Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

การดูแลช้ างไทยของเรา

Asian Elephant (Elephas maximus)


สวัสดิภาพสัตว์
สวัสดิภาพสัตว์ นั้น กล่าวอ้างถึง สถานะ ความ
เป็ นอยู่ ความรู ้สึก สุ ขกาย สบายใจของสัตว์ ที่
เป็ นไปในทางเชิงบวกหรื อ เป็ นไปตาม
ธรรมชาติ
สวัสดิภาพสัตว์น้ นั จะมีศกั ยภาพแตกต่างกันไป
ในแต่ละวัน เมื่อสัตว์ได้รับการตอบสนองจาก
ความต้องการที่เหมาะสม ในด้านโภชนาการ,
ด้านพฤติกรรม, ด้านสุ ขภาพ และ
สภาพแวดล้อม ที่เหมาะสมต่อความต้องการ จะ
ทาให้เกิดสวัสดิภาพสัตว์ที่เป็ นไปในทางเชิง
บวก
ชีวิตความเป็ นอยูข่ องสัตว์ที่อยูใ่ นกรงเลี้ยงจะดี
ได้น้ นั ขึ้นอยูก่ บั การที่สตั ว์ได้รับสวัสดิภาพสัตว์
ที่ดีอย่างสม่าเสมอ ไปจนตลอดชีวิตของพวกเขา
เข้าใจว่าสัตว์มีท้งั ความรู ้สึก มีความสามารถ
รับรู ้มีความเข้าใจ สามารถรับรู ้ถึงความ
เจ็บปวด มีความต้องการต่างๆนั้น เพื่อเป็ นการ
สนับสนุนความต้องการของสัตว์ จึงควรต้อง
จัดสรรการดูแลสัตว์ให้เหมาะสมกับสัตว์ที่อยู่
ในกรงเลี้ยงทุกชนิด เพื่อให้มนั่ ใจว่าพวกเขา
ได้รับสวัสดิภาพสัตว์ที่ดี
สัตว์ที่ถูกกักขังในกรงเลี้ยง สวัสดิภาพของ
สัตว์น้ นั ขึ้นอยูก่ บั สภาพแวดล้อมที่ถูกจัดสรร
ให้พวกเขา และการดูแลประจาวัน รวมถึงการ
ดูแลรักษาจากสัตวแพทย์ที่พวกเขาได้รับ
ช้างเอเชียนั้นสามารถพบได้ในบางแห่งที่มีประชากร
กระจายอยูท่ วั่ โลกใน 13 ประเทศเขตร้อนในแถบเอเชีย
พวกเขาเป็ นสัตว์บกที่ใหญ่ที่สุด แต่ชา้ งเอเชียมีขนาดเล็ก
กว่าเล็กน้อยกว่าช้างแอฟริ กา พวกเขาอาศัยอยู่
หลากหลายของที่อยูอ่ าศัยของป่ าเขตร้อนจากพื้นราบ
จนถึงป่ าภูเขา และพบได้บ่อยที่พวกเขาอาศัยหากินอยู่
ใกล้กนั กับทุ่งหญ้าและพื้นที่ฟาร์ม
ในบัญชีแดงของ IUCN จัดว่าช้างเอเชียเป็ นสัตว์ใกล้สูญ
พันธุ์ มีชา้ งเอเชียจานวนมากถูกคุกคามจากการสู ญเสี ย
แหล่งที่อยูอ่ าศัย ความเสื่ อมโทรมและการกระจายตัว
ของพื้นที่ ที่ท้งั มนุษย์และช้างอาศัยอยูใ่ นพื้นที่เดียวกัน
ทาให้เกิดความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างเกิดขึ้นเป็ น
ประจา
ช้ างชอบการสื่ อสาร
การสื่ อสารของช้างมีความหลากหลาย ซึ่งรวมถึงการสัมผัส การส่ ง
เสี ยงร้อง การดม การแสดงออกทางร่ างกาย ช้างเป็ นสัตว์ที่รับและ
ไวต่อต่อความรู ้สึก ช้างเป็ นสัตว์ที่สมั ผัสได้ดีมาก
ช้างสื่ อสารกันด้วยเสี ยง ผ่านเสี ยงก้อง เสี ยงร้องลัน่ การเป่ าลมผ่าน
ปอด และเสี ยงครวญคราง และพวกมันก็เปล่งเสี ยงต่าๆอยูบ่ อ่ ยๆ
เสี ยงอินฟาเรดความถี่ที่ต่าสามารถได้ยนิ ได้ไกลเป็ นไมล์ การสื่ อสาร
และการเข้าสังคมเป็ นสิ่ งสาคัญอย่างยิง่ ต่อช้าง และก็ยงั เป็ นสิ่ ง
สนับสนุนต่อสังคมและโครงสร้างของครอบครัวที่ซบั ซ้อนอีกด้วย

พฤติกรรมสนับสนุนเชิงบวก
การโต้ตอบสัมผัสกัน ระหว่างกลุ่มช้างในฝูง และการจัดสรรช่วง
ของการปฏิสมั พันธ์ทางสังคมระหว่างช้างที่แตกต่างกันไปของแต่
ละครอบครัว
Flickr@Tambako The Jaguar
ช้ างชอบกิน
ช้างสามารถเติบโตและยาวถึง 21 ฟุต สู ง 10 ฟุตและมี
น้ าหนักสู งสุ ดประมาณ 11,000 ปอนด์ อาหารเป็ นสิ่ ง
สาคัญอย่างยิง่ สาหรับช้าง ช้างกินได้หลากหลายอย่าง เช่น
รากไม้ กินหญ้า ผลไม้และเปลือกไม้ พวกเขากินอาหารได้
ถึง น้ าหนักสู งสุ ดที่ประมาณ 300 ปอนด์ (136 กิโลกรัม)
ในต่อวัน เพื่อใช้เป็ นพลังงานในระยะทางที่ไกลในการ
ค้นหาอาหารที่พวกเขาต้องการ และพวกเขาสามารถใช้
เวลามากถึง 16 ชัว่ โมงต่อวัน เพื่อกินและค้นหาอาหารโดย
ใช้งวงของเขา
พฤติกรรมสนับสนุนเชิงบวก
การจัดสรรโอกาสในการให้อาหารที่หลากหลายภายใน
สภาพแวดล้อมของช้างนัน่ สามารถกระตุน้ การหาอาหาร
และโอกาสในการกินอาหารร่ วมกันของสังคมช้างกลุม่ นั้น
ช้ างเป็ นสั ตว์ ที่ฉลาด
ช้างมีความฉลาดมาก และมีความทรงจาที่ยาวนานหลายปี สิ่ งนี้ช่วย
ให้พวกเขาหาแหล่งน้ า ช่องน้ า ที่จดจามาจากอดีตและทาให้พวกเขา
สามารถมีความสัมพันธ์ที่ซบั ซ้อน ช้างสามารถแสดงออกถึงช่วงเวลา
ของอารมณ์ที่ลึกซึ้งและมีความซับซ้อนของอารมณ์รวมถึงความเศร้า
โศก ความสุ ข ความโกรธ และความสนุกสนาน เราอาจจะเห็นช้าง
แสดงพฤติกรรมในการใช้ไม้มาเกาตัวมันเอง หรื อใช้กิ่งไม้เพื่อไล่
แมลง ซึ่งพวกเขาอาจปรับเปลี่ยนเครื่ องมือเหล่านั้นสาหรับเพื่อ
กิจกรรมต่าง ๆกัน
พฤติกรรมสนับสนุนเชิงบวก
จัดสภาพแวดล้อมให้มีความเหมาะสมและมีความน่าสนใจให้
เฉพาะเจาะจงกับสายพันธุ์ชา้ งนั้นๆ เพื่อให้เกิดการนาไปใช้ประโยชน์
ทั้งในด้านของพื้นที่ และความแตกต่างของวัตถุต่างๆที่สามารถเป็ นที่
ซ่อนอาหารและเป็ นสิ่ งกระตุน้ ในการจัดการเครื่ องมือ มัน่ ใจว่ามีการ
ขัดเกลาทางสังคมเพื่อที่ชา้ งสามารถสร้างความสัมพันธ์ที่ซบั ซ้อนได้
ช้ างชอบเข้ าสั งคม
ช้างเป็ นสัตว์สงั คมและจะอาศัยอยูก่ นั เป็ นฝูง โดยมีจ่าฝูงเป็ นเพศเมีย ตัวผูม้ กั จะเดิน
ท่องเที่ยวไปด้วยตัวของตัวเอง
จะแยกออกจากฝูงเมื่ออายุประมาณ 12-15 ปี หรื อบางทีตวั ผูร้ ุ่ นๆเหล่านั้นอาจจะ
อาศัยอยูก่ นั ในฝูงเล็ก ฝูงบางฝูงบางครั้ง
สามารถเข้าร่ วมเพื่อจัดตั้งกลุ่มที่มีขนาดใหญ่กว่าที่เรี ยกว่ากลุ่มความสัมพันธ์แบบ
หนึ่งต่อหนึ่ง และกลุ่มแบบไดนามิกนั้นมีความสาคัญมากต่อช้างทั้งทางจิตวิทยา
และร่ างกาย ความเป็ นอยูท่ ี่ดีและความสัมพันธ์พิเศษสามารถก่อตัวขึ้นได้ระหว่าง
ช้างแต่ละตัวเป็ นระยะเวลานานตลอดชีวติ

พฤติกรรมเชิงบวกที่จะสนับสนุน
ไม่ควรที่จะเลี้ยงช้างไว้ตามลาพังหรื อตัวเดียว และช้างควรได้รับการจัดการหรื ออยู่
ในครอบครัวของช้างที่ดี การกาจัดและการเพิ่มลดจานวนของช้างจะต้องเป็ นการ
จัดการที่ละเอียดอ่อนต่อความรู ้สึกของช้าง เพราะมีความสาคัญต่อปฏิสมั พันธ์ทาง
สังคมของช้าง ซึ่งควรนามาจัดลาดับความสาคัญในการเลี้ยงช้างในกรงเลี้ยงอีกด้วย
ช้ างชอบเล่ น ขีเ้ ล่ น
ช้างที่มีอายุยงั น้อยมักจะชอบเล่นและสิ่ งเหล่านี้
สามารถรวมถึงการเอาหัวชนกัน ซ้อมตัวต่อตัวและการ
ต่อสู ้ การใช้งวงรัดฟัดแหว่งปลั้มกันและกลิ้งไปมา ช้าง
ที่มีอายุมากกว่าหกเดือนขึ้นไป อาจจับกลุ่มเล่นด้วยกัน
ในช้างตัวเมีย ซึ่งโดยทัว่ ไปช้างที่ยงั โตไม่เต็มวัยหรื อ
ลูกช้างจะเล่นด้วยกันบ่อยๆ เพื่อเสริ มสร้างความ
แข็งแรงเกิดการเรี ยนรู ้ การสร้างความสัมพันธ์และ การ
ดูแลซึ่งกันและกัน สิ่ งเหล่านี้ท้งั หมดอาจมีความสาคัญ
มีส่วนร่ วมในการสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่าง
ตัวเมียภายในฝูง
พฤติกรรมสนับสนุนเชิงบวก
ควรมีการสนับสนุนให้ชา้ งที่เลี้ยงอยูใ่ นกรงเลี้ยงมีปฎิ
สัมพันธ์เชิงบวกในฝูงเพื่อเป็ นการสร้างความสัมพันธ์
ที่ดีอยูเ่ สมอ
ช้ างใช้ ร่างกายของพวกเขา
ช้างใช้หูเพื่อคลายความร้อน และยังใช้งวงของพวกเขาในการฉี ด
พ่นน้ าให้ตวั เองเพื่อให้เย็นสบาย คลายความร้อน งวงของช้าง มี
กล้ามเนื้อ ประมาณ 100,000 กล้ามเนื้อประสานกัน และใช้
สาหรับทาหน้าที่ต่าง ๆ กันมากมายเช่น ดมกลิ่น, การดื่มน้ า พ่นน้ า,
การเป่ าลม และการใช้หยิบจับวัตถุ สิ่ งของ มีคุณสมบัติคล้ายนิ้วที่
ท้ายที่สุดใช้เพื่อช่วยหยิบจับของชิ้นเล็ก ๆ
พฤติกรรมสนับสนุนเชิงบวก
ควรจัดเตรี ยมวัตถุและส่ วนของคอกช้างให้เหมาะสมเพื่อเป็ นการ
ส่ งเสริ มให้ชา้ งได้ใช้ร่างกายของพวกเขา เช่น งวง หู ลาตัว ในการ
สร้างความสัมพันธ์และมีปฎิสมั พันธ์ที่ดีต่อการแสดงออกทาง
พฤติกรรม เช่น สระว่ายน้ า, แปรง, กิ่งไม้และ หรื อ
ของเล่นเพื่อส่ งเสริ มให้ชา้ งได้ใช้สิ่งแวดล้อมรอบๆตัวของพวกเขา
@Tambako The Jaguar
สิ่ งที่ทาให้ ช้างเพลิดเพลินและ
มีความสุ ข
การเล่นกันในฝูงเพื่อสร้างพันธะความสัมพันธ์ที่
ใกล้ชิดกับลูกช้าง การว่ายน้ าและการได้กิน
อาหารที่แตกต่างจากปรกติประจาวันทาให้ชา้ ง
เกิดความสนใจต่อความแตกต่างนั้นๆ
ช้างที่อยูใ่ นกรงเลี้ยงนั้น เราควรจัดสรรความ
เป็ นธรรมชาติให้เหมาะสมอยูอ่ ย่างสม่าเสมอ
เพื่อพวกเขาจะได้มีพฤติกรรมตามธรรมชาติตาม
ปรกติ เพื่อที่จะทาให้พวกเขามีความสุ ขและ
สุ ขภาพดีไปตลอดชีวิตของพวกเขา

You might also like