Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

โรงเรียน วัดสระเกศ

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
แผนการจัดการเรียนรูที่ 8 เรื่อง อัตราเร็วขณะหนึ่งและความเร็วขณะหนึ่ง
รหัสวิชา ว30201 ชื่อวิชา ฟสิกส 1 ผูสอน นายปราณนต พิมพพันธุ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4/1 จำนวนนักเรียน คน วันทีส่ อน 6 กรกฎาคม 2564 เวลา 08.20—10.00 (100 นาที)
อาจารยนิเทศกสถานศึกษา ครูนจุ นารถ รุงอเนกทรัพย อาจารยนิเทศคณะครุศาสตร อาจารย ดร.อัศวนนทปกรณ ธเนศวีรภัทร

สาระ ฟสิกส
ผลการเรียนรู
1. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธระหวาง ตำแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรง ของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงที่มีความเรง คงตัวจากกราฟและสมการ รวมทั้งทดลองหาคา ความเรงโนม
ถวงของโลก และคำนวณปริมาณ ตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
ผลการเรียนรูในสาระที่เชื่อมโยงกัน
1. เขาใจธรรมชาติทางฟสิกส ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโนมถวงสากล แรงเสียดทานสมดุลกล ของวัตถุ งานและกฎการอนุรักษพลังงาน
กล โมเมนตัมและกฎการอนุรักษ โมเมนตัม การเคลื่อนที่แนวโคง รวมทั้งนำความรูไปใชประโยชน
สาระการเรียนรูแกนกลาง
- ปริมาณที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ ไดแกตำแหนง การกระจัด ความเร็ว และความเรง โดยความเร็ว และความเรงมีทั้งคาเฉลี่ยและคาขณะหนึ่งซึ่งคิด ในชวงเวลาสั้น ๆ สำหรับปริมาณตาง ๆ ที่ เกี่ยวของกับ
𝑢𝑢+𝑣𝑣 1
การเคลื่อนที่แนวตรงดวยความเรง คงตัวมีความสัมพันธตามสมการ 𝑣𝑣 = 𝑢𝑢 + 𝑎𝑎𝑎𝑎 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = �
2
� 𝑡𝑡 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 𝑢𝑢𝑢𝑢 + 2 𝑎𝑎𝑡𝑡 2 , 𝑣𝑣 2 = 𝑢𝑢2 + 2𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎𝑎
สาระสำคัญ
ความเร็วขณะหนึ่ง หนึ่งเปนปริมาณเวกเตอร นิยามโดย ความเร็วเฉลี่ยในชวงเวลา 𝛥𝛥𝑡𝑡 ที่สั้นมาก ๆ จนเกือบจะเปนศูนย ถือไดวาเปนความเร็ว ณ ขณะนั้นคาที่ไดกจ็ ะเปนความเร็วขณะหนึ่งสวนทิศพิจารณา
จากทิศของการกระจัดในชวงเวลาที่สั้นมาก ๆ นั้น อีกปริมาณหนึ่งทีส่ ัมพันธกับความเร็วขณะหนึ่งก็คือ อัตราเร็วขณะหนึ่ง (instantaneous speed) ซึ่งเปนปริมาณสเกลาร มีคาเทากับขนาดของความเร็วขณะหนึ่ง
ระยะระหวางจุดบนแถบกระดาษ ระยะระหวางจุดครอมตำแหนงที่ตองการหา
การคำนวณหาอัตราเร็วของวัตถุจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา ได ดังความสัมพันธ อัตราเร็วเฉลี่ย = และ อัตราเร็วขณะหนึ่ง =
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
เมื่อเรียนคาบนี้ 1. เนื้อหา 1. ขั้นนำ (15 นาที) - ใบบันทึกขอมูลประกอบการ - นักเรียนสามารถทำ
จบแลวนักเรียน 1.1 อัตราเร็วขณะหนึ่งและความเร็ว 1.1 ครูใหนักเรียนสังเกต ความเร็วบนหนาปด บรรยายเรื่อง “อัตราเร็ว การอธิบายความหมาย
สามารถ ขณะหนึ่ง ของรถ ในวีดิโอ จากลิงคตอไปนี้ ขณะหนึ่งและความเร็ว ของความเร็วขณะหนึ่ง
ดานพุทธิพิสัย แมวาอัตราเร็วเฉลี่ยหรือความเร็วเฉลี่ย https://www.youtube.com/watch?v=4 ขณะหนึ่ง” และอัตราเร็วขณะหนึ่ง
1. อธิบาย จะมีประโยชนในชีวติ ประจำวันในการใช vstWEvjW18 (0:30 – 2:30) - สื่ออิเล็กทรอนิกส จาก ในแบบฝกหัดได
ความหมายของ เปรียบเทียบวา สิ่งใดเคลื่อนที่ไดเร็วหรือชา 1.2 ครูใชคำถามเพื่อกระตุนความสนใจของ โปรแกรมพาวเวอรพอยท เรื่อง คะแนนคิดเปนรอยละ
ความเร็วขณะหนึ่ง กวากัน เชนในการแขงขันวิ่ง 100 เมตร ถา นักเรียน ดังนี้ “อัตราเร็วขณะหนึ่งและ 50 ของคะแนนรวมขึ้น
และอัตราเร็ว อัตราเร็วเฉลี่ยของวิไลและสุธีเทากับ 8 1.2.1 จากวีดิโอ รถดังกลาวมีการเคลื่อนที่ ความเร็วขณะหนึ่ง” ไป
ขณะหนึ่ง เมตรตอวินาที และ 10 เมตรตอวินาที หรือไม เพราะเหตุใด (มี เพราะมีการเปลี่ยน - หนังสือเรียนอักษรเจริญทัศน - นักเรียนสามารถ
ดานทักษะพิสัย ตามลำดับ เราบอกไมไดวา สุวิ่งเร็วกวาวิไล ตำแหนง) รายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร
1.2.2 จากการเคลื่อนที่ของรถจากวีดิโอ คำนวณเพื่อหาอัตราเร็ว
1. คำนวณเพื่อหา ในทุกขณะตลอดเสนทาง 100 เมตร ใน ฟสิกส ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4
นักเรียนคิดวาความเร็วของรถตลอดการ เฉลี่ยหรืออัตราเร็ว
อัตราเร็วเฉลี่ยหรือ บางขณะ วิไลอาจวิ่งไดเร็วกวาสุธีก็ได เลม 1
อัตราเร็วขณะหนึ่ง เคลื่อนที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือไม (มี) ขณะหนึ่ง จากแถบ
เพียงแตเมื่อคิดตลอดเสนทางแลว สุธีใช
จากแถบกระดาษที่ 1.2.3 นักเรียนคิดวา เลขในมิเตอรของรถ ที่ กระดาษที่ผานเครื่อง
เวลานอยกวา จึงมีอัตราเร็วเฉลี่ยมากกวา
ผานเครื่องเคาะ แสดงใหเห็นในวีดิโอ คือคาอะไร (ตอบอะไร เคาะสัญญาณที่
วิไล ปริมาณทางฟสิกสที่บอกถึงความเร็ว
สัญญาณ ก็ได) กำหนดให ใน
ของวัตถุในแตละขณะก็คือ ความเร็ว
ดานจิตพิสัย 1.2.4 ความเร็วของรถนั้นเกี่ยวของกับคา แบบฝกหัดไดคะแนน
ขณะหนึ่ง (instantaneous velocity)
1. มีความรับผิดชอบ มิเตอรหรือไมอยางไร (ตอบอะไรก็ได) คิดเปนรอยละ 50 ของ
ซึ่งเปนความเร็วของวัตถุ ณ เวลาขณะหนึ่ง
โดยการเขาเรียนและ 1.3 ครูเชื่อมโยงเขาสูเนื้อหาตอไป คะแนนรวมขึ้นไป
ๆ ระหวางการเคลื่อนที่
สงงานไดตรงเวลา
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ความเร็วขณะหนึ่งเปนปริมาณ 2. ขั้นสอน (65 นาที) - วิดิทัศนเรื่อง “On board - นักเรียนสามารถ
เวกเตอร นิยามโดยการพิจารณาความเร็ว 2.1 ครูแนะนำความหมายของความเร็วขณะหนึ่ง Fernando Alonso GP คำนวณเพื่อแกโจทย
เฉลี่ยในชวงเวลา 𝛥𝛥𝛥𝛥 ที่สั้นมาก ๆ จน และอัตราเร็วขณะหนึ่ง Belgium SPA F1 2013” จาก ปญหาเกี่ยวกับ
เกือบจะเปนศูนย ถือไดวาเปนความเร็ว ณ 2.2 ครูใชคำถามเพื่อเชื่อมโยงสูเนื้อหาถัดไป https://www.youtube.com อัตราเร็วเฉลี่ยและ
ขณะนั้น คาที่ไดก็จะเปนความเร็วขณะหนึ่ง “ความเร็วของรถในแตละชวงขณะ สามารถ /watch?v=4vstWEvjW18 ความเร็วเฉลี่ย ในโจทย
สวนทิศของความเร็วขณะหนึ่งพิจารณาจาก คำนวณหาไดหรือไม อยางไร” (ตอบอะไรก็ - วิดิทัศนเรื่อง “Ticker Timer ที่กำหนดใหใน
ทิศของการกระจัดในชวงเวลาที่สั้นมาก ๆ ได) - Motion and Time (CBSE แบบฝกหัดไดคะแนน
นั้น 2.3 ครูใหนักเรียนสังเกต การทำงานของเครื่อง Grade 7 Physics)” จาก คิดเปนรอยละ 50 ของ
เมื่อตองการกลาวถึงความเร็ว เคาะสัญญาณเวลา ในวีดิโอจากลิงคตอไปนี้
https://www.youtube.com คะแนนรวมขึ้นไป
ขณะหนึ่ง สามารถกลาวเพียงแค ความเร็ว https://www.youtube.com/watch?v=
/watch?v=mzf_Q7GOKSE - นักเรียนมีความ
โดยไมมีคำวา ขณะหนึ่ง ก็เขาใจไดวาเปน mzf_Q7GOKSE (0:00-1:15)
รับผิดชอบโดยการเขา
"ความเร็วขณะหนึ่ง" แตเมื่อตองการ 2.4 ครูใชคำถามเพื่อเชื่อมโยงสูเนื้อหา ดังนี้
กลาวถึง ความเร็วเฉลี่ย หรือ อัตราเร็วเฉลี่ย เรียนและสงงานไดตรง
2.4.1 เวลาที่แทงเข็มใชในการเคาะลงบน
ก็ตองระบุใหครบถวน เพื่อใหเกิดความ กระดาษแตละครั้ง มีคาเทากันหรือไม เวลา
ชัดเจนและสามารถแยกความแตกตาง (เทากัน)
ระหวาง ความเร็วขณะหนึ่ง กับ ความเร็ว 2.4.2 หากกระดาษเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่
เฉลี่ย ได ระยะหางระหวางจุดจะมีคาเทากัน
อีกปริมาณหนึ่งที่สัมพันธกับความเร็ว หรือไม (ตอบอยางไรก็ได)
ขณะหนึ่งก็คือ อัตราเร็วขณะหนึ่ง 2.4.3 หากกระดาษมีการเคลื่อนที่โดยมี
(instantaneous speed) ซึ่งเปน ความเร็วเปลี่ยนแปลง ระยะหาง
ปริมาณสเกลาร มีคาเทากับขนาดของ ระหวางจุดจะยังมีคาเทาเดิมหรือไม
ความเร็วขณะหนึ่ง การวัดอัตราเร็ว (ตอบอยางไรก็ได)
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ขณะหนึ่งที่พบเห็นไดในชีวิตประจำวัน คือ 2.5 ครูอธิบายเพื่อแนะนำเวลาที่เครื่องเคาะ
มาตรวัดอัตราเร็วบนหนาปดรถยนต สัญญาณใชในการเคาะแตละครั้ง
เราทราบอัตราเร็วของยานพาหนะตาง 2.6 ครูอธิบายเพื่อแนะนำวิธีการหาอัตราเร็ว
ๆ ที่เคลื่อนที่โดยดูจากเครื่องวัดอัตราเร็วที่ เฉลี่ยและอัตราเร็วขณะหนึ่งจากการใชเครื่อง
ติดตั้งอยูกับยานพาหนะนั้นซึ่งเปนอัตราเร็ว เคาะสัญญาณเวลา ดังนี้
ขณะหนึ่ง ถาเปนการเคลื่อนที่ของวัตถุอื่น ระยะระหวางจุดบนแถบกระดาษ
- อัตราเร็วเฉลี่ย =
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่
ๆ ซึ่งไมมีเครื่องวัดอัตราเร็วติดตั้งอยู เชน ระยะระหวางจุดครอมตำแหนงที่ตองการหา
- อัตราเร็วขณะหนึ่ง =
คนวิ่ง ผลไมหลนจากตัน ลูกบอลกลิ้งไปใน ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่

สนาม เราหาอัตราเร็วเฉลี่ยไดโดยวัด
ระยะทางและใชนาิกาจับเวลาของการ 2.7 ครูสาธิตการทำโจทย “ลากแถบกระดาษ
เคลื่อนที่ ผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่มีความถี่ 50
ครั้งตอวินาที ทำใหเกิดจุดตาง ๆ บนแถบ
1.2 เครื่องเคาะสัญญาณเวลา กระดาษ ดังภาพ ตอไปนี้
ในการทดลองเพื่อศึกษาอัตราเร็วใน
การเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวตรงสามารถทำ
ก. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการลากตั้งแต
ไดโดยใชเครื่องเดาะสัญญาณเวลา ซึ่งเปน
จุดแรกถึงจุดสุดทายในหนวยเมตรตอ
อุปกรณที่ใชในการวัดอัตราเร็วของวัตถุใน
วินาที” ดังนี้
ชวงเวลาสั้น ๆ ที่แสดงการเคลื่อนที่ของวัตถุ
2.7.1 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
ผานลักษณะจุดบนแถบกระดาษเคาะ
สัญญาณเวลา “12 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12
50
𝑠𝑠 ,

เครื่องเคาะสัญญาณเวลา (icker 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12.4 − 0 = 12.4 𝑐𝑐𝑐𝑐 ”

timer) เปนอุปกรณที่ใชศึกษาอัตราเร็ว
ของวัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวตรง โดยบันทึก
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ตำแหนงวัตถุและเวลาที่สัมพันธกันผาน 2.7.2 แสดงวิธีการคำนวณดังนี้
แถบกระดาษเดาะสัญญาณเวลา ซึ่งเครื่อง วิธีทำ
เดาะสัญญาณเวลาใชหลักการเหนี่ยวนำ 𝛥𝛥𝛥𝛥
จากสูตร 𝑣𝑣 =
ของแมเหล็กไฟฟาที่เกิดจากกระแสไฟฟา 𝑡𝑡
12.4 ×10−2 𝑚𝑚
ไหลผานขดลวดรอบแกนเหล็กที่อยูภายใน แทนคา 𝑣𝑣 =
12/50 𝑠𝑠
อุปกรณที่ทำใหคันเคาะที่ทำจากแผนเหล็ก 𝑣𝑣 = 0.525 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ถูกดูดเขามาเปนจังหวะ จึงทำใหคันเคาะ ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยของการลากตั้งแตจุดแรก
นั้นเคาะดวยความถี่ 50 ครั้งตอวินาที ตาม ถึงจุดสุดทาย เทากับ 0.52 เมตรตอวินาที
ความถี่ของกระแสไฟที่จายใหเครื่องเคาะ 2.8 ครูสาธิตการทำโจทย ดังตอไปนี้
สัญญาณเวลาจากหมอแปลงไฟฟา ซึ่งเคาะ ข. จงหาอัตราเร็ว ณ ตำแหนง A ในหนวย
ลงบนกระดาษคารบอนทำใหเกิดจุดบน เมตรตอวินาที
แถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลาที่ปลาย
กระดาษผูกติดกับวัตถุที่ลากแถบกระดาษ 2.8.1 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
2
ผานคันเคาะในแนวตรงดวยอัตราเร็วที่ (2 ช ว ง มี ร ะยะเวลาคื อ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 50 𝑠𝑠 ,
𝛥𝛥𝛥𝛥 = 4.8 − 2.7 = 2.1 𝑐𝑐𝑐𝑐 )
เทากับอัตราเร็วของวัตถุ ซึ่งจุดตาง ๆ ที่
2.8.2 แสดงวิธกี ารคำนวณดังนี้
เกิดขึ้นบนแถบกระดาษเคาะสัญญาณเวลา
วิธีทำ
สามารถนำมาวิเคราะหหาอัตราเร็วหรือ
𝛥𝛥𝛥𝛥
อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ผูก จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
2.1×10 −2 𝑚𝑚
ติดกับแถบกระดาษได แทนคา 𝑣𝑣 =
2/50 𝑠𝑠
𝑣𝑣 = 0.525 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็ว ณ จุด A
เทากับ 0.525 เมตรตอวินาที
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ลักษณะจุดบนแถบกระดาษเคาะ 2.9 ครูสาธิตการทำโจทย ดังตอไปนี้ “จากภาพ
สัญญาณเวลาบงบอกถึงลักษณะการ แสดงแถบกระดาษที่ลากผานเครื่องเคาะ
เคลื่อนที่ของวัตถุไดโดยถาระยะหางแตละ สัญญาณเวลา 50 ครั้งตอวินาที อัตราเร็วที่
จุดหางเทากัน แสดงวาวัตถุเคลื่อนที่ดวย จุด B เทากับขอใด” ดังตอไปนี้
ความเร็วคงตัว (ไมมีความเรง) แตถา
ระยะหางแตละจุดหางกันเพิ่มขึ้น แสดงวา
วัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วเพิ่มขึ้น หรือ
กลาวไดวา วัตถุจะเคลื่อนที่แบบมีความเรง 2.9.1 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
และถาระยะหางระหวางจุดอยูชิดกันมาก (4 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 =
ขึ้น แสดงวาวัตถุเคลื่อนที่ ดวยความเร็ว 4
𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 6.2 − 1.2 =
50
ลดลง หรือกลาวไดวาวัตถุมีความหนวง ดัง
5.0 𝑐𝑐𝑐𝑐 )
ภาพตอไปนี้ 2.9.2 แสดงวิธีการคำนวณดังนี้
วิธีทำ
𝛥𝛥𝛥𝛥
จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
5.0×10−2 𝑚𝑚
การคำนวณหาอัตราเร็วของวัตถุจาก แทนคา 𝑣𝑣 =
4/50 𝑠𝑠
เครื่องเคาะสัญญาณเวลา ทำไดโดยวัด 𝑣𝑣 = 0.625 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ระยะหางระหวางจุดบนแถบกระดาษเคาะ ดังนั้น อัตราเร็ว ณ จุด B
สัญญาณเวลาแลวนำไปหารดวยชวงเวลาที่ เทากับ 0.625 เมตรตอวินาที
วัตถุเคลื่อนที่ ดังความสัมพันธ
ระยะระหวางจุดบนแถบกระดาษ
อัตราเร็วเฉลี่ย =
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่
ระยะระหวางจุดครอมตำแหนงที่ตองการหา
อัตราเร็วขณะหนึ่ง =
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
โดยที่ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่สามารถหาได 2.10 ครูสาธิตการทำโจทย ดังตอไปนี้ “จากภาพ
จากการนับจำนวนชวงจุดระหวางจุดเริ่มตน แสดงแถบกระดาษที่ลากผานเครื่องเคาะ
ถึงจุดสุดทายแลวคูณดวยดาบที่วัตถุใชใน สัญญาณเวลา 50 ครั้งตอวินาที อัตราเร็วที่
1
การเคลื่อนที่ (𝑇𝑇) ซึ่งจะหาไดจาก 𝑇𝑇 = 𝑓𝑓 จุด B เทากับขอใด” ดังตอไปนี้
เพราะคันเคาะของเครื่องเคาะ
สัญญาณเวลาเคาะดวยความถี่ 𝑓𝑓 (สำหรับ
ประเทศไทยคาความถี่ของกระแสไฟฟา
เทากับ 50 เฮิรตซ (𝐻𝐻𝐻𝐻) จึงทำให 2.10.1 โจทยกำหนดปริมาณอะไรมาใหบาง
𝑓𝑓 = 50 𝐻𝐻𝐻𝐻ซึ่งหมายความวาเครื่องเคาะ (6 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 506 𝑠𝑠 ,
สัญญาณเวลาเคาะดวยความถี่ 50 ครั้งตอ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12.0 − 1.2 = 10.8 𝑐𝑐𝑐𝑐 )

วินาที) โดยมีตัวอยางการแทนคาสมการ 2.10.2 แสดงวิธีการคำนวณดังนี้


เพื่อหาอัตราเร็วเฉพาะจุดและอัตราเร็ว วิธีทำ
เฉลี่ย ดังนี้ 𝛥𝛥𝛥𝛥
จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
10.8 ×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
6/50 𝑠𝑠
𝑣𝑣 = 0.9 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับ D เทากับ 0.9
เมตรตอวินาที
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.3 ตัวอยางการคำนวณหาอัตราเร็วเฉลี่ย 3. ขัน้ สรุป (20 นาที)
และอัตราเร็วขณะหนึ่งจากเครื่องเคาะ 3.1 ครูใชคำถามเพื่อตรวจสอบความเขาใจ ดังนี้
สัญญาณเวลา 3.1.1 ความเร็วขณะหนึ่ง มีความหมายวา
1.3.1 ลากแถบกระดาษผานเครื่องเคาะ อยางไร (ความเร็วของวัตถุ ณ เวลา
สัญญาณเวลาที่มีความถี่ 50 ครั้งตอวินาที ขณะหนึ่ง ๆ ระหวางการเคลื่อนที่ เพื่อ
ทำใหเกิดจุดตาง ๆ บนแถบกระดาษ ดัง สรุปเกี่ยวกับความหมายของความเร็ว
ภาพ ตอไปนี้ ขณะหนึ่ง)
3.1.2 อัตราเร็วขณะหนึ่ง มีความหมายวา
อยางไร (ขนาดของความเร็วของวัตถุ ณ
ก. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการลากตั้งแตจุด เวลาขณะหนึ่ง ๆ ระหวางการเคลื่อนที่
แรกถึงจุดสุดทายในหนวยเมตรตอวินาที เพื่อสรุปเกี่ยวกับความหมายของ
วิเคราะหโจทย อัตราเร็วขณะหนึ่ง)

ปริมาณที่โจทยกำหนดให :
12 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12
50
𝑠𝑠 ,
𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12.4 − 0 = 12.4 𝑐𝑐𝑐𝑐
วิธีทำ
𝛥𝛥𝛥𝛥
จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
12.4 ×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
12/50 𝑠𝑠
𝑣𝑣 = 0.525 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยของการลากตั้งแตจุด
แรกถึงจุดสุดทาย เทากับ 0.52 เมตรตอ
วินาที
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
ข. จงหาอัตราเร็ว ณ ตำแหนง A ในหนวย 3.1.3 สมการที่ใชในการคำนวณหาอัตราเร็ว
เมตรตอวินาที เฉลี่ยจากเครื่องเคาะสัญญาณเขียนได
วิเคราะหโจทย วาอยางไร
ระยะระหวางจุดบนแถบกระดาษ
ปริมาณที่โจทยกำหนดให : ( อัตราเร็วเฉลี่ย = ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่
2 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 502 𝑠𝑠 , เพื่อสรุปเกี่ยวกับการหาอัตราเร็วเฉลี่ย
𝛥𝛥𝛥𝛥 = 4.8 − 2.7 = 2.1 𝑐𝑐𝑐𝑐 จากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา)
วิธีทำ 3.1.4 สมการที่ใชในการคำนวณหาอัตราเร็ว
𝛥𝛥𝛥𝛥
จากสูตร 𝑣𝑣 = ขณะหนึ่งจากเครื่องเคาะสัญญาณเขียน
𝑡𝑡
2.1×10−2 𝑚𝑚 ไดวาอยางไร
แทนคา 𝑣𝑣 =
2/50 𝑠𝑠 ( อัตราเร็วขณะหนึ่ง = ระยะระหวชาวงจุงเวลาที
ดครอมตำแหนงทีต่ องการหา

𝑣𝑣 = 0.525 𝑚𝑚/𝑠𝑠 ่วัตถุเคลื่อนที่

ดังนั้น อัตราเร็ว ณ จุด A เพื่อสรุปเกี่ยวกับการหาอัตราเร็ว


ขณะหนึ่งจากเครื่องเคาะสัญญาณเวลา)
เทากับ 0.525 เมตรตอวินาที
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.3.2 จากภาพแสดงแถบกระดาษที่ลาก
ผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งตอ
วินาที อัตราเร็วที่จุด B เทากับขอใด

วิเคราะหโจทย
ปริมาณที่โจทยกำหนดให :
4 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 504 𝑠𝑠 ,
𝛥𝛥𝛥𝛥 = 6.2 − 1.2 = 5.0 𝑐𝑐𝑐𝑐
วิธีทำ
𝛥𝛥𝛥𝛥
จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
5.0×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
4/50 𝑠𝑠
𝑣𝑣 = 0.625 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็ว ณ จุด B
เทากับ 0.625 เมตรตอวินาที
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
1.3.3 จากภาพแสดง แถบกระดาษที่ลาก
ผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งตอ
วินาที อัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับ D
เทากับขอใด

วิเคราะหโจทย
ปริมาณที่โจทยกำหนดให :
6 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 506 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 =
12.0 − 1.2 = 10.8 𝑐𝑐𝑐𝑐
วิธีทำ
𝛥𝛥𝛥𝛥
จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
10.8 ×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
6/50 𝑠𝑠
𝑣𝑣 = 0.9 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับ D
เทากับ 0.9 เมตรตอวินาที
วัตถุประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู กิจกรรมการเรียนรู สื่อ/แหลงการเรียนรู ประเมินการเรียนรู
2. กระบวนการ
สมรรถนะสำคัญ 5 ดาน
- ความสามารถในการสื่อสาร: ในการตอบ
คำถามที่ครูทำการถามไดอยางตรงประเด็น
- ความสามารถในการคิด: ในการคิดหา
คำตอบที่จะตองตอบและคำนวณปริมาณได
อยางถูกตอง
- ความสามารถในการแกปญหา: ในการแก
โจทยปญหา
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต (-)
- ความสามารถในการใชเทคโนโลยี (-)

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค
- มีความรับผิดชอบ จากการเขาเรียนและ
สงงานตรงเวลา
- มุงมั่นในการทำงาน จากการตอบคำถาม
ในชั้นเรียน และทำโจทยที่กำหนดใหให
เสร็จทันเวลา
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง อัตราเร็วขณะหนึ่งและความเร็วขณะหนึ่ง
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้

1. ความเร็วขณะหนึ่ง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

2. ความเร็วขณะหนึ่ง
มีความหมายวา ..........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

3. สมการที่ใชในการคำนวณหาอัตราเร็วเฉลี่ยจากเครื่องเคาะสัญญาณ
เขียนไดวา ...................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

4. สมการที่ใชในการคำนวณหาอัตราเร็วขณะหนึ่งจากเครื่องเคาะสัญญาณ
เขียนไดวา ...................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
แบบฝกหัด เรื่อง อัตราเร็วขณะหนึ่งและความเร็วขณะหนึ่ง ในหนังสือเรียน
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. ลากแถบกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่มีความถี่ 50 ครั้งตอวินาที ทำใหเกิดจุดตาง ๆ บนแถบกระดาษ ดัง
ภาพ ตอไปนี้

ก. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการลากตั้งแตจุดแรกถึงจุดสุดทายในหนวยเมตรตอวินาที
ข. จงหาอัตราเร็ว ณ ตำแหนง A ในหนวยเมตรตอวินาที
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
2. จากภาพแสดงแถบกระดาษที่ลากผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งตอวินาที อัตราเร็วที่จุด B เทากับขอใด

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................

3. จากภาพแสดง แถบกระดาษที่ลากผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งตอวินาที อัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับ D


เทากับขอใด

............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
ใบบันทึกขอมูลประกอบการบรรยาย เรื่อง อัตราเร็วขณะหนึ่งและความเร็วขณะหนึ่ง
ชื่อ....................................................................................................................................ชั้น.......................เลขที่................
คำสั่ง : จงบันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้นเรียน ดวยการตอบคำถามดังตอไปนี้

1. ความเร็วขณะหนึ่ง
มีความหมายวา ความเร็วของวัตถุ ณ เวลาขณะหนึ่ง ๆ ระหวางการเคลื่อนที่

2. ความเร็วขณะหนึ่ง
มีความหมายวา ขนาดของความเร็วของวัตถุ ณ เวลาขณะหนึ่ง ๆ ระหวางการเคลื่อนที่

3. สมการที่ใชในการคำนวณหาอัตราเร็วเฉลี่ยจากเครื่องเคาะสัญญาณ
เขียนไดวา
ระยะระหวางจุดบนแถบกระดาษ
อัตราเร็วเฉลี่ย =
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่

4. สมการที่ใชในการคำนวณหาอัตราเร็วขณะหนึ่งจากเครื่องเคาะสัญญาณ
เขียนไดวา
ระยะระหวางจุดครอมตำแหนงที่ตองการหา
อัตราเร็วขณะหนึ่ง =
ชวงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่
เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง อัตราเร็วขณะหนึ่งและความเร็วขณะหนึ่ง ในหนังสือเรียน
ชื่อ.....................................................................................................................................ชั้น.....................เลขที่..................
คำสั่ง : จงตอบคำถามและแสดงวิธีการแกโจทยปญหาใหสมบูรณ
1. ลากแถบกระดาษผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลาที่มีความถี่ 50 ครั้งตอวินาที ทำใหเกิดจุดตาง ๆ บนแถบกระดาษ ดัง
ภาพ ตอไปนี้

ก. จงหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการลากตั้งแตจุดแรกถึงจุดสุดทายในหนวยเมตรตอวินาที
วิเคราะหโจทย

ปริมาณที่โจทยกำหนดให : 12 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12


50
𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12.4 − 0 = 12.4 𝑐𝑐𝑐𝑐

𝛥𝛥𝛥𝛥
วิธีทำ จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
12.4 ×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
12/50 𝑠𝑠

𝑣𝑣 = 0.525 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยของการลากตั้งแตจุดแรกถึงจุดสุดทาย เทากับ 0.52 เมตรตอวินาที
ข. จงหาอัตราเร็ว ณ ตำแหนง A ในหนวยเมตรตอวินาที
วิเคราะหโจทย
2
ปริมาณที่โจทยกำหนดให : 2 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 50 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 4.8 − 2.7 = 2.1 𝑐𝑐𝑐𝑐

𝛥𝛥𝛥𝛥
วิธีทำ จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
2.1×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
2/50 𝑠𝑠

𝑣𝑣 = 0.525 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็ว ณ จุด A เทากับ 0.525 เมตรตอวินาที
2. จากภาพแสดงแถบกระดาษที่ลากผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งตอวินาที อัตราเร็วที่จุด B เทากับขอใด

วิเคราะหโจทย
4
ปริมาณที่โจทยกำหนดให : 4 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 6.2 − 1.2 = 5.0 𝑐𝑐𝑐𝑐
50
𝛥𝛥𝛥𝛥
วิธีทำ จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
5.0×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
4/50 𝑠𝑠

𝑣𝑣 = 0.625 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็ว ณ จุด B เทากับ 0.625 เมตรตอวินาที
3. จากภาพแสดง แถบกระดาษที่ลากผานเครื่องเคาะสัญญาณเวลา 50 ครั้งตอวินาที อัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับ D
เทากับขอใด

วิเคราะหโจทย
6
ปริมาณที่โจทยกำหนดให : 6 ชวง มีระยะเวลาคือ 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 𝑠𝑠 , 𝛥𝛥𝛥𝛥 = 12.0 − 1.2 = 10.8 𝑐𝑐𝑐𝑐
50
𝛥𝛥𝛥𝛥
วิธีทำ จากสูตร 𝑣𝑣 =
𝑡𝑡
10.8 ×10−2 𝑚𝑚
แทนคา 𝑣𝑣 =
6/50 𝑠𝑠

𝑣𝑣 = 0.9 𝑚𝑚/𝑠𝑠
ดังนั้น อัตราเร็วเฉลี่ยระหวางจุด A กับ D เทากับ 0.9 เมตรตอวินาที

You might also like