
2.11.4 ครูสาธิตวิธีการคำนวณ ดังนี้
วิธีทำ
จากสูตร
� 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑
แทนคา แรงจากภาพ
𝑤𝑤
��⃑1 + 𝑤𝑤 �⃑ = 𝑚𝑚(0)
��⃑2 + 𝑁𝑁

แทนคา ปริมาณ
�⃑ = 0
(−10) + (−5) + 𝑁𝑁

�⃑ = 0
(−15) + 𝑁𝑁
ดังนั้น
�⃑ = + 15 𝑁𝑁
𝑁𝑁
ดังนั้น แรงแนวฉากทีโ่ ตะกระทำกับจาน ในขณะนั้นมี
ขนาด เทากับ 15 นิวตัน ในทิศทางขึ้นขางบน
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
3. ขั้นสรุป (20 นาที)
3.1 ครูใชคำถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจและ
สรุปบทเรียน ดังนี้
3.1.1 กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 3 นิวตัน กลาวไว
วาอยางไร (เมื่อวัตถุที่หนึ่งออกแรง
กระทำกับวัตถุที่สอง วัตถุที่สองก็จะ
ออกแรงกระทำกลับไปที่วัตถุที่หนึ่ง โดย
ที่แรงทั้งสองจะมีขนาดเทากันแดทิศ
ทางตรงขามกันเสมอ)
3.1.2 กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 3 นิวตัน เขียน
เปนสมการไดวาอยางไร
( 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2 )
3.1.3 แรงคูปฏิกิริยามีลักษณะอยางไรบาง
(-แรงคูปฏิกิริยาวัตถุทั้งสองอาจสัมผัส
หรือไมสัมผัสกันทางกายภาพก็ได
- แรงคูปฏิกิริยากระทำกับวัตถุคนละชิ้น
กัน
- แรงคูปฏิกิริยาเกิดขึ้นพรอมกัน)
3.1.4 แรงแนวฉาก คืออะไร (แรงที่กระทำ
ระหวางผิววัตถุสองกอนที่สัมผัสกัน มี
ทิศตั้งฉากกับแนวผิวสัมผัส)
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอที่ 3 และ แรงแนวฉาก
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 3 นิวตัน
กลาวไววา ...................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

2. กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 3 นิวตัน


เขียนเปนสมการ ไดวา ................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
โดยที่ ..........................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

3. แรงคูปฏิกิริยา
มีลักษณะ ....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

4. แรงแรวฉาก
คือ ..............................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
แบบฝกหัด เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอที่ 3 และ แรงแนวฉาก
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. กลอง กลองหนึ่งวางอยูบนโตะ กลองนั้นมีน้ำหนักเทากับ 25 นิวตัน จงหาวาแรงปฏิกิริยาของกลองที่โตะกระทำนั้นมี
ขนาดและทิศทางเทากับเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก และลงลางเปนลบ
สิ่งที่โจทยตองการหา

ปริมาณที่โจทยใหมา

สมการที่ใช
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

2. นายชางคนหนึ่ง กำลังทำการติดตั้งราวเหล็กราวหนึ่ง ซึ่งมีน้ำหนัก 30 นิวตัน กับผนัง ชางคนนั้นทำการกดราวเขากับ


ผนังดวยแรง 20 นิวตัน ไปทางขวา จงหาวาแรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนังกระทำนั้นมีขนาดและทิศทางเทากับเทาใด
กำหนดใหทิศขึ้นบนและทิศทางขวาเปนบวก และทิศลงลางและทิศทางซายเปนลบ

สิ่งที่โจทยตองการหา

ปริมาณที่โจทยใหมา

สมการที่ใช
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
3. ตูคอนเทอนเนอรตูหนึ่งมีน้ำหนัก 10,000 นิวตัน ถูกวางอยูนิ่ง ๆ ในลานเก็บของ พนักงานขนยายตองการขนตูออก จึง
ลวดสลิงมาผูกติดกับตูแลวดึงดวยรถเครน ซึ่งออกแรง 7,000 นิวตัน แตก็ดึงไมขึ้น จงหาวาแรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับ
ตูคอนเทนเนอรในขณะนั้นมีขนาดและทิศทางเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก และลงลางเปนลบ
สิ่งที่โจทยตองการหา

ปริมาณที่โจทยใหมา

สมการที่ใช
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

4. จานใบใหญใบหนึ่งวางอยูบนโตะ จานใบนั้นมีน้ำหนักเทากับ 10 N หากนำอาหารที่มีน้ำหนัก 5 นิวตัน เทลงบนจาน จง


หาวาแรงแนวราบที่โตะทำกับจานใบนั้นมีขนาดและทิศทางเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก และลงลางเปนลบ

สิ่งที่โจทยตองการหา

ปริมาณที่โจทยใหมา

สมการที่ใช

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอที่ 3 และ แรงแนวฉาก
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้
1. กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 3 นิวตัน
กลาวไววา เมื่อวัตถุที่หนึ่งออกแรงกระทำกับวัตถุที่สอง วัตถุที่สองก็จะออกแรงกระทำกลับไปที่วัตถุที่หนึ่ง โดยที่
แรงทั้งสองจะมีขนาดเทากันแตทิศทางตรงขามกันเสมอ

2. กฎการเคลื่อนที่ ขอที่ 3 นิวตัน


เขียนเปนสมการ ไดวา
𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2
โดยที่

𝐹𝐹⃑1 คือ แรงกิริยาหรือแรงที่วัตถุที่หนึ่งทำกับวัตถุที่สอง

𝐹𝐹⃑2 คือ แรงปฏิกิริยาหรือแรงที่วัตถุที่สองทำกับวัตถุที่หนึ่ง

3. แรงคูปฏิกิริยา
มีลักษณะ - แรงคูปฏิกิริยาวัตถุทั้งสองอาจสัมผัสหรือไมสัมผัสกันทางกายภาพก็ได
- แรงคูปฏิกิริยากระทำกับวัตถุคนละชิ้นกัน
- แรงคูปฏิกิริยาเกิดขึ้นพรอมกัน

4. แรงแนวฉาก
คือ แรงที่กระทำ ระหวางผิววัตถุสองกอนที่สัมผัสกัน มีทิศตั้งฉากกับแนวผิวสัมผัส
แบบฝกหัด เรื่อง กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันขอที่ 3 และ แรงแนวฉาก
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. กลอง กลองหนึ่งวางอยูบนโตะ กลองนั้นมีน้ำหนักเทากับ 25 นิวตัน จงหาวาแรงปฏิกิริยาของกลองที่โตะกระทำนั้นมี
ขนาดและทิศทางเทากับเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก และลงลางเปนลบ

สิ่งที่โจทยตองการหา แรงปฏิกิริยาของกลองที่โตะกระทำ

ปริมาณที่โจทยใหมา 𝐹𝐹⃑1 = −25 𝑁𝑁

สมการที่ใช 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2

ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝐹𝐹⃑1 = −25 𝑁𝑁

วิธีทำ
จากสูตร
𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2
แทนคา

−25 = −𝐹𝐹⃑2
𝐹𝐹⃑2 = +25 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงปฏิกิริยาของกลองที่โตะกระทำนั้นมีขนาด 25 นิวตัน และมีทิศทางขึ้นขางบน


2. นายชางคนหนึ่ง กำลังทำการติดตั้งราวเหล็กราวหนึ่ง ซึ่งมีน้ำหนัก 30 นิวตัน กับผนัง ชางคนนั้นทำการกดราวเขากับ
ผนังดวยแรง 20 นิวตัน ไปทางขวา จงหาวาแรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนังกระทำนั้นมีขนาดและทิศทางเทากับเทาใด
กำหนดใหทิศขึ้นบนและทิศทางขวาเปนบวก และทิศลงลางและทิศทางซายเปนลบ

สิ่งที่โจทยตองการหา แรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนังกระทำ

ปริมาณที่โจทยใหมา 𝐹𝐹⃑1 = +20 𝑁𝑁

สมการที่ใช 𝐹𝐹⃑1 = −𝐹𝐹⃑2

ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝐹𝐹⃑1 = +20 𝑁𝑁

วิธีทำ
จากสูตร

แทนคา

+20 = −𝐹𝐹⃑2
𝐹𝐹⃑2 = −20 𝑁𝑁

ดังนั้น แรงปฏิกิริยาของราวเหล็กที่ผนังกระทำนั้นมีขนาด 20 นิวตัน และมีทิศไปทางซาย


3. ตูคอนเทอนเนอรตูหนึ่งมีน้ำหนัก 10,000 นิวตัน ถูกวางอยูนิ่ง ๆ ในลานเก็บของ พนักงานขนยายตองการขนตูออก จึง
ลวดสลิงมาผูกติดกับตูแลวดึงดวยรถเครน ซึ่งออกแรง 7,000 นิวตัน แตก็ดึงไมขึ้น จงหาวาแรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับ
ตูคอนเทนเนอรในขณะนั้นมีขนาดและทิศทางเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก และลงลางเปนลบ
สิ่งที่โจทยตองการหา แรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับตูคอนเทนเนอร
𝑤𝑤
��⃑ = −10,000 𝑁𝑁 ,
ปริมาณที่โจทยใหมา
𝐹𝐹⃑ = +7,000 𝑁𝑁

สมการที่ใช � 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑
ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝑤𝑤
��⃑ = −10,000 𝑁𝑁 , 𝐹𝐹⃑ = +7,000 𝑁𝑁

วิธีทำ
จากสูตร
� 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑

แทนคา แรงจากภาพ
��⃑ + 𝐹𝐹⃑ + 𝑁𝑁
𝑤𝑤 �⃑ = 𝑚𝑚(0)

แทนคา ปริมาณ
�⃑ = 0
(−10,000) + (+7,000) + 𝑁𝑁
�⃑ = 0
(−3,000) + 𝑁𝑁

ดังนั้น
�⃑ = + 3,000 𝑁𝑁
𝑁𝑁

ดังนั้น แรงแนวฉากที่พื้นกระทำกับตูคอนเทนเนอรในขณะนั้นมีขนาด เทากับ 3,000 นิวตัน ในทิศทางขึ้นขางบน


4. จานใบใหญใบหนึ่งวางอยูบนโตะ จานใบนั้นมีน้ำหนักเทากับ 10 N หากนำอาหารที่มีน้ำหนัก 5 นิวตัน เทลงบนจาน จง
หาวาแรงแนวราบที่โตะทำกับจานใบนั้นมีขนาดและทิศทางเทาใด กำหนดใหทิศขึ้นบนเปนบวก และลงลางเปนลบ

สิ่งที่โจทยตองการหา แรงแนวราบที่โตะทำกับจาน
𝑤𝑤
��⃑1 = −10 𝑁𝑁 ,
ปริมาณที่โจทยใหมา
��⃑2 = −5 𝑁𝑁
𝑤𝑤

สมการที่ใช � 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑

ปริมาณที่โจทยที่กำหนดให :
𝑤𝑤
��⃑1 = −10 𝑁𝑁 , 𝑤𝑤
��⃑2 = −5 𝑁𝑁

วิธีทำ
จากสูตร
� 𝐹𝐹 = 𝑚𝑚𝑎𝑎⃑

แทนคา แรงจากภาพ
𝑤𝑤
��⃑1 + 𝑤𝑤 �⃑ = 𝑚𝑚(0)
��⃑2 + 𝑁𝑁

แทนคา ปริมาณ
�⃑ = 0
(−10) + (−5) + 𝑁𝑁
�⃑ = 0
(−15) + 𝑁𝑁

ดังนั้น
�⃑ = + 15 𝑁𝑁
𝑁𝑁

ดังนั้น แรงแนวฉากทีโ่ ตะกระทำกับจานในขณะนั้นมีขนาด เทากับ 15 นิวตัน ในทิศทางขึ้นขางบน

You might also like