Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 151

การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต

โดยใช้หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิ ก

นางจตุพร ตันติรังสี

ปั ญหาพิเศษนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร


วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ**ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ**มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ปี การศึกษา**2554
ลิขสิ ทธิ์ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ชื่อ :* นางจตุพร ตันติรังสี
ชื่อปญหาพิเศษ :* การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
*********************โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
สาขาวิชา :* เทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
ที่ปรึกษาปญหาพิเศษ**:**อาจารย ดร.ผุสดี**บุญรอด
ปการศึกษา :* 2554

บทคัดยอ
ปญหาพิเ ศษนี้ มีวั ตถุ ประสงค ก ารวิ จั ย เพื่อ 1) พั ฒ นาบทเรีย นคอมพิ ว เตอร ชว ยสอน
บนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา การใชโปรแกรมกราฟก 2) ประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร
ชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 3) ประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอร
ชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้น 4) หาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
บนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งในการวิจัยใชหลักการของ ADDIE Model โดยกลุมตัวอยางที่ใชในการ
วิจัยเปนนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยการอาชีพบานลาด จํานวน 30 คน
ที่ทําการสุมกลุมตัวอยางแบบเจาะจง ในการพัฒนาเนื้อหาบทเรียนไดทําการหาคุณภาพบทเรียน
โดยหาคาความเที่ยงตรง (Index of Item Objective Congruence: IOC) จากนั้นทําการพัฒนา
บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนตามที่ไดออกแบบไว หลังจากประเมินและหาคุณภาพบทเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอน สามารถสรุปผลการวิจัยซึ่งแบงออกไดเปน 3 สวน คือ ผลการประเมิน
คุณภาพบทเรียนโดยผูเชี่ยวชาญในภาพรวมอยูในระดับดี ( = 4.25 และ S.D. = 0.68) ผลการ
ประเมินความพึงพอใจโดยนักศึกษาในภาพรวมอยูในระดับดี ( = 4.29 และ S.D. = 0.60) และผล
การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยการทําแบบทดสอบระหวาง
เรียนของผูเรียน และทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวาผลการวิเคราะหอยูในระดับ
81.20/87.17 ซึ่ ง สู ง กว า เกณฑ ที่ กํ า หนดไว ดั ง นั้ น สรุ ป ได ว า บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนที่
พัฒนาขึ้นมีคุณภาพสามารถนําไปใชเปนสื่อเสริมและสามารถนําไปใชในการเรียนการสอนไดจริง
(ปญหาพิเศษมีจํานวนทั้งสิ้น 143 หนา)

คําสําคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต การสอนแบบ ADDIE Model

______________________________________________________ อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ
Name :* Mrs.Jatuporn Tantirangsri
Special Problem Title :* Developing Web-Based Instruction Using the ADDIE Model
on the Subject of Usage in Graphic Program
Major Field :* Information Technology
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Special Problems Advisor**:* Dr.Pudsadee* Boonrawd
Academic Year :* 2011

Abstract
The purposes of this special problem were (1) to develop Web-Based Instruction (WBI)
Using the ADDIE Model on the subject of usage in graphic program, (2) to evaluate the effective
lesson on WBI, (3) to evaluate the students’ satisfaction toward the WBI, and (4) to find the
overall efficiency of WBI. The sample group was 30 vocational students from the Banlat
Industrial and Community College. The development of the content qualities were used by Index
of Item Objective Congruence (IOC). The results of this study found the efficiency of this WBI
into 3 parts: (1) the evaluation result by the expert’s was at a good level at the average point of
4.25 and standard deviation of 0.68, (2) the students satisfaction was a good level at the average
point of 4.29 and standard deviation of 0.60, and (3) the efficiency of WBI showed at level
81.20 / 87.17 which is higher than the standard level at 80/80. In conclusion, this Web-Based
Instruction lesson achieved all goals successfully.

(Total 143 pages)

Keywords : Web-Based Instruction, Instructional with ADDIE Model

_________________________________________________________ Special Problem Advisor


กิตติกรรมประกาศ

การจั ด ทําป ญหาพิ เ ศษนี้สํา เร็ จลุลวงไปไดดวยดี เนื่องจากไดรับความกรุณ า และความ


ชวยเหลืออยางดียิ่งจากบุคคลหลายทานที่ไดใหคําแนะนํา คําปรึกษา และขอเสนอแนะตาง ๆ อันเปน
ประโยชนตอการจัดทําปญหาพิเศษครั้งนี้
ขอกราบขอบพระคุณ อาจารย ดร.ผุสดี บุญรอด อาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ ที่ใหคําปรึกษา
ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะตาง ๆ ตลอดจนการตรวจสอบความถูกตองใหปญหาพิเศษฉบับนี้
สมบูรณยิ่งขึ้นดวยดีตลอดมา ขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.พยุง มีสัจ และรองศาสตราจารย
ดร.สมชาย ปราการเจริญ คณะกรรมการสอบปญหาพิเศษ ที่กรุณาตรวจทาน แกไขปญหาพิเศษ
และใหขอเสนอแนะตาง ๆ ตลอดจนเจาหนาที่คณะเทคโนโลยีสารสนเทศที่อํานวยความสะดวก
และใหความชวยเหลืออยางดีมาตลอด
ขอบพระคุณคณาจารยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ไดถายทอดความรูทางวิชาการในดานตาง ๆ
แกผูจัดทําปญหาพิเศษ ทําใหผูจัดทําปญหาพิเศษนําความรูมาประยุกตในการจัดทําปญหาพิเศษได
อยางมีประสิทธิภาพ
ขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญทุกทาน ที่กรุณาตรวจสอบประเมินผลและใหคําแนะนําในการจัดทํา
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เพื่อปรับปรุงแกไขบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหมีคุณภาพยิ่งขึ้น
ขอบพระคุณสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่ไดใหทุนสนับสนุนการศึกษาและการ
ทําปญหาพิเศษ
ขอบพระคุณผูอํานวยการครองศักดิ์ แยมประยูร ที่ใหโอกาสในการศึกษาตอในครั้งนี้ พรอม
ทั้งใหคําแนะนําดี ๆ และชวยแกปญหาตาง ๆ ในขณะศึกษาตอมาโดยตลอด
ขอบพระคุณผูอํานวยการนิมิตร อาศัย คณะผูบริหาร คณะครู-อาจารย และนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพบานลาด ที่ใหการสนับสนุน
ในการศึกษาและใหความรวมมือในการจัดทําปญหาพิเศษครั้งนี้
ทายนี้ผู จัด ทํ าป ญหาพิ เ ศษขอกราบขอบพระคุณ อยา งสู งต อบิด ามารดา ซึ่ ง สนับ สนุ น ให
โอกาสทางการศึกษา เปนกําลังใจแกผูจัดทําปญหาพิเศษมาโดยตลอด

จตุพร ตันติรังสี
สารบัญ
หนา
บทคัดยอภาษาไทย ข
บทคัดยอภาษาอังกฤษ ค
กิตติกรรมประกาศ ง
สารบัญตาราง ซ
สารบัญภาพ ฌ
บทที่*1**บทนํา 1
1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา 1
1.2 วัตถุประสงคการวิจยั 2
1.3 สมมติฐานการวิจัย 2
1.4 ขอบเขตการวิจัย 3
1.5 คําจํากัดความในการวิจัย 6
1.6 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 7
บทที่*2**ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เกีย่ วของ 9
2.1 การเรียนการสอนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต 9
2.2 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนและบทเรียน WBI/WBT 14
2.3 การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร 26
2.4 งานวิจยั ที่เกี่ยวของ 27
บทที่*3**วิธีการดําเนินการวิจัย 35
3.1 การศึกษาและรวบรวมขอมูล 35
3.2 ประชากร กลุม ตัวอยาง และตัวแปรที่ศึกษา 37
3.3 การวิเคราะหและออกแบบเนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน 38
3.4 การวิเคราะหและออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน 41
3.5 การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 73
3.6 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 74
บทที่*4**ผลการดําเนินงาน 77
4.1 ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 77
4.2 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร 85


สารบัญ*(ตอ)
หนา
4.3 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 90
4.4 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย
อินเทอรเน็ตโดยใชการสอนแบบ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก 94
บทที่*5**สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 97
5.1 สรุป 97
5.2 อภิปรายผล 98
5.3 ขอเสนอแนะในการวิจัย 100
เอกสารอางอิง 101
ภาคผนวก*ก 103
รายชื่อผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 104
รายชื่อผูเชี่ยวชาญดานเทคนิค 105
หนังสือเชิญผูเชี่ยวชาญ 107
ภาคผนวก*ข 115
แบบประเมินความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญดานความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 116
แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับผูเชี่ยวชาญ 119
แบบสอบถามความพึงพอใจบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสําหรับนักศึกษา 125
ภาคผนวก ค 131
คูมือการใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 132
ประวัติผูจัดทําปญหาพิเศษ 143


สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา
3-1**ผลการหาคาดัชนีความสอดคลองดานเนื้อหา 40
3-2 พจนานุกรมขอมูลบทเรียน 48
3-3 พจนานุกรมขอมูลประวัติผูใชงานระบบ 48
3-4 พจนานุกรมขอมูลหลักสูตร 50
3-5**พจนานุกรมขอมูลกระดานขาว 51
3-6**พจนานุกรมขอมูลแบบทดสอบ 51
3-7**พจนานุกรมขอมูลหลักสูตร 52
3-8* เกณฑคาความสอดคลองระหวางผลการเรียนรูที่คาดหวังกับแบบทดสอบ 75
4-1 ขอมูลเพศของผูเชี่ยวชาญ 85
4-2 ขอมูลอายุของผูเชี่ยวชาญ 85
4-3 ขอมูลระดับการศึกษาของผูเชี่ยวชาญ 86
4-4 ขอมูลประสบการณการทํางานของผูเชี่ยวชาญ 86
4-5 ขอมูลประสบการณการทํางานรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศของผูเชี่ยวชาญ 86
4-6**ผลการหาคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดานเนื้อหา 87
4-7**ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอนดานกราฟก และรูปแบบการ
นําเสนอบทเรียน 87
4-8 ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดานการจัดการบทเรียน 88
4-9 ผลการประเมินประสิทธิภาพระบบดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 89
4-10 สรุปผลการประเมินประสิทธิภาพของระบบ 89
4-11 ขอมูลเพศผูเรียน 90
4-12 ขอมูลอายุของผูเรียน 91
4-13 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรบนระบบ
เครือขายอินเทอรเน็ตดานเนือ้ หา 91
4-14 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชงานระบบดานกราฟก และรูปแบบ
การนําเสนอบทเรียน 92
4-15 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบดานการจัดการบทเรียน 93


สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา
4-16 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชงานระบบดานแบบทดสอบกอนเรียน
และหลังเรียน 93
4-17 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผูใช 94
4-18 การวิเคราะหผลคะแนนสอบกอนเรียนหลังเรียนของนักศึกษากลุมทดลอง 94
4-19 การวิเคราะหผลคะแนนสอบของนักศึกษากอนเรียน
และหลังเรียนเมื่อสิ้นสุดการเรียน 95
4-20 การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของนักศึกษา 95


สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา
2-1**สถาปตยกรรมของระบบการเรียนแบบ WBI/WBT 20
2-2 ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรตามแนวทางของรูปแบบการสอน
ADDIE Model 27
3-1* แผนภาพบริบทของระบบจัดการเรียนการสอน 42
3-2 แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 0 ของระบบจัดการเรียนการสอน 43
3-3* แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของระบบจัดการเรียนการสอน 44
3-4* แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการจัดการสงขอความ 45
3-5**แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของขาวประกาศ 45
3-6**แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการจัดการรายงาน 46
3-7 แผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล 47
3-8 * ผังงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 55
3-9* การออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน 56
3-10 บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 1 57
3-11*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 2 57
3-12 บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 3 58
3-13*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 4 58
3-14*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 5 59
3-15*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 6 59
3-16*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 7 60
3-17*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 8 60
3-18*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 9 61
3-19*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 10 61
3-20*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 11 62
3-21*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 12 62
3-22*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 13 63


สารบัญภาพ*(ตอ)

ภาพที่ หนา
3-23*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 14 63
3-24*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 15 64
3-25*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 16 64
3-26*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 17 65
3-27*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 18 65
3-28*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 19 66
3-29*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 20 66
3-30*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 21 67
3-31*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 22 67
3-32*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 23 68
3-33*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 24 68
3-34*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 25 69
3-35*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 26 69
3-36*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 27 70
3-37*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 28 70
3-38*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 29 71
3-39*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 30 71
3-40*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 31 72
3-41*บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเฟรมที่ 32 72
4-1 ผลการออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต 78
4-2 การออกแบบหนาจอการเขาสูระบบ 78
4-3 ผลการออกแบบการออกแบบกลุมผูใชระบบ 79
4-4 ระบบสวนผูดแู ลระบบ 79
4-5 หนาจอการจัดการรายวิชาของบทเรียน 80


สารบัญภาพ*(ตอ)

ภาพที่ หนา
4-6 หนาจอสวนครูผูสอน 80
4-7 หนาจอสวนของผูเรียน 81
4-8 โครงสรางเนื้อหาบทเรียนแตละหนวย 81
4-9 หนาจอการแจงขาวสารกับผูเรียน 82
4-10 หนาจอกระดานเสวนา 82
4-11 หนาจอการถาม-ตอบคําถาม 83
4-12 หนาจอแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 83
4-13 หนาจอสวนของเนื้อหาบทเรียนในรูปแบบเว็บเพจ 84
4-14 ผลการออกแบบบทเรียนในรูปสื่อมัลติมีเดีย 84
ค-1 การเขาสูบทเรียนคอมพิวเตอร 132
ค-2 หนาจอแสดงชองทางการเขาสูบทเรียนคอมพิวเตอร 132
ค-3 หนาจอแรกของการเขาสูระบบการจัดการเรียนการสอน 133
ค-4 หนาจอล็อกอินเขาสูระบบ 133
ค-5 หนาจอหลักสําหรับผูดูแลระบบ 134
ค-6 หนาจอการเพิม่ สมาชิกสําหรับผูดูแลระบบ 134
ค-7 หนาจอสําหรับการเพิ่มและแกไขรายวิชา 135
ค-8 หนาจอหลักสําหรับเขาสูบทเรียน 135
ค-9 หนาจอสําหรับการเพิ่ม แกไข และลบเนื้อหาบทเรียน 136
ค-10 หนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หัวขอ ความหมายของกราฟก
และคอมพิวเตอรกราฟก 137
ค-11 หนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หนวยที่ 1 ความรูเบื้องตนเกีย่ วกับ
คอมพิวเตอรกราฟก 137
ค-12 หนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน หัวขอ ความหมายของคอมพิวเตอรกราฟก 138
ค-13 หนาจอบทเรียน หัวขอ ประเภทและคุณลักษณะของงานกราฟก 138
ค-14 หนาจอบทเรียน หัวขอ เท็กซโหมด 139


สารบัญภาพ*(ตอ)

ภาพที่ หนา
ค-15 หนาจอบทเรียน หัวขอ กราฟกโหมด 139
ค-16 หนาจอบทเรียน หัวขอ ความรูเบื้องตนเกีย่ วกับคอมพิวเตอรกราฟก 140
ค-17 หนาจอบทเรียน หัวขอ ความแตกตางของภาพกราฟก 2 มิติ และ 3 มิติ 140
ค-18 หนาจอบทเรียน หัวขอ ประโยชนของกราฟก 141
ค-19 หนาจอบทเรียน หัวขอ ประโยชนของงานคอมพิวเตอรกราฟก 141


บทที่ 1
บทนํา

1.1**ความเปนมาและความสําคัญของปญหา
การดําเนินชีวิตประจําวันของคนในสังคมโดยทั่วไปมีการใชเทคโนโลยีตาง ๆ เขามาชวย
อํ า นวยความสะดวกให ชี วิ ต สะดวก สบายมากขึ้ น และยั ง ช ว ยให ป ระหยั ด เวลาในการทํ า งาน
เทคโนโลยีตาง ๆ ไดรับการพัฒนาใหตอบสนองความต องการมากขึ้นตลอดเวลา เทคโนโลยี
คอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตเปนอีกเทคโนโลยีที่เขามามีบทบาทกับการดําเนินชีวิตในปจจุบัน
ของคนในสั ง คมเช น กั น สํ า หรั บ เทคโนโลยี ค อมพิ ว เตอร ด ว ยคุ ณ สมบั ติ ใ นการจั ด เก็ บ ข อ มู ล
ความสามารถในการประมวลผลขอมูลตาง ๆ ไดรวดเร็ว นอกจากนี้ เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตยังเปน
เทคโนโลยีที่มีบทบาทสําคัญในการติดตอสื่อสารไดทุกที่ ทุกเวลา การจัดการศึกษาในปจจุบันจึงได
มีก ารพั ฒ นารู ป แบบการจัด การศึก ษา เพื่ อ ลดป ญ หาต า ง ๆ ที่ เ ป น อุ ป สรรคต อ การจั ด การเรี ย น
การสอน เชน ปญหาการขาดเรี ยน การงดชั้นเรีย น การสอนแทน เปนตน (ฐิตาภรณ, 2546:*1)
ความกาวหนาทางเทคโนโลยีไดกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษา ซึ่งทําใหมีการพัฒนา
ระบบการจัดการเรียนการสอนบนเครือขายคอมพิวเตอรที่ทําใหสามารถติดตอสื่อสาร เชื่อมโยงกัน
ได ต ลอดเวลา ในป จ จุ บั น ได มี ก ารพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นการสอนในรู ป แบบต า ง ๆ ไม ว า จะเป น
สื่ อ สิ่ ง พิ ม พ วี ดี ทั ศ น วี ดี โ อ หนั ง สื อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (e-Book) บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน
(Computer Assisted Instruction: CAI) หรือเว็บชวยสอน (Web Based Instruction: WBI) ซึ่งการ
พัฒนาสื่อเหลานี้เปนการสงเสริมใหผูเรียนสามารถศึกษาคนควาบทเรียนตาง ๆ เพิ่มเติม ผูเรียน
สามารถเรียนรูสาระการเรียนรูไดตลอดเวลา สามารถทบทวนบทเรียนตาง ๆ ที่เรียนไปแลว และ
เปนการเพิ่มโอกาสทางการเรียนรูใหกับผูเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอนเปนสื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร เพื่อใหผูเรียนนําไปเรียน
ดวยตนเองและเกิดการเรียนรู ซึ่งประกอบไปดวย เนื้อหาวิชา แบบฝกหัด แบบทดสอบ โดยมี
ลักษณะของการนําเสนอ เปนตัวหนังสือ ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว สีหรือเสียง เพื่อดึงดูดให
ผูเ รียนเกิ ดความสนใจมากยิ่งขึ้น รวมทั้งมีการแสดงผลการเรียนทัน ทีดว ยขอมูลยอนกลับ
(Feedback) แกผูเรียน และยังมีการจัดลําดับวิธีการสอนหรือกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหเหมาะสมกับ
ผูเรียนในแตละคน ทั้งนี้จะตองมีการวางแผนในการผลิตอยางเปนระบบในการนําเสนอเนื้อหาใน
รูปแบบที่แตกตางกัน
2

อีเลิรนนิ่ง (e-Learning) คือ การเรียนในลักษณะใดก็ได ซึ่งใชการถายทอดเนื้อหาผานทาง


อุปกรณอิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต
ทางสัญญาณโทรทัศน หรือสัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได ซึ่งเนื้อหาสารสนเทศอาจอยูใน
รูปแบบการเรียน เชน คอมพิวเตอรชวยสอน การสอนบนเว็บ การเรียนออนไลน และการเรียน
ทางไกลผานดาวเทียม เปนตน การเรียนการสอนในปจจุบันเปนการจัดการศึกษาเพื่อเนนใหผูเรียน
ไดมีอิสระในการแสวงหาความรู โดยการนําเทคโนโลยีมาใชใหเกิดประโยชน และผูสอนสามารถ
นําองคความรูตาง ๆ มาพัฒนาบทเรียนออนไลนที่ผูเรียนสามารถศึกษา คนควาไดตลอดเวลา ไม
จํากัดเรื่องเวลา สถานที่ หรือระยะทาง บทเรียนคอมพิวเตอรออนไลนจึงจะเปนประโยชนตอการ
พัฒนาประสิทธิภาพการเรียนของผูเรียนอยางมาก (มนตชัย, 2545)
ผูจัดทําปญหาพิเศษจึงทําการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก เพื่อใชเปนสื่อประกอบการเรียน
การสอนในการสอนเสริม และสอนทบทวนเนื้อหาใหกับผูเรียน ซึ่งจะเปนอีกหนึ่งทางเลือกที่ชวย
ใหผูเรียนไดรับการพัฒนาความรูความสามารถและทักษะดานการใชงานโปรแกรมคอมพิวเตอร
กราฟก ที่มีความซับซอนอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น

1.2**วัตถุประสงคของการวิจัย
1.2.1**เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
1.2.2**เพื่อประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตโดย
ใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
1.2.3**เพื่ อ ประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู เ รี ย นที่ มี ต อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนบน
เครือขายอินเทอรเน็ตโดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
1.2.4**เพื่ อ หาประสิ ทธิ ภาพบทเรี ย นคอมพิว เตอรชวยสอนบนเครือขา ยอิน เทอรเ น็ต จาก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางเรียนและหลังเรียนของนักเรียนตามเกณฑมาตรฐาน 80/80

1.3**สมมติฐานการวิจัย
1.3.1**คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก มีคาเฉลี่ยอยูในเกณฑระดับดีขึ้นไป (มีคาเฉลี่ย
มากกวา 3.50)
3

H0: μ1 ≤ 3.50
H1: μ1 > 3.50
μ1 คือ*คาเฉลี่ยของคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดย
ใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
1.3.2**ความพึงพอใจของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใช
หลักการของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก ซึ่งมีคาเฉลี่ยอยูในเกณฑระดับดีขึ้นไป
(มีคาเฉลี่ยมากกวา 3.50)
H0: μ2 ≤ 3.50
H1: μ2 > 3.50
μ2 คือ คาเฉลี่ยความพึงพอใจของผูใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
1.3.3**ประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชา การใชโปแกรมกราฟก โดยทําการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ระหวางเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของผูเรียน ซึ่งเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน
80/80
H0: μ3 ≤ 80
H1: μ3 > 80
μ3 คือ คาเฉลี่ยคะแนนแบบทดสอบระหวางเรียนของผูใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบน
เครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
H0: μ4 ≤ 80
H1: μ4 > 80
μ4 คือ คาเฉลี่ยคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนของผูใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย
อินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก

1.4**ขอบเขตของการวิจัย
ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอิ นเทอรเ น็ต มีขอบเขตการวิจั ย
ดังตอไปนี้
4

1.4.1**ประชากรที่ใชในการจัดทําปญหาพิเศษ ไดแก นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ


(ปวช.) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพบานลาด จํานวน 60 คน
1.4.2**กลุ มตัวอยางทําการสุมแบบเจาะจง ไดแก นักเรี ยนระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชีพ
(ปวช.) สาขาวิชาคอมพิวเตอรธรุ กิจ วิทยาลัยการอาชีพบานลาด จํานวน 30 คน
1.4.3 ตัวแปรที่ศึกษา ในการจัดทําปญหาพิเศษมีตัวแปรที่ศึกษา ดังนี้
1.4.3.1 ตัวแปรตน ไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนครือขายอินเทอรเน็ต โดย
ใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
1.4.3.2 ตัวแปรตาม ไดแก
ก)**คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
ข)**ความพึ ง พอใจของผู เ รี ย นที่ มี ต อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนบน
เครือขายอินเทอรเน็ต
ค)**คาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
ตามเกณฑมาตรฐาน 80/80
1.4.4**ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนไดนําหลักการของ ADDIE Model มาใช
ในการพัฒนาในสวนตาง ๆ ของบทเรียน ซึ่งไดแบงการทํางานของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ออกเปน 4 สวนหลัก ๆ คือ สวนสมาชิก สวนของเนื้อหาบทเรียน สวนของผูดูแลระบบ และสวน
ปฏิสัมพันธกับผูเรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1.4.4.1**สวนสมาชิก
ก)**การลงทะเบียนเรียน (Register) เปนสวนของการบันทึกขอมูลประวัติ
ผูเรียน โดยการสมัครสมาชิกผานระบบ ผลการลงทะเบียนเรียนจะถูกอนุมัติโดยผูดูแลระบบ ผูเรียน
จะไดรับ Username และ Password ในการเขาใชงานระบบ
ข)**การเขาสูระบบและออกจากระบบ (Login/Logout) เปนสวนการปอน
Username และ Password หลังจากไดรับการอนุมัติการลงทะเบียนเรียน
ค)**การรักษาความปลอดภัย (Password)
ง)**การแกไขขอมูลสวนตัว (Profile) เปนการตรวจสอบขอมูลและแกไข
ขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับผูเรียน
1.4.4.2**สวนของเนื้อหาบทเรียน
ก)**แบบทดสอบกอนเรียน (Pre-Test)
5

ข) เนื้อหาบทเรียน (Content) ประกอบดวย ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว


รวมทั้งภาพกราฟกตาง ๆ และเสียงบรรยาย ประกอบบทเรียน
ค) แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test)
ง) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (Final Examination Test)
1.4.4.3**สวนของผูดูแลระบบ
ก) จัดการสวนของเมนูหลัก (Block)
ข) จัดการบทเรียน (Course)
ค) จัดการกลุมผูใชงาน (Group)
ง) จัดการโมดูลการใชงาน (Module)
จ) จัดการขาวและประกาศ (News)
ฉ) จัดการการสงขอความ (Private Messages)
ช) จัดการรายงานขอมูลและสถิติตาง ๆ (Report)
1.4.4.4**สวนปฏิสัมพันธกับผูเรียน
ก) การสงขอความ (Messages)
ข) จัดการขาวและประกาศ (News)
1.4.5**ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model ซึ่งมีสวนประกอบตามโครงสรางของบทเรียนการใชคอมพิวเตอรกราฟกดังนี้
1.4.5.1**ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคอมพิวเตอรกราฟก
1.4.5.2**โปรแกรมสําหรับงานกราฟก
1.4.5.3**การจัดการรูปภาพ
1.4.5.4**การใชเครื่องมือตาง ๆ
1.4.5.5**การใชคําสั่งในการปรับรูปภาพ
1.4.5.6**การใชงานเลเยอร
1.4.5.7**การปรับแตงสีรูปภาพ
1.4.5.8**การออกแบบชิ้นงานบนเว็บไซต
1.4.6**ขอบเขตดานฮารดแวร (Hardware) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1.4.6.1 หนวยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) Intel Pentium 4
ความเร็ว 2.4 กิกะไบตเปนอยางนอย
1.4.6.2**หนวยความจําหลัก (Random Access Memory: RAM) มีความจุ 1 กิกะไบต
เปนอยางนอย
6

1.4.6.3**ฮารดดิสกมีความจุ 250 กิกะไบต เปนอยางนอย


1.4.6.4**ความละเอียดของจอภาพแสดงผล 1024 x 768 pixels
1.4.7**ขอบเขตดานซอฟตแวร (Software) ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้
1.4.7.1**ระบบปฏิบัติการ คือ Windows XP Professional
1.4.7.2**โปรแกรมที่ใชสําหรับพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน คือ Moodle
1.4.7.3**โปรแกรมที่ตกแตงภาพ คือ Adobe PhotoshopCS4, Adobe Illustrator CS4,
Adobe Flash CS4

1.5**คําจํากัดความในการวิจัย
1.5.1**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต หมายถึง การสรางบทเรียน
คอมพิ ว เตอร ม าใช ใ นการสอน เพื่ อ ทํ า การถ า ยทอดเนื้ อ หาบทเรี ย น โดยนํ า เสนอสื่ อ ประสม
(Multimedia) ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟก แผนภูมิ วีดีทัศน การทบทวน การทํา
แบบฝกหัด หรือการประเมินผลผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
1.5.2**รูปแบบการสอน ADDIE Model หมายถึง ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร
ซึ่งประยุกตมาจากวิธีการระบบที่ไดการยอมรับมากที่สุด โดยมีการดัดแปลงและเพิ่มเติมรายละเอียด
เพื่อนําไปพัฒนาเปนขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรประกอบดวย 5 ขั้นตอน คือ การ
วิเคราะห (Analysis: A) การออกแบบ (Design: D) การพัฒนา (Development: D) การทดลองใช
(Implementation: I) และการประเมินผล (Evaluation: E) (มนตชัย, 2546)
1.5.3**คอมพิวเตอรกราฟก หมายถึง การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการออกแบบภาพดวย
การสราง การตกแตงแกไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ
1.5.4**คุณภาพของบทเรี ยนคอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง ผลการประเมิน คุณภาพดาน
เนื้อหา ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอ ดานจัดการบทเรียน และดานแบบทดสอบกอนเรียน
และหลังเรียน ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นอยูในเกณฑดี มีคาเฉลี่ยมากกวา 3.50
1.5.5**การประเมินความพึงพอใจ หมายถึง การประเมินความเหมาะสมตอการใชงานของ
บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของผูเรียนหลังจากเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
1.5.6**ประสิ ทธิ ภาพของบทเรียนคอมพิว เตอร ชว ยสอน*หมายถึง*ค าประสิทธิภ าพของ
บทเรียนที่ไดจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนของ
ผูเรียน ซึ่งเปนไปตามเกณฑมาตรฐาน 80/80
7

1.6**ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1.6.1**ได บ ทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนบนเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ ต โดยใช ห ลั ก การของ
ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก และมีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 โดย
สามารถนํารูปแบบไปพัฒนาเพื่อสรางบทเรียนในสาขาวิชาอื่น ๆ ตอไปได
1.6.2**ผูเรียนไดศึกษาเรียนรู วิชาการใชโปรแกรมกราฟก ในการนําไปใชงานจริง และเรียนรู
เกี่ยวกับการประยุกตใชโปรแกรมในการผลิตชิ้นงานตาง ๆ
1.6.3**เพื่อใหสื่อการเรียนการสอนในลักษณะสื่ออิเล็กทรอนิกสมีบทบาทสําคัญในการจัด
การศึกษามากขึ้น
บทที่ 2
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการจัดทําปญหาพิเศษ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก ไดศึกษาผลงานเอกสาร และ
การศึกษางานตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการสราง บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
ซึ่งในการพัฒนาระบบตองอาศัยเทคโนโลยีในการนําเสนอบทเรียนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
ผูจัดทําปญหาพิเศษไดคนควา ศึกษาเอกสาร บทความ และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ โดยมีรายละเอียด
ดังตอไปนี้
2.1**การเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต
2.2**บทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอนและบทเรียน WBI/WBT
2.3**การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร
2.4**งานวิจยั ที่เกี่ยวของ

2.1**การเรียนการสอนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต (e-Learning)
2.1.1**ความหมายของ e-Learning
ในชวงตนศตวรรษที่ 21 นี้การพัฒนาเทคโนโลยี โดยเฉพาะอยางยิ่งเทคโนโลยีทางดาน
คอมพิวเตอรและทางดานการสื่อสาร (Information and Communication Technology: ICT) เปนไป
อยางรวดเร็วและตอเนื่อง สงผลใหเกิดความพยายามในการนําเทคโนโลยีตาง ๆ เหลานี้มาประยุกตใช
ในการจัดการศึกษา เพื่อใหการศึกษามีคุณภาพและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษยที่มีสติปญญาและคุณธรรม e-Learning ถือเปนทางเลือกใหมทางเลือกหนึ่งในการ
นําเทคโนโลยีมาใชเพื่อพัฒนาระบบการศึกษา (มนตชัย, 2545)
ความหมายของ e-Learning สามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะดวยกัน ไดแก ความหมาย
โดยทั่ ว ไปและความหมายเฉพาะเจาะจง สํ า หรั บ ความหมายโดยทั่ ว ๆ ไป คํ า ว า e-Learning
จะครอบคลุมความหมายที่กวางมาก กลาวคือ จะหมายถึง การเรียนในลักษณะใดก็ได ซึ่งใชการ
ถายทอดเนื้อหาผานทางอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต
อินทราเน็ ต หรือทางสัญญาณทางโทรทัศน หรือสัญ ญาณดาวเทีย มก็ไ ด ซึ่ง เนื้ อหาสารสนเทศ
อาจอยูในรูปแบบการเรียนที่เราคุนเคยกันมาพอสมควร เชน คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer
10

Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web base Instruction) การเรียนออนไลน (Online Learning)


การเรียนทางไกลผานทางดาวเทียม หรืออาจอยูในลักษณะที่ยังไมคอยเปนที่แพรหลายนัก เชน
การเรียนจากวีดิทัศนตามอัธยาศัย (Video On-Demand) (มนตชัย, 2545)
สําหรับความหมายเฉพาะเจาะจงนั้น คนสวนใหญเมื่อกลาวถึง e-Learning ในปจจุบัน
จะหมายถึงเฉพาะการเรียนเนื้อหาหรือสารสนเทศสําหรับการสอนหรือการอบรม ซึ่งใชการนําเสนอ
ดวยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสานกับการใชภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศนและเสียง โดยอาศัยเทคโนโลยี
ของเว็บ (Web Technology) ในการถายทอดเนื้อหา รวมทั้งการใชเทคโนโลยีระบบบริหารจัดการ
รายวิชา (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนดานตาง ๆ เชน การจัดใหมี
เครื่องมือการสื่อสารตาง ๆ เชน e-Mail, Web Board สําหรับตั้งคําถาม หรือแลกเปลี่ยนแนวคิด
ระหวางผูเรียนดวยกัน หรือกับวิทยากร การจัดใหมีแบบทดสอบ หลังจากเรียนจบเพื่อการวัดผลการ
เรียน รวมทั้งการจัดใหมีระบบบันทึก ติดตาม ตรวจสอบ และการประเมินผลการเรียน โดยผูเรียน
ที่เรียนจาก e-Learningนี้ สวนใหญแลวจะศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน ซึ่งหมายถึงจากเครื่อง
ที่มีการเชื่อมตอกับระบบเครือขายคอมพิวเตอร
2.1.2**การนํา e-Learning ไปใชประกอบการเรียนการสอน สามารถทําได 3 ลักษณะดังนี้
2.1.2.1**สื่อเสริม (Supplementary) หมายถึง การนํา e-Learning ไปใชในลักษณะ
สื่อเสริม กลาวคือ นอกจากเนื้อหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แลว ผูเรียนยังสามารถศึกษา
เนื้อหาเดียวกันนี้ในลักษณะอื่น ๆ เชนจากเอกสารประกอบการสอน และจากวีดิทัศน ฯลฯ การใช
e-Learning ในลักษณะนี้เทากับวา ผูสอนเพียงตองการจัดหาทางเลือกใหมอีกทางหนึ่ง สําหรับให
ผูเรียนใชในการเขาถึงเนื้อหาเพื่อใหประสบการณพิเศษเพิ่มเติมแกผูเรียนเทานั้น
2.1.2.2**สื่อเติม (Complementary) หมายถึง การนํา e-Learning ไปใชในลักษณะ
เพิ่มเติ มจากวิธีการสอนในลักษณะอื่ น ๆ เชน นอกจากการบรรยายในหองเรียนแลว ผู สอนยัง
ออกแบบเนื้อหาใหผูเรียนเขาไปศึกษาเพิ่มเติมจาก e-Learning
2.1.2.3**สื่อหลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึง การนํา e-Learning ไปใช
ในลักษณะแทนที่การบรรยายในหองเรียน ผูเรียนจะตองศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลน ในปจจุบัน
e-Learning สวนใหญในตางประเทศจะไดรับการพัฒนาขึ้น เพื่อวัตถุประสงคในการใชเปนสื่อหลัก
สําหรับแทนครูในการสอนทางไกล ดวยแนวคิดที่วามัลติมีเดียที่นําเสนอทาง e-Learning สามารถ
ชวยในการถายทอดเนื้อหาไดใกลเคียงกับการสอนจริงของครูผูสอนโดยสมบูรณได
11

2.1.3**e-Learning กับผูเรียน
e-Learning เปนรูปแบบการเรียนที่เกิดขึ้นเพื่อตอบสนองการเรียนในลักษณะ ไดแก
2.1.3.1**ผูเรียนปกติ (Resident Student) หมายถึง ผูเรียนที่เดินทางมาเรียนในสถานที่
และเวลาเดียวกัน ซึ่งสวนใหญผูเรียนมักจะพักอาศัยอยูไมไกลจากสถานที่ซึ่งตกลงกันไวในการที่จะ
มาเรียนรวมกัน จะเรียกวาผูเรียนปกติ (Resident Student) ในการประยุกตใช e-Learning กับผูเรียน
ปกติ จะต อ งพิ จ ารณาให ม ากในเรื่ อ งของการออกแบบเนื้ อ หาการสอน ให มี ค วามน า สนใจ
เพียงพอที่จะดึงดูดความสนใจผูเรียน เนื่องจากผูเรียนประเภทนี้มีทางเลือกอื่น ๆ ในดานของสื่อการ
สอนหรือติดตอสื่อสารกับเพื่อน หรือครู นอกจากนี้ยังควรพิจารณาใหเหมาะสมในดานของระดับ
ของการนําไปใช เนื่องจากหากใชในลักษณะสื่อเสริมเทานั้น ผูเรียนก็สามารถที่จะพิจารณาเลือก
ศึกษาเนื้อหาเดียวกันโดยการใชสื่ออื่นๆ ได
2.1.3.2**ผูเรียนทางไกล (Distance Learners) หมายถึง ผูเรียนที่สามารถเรียนจาก
สถานที่ซึ่งตางกันรวมทั้งในเวลาที่ตางกันไดดวย (Anywhere Anytime) ดังนั้น ผูเรียนจะมีอิสระ
หรือความยืดหยุนในดานของสถานที่ และเวลาในการเขาถึงเนื้อหาที่ตองการศึกษามากกวาผูเรียน
ปกติ แตในขณะเดียวกันผูเรียนทางไกลมักจะมีขอจํากัด ในดานของทางเลือกที่จํากัดของวิธีการ
เรียนการสอนหรือโอกาสในการติดตอสื่อสารกับเพื่อนหรือครู ดังนั้นการประยุกตใช e-Learning
กับผูเรียนทางไกลนั้น การออกแบบการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอรใหนาสนใจยังมีความสําคัญ
เชนกัน
2.1.4**ขอดีของ e-Learning
2.1.4.1**e-Learning ชวยใหการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะ
การถายทอดเนื้อหาผานทางมัลติมีเดีย สามารถทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดดีกวาการเรียนจากสื่อ
ขอความเพียงอยางเดียว หรือจากการสอนภายในหองเรียนของผูสอนซึ่งเนนการบรรยายในลักษณะ
Chalk and Talk โดยเมื่อเปรียบเทียบกับ e-Learning ที่ไดรับการออกแบบและผลิตมาอยางมีระบบ
จะชวยทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวาในเวลาที่เร็วกวา
2.1.4.2**e-Learning ชวยทําใหผูสอนสามารถตรวจสอบความกาวหนาและพฤติกรรม
การเรียนของผูเรียนไดอยางละเอียดและตลอดเวลา เนื่องจาก e-Learning มีการจัดหาเครื่องมือที่
สามารถทําให ผูสอนติดตามการเรียนของผูเรียนได
2.1.5**องคประกอบของ e-Learning
ในการออกแบบพัฒนา e-Learning ประกอบไปดวย 4 องคประกอบหลักไดแก
2.1.5.1**เนื้อหา (Content) เนื้อหาเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดสําหรับ e-Learning
คุณภาพของการเรียนการสอน e-Learning และการที่ผูเรียนจะบรรลุวัตถุประสงคการเรียนใน
12

ลักษณะนี้หรือไมอยางไร สิ่งที่สําคัญที่สุดก็คือ เนื้อหาการเรียน ซึ่งผูสอนไดจัดหาใหแกผูเรียน


ซึ่งผูเรียนมีหนาที่ในการใชเวลาสวนใหญศึกษาเนื้อหาดวยตนเอง เพื่อทําการปรับเปลี่ยนเนื้อหา
สารสนเทศที่ผูสอนเตรียมไวใหเกิดเปนความรู โดยผานการคิดคนวิเคราะหอยางมีหลักการ และ
เหตุผลดวยตัวของผูเรียนเอง คําวาเนื้อหาในองคประกอบของ e-Learning ไมไดจํากัดเฉพาะ
บทเรียนคอมพิวเตอรหรือคอรสแวรเทานั้น แตยังหมายถึงสวนประกอบสําคัญอื่น ๆ ที่ e-Learning
จําเปนตองมีเพื่อใหเนื้อหามีความสมบูรณองคประกอบของเนื้อหาที่สําคัญไดแก โฮมเพจหรือ
เว็บเพจแรกของเว็บไซต หนาแสดงรายชื่อรายวิชา เว็บเพจแรกของแตละรายวิชา เปนตน
2.1.5.2**ระบบบริหารจัดการรายวิชา (Course Management System) หมายถึง ระบบ
ที่ไดรวบรวมเครื่องมือหลาย ๆ ประเภทที่เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนการสอนออนไลนเขาไวดวยกัน
โดยมีจุดประสงคเพื่อชวยสนับสนุนผูใช 3 กลุม ไดแก ผูเรียน ผูสอน และผูเชี่ยวชาญทางดานเทคนิค
โดยสวนใหญจะมีความสามารถไมจํากัดเฉพาะในการสรางชวยผูสอนสรางเนื้อหากระบวนวิชา แต
ยังครอบคลุมถึงการจัดการ การปรับปรุง การควบคุม การสํารองขอมูล การสนับสนุนขอมูล การบันทึก
สถิติผูเรียน และการตรวจคะแนนผูเรียน ซึ่งผูใชสามารถเรียกใชเครื่องมือตาง ๆ เหลานี้ผานเว็บ
โดยใชโปรแกรมเว็บบราวเซอร (Web Browsers) มาตรฐานทั่วไป
ระบบนี้ จะทําหนาที่ในการชวยผูสอนที่ไมคุนเคยกับเทคโนโลยีใหมนักแตมีความสนใจที่จะ
สรางเนื้อหากระบวนวิชาเพื่อการนําเสนออนไลน กลาวคือ ผูสอนไมจําเปนตองรูจักภาษา HTML
หรือ JAVA ระบบจะสามารถลดเวลาที่ผูสอนจะตองจัดเตรียมเนื้อหาเพื่อการนําเสนอ โดยชวยให
การจัดเก็บเนื้อหาและปอนขอมูลผานทางเว็บเขาสูระบบฐานขอมูลไดงายขึ้น โดยในสวนนําเขาและ
จัดเก็บเนื้อหาขอมูลนั้นผูสอนสามารถจัดเก็บประมวลรายวิชา เนื้อหาของหลักสูตร ประกาศตาง ๆ
งานที่มอบหมาย แบบฝกหัด แบบทดสอบ รวมทั้งสามารถเรียกออกมาเพื่อแกไขในภายหลังไดอยาง
สะดวก โดยที่เนื้อหาการสอนอาจอยูในรูปของเว็บเพจซึ่งเนนขอความ หรืออาจอยูในรูปของสื่อ
มัลติมีเดียก็ได นอกจากนี้ยังประกอบไปดวยสวนนําเขาและจัดเก็บขอมูลของผูเรียน ซึ่งทําหนาที่
ตั้งแตดูแลการใหรหัสผูใช (Username) และรหัสผาน (Password) การเขาใชงานของผูเรียน สามารถ
ตรวจสอบจํานวนผูมาเขาเรียน เก็บสถิติการเขาใช เวลาเขาและเวลาออก เก็บสถิติลําดับของการเรียน
หรือบทเรียนที่ผูเรียนเลือก คะแนนแบบฝกหัดหรือกิจกรรมการเรียนตาง ๆ คะแนนผลการทดสอบ
ในแตละสวนและผลการทดสอบได บางระบบถึงกับสามารถคํานวณเกรดของผูเรียน เลือกรูปแบบ
การรายงานผลสอบ และการรักษาความปลอดภัยของการสอบใหดวย นอกจากนี้ยังประกอบไปดวย
สวนของการโตตอบกันระหวางผูสอนและผูเรียน ซึ่งนอกจากระบบบริหารจัดการรายวิชานี้จะทํา
หนาที่เสมือนชองทางไปสูวิธีการสื่อสารระหวางผูเรียนและผูสอน เชน การอนุญาตใหเปดกลุมสนทนา
กระดานขาว หรือหองสนทนา และในขณะเดียวกันระบบยังเอื้ออํานวยตอการใหผลปอนกลับของ
13

ผูสอน ซึ่งเชนเดียวกันกับผูสอนสามารถเลือกที่จะใหผลปอนกลับผูเรียนในลักษณะขอความหรือ
อาจเปนระบบเสียงก็ทําได โดยจุดมุงหมายหลักของระบบบริหารจัดการรายวิชานี้ก็คือ การลด
ขั้นตอนและระยะเวลาในการสรางกระบวนวิชาออนไลน และเครื่องมือเสริมอื่น ๆ เชน เครื่องมือ
ในการติดตอสื่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอน เปนตน
2.1.5.3 รูปแบบการติดตอสื่อสาร (Modes of Communication) องคประกอบที่สําคัญ
ของ e-Learning ที่ขาดไมไดอีกประการหนึ่ง ก็คือ การจัดใหผูเรียนสามารถติดตอกับผูสอน วิทยากร
ผูเชี่ยวชาญอื่น ๆ รวมทั้งผูเรียนดวยกัน ในลักษณะที่หลากหลายและสะดวกตอผูใช กลาวคือ มี
เครื่องมือที่จัดหาไวใหผูเรียนไดใชมากกวา 1 รูปแบบ รวมทั้งเครื่องมือนั้นจะตองมีความสะดวกใช
(User-friendly) ดวย ซึ่งเครื่องมือที่ e-Learning ควรจัดหาใหผูเรียนไดแก
ก) การประชุมทางคอมพิวเตอร ในที่นี้หมายถึงการประชุมทางคอมพิวเตอร
ทั้งในลักษณะของการติดตอสื่อสารแบบตางเวลา (Asynchronous) เชน การแลกเปลี่ยนขอความ
ผานทางกระดานขาวอิเล็กทรอนิกส หรือที่รูจักกันในชื่อของเว็บบอรด (Web Board) เปนตน หรือ
ในลักษณะของการติดตอสื่อสารแบบเวลาเดียวกัน (Synchronous) เชนการสนทนาออนไลน หรือที่
คุนเคยกันดีในชื่อของแช็ท (Chat) หรือในบางระบบอาจจัดใหมีการถายทอดสัญญาณภาพและเสียง
สด (Live Broadcast) ผานทางเว็บไซต เปนตน ในการนําไปใชในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการ
สอน ผูสอนสามารถเปดสัมมนาในหัวขอที่เกี่ยวของกับเนื้อหาในหลักสูตร/รายวิชา ซึ่งอาจอยูในรูป
ของการบรรยายการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญ การเปดอภิปรายออนไลนเปนตน
ข) ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส (e-Mail) เปนองคประกอบที่สําคัญเพื่อใหผูเรียน
สามารถติดตอสื่อสารกับผูสอน หรือผูเรียนอื่น ๆ ในลักษณะรายบุคคล การสงงานและผลปอนกลับ
ใหผูเรียน ผูสอนสามารถใหคําแนะนําปรึกษาแกผูเรียนเปนรายบุคคล ทั้งนี้เพื่อกระตุนใหผูเรียนเกิด
ความกระตือรือรนในการเขารวมกิจกรรมการเรียนอยางตอเนื่อง ทั้งนี้ผูสอนสามารถใชไปรษณีย
อิเล็กทรอนิกสในการใหความคิดเห็นและผลปอนกลับที่ทันตอเหตุการณ
2.1.5.4 แบบฝกหัด/แบบทดสอบ
องคประกอบสุดทายของ e-Learning ซึ่งมีความสําคัญไมนอยกวาองคประกอบอื่น ๆ ไดแก
การจั ด ให ผู เ รี ย นมี โ อกาสในการโต ต อบกั บ เนื้ อ หาในรู ป แบบของการทํ า แบบฝ ก หั ด และ
แบบทดสอบความรู ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2.1.5.5 การจัดใหมีแบบฝกหัดสําหรับผูเรียน
เนื้อหาที่นําเสนอจําเปนตองมีการจัดหาแบบฝกหัด สําหรับผูเรียนเพื่อตรวจสอบความเขาใจ
ไวดวยเสมอ ทั้งนี้เพราะ e-Learning เปนระบบการเรียนการสอนซึ่งเนนการเรียนรูดวยตนเองของ
ผูเรียนเปนสําคัญ ดังนั้น ผูเรียนจึงจําเปนอยางยิ่งที่ตองมีแบบฝกหัดเพื่อการตรวจสอบวาตนเขาใจ
14

และรอบรูในเรื่องที่ศึกษาดวยตนเองมาแลวเปนอยางดีหรือไมอยางไร อีกทั้งการทําแบบฝกหัดจะทํา
ใหผูเรียนทราบไดวาตนนั้นพรอมสําหรับการทดสอบ การประเมินผลแลวหรือไม
2.1.5.6 การจัดใหมีแบบทดสอบผูเรียน
แบบทดสอบสามารถอยูในรูปของแบบทดสอบกอนเรียน ระหวางเรียน หรือหลังเรียนก็ได
สําหรับ e-Learning แลวระบบบริหารจัดการรายวิชาทําใหผูสอนสามารถสนับสนุนการออก
ขอสอบของผูสอนไดหลากหลายลักษณะ กลาวคือ ผูสอนสามารถออกแบบประเมินผลในลักษณะ
ของอัตนัย ปรนัย ถูกผิด การจับคู การสงขอความใหเพื่อนชวยตรวจ การสงขอความใหครูผูสอน
ตรวจ ฯลฯ นอกจากนี้ยังทําใหผูสอนมีความสะดวกสบายในการจัดการสอบเพราะผูสอนสามารถที่
จะจัดทําขอสอบในลักษณะคลังขอสอบไวเพื่อเลือกในการนํากลับมาใช หรือปรับปรุงแกไขใหมได
อยางงายดาย

2.2**บทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน และบทเรียน WBI/WBT


2.2.1**ความหมายของคอมพิวเตอรชวยสอน (CAI)
คอมพิวเตอรชวยสอน หมายถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอรรูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช
ความสามารถของคอมพิวเตอรในการนําเสนอสื่อประสมอันไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพกราฟก
แผนภูมิ กราฟ วีดิทัศน ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถายทอดเนื้อหาบทเรียน หรือองคความรูใน
ลักษณะที่ ใกลเคียงกับการสอนจริงในหองเรียนมากที่สุดโดยมีเปาหมายที่สําคัญก็คือ สามารถดึงดูด
ความสนใจผูเรียน และกระตุนใหเกิดความตองการที่จะเรียนรูคอมพิวเตอรชวยสอนเปนตัวอยางที่ดี
ของสื่อการศึกษาในลักษณะตัวตอตัว ซึ่งผูเรียนเกิดการเรียนรูจากการมีปฏิสัมพันธ หรือการโตตอบ
พรอมทั้งการไดรับผลปอนกลับ (Feedback) นอกจากนี้ยังเปนสื่อที่สามารถตอบสนองความแตกตาง
ระหวางผูเรียนไดเปนอยางดี รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และตรวจสอบความเขาใจของผูเรียนได
ตลอดเวลา
2.2.2**คุณลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอน
คุณลักษณะที่เปนองคประกอบสําคัญของคอมพิวเตอรชว ยสอน 4 ประการ ไดแก
2.2.2.1**สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระที่ไดรับการเรียบเรียง ทําให
ผูเรียนเกิดการเรียนรู หรือไดรับทักษะอยางหนึ่งอยางใดตามที่ผูสรางไดกําหนดวัตถุประสงคไว
การนําเสนออาจเปนไปในลักษณะทางตรง หรือทางออมก็ได ทางตรงไดแก คอมพิวเตอรชวยสอน
ประเภทติวเตอร เชน การอาน จํา ทําความเขาใจ ฝกฝน ตัวอยาง การนําเสนอในทางออมไดแก
คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทเกมและการจําลอง
15

2.2.2.2**ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) การตอบสนองความ


แตกตางระหวางบุคคล คือลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอรชวยสอน บุคคลแตละบุคคลมีความ
แตกตางกันทางการเรียนรู คอมพิวเตอรชวยสอน เปนสื่อประเภทหนึ่งจึงตองไดรับการออกแบบ
ใหมีลักษณะที่ตอบสนองตอความแตกตางระหวางบุคคลใหมากที่สุด
2.2.2.3**การโตตอบ (Interaction) คือ การมีปฏิสัมพันธกั นระหวางผูเรียนกับ
คอมพิวเตอรชวยสอน การเรียนการสอนรูปแบบที่ดีที่สุดก็คือเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธ
กับผูสอนไดมากที่สุด
2.2.2.4**การใหผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ผลปอนกลับหรือการ
ใหคําตอบนี้ถือเปนการเสริมแรงอยางหนึ่ง การใหผลปอนกลับแกผูเรียนในทันทีหมายรวมไปถึง
การที่คอมพิวเตอรชวยสอนที่สมบูรณจะตองมีการทดสอบหรือประเมินความเขาใจของผูเรียนใน
เนื้อหาหรือทักษะตาง ๆ ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว
2.2.3**ประโยชนของคอมพิวเตอรชวยสอน
2.2.3.1**ชวยใหผูเรียนที่เรียนออน สามารถใชเวลานอกเวลาเรียนในการฝกฝนทักษะ
และเพิ่มเติมความรู เพื่อปรับปรุงการเรียนของตน
2.2.3.2**ผูเรียนสามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการเรียนดวยตนเองในเวลา
และสถานที่ที่สะดวก
2.2.3.3**คอมพิวเตอรชวยสอนสามารถที่จะจูงใจผูเรียนใหเกิดความกระตือรือรน
สนุกสนานไปกับการเรียน
2.2.4**รูปแบบการนําเสนอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน สามารถแบงรูปแบบบทเรียนให
สอดคลองกับความตองการใชงาน โดยยึดหลักการนําไปใชงานไดx9xประเภทxไดแก (บุญเกื้อ, 2543)
2.2.4.1**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบศึกษาเนื้อหาใหม (Tutorial) เปน
โปรแกรมที่สรางขึ้นมาในลักษณะบทเรียนโปรแกรมที่เสนอเนื้อหาความรูเปนสวนยอย ๆ เปนการ
เลียนแบบการสอนของครูxคือxมีบทนําxคําอธิบายxซึ่งประกอบดวยตัว ทฤษฎี กฎเกณฑคําอธิบาย
และแนวคิดที่จะสอนในรูปแบบของ ขอความxภาพ และเสียง หรือทุกแบบรวมกันจะมีคําถามเพื่อ
ใช ใ นการตรวจสอบความเข า ใจของผู เ รี ย นxมี ก ารแสดงผลย อ นกลั บ ตลอดจนมี ก ารเสริ ม แรง
สามารถใหผูเรียนยอนกลับไปเรียนบทเรียนเดิมหรือขามบทเรียนที่ผูเรียนรูแลวไปได
2.2.4.2**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบฝกทบทวนหรือ (Drilling and Practice)
สวนใหญจะใชเสริมการสอนxเมื่อครูหรือผูสอนไดสอนบทเรียนบางอยางไปแลว และใหผูเรียนทํา
แบบฝกหัดจากคอมพิวเตอรเปนการวัดxความเขาใจxทบทวนxและชวยเพิ่มพูนความรูความชํานาญ
การใชไมโครคอมพิวเตอร เพื่อฝกทักษะตางxๆxเปนวิธีที่ประสิทธิภาพมากหากโปรแกรมที่ใชมี
16

ประสิทธิภาพโปรแกรมในดานการฝกทักษะและปฏิบัติไมไดชวยผูเรียนเฉพาะในดาน ความจําเพียง
ดานเดียวแตยังชวยผูเรียนใหรูจักคิดดวย
2.2.4.3**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบจําลองสถานการณ (Simulation) ในบาง
บทเรียนการสรางภาพพจนเปนสิ่งสําคัญ และเปนสิ่งจําเปนxการทดลองทางหองปฏิบัติการใน
การเรียนการสอนจึงมีความสําคัญแตในหลาย ๆxวิชาไมสามารถทดลองใหเห็นจริงไดดการใช
คอมพิวเตอรชวยจําลองแบบทําใหเขาใจบทเรียนไดงายขึ้นสามารถสรางการจําลองเปนรูปภาพเพือ่ ชวย
ลดคาใชจายในเรื่องวัสดุอุปกรณทางหองปฏิบัติการ ยนระยะเวลา และลดอันตรายได
2.2.4.4**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบเกมการสอนหรือ (Instructional Game)
เกมการศึกษาหลาย ๆxเรื่องชวยพัฒนาความคิดอานตาง ๆ เชน เกมเติมคํา เกมการคิดแกปญหาเปน
การเรียนรูจากการเลน ชวยใหไดรับความรูและความสนุกสนานเพลิดเพลินไป พรอม ๆ กัน
เปาหมายหลักของเกมการศึกษา คือ ชวยใหผูเรียนไดเรียนรูเปนสําคัญสําหรับในสวนที่มีลักษณะ
เหมือนเกมทั่ว ๆ ไป คือเรื่องของการแขงขันแตก็เปนการนําเกมไปสูการเรียนนั่นเอง
2.2.4.5**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบใชทดสอบ (Test)xการใชคอมพิวเตอร
ชวยสอนมักจะตองการทดสอบเปนการวัดผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนไปดวยโดยผูทําจะตองคํานึงถึง
หลักการตาง ๆ คือการสรางขอสอบxการจัดการสอบxการตรวจใหคะแนนxการวัดวิเคราะห
ขอสอบเปนรายขอxการสรางคลังขอสอบxและการจัดใหผูสอบสุมเลือกขอสอบเองได
2.2.4.6**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบสาธิตหรือ (Demonstration) เปนวิธีใน
การสอนที่ดีวิธีหนึ่งที่ครูผูสอนมักนํามาใชโดยเฉพาะอยางยิ่งในการสอนวิชาวิทยาศาสตร และ
คณิตศาสตร การสอนดวยวิธีนี้ครูจะเปนผูแสดงใหผูเรียน เชนแสดงขั้นตอนเกี่ยวกับทฤษฎีหรือ
วิธีการทางวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร
2.2.4.7**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบการไตถาม (Inquiry) คอมพิวเตอรชวย
สอนนั้นสามารถใชในการคนหาขอเท็จจริงxความคิดรวบยอด หรือขาวสารที่เปนประโยชนในแบบ
ใหขอมูลขาวสารคอมพิวเตอรชวยสอนจะมีแหลงเก็บขอมูลที่มีประโยชนxซึ่งสามารถแสดงได
ทันทีเมื่อผูเรียนตองการระบบงายxๆxที่ผูเรียนสามารถทําไดxเพียงแตกดหมายเลขหรือใสรหัสหรือ
ตัวยอของแหลงขอมูลนั้นxๆ การใสรหัสหรือหมายเลข ทําใหคอมพิวเตอรชวยสอนแสดงขอมูลซึ่ง
จะตอบคําถามผูเรียนตามตองการ
2.2.4.8**บทเรี ยนคอมพิ วเตอร ช วยสอนแบบแก ป ญ หา (Problem-Solving)
คอมพิวเตอรชวยสอนประเภทนี้เนนใหฝก การคิดการตัดสินใจ โดยการกําหนดเกณฑใหผูเรียน
พิจารณาไปตามเกณฑมีการใหคะแนนแตละขอxเชน ในวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรผูเรียนจําเปน
อยางยิ่งที่จะตองเขาใจ และมีความสามารถในการแกปญหา
17

2.2.5**โครงสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
2.2.5.1**โครงสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนแบบเชิงเสน (Linear Type) เปน
โครงสรางพื้นฐานที่งายที่สุดในการจัดการเฟรมเนื้อหาเรียงกันเริ่มตนจนจบในลักษณะเชิงเสน ไมมี
การขามไปสวนอื่นที่ไมเกี่ยวของบทเรียน
2.2.5.2**โครงสร า งของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนที่ เ ป น แบบกลุ ม สาขา
(Branching Type) ซึ่งเปนโครงสรางที่ผูเรียนสามารถเลือกบทเรียนเองได โดยการเปลี่ยนเสนทาง
ของบทเรียนที่ขึ้นอยูกับผลปฏิสัมพันธxถาผูเรียนตอบคําถามถูกจะไดเนื้อหาที่ตางจากผูเรียนที่ตอบ
คําถามไมผานเกณฑ ลักษณะของโครงสรางจึงแตกสาขาออกเปนสวนยอย ๆxตามแบบของผูพัฒนา
บทเรียน
2.2.5.3**โครงสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่เปนแบบลําดับชั้น (Hierarchical
Type) ซึ่งเปนโครงสรางที่มีลักษณะเหมือนเมนูทางเลือกที่แบงเปนรายการหลัก และรายการยอย
ลักษณะเปนลําดับชั้นลงมาในสวนของเนื้อหามีการแบงเปนหมวดหมูและอิสระตอกัน สามารถ
เลือกเรียนสวนใดกอนก็ไดไมมีผลตอสวนอื่น ๆ การนําเอาคอมพิวเตอรมาใชในวงการศึกษา เพื่อใช
ในการเรียนการสอนในลักษณะของคอมพิวเตอรชวยสอนนั้น ปรากฏวาเปนที่ยอมรับกันทั่วไปใน
หมูนักการศึกษาและนักวิชาการโดยที่ไดมีการวิจัยคนควาแลวพบวาคอมพิวเตอรชวยสอนนั้นมี
ประโยชนตอผูเรียน ดังกลาวโดยสรุปไดดังนี้ (ถนอมพร, 2541)
ก) ผูเรียนจะเรียนรูไดตามความชาเร็วของตนเองทําใหสามารถควบคุมอัตรา
เรงของการเรียนไดดวยตนเอง นอกจากนั้นยังสามารถเรียนในเวลาใดก็ไดที่ตองการ
ข) ผูเรียนที่เรียนไมทันสามารถนําคอมพิวเตอรชวยสอนไปใชในการสอน
เสริม หรือทบทวนหลังการสอนปกติในชั้นเรียนไดโดยผูสอนไมตองเสียเวลาในการสอนซ้ํากับ
ผูเรียนที่ตามไมทันหรือจัดการสอนเพิ่มเติม
ค) คอมพิวเตอรชวยสอนนั้นสามารถจูงใจผูเรียนใหเกิดความกระตือรือรน
(Motivated) ที่จะเรียน และสนุกสนานไปกับการเรียนตามแนวความคิดของการเรียนรูใน ปจจุบัน
ที่วา "Learning Is Fun" ซึ่งหมายถึงการเรียนรูเปนเรื่องสนุก
ง) คอมพิวเตอรชวยสอนนั้นสามารถรวมเอาเสียงดนตรีที่มีสีสัน รวมทั้ง
กราฟกภาพเคลื่อนไหว ซึ่งทําใหดูเหมือนจริง และนาเราใจในการฝกปฏิบัติ (Drill) หรือสถานการณ
จําลองไดเปนอยางดี
จ) ผูสอนสามารถควบคุมการเรียนของผูเรียนได เพราะคอมพิวเตอรจะ
บันทึกการเรียนของผูเรียนแตละบุคคลไว
18

ฉ) ความแปลกใหมของคอมพิวเตอรสามารถเพิ่มความสนใจและความ
ตั้งใจผูเรียนมากขึ้น
ช) คอมพิวเตอรใหการสอนที่เชื่อถือได ไดแก ผูเรียนที่เรียนโดยไม
เกี่ยวกับผูสอนแตอยางใด
ซ) คอมพิวเตอรชวยสอนจะชวยใหการเรียนมีทั้งประสิทธิภาพ และ
ประสิทธิผลมีประสิทธิภาพในเรื่องของการลดเวลา และคาใชจายและประสิทธิผลในเรื่องทําให
ผูเรียนบรรลุวัตถุประสงคในการเรียน
ฌ) ผูเรียนสามารถที่จะเรียนรูจากคอมพิวเตอรไดเกือบทุกวิชา และใชเวลา
ในการเรียนนอยกวาการเรียนในหองเรียนที่มีผูสอน
2.2.6**บทเรียน WBI/WBT
WBI/WBT เปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่นําเสนอผานเครือขายคอมพิวเตอร โดยใช
เว็บบราวเซอรเปนตัวจัดการ ดังนั้น จึงมีความแตกตางกับบทเรียน CAI/CBT อยูบางในสวนของ
การใชงาน ไดแก สวนของระบบการติดตอกับผูใช (User Interfacing System) ระบบการนําเสนอ
บทเรียน (Delivery System) ระบบการสืบทองขอมูล (Navigation System) หรือ Internet Explorer
และระบบการจัดการบทเรียน (Computer Managed System) ซึ่งใชแบบนําเสนอแบบไฮเปอรเท็กซ
(Hypertext) ที่ประกอบดวยขอมูลเปนเฟรม ๆ โดยแบงออกเปนเฟรมหลักหรือเรียกวาโหนดหลัก
(Main Node) และโหนดยอย (Sub Node) รวมทั้งมีการเชื่อมโยงแตละโหนดซึ่งกันและกันที่เรียกวา
ไฮเปอรลิงค (Hyperlink) สําหรับสวนที่ไมแตกตางกันระหวางบทเรียน CAI/CBT กับบทเรียน
WBI/WBT ก็ คือ หลั กการนํ าเสนอองค ความรู ที่ยึด หลักการ และประสบการณการเรีย นรู
เชนเดียวกันทุกประการ เนื่องจากเปาหมายของบทเรียนทั้ง 2 ประเภท ก็เพื่อเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ของผูเรียนจากที่ทําไมไดหรือที่ไมรูไปเปนการที่ทําไดหรือรู (ถนอมพร, 2544)
นอกจากบทเรียน WBI/WBT แลวยังมีบทเรียนอื่น ๆ ที่นําเสนอผานเครือขายคอมพิวเตอร
ตัวอยางไดแก (Internet Based Training: IBT) (Net Based Instruction: NBI) เปนตน
2.2.6.1**ประเภทของบทเรียน WBI/WBT บทเรียน WBI/WBT จําแนกออกเปน 3
ประเภทตามระดับความยาก ไดแก
ก)**Embedded WBI เปนบทเรียนที่นําเสนอดวยขอความ และกราฟกเปน
หลัก จัดวาเปนบทเรียนขั้นพื้นฐานที่พัฒนามาจากบทเรียน CAI/CBT สวนใหญพัฒนาขึ้นดวยภาษา
(Hypertext Markup Language: HTML)
ข)**IWBI (Interactive WBI) เปนบทเรียนที่พัฒนาขึ้นจากบทเรียนประเภท
แรกโดยเนนการมีปฏิสัมพันธกับผูเรียนเปนหลัก นอกจากจะนําเสนอดวยสื่อตาง ๆ ทั้งขอความ
19

กราฟก และภาพเคลื่อนไหวแลว การพัฒนาบทเรียนในระดับนี้จึงตองใชภาษาคอมพิวเตอรยุคที่ 4


ไดแก ภาษาเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming) เชน Visual Basic และ Visual C++ รวมทั้ง
ภาษา HTML และ PERL เปนตน
ค)**IMMWBI (Interactive Multimedia WBI) เปนบทเรียน WBI ที่นําเสนอ
โดยยึดคุณสมบัติทั้ง 5 ดานของมัลติมีเดีย ไดแก ขอความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง และการ
ปฏิสัมพันธ จัดวาเปนระดับสูงสุด เนื่องจากการปฏิสัมพันธเพื่อจัดการทางดานภาพเคลื่อนไหวและ
เสียงของ บทเรียนโดยใชเว็บบราวเซอรนั้นมีความยุงยากวาบทเรียนที่นําเสนอแบบใชงานเพียง
ลําพัง ผูพัฒนาบทเรียนจะตองใชเทคนิคตาง ๆ เขาชวย เพื่อใหการตรวจปรับของบทเรียนจากการ
มีปฏิสัมพันธเปนไปดวยความรวดเร็วและราบรื่น เชน การเขียนคุกกี้ (Cookies) ชวยสื่อสารขอมูล
ระหวางเว็บเซิรฟเวอรกับตัวบทเรียนที่อยูในไคลเอนต เปนตน ตัวอยางของภาษาที่ใชพัฒนา
บทเรียนระดับนี้ ไดแก JAVA ASP JSP และ PHP เปนตน
2.2.6.2**สถาปตยกรรมของระบบสําหรับบทเรียน WBI/WBT
สถาปตยกรรมของระบบสําหรับบทเรียน WBI/WBT ประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังภาพที่ 2-1
ก)**เครื่องไคลเอนต*(Client)*เปนเครื่องคอมพิวเตอรของผูเรียนที่มีสมรรถนะ
สูงเพียงพอที่จะตอเชื่อมเขากับระบบเครือขายอินเทอรเน็ตดวยความรวดเร็ว โดยมีความสามารถ
ดานมัลติมีเดีย ประกอบดวยซีพูยูที่มีความเร็วสูง และมีหนวยความจําหลักขนาดเพียงพอ ติดตั้ง
แผงวงจรเสียงพรอมลําโพง รวมทั้งมีแผงวงจรเครือขายสําหรับเชื่อมต อเขากับระบบเครือขาย
อินเทอรเน็ต
ข)**การตอเชื่อมเขาระบบเครือขาย (Network Connectivity) เปนการตอเชื่อม
เครื่องไคลเอนตเขากับระบบเครือขายคอมพิวเตอรทั้งอินเทอรเน็ต หรืออินทราเน็ตผานบริษัทที่
บริการดานอินเทอรเน็ต (Internet Service Provider: ISP) โดยใชโมเด็มและคูสายโทรศัพท หรือใช
สายเชา
ค)**เว็บบราวเซอรและปลั๊กอิน (Web Brower and Plug-ins) เปนโปรแกรม
นําเสนอบทเรียนโดยใชเทคโนโลยีของเว็บ ไดแก Hyperlink Transfer Protocol โดยใชโพรโตคอล
แบบ TCP/IP เชน Netscape Navigator, Internet Explorer, Netcaptor และ NCSA Mosaic เปนตน
พรอมดวยปลั๊กอินซึ่งเปนซอฟทแวรที่ชวยการนําเสนอไฟลภาพและไฟลเสียงผานเว็บบราวเซอร
2.2.6.3**บทเรียน WBI/WBT ติดตั้งไวที่เว็บเซิรฟเวอรใด ๆ ที่ตอเชื่อมเขากับระบบ
เครือขายอินเทอรเน็ตหรืออินทราเน็ต
20

4 Web Server
WBI/WBT
Network Connectivity
2

Internet or Intranet
1 Client Internet Service

3
Web Browser
with Plug-ins

ภาพที*่ 2-1**สถาปตยกรรมของระบบการเรียนแบบ WBI/WBT

2.2.7**ลักษณะของการเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT
แมวาบทเรียน WBI/WBT จะมีแนวความคิดและหลักการออกแบบเชนเดียวกันกับบทเรียน
CAI/CBT แตลักษณะของการเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT จะมีความแตกตางกันโดย
ธรรมชาติ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2.2.7.1**การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT สามารถขยายพื้นที่การเรียน
การสอนไดมากกวาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนปกติ หรือการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมในชั้น
เรียน ผูเรียนที่มีเครื่องคอมพิวเตอรอยูที่ทํางานหรือที่บานก็สามารถตอเชื่อมเขาระบบได ทําใหการ
เรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT มีพื้นที่ไมจํากัด นอกจากไมมีชั้นเรียนแลว ยังแพรขยายไป
ยังพื้นที่หางไกลไดสะดวกกวาบทเรียนชนิดอื่น ๆ
2.2.7.2**การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT ผูเรียนสามารถคนควาหา
ขอมูลเพิ่มเติมไดงายจากเครือขายอินเทอรเน็ตหรือ WWW (World Wide Web) ทําใหการศึกษา
ไมถูกจํากัดเฉพาะหนังสือหรือเอกสารที่ผูสอนเตรียมมาเทานั้น
2.2.7.3**การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT สรางความรูสึกแปลกใหมและ
สรางความสนใจกับผูเรียนไดสูง ซึ่งเปนผลมาจากการปฏิสัมพันธที่ผูเรียนมีตอบทเรียนอยางตอเนื่อง
ตลอดเวลาสงผลใหผลการเรียนรูเปนไปดวยความสนุกสนานและทาทาย ทําใหองคความรูของผูเรียน
เกิดขึ้นตลอดเวลาและมีประสิทธิผล
21

2.2.7.4**การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT ชวยใหผูเรียนมีทางเลือกมาก


ขึ้นในการศึกษาดวยตนเอง ซึ่งสามารถเลือกศึกษาคนควาขอมูลจากไฮเปอรเท็กซที่มีอยูบนเครือขาย
อินเทอรเน็ตตามความถนัดและความชอบของตนเอง โปรแกรมการเรียนมีความยืดหยุนมากกวา
บทเรียนชนิดอื่น ๆ
2.2.7.5**การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT ผูเรียนสามารถติดตอสื่อสาร
กับผูสอนไดสะดวก โดยใชเครื่องมือสนับสนุนหรือบริการตาง ๆ ที่มีอยูบนเครือขายอินเทอรเน็ต
ทั้งในลักษณะ Asynchronous และ Synchronous ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาบทเรียน
WBI/WBT จึงไดรับการแกไขที่ทันเวลาทําใหผูเรียนเกิดความมั่นใจในการศึกษาบทเรียนเพียงลําพัง
2.2.7.6**การเรียนการสอนโดยใชบทเรียน WBI/WBT สามารถจัดการศึกษาได
หลากหลายรูปแบบ เชน การเรียนรูแบบรวมมือ (Collaborative Learning) การเรียนแบบผูเรียนเปน
ศูนยกลาง (Student Centered Learning) หรือระบบการเรียนการสอนอื่น ๆ ที่ใชงานผานเครือขาย
อินเทอรเน็ตทําใหเกิดสังคมการเรียนรูในรูปแบบใหม ๆ ที่แปลกไปจากเดิม เกิดการชวยเหลือซึ่ง
กันและกันในการสรางสรรคองคความรูใหม ๆ รวมทั้งการแกปญหาและการทํางานรวมกันซึ่งเปน
กลยุทธที่ทําใหการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
2.2.8**รูปแบบของการเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT
บทเรียน WBI/WBT สามารถใชกับการเรียนการสอนไดทุกสาขาวิชา ซึ่งรูปแบบการเรียน
การสอนดวยบทเรียน WBI/WBT นั้น นักคอมพิวเตอรศึกษาไดจําแนกออกเปน 4 รูปแบบ ดังนี้
2.2.8.1**Stand Alone Course หมายถึง การเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT
ที่ตัวเนื้อหาบทเรียน และสวนประกอบตาง ๆ ทั้งหมดถูกนําเสนอบนเครือขายอินเทอรเน็ต ผูเรียน
เพียงแตตอเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอรเขากับระบบ โดยปอนชื่อผูใชและรหัสผานก็จะสามารถเขาไป
ศึกษาบทเรี ย นได เริ่ มตั้ ง แต การลงทะเบี ย น การเลือ กวิ ชาเรีย น การศึ ก ษาบทเรี ย น WBI/WBT
การวัดและประเมินผล และการรายงานผลการเรียน ขั้นตอนทั้งหมดนี้จะดําเนินการโดยระบบ
การจัด การผา นเครื อ ข า ยอิ น เทอร เ น็ต ผู เ รีย นไม จํา เปน ตอ งเดิน ทางไปศึ ก ษาในชั้น เรี ย นจริ ง ก็
สามารถศึกษาจนจบหลักสูตรได ซึ่งการเรียนการสอนลักษณะนี้ เปรียบเสมือนเปนหองเรียนขนาด
ใหญที่ไมมีกําแพงกั้น หรือที่เรียกกันวา No Wall School หรือ No Classroom องคความรูทั้งหมดจะ
ถูกนําเสนอผานบทเรียน WBI/WBT ผูเรียนเพียงตอเชื่อมมาจากสถานที่แตกตางกัน ก็สามารถเขา
ศึกษาในชั้นเรียนเดียวกันได จึงเรียกอีกอยางหนึ่งวา Cyber Class หรือ Cyber Classroom ใน
ปจจุบันมหาวิทยาลัยในตางประเทศมักจะจัดการเรียนการสอนรูปแบบนี้ ควบคูไปกับ การเรียนการ
สอนแบบปกติ เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาใหกับผูเรียนในชุมชนหางไกล จึงจัดวาเปน
รูปแบบหนึ่งของการศึกษาทางไกล (Distance Learning) ดวยเชนกัน
22

2.2.8.2**Web Supported Course หมายถึง การเรียนการสอนภาคปกติแบบเผชิญหนา


ในชั้นเรียนระหวางผูเรียนกับผูสอน แตใชบทเรียน WBI/WBT สนับสนุน หรือสอนเสริม เพื่อใช
เปนแหลงขอมูลเพิ่มเติมทําใหผูเรียนไดรับความหลากหลายขึ้น ไมเฉพาะทางดานการนําเสนอ
เนื้ อ หาบทเรี ย นเท า นั้ น แต ยั ง รวมถึ ง การทํ า กิ จ กรรม การทํ า กรณี ศึ ก ษา การแก ป ญ หา หรื อ
การติดตอสื่อสาร ซึ่งบทเรียน WBI/WBT ที่ใชสนับสนุนการเรียนการสอนปกติตามรูปแบบนี้กําลัง
มีบทบาทอยางสูงตอระบบการศึกษาในปจจุบัน อันเนื่องมาจากความไมพรอมของคอมพิวเตอร
ฮารดแวรและการแพรขยายของระบบเครือขายอินเทอรเน็ต ทําใหการจัดการเรียน การสอนใน
ลักษณะของ Stand Alone Course ยังทําไมไดในบางชุมชน การใชบทเรียน WBI/WBT สนับสนุน
มากกวาการที่ผูเรียนนั่งฟงคําบรรยายจากผูสอนเฉพาะเพียงแตในชั้นเรียนเทานั้น
2.2.8.3**Collaborative Learning หมายถึง การเรียนการสอนแบบรวมมือโดยใช
บทเรียน WBI/WBT โดยที่ผูเรียนจากชุมชนตาง ๆ ทั้งใน และนอกประเทศตอเชื่อมระบบเขาสู
บทเรียนในเวลาเดียวพรอมกันหลาย ๆ คนและศึกษาบทเรียนเรื่องเดียวกัน ซึ่งสามารถชวยเหลือซึ่ง
กันและกันในการตอบคําถาม แกปญหา ทํากิจกรรมการเรียนการสอน และดําเนินการตาง ๆ ในการ
รวมกันสรางสรรคบทเรียนกัน ทําใหเกิดเปนเครือขายองคความรูขนาดใหญที่ทาทายและชวนให
ผูเรียนติดตามบทเรียนโดยไมเกิดความเบื่อหนาย
2.2.8.4**Web Pedagogical Resources หมายถึง การนําแหลงขอมูลตาง ๆ ที่มีอยูบน
เครือขายอินเทอรเน็ตมาใชสนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาตาง ๆ ซึ่งไดแก แหลงเว็บไซทที่
เก็ บรวบรวมข อความ ภาพนิ่ ง ภาพเคลื่อ นไหว วี ดีทัศน และเสี ย ง รวมทั้ ง บทเรีย น WBI/WBT
ลักษณะของการใชสนับสนุนจึงสามารถใชไดทั้งการใชประกอบการเรียนการสอน และการทํา
กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาตาง ๆ
2.2.9**ซอฟตแวรสําหรับพัฒนาบทเรียน WBI/WBT
ซอฟตแวรสําหรับพัฒนาบทเรียน WBI/WBT แบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก
2.2.9.1**ระบบนิพนธบทเรียน (Authoring System) เปนซอฟตแวรที่ออกแบบขึ้นมา
เพื่อใชพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนโดยตรง ปจจุบันซอฟตแวรประเภทนี้สามารถนําไป
พัฒนาบทเรียน WBI/WBT ไดเชนกัน เนื่องจากมีการปรับปรุงใหสามารถนําเสนอผานเว็บบราวเซอร
ได ไดแก Authorware, Multimedia Toolbooks II, IconAuthor, Quest, IBTAuthor, CBIQuick และ
Macromedia Flash เปนตน
2.2.9.2**ภาษาคอมพิวเตอร (Computer Language) เปนภาษาคอมพิวเตอรที่ใชพัฒนา
โปรแกรมใชงานทั่ว ๆ ไป ไดแก HTML, Java, ASP, JSP, PHP, Perl และ ASP+ เปนตน
23

2.2.10 ขอดีและขอจํากัด
สืบเนื่องมาจากอัตราการขยายตัวของจํานวนผูใชเครือขายอินเทอรเน็ตที่มีจํานวนผูใชเพิ่มขึ้น
ทุกชั่วขณะนับวาเปนจุดเดนที่ทําใหบทเรียน WBI/WBT แพรขยายอยางไรขอบเขต ซึ่งเปนขอดี
ประการสําคัญของบทเรียน WBI/WBT ที่ผูที่ตอเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัวที่บานเขากับ
เครือขายอินเทอรเน็ตก็สามารถใชบทเรียนประเภทนี้ได โดยไมมีขอจํากัดทางดานเพลทฟอรมของ
เครื่อง ไมวาจะเปนวินโดวส แมคอินทอช หรือยูนิกซ ก็สามารถใชบทเรียนเหลานี้ไดโดยไมตอง
เสียคาใชจาย หรือเสียคาใชจายไมสูงเหมือนบทเรียนแบบใชงานโดยลําพังที่ตองซื้อ CD-ROM
ตนฉบับ เทานั้นจึงจะใชงานได เนื่องจากบทเรียน WBI/WBT สวนใหญจะใชการดาวนโหลดจาก
เว็ บ เซิ ร ฟ เวอร ซึ่ ง อาจจะต อ งเสี ย ค า ใช จ า ยบ า ง ข อ ดี อี ก ประการหนึ่ ง ก็ คื อ เนื้ อ หา บทเรี ย น
WBI/WBT สามารถเปลี่ยนแปลงไดงาย เพียงแตปรับปรุงขอมูลในเว็บเซิรฟเวอรใหทันสมัยเทานั้น
นอกจากนี้ ยั ง มี ค วามสะดวกสบายอย า งยิ่ ง ต อ การใช ง าน ไม จํ า เป น ต อ งพกพาแผ น CD-ROM
บทเรียนติดตัวเพียงแตจดชื่อผูใช (Log-on Username) และรหัสผาน (Password) เทานั้น ก็สามารถ
เรียนรูไดจากทุกแหงทั่วโลกที่ติดตั้งระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
สําหรับขอจํากัดประการสําคัญของบทเรียน WBI/WBT ก็คือ ความเร็วในการนําเสนอและ
การปฏิสัมพันธ ซึ่งเปนเหตุมาจากขอจํากัดของแบนวิดธในการสื่อสารขอมูล โดยเฉพาะอยางยิ่ง
การนําเสนอภาพเคลื่อนไหว ภาพวีดิทัศน และเสียง ทําใหภาพเกิดอาการกระตุก (Jitter) และขาด
ความตอเนื่อง ถาบทเรียนนําเสนอดวยสื่อประเภทนี้ จึงเปนขอจํากัดในการใชงานประการสําคัญที่
ลดความนาสนใจลงไป บทเรียน WBI/WBT ในปจจุบันสวนใหญจึงพยายามหลีกเลี่ยงการนําเสนอ
ภาพเคลื่อนไหวขนาดใหญ ๆ จึงทําใหคุณภาพของบทเรียนยังไมถึงขั้น IMMWBI ที่สมบูรณ
นอกจากนี้บทเรียน WBI/WBT ที่มีการพัฒนาขึ้นในปจจุบันมักจะมีความใกลเคียงกับ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-books) มาก โดยที่ผูพัฒนาบทเรียนบางคนยังมีความเขาใจคลาดเคลื่อนวา
บทเรียน WBI/WBT ก็คือ หนังสือที่นําเสนอโดยใชบราวเซอรนั้นเอง ทําใหกลายเปนบทเรียน
WBI/WBT ที่มีเนื้อหาตายตัวมากเกินไปไมยืดหยุนในการใชงานเทาที่ควร
2.2.11 ขอแตกตางระหวางการเรียนการสอนปกติกับการใชบทเรียน WBI/WBT
การเรียนการสอนปกติในชั้นเรียน มีลักษณะดังนี้
ก)**ผูเรียนถูกจํากัดดวยเวลา ชั้นเรียน และสถานศึกษา
ข)**ผูเรียนกับผูสอนมีการเผชิญหนากันโดยตรง การสื่อสารใชคําพูดเปนหลัก
ค)**บทเรียนมีการควบคุมเวลาโดยผูสอนและหลักสูตร
ง)**สื่อการเรียนการสอนที่ใช ไดแก เอกสารสิ่งพิมพ และการบรรยาย
24

จ)**การจัดกลุมกิจกรรมการเรียนการสอนทําไดคอนขางจํากัด เนื่องจาก
ปญหาทางดานจํานวนผูเรียน เวลา และสถานที่
การเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT มีลักษณะดังนี้
ก) **ผูเรียนเลือกเวลาเรียนไดตามความสะดวกทั้งที่บานหรือสถานที่ทํางาน
ข) **ผูเรียนกับผูสอนติดตอสื่อสารกันผานเครือขายอินเทอรเน็ต
ค) **บทเรียนไมมีการควบคุมเวลา ผูเรียนเรียนตามความสามารถของตนเอง
ง) **สื่อการเรียนการสอนที่ใชมีหลากหลาย ทั้งบทเรียน WBI/WBT หรือ
ขอมูลอื่น ๆ จากแหลงขอมูลบนเครือขายอินเทอรเน็ต
จ) **การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถทําไดหลากหลายรูปแบบ
เนื่องจากผูเรียนไมจําเปนตองเดินทางไปรวมกลุมจริง แตใชการเชื่อมตอผานเครือขายอินเทอรเน็ต
สําหรับขอแตกตางระหวางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กับบทเรียน WBI/WBT บน
เครือขายอินเทอรเน็ต มีดังนี้
ก)**เปนการใชงานในลักษณะโดยลําพัง สนับสนุนการเรียนการสอนแบบ
Asynchronous เพียงอยางเดียว
ข)**ไมสามารถจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือได (Collaborative Learning)
ค)**ไมมีระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) ในการเรียนการสอน
ง)**สามารถเขาถึงบทเรียนไดเปนสวน ๆ เทานั้น
จ)**ไมกอใหเกิดเครือขายหรือสังคมแหงการเรียนรู
การเรียนการสอนดวยบทเรียน WBI/WBT บนเครือขายอินเทอรเน็ต มีดงั นี้
ก)**เปนการใชงานในลักษณะเครือขาย
ข)**สนับสนุนการเรียนการสอนทั้งแบบ Synchronous และ Asynchronous
ค)**สนับสนุนการเรียนการสอนแบบรวมมืออยางสมบูรณ
ง)**มีระบบพีเ่ ลี้ยงชวยเหลือผูเรียนเกีย่ วกับการเรียนการสอน
จ)**สามารถเขาถึงบทเรียนไดทุก ๆ สวน
ฉ)**เปดโอกาสใหเกิดเครือขายหรือสังคมแหงการเรียนรูไดงายและกวางไกล
2.2.12 เกณฑการพิจารณาเลือกใช
เกณฑการพิจารณาเลือกใชบทเรียน WBI/WBT ที่แสดงไวในคูมือ Multimedia and Internet
Training Awards ประกอบดวยขอกําหนดจํานวน 10 ขอ ไดแก
ก)**เนื้อหา (Content) เปนการพิจารณาทั้งปริมาณ และคุณภาพของเนื้อหา
ของบทเรียนวามีความเหมาะสมหรือไม เนื่องจากเนื้อหาที่เหมาะสม จะตองมีความเปนสารสนเทศ
25

(Information) ซึ่งเปนองคความรู (Knowledge) ไมใชเปนขอมูล (Data) อันเปนคุณสมบัติพื้นฐาน


ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ข)**การออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) บทเรียน WBI/WBT
ที่ดีจะตองผานกระบวนการวิเคราะหและออกแบบ เพื่อพัฒนาเปนระบบการเรียนการสอนไมใช
หนังสืออิเล็กทรอนิกส (E-books) ที่นําเสนอผานจอภาพของคอมพิวเตอร
ค)**การปฏิสัมพันธ (Interactive) บทเรียน WBI/WBT จะตองนําเสนอโดย
ยึดหลักการปฏิสัมพันธกับผูเรียน องคความรูที่เกิดขึ้นแตละเฟรม ควรจะเกิดขึ้นจากการที่ผูเรียนมี
ปฏิสัมพันธโดยตรงกับบทเรียน เชน การตอบคําถาม และการรวมกิจกรรม เปนตน ไมไดเปนการ
นําเสนอในลักษณะของการสื่อสารแบบทางเดียว (One-Way Communication)
ง)**การสืบทองขอมูล (Navigation) ดวยหลักการนําเสนอในรูปแบบของ
ไฮเปอรเท็กซ บทเรียน WBI/WBT ควรประกอบดวยเนื้อหาทั้งเฟรมหลัก หรือโหนดหลักและ
เชื่อมโยงไปยังโหนดยอยที่มีความสัมพันธกัน โดยใชวิธีการสืบทองขอมูลตางๆ เชน Bookmarks
Back tracking History Lists หรือวิธีอื่น ๆ อันเปนคุณลักษณะเฉพาะของเว็บบราวเซอร
จ)**สวนของการนําเขาสูบทเรียน (Motivational Components) เปนการ
พิจารณาดวยการใชคําถาม เกม แบบทดสอบ หรือกิจกรรมตาง ๆ ในขั้นของการกลาวนําหรือการ
นําเขาสูบทเรียนเพื่อดึงดูดความสนใจของผูเรียนกอนที่จะเริ่มศึกษาเนื้อหา
ฉ)**การใชสื่อ (Use of Media) เปนการพิจารณาความหลากหลายและความ
สมบูรณของสื่อที่ใชในบทเรียนวาเหมาะสมหรือไมเพียงใด เชน การใชภาพเคลื่อนไหว การใชเสียง
หรือการใชภาพกราฟก เปนตน
ช)**การประเมินผล (Evaluation) บทเรียน WBI/WBT ที่ดีจะตองมีสวนของ
คําถาม แบบฝกหัดหรือแบบทดสอบ เพื่อประเมินผลทางการเรียนของผูเรียน อีกทั้งยังตองพิจารณา
ระบบสนับสนุนการประเมินผลดวย เชน การตรวจวัด การรวบรวมคะแนน และการรายงานผลการ
เรียน เปนตน
ซ)**ความสวยงาม (Aesthetics) เปนเกณฑการพิจารณาดานความสวยทั่ว ๆ
ไปเกี่ยวกับตัวอักษร กราฟก และการใชสี รวมทั้งรูปแบบการนําเสนอ และการติดตอกับผูใช
ฌ)**การเก็บบันทึก (Record Keeping) ไดแก การเก็บบันทึกประวัติผูเรียน
การบันทึกผลการเรียนและระบบฐานขอมูลตาง ๆ ที่สนับสนุนกระบวนการเรียนการสอน เชนการ
ออกใบประกาศนียบัตรหลังจากเรียนจบ
ญ)**เสียง (Tone) ถาบทเรียน WBI/WBT สนับสนุนมัลติมีเดียดวย ก็ควร
พิจารณาดานเสียง เกี่ยวกับลักษณะของเสียงที่ใช ปริมาณการใช และความเหมาะสม
26

2.3 การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร
บทเรียนคอมพิวเตอรพัฒนามาจากบทเรียนสําเร็จรูปที่เนนการเรียนรูดวยตนเอง โดยใช
คอมพิวเตอรจัดการ ซึ่งบุคลากรทางคอมพิวเตอรจะถือวาตัวบทเรียนคอมพิวเตอรก็คือซอฟตแวร
ประเภทหนึ่ง ในลักษณะของสื่ออิเล็กทรอนิกส (Electronic Media) เพื่อนําไปประยุกตใชกับ
การศึกษา ในขณะที่นักการศึกษาก็มีความเชื่อวา บทเรียนคอมพิวเตอรควรออกแบบโดยยึดหลัก
ทางการศึกษาโดยใชคุณสมบัติของคอมพิวเตอรในการนําเสนอและจัดการบทเรียน เพื่อใหเปน
บทเรียนสําเร็จรูปที่จัดการเรียนรูเบ็ดเสร็จภายในตัวเอง เกี่ยวของกับแนวความคิด 2 ประการ ดังนี้
2.3.1**แนวความคิดของวิศวกรรมซอฟตแวร (Software Engineering) วิธีการพัฒนาซอฟตแวร
ในศาสตรของวิศวกรรมซอฟตแวร จําแนกออกเปนหลายวิธีตามที่นักคอมพิวเตอรพัฒนาขึ้นมา เชน
The DOD-STD-2167A Method, The Waterfall Method, TheJackson Method, The Rapid Prototyping
Method, The Spiral Method, The Parallel Method และSystem Development Life Cycle (SDLC)
เปนตน แตละวิธีมีขั้นตอนที่แตกตางกันบางตามวิธีคิดของผูพัฒนาแตละคน อยางไรก็ตามทุกวิธีมี
เปาหมายเหมือนกันก็คือการพัฒนาซอฟตแวรใหสอดคลองกับความตองการของผูใช โดยจะตอง
เปนซอฟตแวรที่มีคุณภาพ สามารถตรวจสอบขั้นตอนในการพัฒนาได เมื่อพิจารณาวาบทเรียน
คอมพิวเตอรเปนไฟลอิเล็กทรอนิกสซึ่งเปนซอฟตแวรชนิดหนึ่งแนวความคิดของวิศวกรรมซอฟตแวร
จึงสามารถนํามาประยุกตใชการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรไดเชนกัน
2.3.2**แนวความคิดของวิธีการระบบ (System Approach) การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร
ตามแนวความคิดของวิธีการระบบแมวาบทเรียนคอมพิวเตอรจะออกแบบโดยใชแนวความคิดของ
วิศวกรรมซอฟทแวรได แตบทเรียนคอมพิวเตอรที่มีการพัฒนาขึ้นเพื่อใชทางดานการเรียนการสอน
มักจะออกแบบขึ้นโดยอาศัยวิธีการระบบเปนสวนใหญ จึงเปนแนวทางที่มีการนําไปใชมากที่สุดใน
กระบวนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร ไมวาจะเปน CAI/CBT, WBI/WBT หรือ e-Learning
ก็ตาม ซึ่งแบงออกเปน 2 แนวทางตามที่กลาวมาแลว ไดแก แนวทางการออกแบบบทเรียนโดยใช
หลักการของบทเรียนสําเร็จรูป และแนวทางการออกแบบบทเรียนโดยใชหลักการของการออกแบบ
รูปแบบการสอน
2.3.3**แนวทางการออกแบบบทเรียน โดยใชหลักการของการออกแบบรูปแบบการสอน
รูปแบบการสอน (Instructional Model) เปนการใชวิธีการระบบ ซึ่งเปนกระบวนการทางวิทยาศาสตร
เพื่อใชในการออกแบบและพัฒนาระบบใหม ๆ หรือวิธีคิดใหม ๆ ของการเรียนการสอน อีกทั้งยัง
สามารถตรวจสอบในแตละขั้นตอนได วิธีการระบบเปนศาสตรที่นํามาออกแบบนวัตกรรมหรือ
เทคโนโลยีทางการศึกษา แตก็สามารถประยุกตใชกับการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรได
เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรจัดวาเปนนวัตกรรมทางการศึกษาสมัยใหมเชนกันสําหรับขั้นตอน
27

การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรซึ่ง ประยุกตมาจากวิธีการระบบ ที่ไดการยอมรับมากที่สุด โดยมี


การดัดแปลงและเพิ่มเติมรายละเอียด ตามแนวคิดของแตละบุคคลมากที่สุด ก็คือรูปแบบการสอน
ADDIE Model ซึ่งประกอบดวย 5 ขั้นตอน ไดแก
1. การวิเคราะห (Analysis: A)
2. การออกแบบ (Design: D)
3. การพัฒนา (Development: D)
4. การทดลองใช (Implementation: I)
5. การประเมินผล (Evaluation: E)

ภาพที*่ 2-2**ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรตามแนวทางของรูปแบบการสอน
ADDIE Model

2.4**งานวิจัยที่เกี่ยวของ
ณัฐพล (2540) ไดทําการวิจัยและพัฒนาบทเรียนวิชาการถายภาพเบื้องตน โดยใชรูปแบบ
ไฮเปอรเน็กซ บนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยไดทําการวิจัยและพัฒนาหาประสิทธิภาพของบทเรียน
ที่ทําใหผูเรียนเกิดการพัฒนาดานการเรียนตามเกณฑ 80/80 และเกณฑมาตรฐานของ Meguigans
รวมทั้งการเปรียบเทียบผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเปน
นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปที่ 1 สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ปการศึกษา 2540 จํานวน 42 คน แบงออกเปนการทดลองรายบุคคล 3
คน การทดลองกลุมยอย 9 คน และการทดลองกลุมใหญ 30 โดยวิธีการสุมอยางงาย เครื่องมือที่ใช
28

ในการวิจัยเปนบทเรียนวิชาการถายภาพเบื้องตน โดยใชรูปแบบของ Hypertext บนเครือขาย


อินเทอรเน็ตทําการทดลองใชบทเรียนรายบุคคล หาขอบกพรองและปรับปรุงแกไข การทดลองใช
บทเรียนกับกลุมยอยทําแบบทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียน หาขอบกพรองและปรับปรุง
แก ไ ข การทดลองใช ก ลุ ม ใหญ ทํ า แบบทดสอบหาประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย น ผลการทดสอบ
หาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ 80/80 พบวาบทเรียนวิชาการถายภาพเบื้องตนโดยใช
รูปแบบไฮเปอรเท็กซบนเครือขายอินเทอรเน็ตมีประสิ ทธิภาพ 83.28/81.03 สําหรับการหา
ประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑมาตรฐานของ Meguigans พบวามีมาตรฐานตามเกณฑคือมีคา
เทากับ 1.09 และการเปรียบเทียบผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน พบวาคะแนนเฉลี่ยจากการ
ทดสอบหลังเรียนสูงกวาคะแนนจากการทดสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
จิระวัฒน (2542) ไดทําการสรางและหาคุณภาพ WBT เพื่อใชฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น
วิชาวิศวกรรมแทรฟฟค ขององคการโทรศัพทแหงประเทศไทย โดยมีวัตถุประสงคการวิจัยเพื่อ
สรางและหาคุณภาพ WBT เพื่อใชฝกอบรมหลักสูตรระยะสั้น วิชาวิศวกรรมแทรฟฟค ของ
องคการโทรศัพทแหงประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง นําเสนอบทเรียนเปน
ลักษณะโมดูลยอย แบงเปน 4 โมดูล กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเลือกแบบเจาะจง จากพนักงาน
องคการโทรศัพทฯ ที่ทํางานเกี่ยวของกับงานทางดานโครงขายโทรศัพทและแทรฟฟค จํานวน 20 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยเปนโปรแกรม WBT แบบฝกหัดทายบทเรียน/แบบทดสอบรวม เพื่อหา
ประสิทธิภาพของบทเรียนที่ตั้งไวไมต่ําหวา 80/80 และแบบสอบถามความคิดเห็นจากผูเชี่ยวชาญ
เพื่อหาความเหมาะสมของสื่อการสอน ผลการวิจัยการหาประสิทธิภาพของบทเรียน จากกลุมตัวอยาง
ไดคะแนนจากการทําแบบฝกหัดทายบทเรียน/แบบทดสอบรวม คิดเปนรอยละ 85.87/80.2 และ
ผูเชี่ยวชาญมีความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของสื่อการสอนอยูในระดับดี สรุปไดวา WBT ที่
สรางขึ้นสามารถนําไปใชฝกอบรมกับกลุมเปาหมายได
เกศินี (2543) ไดทําการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ต วิชาการพยาบาล
สูติศาสตร เรื่องการวางแผนครอบครัว สําหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนา
บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ต วิชาการพยาบาลสูติศาสตร เรื่องการวางแผนครอบครัว
สําหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80/80 ศึกษาความกาวหนา
ทางการเรียนของผูเรียนที่ใชบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ต โดยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียน ศึกษาความคิดเห็นของผูเรียนที่เรียนดวยบทเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอน ผานอินเทอรเน็ต วิชาการพยาบาลสูติศาสตร เรื่องการวางแผนครอบครัว ผูวิจัย
ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ตจํานวน 3 หนวย ประกอบดวย การวางแผน
ครอบครัว การคุมกําเนิดแบบชั่วคราวโดยใชฮอรโมน และการคุมกําเนิดแบบชั่วคราวโดยวิธีอื่น ๆ
29

พรอมทั้งสรางแบบทดสอบวัดวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมดานพุทธิพิสัย เปนแบบทดสอบกอนเรียน
และหลังเรียนแบบคูขนาน ซึ่งไดผานการทดสอบและพัฒนาจนมีคาความยากงาย คาอํานาจจําแนก
และคาความเที่ยงตามเกณฑ หลังจากนั้นไดนําบทเรียนที่สรางขึ้นไปทําการทดลอง ผลการวิจัย
พบวา บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ตที่ไดสรางและพัฒนาขึ้นทั้ง 3 หนวย มี
ประสิทธิภาพ 85.00/85.00 81.50/81.50 และ 83.17/83.17 ถึงเกณฑ 80/80 ที่พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง
เรียนของผูเรียน เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักศึกษามีความคิดเห็นตอการ
เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ตในระดับดี
ชมนาฎ (2544) ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ต วิชาวิทยาศาสตร
ทั่วไป สําหรับนักเรียนระดับ 6 โรงเรียนสถานศึกษานานาชาติกรุงเทพ ซึ่งมีวัตถุประสงคการวิจัย
เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ตวิชาวิทยาศาสตรทั่วไปใหมีประสิทธิภาพ
ตามเกณฑ 85/85 ศึกษาความกาวหนาในการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ต
และ ศึกษาความคิดของนักศึกษาที่เรียนจากบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ต ผูวิจัย
ไดพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ตวิชาวิทยาศาสตรทั่วไปจากนั้นนําบทเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ตที่สรางขึ้นไปทดลองใชแบบเดี่ยว แบบกลุม และแบบภาคสนาม
กับนักเรียน ระดับ 6 โรงเรียนสถานศึกษานานาชาติกรุงเทพ จํานวน 30 คน โดยมีการทดสอบวัด
ผลสัมฤทธิ์ กอนเรียนและหลังเรียนเมื่อนักเรียนเรียนครบทุกหนวยแลวใหนักเรียนตอบแบบสอบถาม
คิดเห็นที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ต ผูวิจัยไดนําขอมูลมาวิเคราะหโดยใช
สถิติ E1/E2 การทดสอบคาที คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบวา บทเรียนคอมพิวเตอร
ชวยสอนผานอินเทอรเน็ตทั้ง 4 หนวย ที่ไดสรางและพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพถึงเกณฑ 85/85
ตามลําดับ คือ 87.04/86.67, 87.50/89.00,87.00/87.33, และ88.33/88.67 นักเรียนมีความกาวหนา
ทางการเรียนสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนมีความคิดเห็นตอบทเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอนผานอินเทอรเน็ตอยูในระดับเห็นดวยมาก
ฐิตาภรณ (2546) ไดจัดทําสารนิพนธ เรื่อง การพัฒนาบทเรียนออนไลน เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร
และสถาปตยกรรม ในการพัฒนาระบบการเรียนในครั้งนี้ไดทําการพัฒนาโดยใชระบบปฏิบัติการ
Windows 2000 Server และโปรแกรม Internet Information Service (IIS) ทําหนาที่เปน Personal
Web Server ใชระบบจัดการฐานขอมูล Microsoft Access 2000 และภาษา ASP (Active Server
Page) เปน Software Tools และไดใชโปรแกรม Internet Explorer เปน Web Browser ในการทํางาน
โดยมีการแบงผูใชออกเปน 3 กลุม ไดแก ผูบริหารระบบ ผูสอน และผูเรียน ในบทเรียนออนไลนนี้
ไดรับการประเมินจากคณะผูเชี่ยวชาญ ผลการประเมินอยูในระดับดี ผลการหาประสิทธิภาพของ
บทเรียนออนไลนจากกลุมตัวอยางที่เปนผูเรียน 20 คน ไดคะแนนจากการทําแบบฝกหัดมีคาเฉลี่ย
30

83.33 เปอรเซ็นต และทําแบบทดสอบหลังจากเรียนดวยบทเรียน 85.00 เปอรเซ็นต ซึ่งมีประสิทธิภาพ


ที่ 83.33/85.00 สูงกวาเกณฑ 80/80 ที่ตั้งไว แสดงวาบทเรียนออนไลนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพนําไปใช
ในการเรียนการสอนได
ศิริชัย (2546) ทําการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนผานเว็บ เรื่องฮารดแวรคอมพิวเตอร
และการใชสารสนเทศ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู หลักสูตรสถาบันราชภัฏ ระดับ
ปริญญาตรี การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนหาประสิทธิภาพ
หาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและระดับความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียน โดยดําเนินการสราง
ตามขั้นตอนของ Interaction MultiMedia CAI ไดแกขั้นตอนการวิเคราะห การออกแบบ การพัฒนา
การสรางและการประเมินผล เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวย บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ แบบประเมินคุณภาพโดยผูเชี่ยวชาญ และแบบประเมินระดับความพึงพอใจ
สถิติที่ใชในการวิเคราะหผลไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คา E-CAI และ คา
คะแนนทีแบบจับคู (paired t-test) ผลการวิจัย พบวา 1) ผลการหาประสิทธิภาพบทเรียน (E-CAI) มี
คาเทากับ 81.5 อยูในระดับพอใช 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเทากับ 26.09 สูง
กวาคะแนนกอนเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 14.59 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นเทากับ
.01 และ 3) ผลการประเมินระดับความพึงพอใจที่มีตอบทเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.85 อยูในระดับดี
ศิริชัย (2550) ไดทําการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความพึงพอใจของผูเรียน
โดยใชกิจกรรมหนังสืออิเล็กทรอนิกสและบทเรียนสําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกสในสภาพแวดลอมแบบ
อีเลิรนนิ่งผานโปรแกรม Moodle การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียน
อีเลิรนนิ่งแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกสและบทเรียนสําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกส 2 บท คือ เรื่องระบบ
เครือขายคอมพิวเตอร และ เรื่องเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต สําหรับสอนในรายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อชีวิต 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนของแตละบทเรียน 3) เปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนระหวางบทเรียนสองประเภท และ 4) เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบ
ความพึงพอใจผูเรียน ระหวางกลุมที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสและกลุมที่เรียนดวยบทเรียน
สําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกสในสภาพแวดลอมแบบอีเลิรนนิ่งผานระบบบริหารจัดการการเรียนรูดวย
โปรแกรม Moodle เครื่องมือการวิจัยประกอบดวย บทเรียนอีเลิรนนิ่งแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส
และบทเรียนสําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกส แบบฝกหัดระหวางเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ และ
แบบสอบถามความพึงพอใจ นําบทเรียนไปทดลองเรียนในสภาพแวดลอมแบบอีเลิรนนิ่งกับกลุม
ตัวอยางซึ่งเปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2550 โดยกลุมแรก 33 คน เรียนดวยบทเรียนแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส กลุมที่สอง 37 คน เรียน
ดวยบทเรียนสําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกส เก็บรวบรวมขอมูล โดยวิธีรวบรวมผานระบบออนไลนรวมกับ
31

Moodle โดยใหผูเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน ทําแบบฝกหัดระหวางเรียนเมื่อจบบทเรียนใหผูเรียน


ทําแบบทดสอบหลังเรียน และตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ จากนั้นนําขอมูลมาวิเคราะหทาง
สถิติโดยการหาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาคาประสิทธิภาพบทเรียนดวย E-CAI เปรียบเทียบ
ความแตกตางดวย Paired T-test และ Independent t-test ผลการวิจัยพบวา 1) ประสิทธิภาพของ
บทเรียนอีเลิรนนิ่ง ทั้งรูปแบบหนังสืออิเล็กทรอนิกสและบทเรียนสําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกส เนื้อหาทั้ง
2 เรื่อง ต่ํากวาเกณฑมาตรฐานที่กําหนดไว คือรอยละ 80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเฉลี่ย
ของบทเรียนหนังสืออิเล็กทรอนิกสและบทเรียนสําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกสมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวากอน
เรียนทุกเรื่อง ซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง
เรียนเฉลี่ยของ กลุมที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสสูงกวากลุมที่เรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูป
อิเล็กทรอนิกสซึ่งแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) ระดับความพึงพอใจของ
ผูเรียนกลุมที่เรียนดวยหนังสืออิเล็กทรอนิกสสูงกวากลุมที่เรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูปอิเล็กทรอนิกส
เล็กนอยและแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยความพึงพอใจเฉลี่ยของผูเรียนทั้ง
สองกลุมอยูในระดับมาก
รชาดา (2552) ไดจัดทําสารนิพนธเรื่อง การศึกษาการจัดการเรียนการสอนโดยใชรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนแบบโมเดลซิปปา ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตรและเจตคติทาง
วิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมายเพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิทยาศาสตร และเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการ
จัดการเรียนการสอนแบบโมเดล ซิปปา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยในครั้งนี้เปนนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนใน ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวน
สุนันทา (ฝายมัธยม) สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา จํานวน 1 หองเรียน 54 คน ไดมา
จากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซึ่งไดรับการจัดการเรียนการสอนแบบโมเดลซิปปา
มีขั้นตอน การดาเนินการ ดังนี้ 1) ขั้นทบทวนความรูเดิม 2) ขั้นการแสวงหาความรู 3) ขั้นการศึกษา
ทาความเขาใจขอมูล/ความรูใหมและเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิม 4) ขั้นแลกเปลี่ยนความรู
ความเขาใจกับกลุม 5) ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู 6) ขั้นแสดงผลงาน 7) ขั้นการประยุกตใช
ความรู ระยะเวลาที่ใชในการวิจัย 12 ชั่วโมง การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยใชแบบแผนการ
วิจัย One Group Pretest- Posttest Design เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวยแผนการจัดการเรียนรู
แบบโมเดลซิปปา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร
สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาเฉลี่ยเลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบคา
ที ผลการวิจัยพบวา 1) หลังการทดลอง คาเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรโดยใชรูปแบบการ
32

เรียนการสอนแบบโมเดลซิปปาสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) หลังการ


ทดลอง คาเฉลี่ยของคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตรของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการ
จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตรโดยใชรูปแบบการเรียนการสอนแบบโมเดลซิปปาสูงกวากอน
เรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
มอไฮดิน (Mohaidin, 1995) ไดศึกษาการใชอินเทอรเน็ตของนักศึกษามาเลเซียที่กําลังศึกษา
อยูในตางประเทศ และปจจัยที่มีอิทธิพลตอการนําอินเทอรเน็ตมาใช ผลการศึกษาพบวา นักศึกษาชาย
ใชอินเทอรเน็ตมากกวาและมีทักษะการใชดีกวานักศึกษาหญิง นักศึกษาสวนใหญใชอินเทอรเน็ต
เกือบจะทันที หลังจากเริ่มลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลัย นักศึกษาป 1ใชอินเทอรเน็ตเพื่อการสื่อสาร
มากกวาจะใชเพื่อจุดประสงคทางวิชา ประสบการณและทักษะมีความเกี่ยวของกับความถี่และ
ความสามารถในการใชอินเทอรเน็ต ความสามารถในการใชซอฟตแวรอื่น ๆ ความซับซอน ความ
ทาทายในการใชงาน การสังเกตการณ และการมีปฏิกิริยาโตตอบระหวางกันเปนปจจัยที่มีผลตอ
การตัดสินใจในการใชอินเทอรเน็ตเปนนวัตกรรม และนักศึกษาเห็นพองตองกันวาควรใหมีการสอน
การใชอินเทอรเน็ตในมหาวิทยาลัยทุกแหงในประเทศมาเลเซีย จากผลการวิจัยทางดานการใช
คอมพิวเตอรชวยในการฝกอบรม การใชรูปแบบของไฮเปอรเท็กซบนเครือขายอินเทอรเน็ตเปน
รายบุคคล การเรียนดวยตนเองผานเครือขายอินเทอรเน็ตโดยวิธีการแบบเนื้อหาเปนตอน ๆ การศึกษา
เปรียบเทียบการสอนผานอินเทอรเน็ต และการศึกษาการใชอินเทอรเน็ตในมหาวิทยาลัย ที่กลาวมา
สรุปไดวาการใชคอมพิวเตอรที่ใชงานเปนคอมพิวเตอรสวนบุคคล หรือตอเปนลักษณะเครือขายบน
เครือขายอินเทอรเน็ตจะมีความสําคัญอยางสูงตอการศึกษาและการฝกอบรมไดดวยตนเอง
วิลดิส (Wildish, 1995) ไดทําการศึกษาการตีความประสบการณของผูใหญซึ่งเรียนดวยตนเอง
โดยใชอินเทอรเน็ต พบวาการเรียนอินเทอรเน็ตที่ใชโปรแกรมเน็ตสเคป และใหศึกษาดวยตนเอง
1 ชั่วโมง ดวยวิธีการแบงเนื้อหาเปนตอน ๆ จะเปนการยากในการเรียนโดยไฮเปอรเท็กซ และพบวา
ผูที่สามารถใชวิธีการเรียนแบบเนื้อหาเปนตอน ๆ และเนื้อหามีความเกี่ยวโยงกัน นาจะมีความพรอม
ในการเรียนดวยเทคโนโลยีดานคอมพิวเตอร
เฮ (He, 1996) ไดทําการวิจัยเพื่อเปรียบเทียบผลของการใชโปรแกรมการสอนดนตรีในการ
อานโนตเปยโน โดยวิธีการสอน 2 แบบ โดยมีวัตถุประสงคในการวิจัยเพื่อ ศึกษาประสิทธิภาพของ
การใชโปรแกรม TAP (Traditional Approach Program) กับโปรแกรม GAP (Game Approach
Program) และเพื่อเปรียบเทียบการสอนโดยใชอินเทอรเน็ตกับการสอนในหองสมุดคอมพิวเตอร
ผลการวิจัยพบวาโปรแกรม TAP และโปรแกรม GAP มีประสิทธิภาพในการสอนทักษะในการอาน
โนตเปยโน นอกจากนี้นักศึกษาที่ใชอินเทอรเน็ตมีทัศนคติที่ดีตอการสอน และการสอบโดยใช
33

อินเทอรเน็ต เนื่องจากการสอนเนื้อหาโดยใชอินเทอรเน็ตไดผล จึงขอแนะนําวากิจกรรมการเรียน


การสอนซึ่งเคยใชในชั้นเรียนควรสงผานอินเทอรเน็ตเพื่อใหนักเรียนทั่วโลกไดเรียน
ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน วิชา การใชโปรแกรมกราฟก ในครั้งนี้ไดใช
ทฤษฎีดานการเรียนการสอนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต เนื่องจาก ชวยใหการจัดการเรียนการ
สอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เพราะการถายทอดเนื้อหาผานทางมัลติมีเดีย สามารถทําใหผูเรียน
เกิดการเรียนรูไดดีกวาการเรียนจากสื่อขอความเพียงอยางเดียว โดยเมื่อเปรียบเทียบกับ e-Learning
ที่ไดรับการออกแบบและผลิตมาอยางมีระบบจะชวยทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ
มากกวาในเวลาที่เร็วกวา อีกทั้งยังชวยทําใหผูสอนสามารถตรวจสอบความกาวหนาและพฤติกรรม
การเรียนของผูเรียนไดอยางละเอียดและตลอดเวลา และไดพัฒนาบทเรียนออนไลน ในรูปของ
บทเรียน WBI/WBT เปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่นําเสนอผานเครือขายคอมพิวเตอร โดยใช
เว็บบราวเซอรเปนตัวจัดการ ซึ่งไดออกแบบตัวบทเรียนตามทฤษฎีการออกแบบเว็บเพื่อการเรียน
การสอน ทั้งทางดานโครงสรางของเว็บไซตและการออกแบบสวนตอประสานกับผูใช (User Interface)
ซึ่งหากเว็บไซตไดรับการออกแบบมาอยางดี ผูเรียนจะมีการนําทาง (Navigate) ในบทเรียนไดอยาง
สะดวกและไมสับสน และเกิดประสิทธิภาพในการเรียนมากขึ้น
โดยไดนําเทคโนโลยีดานระบบเครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตมาใชในการนําเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอรออนไลนที่ไดพัฒนาขึ้น และในการพัฒนาตัวบทเรียนไดใชเทคโนโลยีของ
Active Server Pages หรือ ASP ซึ่งเปนเทคโนโลยีของไมโครซอฟทที่พัฒนาขึ้น เพื่อการออกแบบและ
พัฒนาระบบงานบนอินเทอรเน็ต เอกสาร ASP เปนเท็กซไฟลที่ประกอบดวยภาษาสคริปต รวมกับ
แท็กของ HTML แลวเก็บไวที่เว็บเซิรฟเวอร โดยเอกสารที่เปน ASP จะมีแท็ก ASP กํากับอยู โดยใช
เทคโนโลยีเว็บแอปพลิเคชั่นกับการเชื่อมตอฐานขอมูล ซึ่งฐานขอมูลที่ใชในครั้งนี้คือ ไมโครซอฟต
แอกเซส
บทที่ 3
วิธีดําเนินการวิจัย

การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอร เน็ต โดยใชห ลักการของ


ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ
วิทยาลัยการอาชีพบานลาด การจัดทําปญหาพิเศษครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีการใช
บทเรียนคอมพิวเตอรบนเครือขายอินเทอรเน็ต เปนเครื่องมือในการทดลองมีขั้นตอนของการ
ดําเนินการวิจัยดังนี้
3.1**การศึกษาและรวบรวมขอมูล
3.2**ประชากร กลุมตัวอยาง และประชากรที่ศึกษา
3.3**การวิเคราะหและออกแบบเนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
3.4**การวิเคราะหและออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
3.5**การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
3.6**สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1**การศึกษาและรวบรวมขอมูล
ผูจัดทําปญหาพิเศษไดทําการศึกษาขอมูลตาง ๆ จากตําราเอกสาร บทความวิชาการและ
งานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อทํา การกําหนดหัวเรื่องและวัตถุประสงคทั่วไป (Specify Title and Define
General Objective) ผูจัดทําปญหาพิเศษดําเนินการวิเคราะหความตองการของหลักสูตรที่นํามาสราง
บทเรียนและกําหนดวัตถุประสงคทั่วไปตามหลักสูตรรายวิชาการใชโปรแกรมกราฟก การวิเคราะห
ผูเรียน (Audience Analysis) ผูจัดทําปญหาพิเศษไดทําการวิเคราะหผูเรียนดานตาง ๆ อาทิ ระดับชั้น
ความรูพื้นฐาน ประสบการณเดิม ระดับความรูความสามารถ และความสนใจตอการเรียนของ
ผูเรียนกลุมดังกลาว กอนพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต เพื่อให
บทเรียนที่พัฒนาขึ้นเหมาะสมกับกลุมผูเรียน การวิเคราะหวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Behavioral
Analysis) ผูจัดทําปญหาพิเศษคํานึงถึงวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมเปนแนวทางการจัดการของ
บทเรียนใหดําเนินไปตามกระบวนการเรียนรูอยางเปนระบบ และสอดคลองกับประสบการณของ
ผูเรียน ใชวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในการกําหนดความสามารถของผูเรียนหลังการใชบทเรียนที่
พัฒนาขึ้น และเพื่อการประเมินผลผูเรียน ผูจัดทําปญหาพิเศษไดจัดทําแบบทดสอบแบบเลือกตอบ
36

โดยในการเขียนขอสอบ (Write Test Item) ไดทําการออกขอสอบใหสอดคลองกับวัตถุประสงค


เชิงพฤติกรรมของบทเรียนที่กําหนดไว ทําการวิเคราะหเนื้อหา และกิจกรรมที่จะออกแบบใน
บทเรียนคอมพิวเตอร โดยกําหนดเนื้อหาที่ครอบคลุมทุกหัวขอยอยของรายวิชาการใชโปรแกรม
กราฟก ตามรายละเอียดดังนี้
3.1.1**การศึ ก ษาข อ มู ล หลั ก สู ต ร รายวิ ช าการใช โ ปรแกรมกราฟ ก รหั ส วิ ช า 2201-
2419 จํานวน 3 หนวยกิต ศึกษาวัตถุประสงค วิเคราะหลําดับเนื้อหา
3.1.2**ศึกษาวิธีการในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดย
ใชหลักการสอนของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก ผูจัดทําปญหาพิเศษไดใช
โปรแกรมตาง ๆ ในการสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ดังนี้
3.1.2.1**โปรแกรมสําหรับพัฒนาระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) คือ โปรแกรม
Moodle
3.1.2.2**โปรแกรมที่ใชสําหรับพัฒนาบทเรียน คือ Adobe Flash CS4
3.1.2.3**โปรแกรมที่ใชในการตกแตงรูปภาพ คือ Adobe Photoshop CS4 และ Adobe
Illustrator CS4
3.1.2.4**โปรแกรมสําหรับจัดการฐานขอมูล PHP 5.1.6 และ MySQL 5.0.77
3.1.3**ศึกษาเครื่องมือที่ใชในการทดลอง เครื่องมือที่ใชในการทดลองแบงเปนเครื่องมือ
ตางๆ ดังนี้
3.1.3.1**บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
สอนของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก
3.1.3.2**แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน
3.1.3.3**แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แตละหนวยการเรียน ซึง่ มีลักษณะเปน
แบบขอสอบปรนัย 5 ตัวเลือก
3.1.3.4**แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เมื่อสิ้นสุดการเรียน
3.1.3.5**แบบสอบถามความพึงพอใจตอการเรียนการสอนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร
ชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรม
กราฟก ลักษณะขอคําถามเปนแบบมาตรประเมินคา 5 ระดับ (ระดับมากที่สุด มาก ปานกลาง นอย
นอยที่สุด)
3.1.4**ศึกษาวิธีการวิเคราะหขอมูล
การวิเคราะหขอมูลทําไดโดยการนําขอมูลที่รวบรวมไดทั้งหมดมาวิเคราะหโดยใชวิธี
ทางสถิติ หาคารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดังนี้
37

3.1.4.1**ทดสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหาบทเรียนโดยผูเชี่ยวชาญ 3 ทาน เพื่อหาคา


ดัชนีความสอดคลอง (Item Objective Congruence Index: IOC)
3.1.4.2**ประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยผูเชี่ยวชาญ 5 ทาน จากแบบประเมินที่สรางขึ้น
3.1.4.3**หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก โดยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนคะแนนระหวางเรียนและคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อเรียนครบทุกหนวยการ
เรียนใชเกณฑ 80/80 (บุญชุม, 2544 : 60)
3.1.4.4**วิเคราะหแบบประเมินความพึงพอใจของผูเรียนตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวย
สอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต ที่พัฒนาขึ้น ใชคาเฉลี่ย (Arithmetic Mean) และสวนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation)

3.2**ประชากร กลุมตัวอยาง และตัวแปรที่ศึกษา


ประชากรที่ใชในการจัดทําปญหาพิเศษครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นป
ที่ 1 วิทยาลัยการอาชีพบานลาด ปการศึกษา 2554 จํานวน 60 คน
กลุมตัวอยางที่ใชในการจัดทําปญหาพิเศษครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นปที่ 1 วิทยาลัยการอาชีพบานลาด โดยใชวิธีการคัดเลือกกลุมตัวอยาง โดยวิธีสุมแบบเจาะจง
(Purposive Sampling) ที่เปนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชา การใชโปรแกรมกราฟก จํานวน 30
คน
ตัวแปรที่ศึกษา ในการจัดทําปญหาพิเศษมีตัวแปรที่ศึกษา ดังนี้
ตัวแปรตนไดแก บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ
ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
ตัวแปรตามไดแก
ก) คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดย
ใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
ข) ความพึ ง พอใจของนั ก ศึ ก ษาต อ บทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนบน
เครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
ค) ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนบนเครื อ ข า ย
อินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
38

3.3**การวิเคราะหและออกแบบเนื้อหาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ผูจัดทําปญหาพิเศษ ดําเนินการสรางบทเรียน โดยกําหนดขั้นตอนดังนี้
3.3.1**การกําหนดหัวเรื่องและกําหนดวัตถุประสงคทั่วไป (Specify Title and Define General
Objective) ผูจัดทําปญหาพิเศษดําเนินการวิเคราะหความตองการของหลักสูตรที่จะนํามาสราง
บทเรียนและกําหนดวัตถุประสงคทั่วไปตามหลักสูตรรายวิชาการใชโปรแกรมกราฟก
3.3.2**การวิเคราะหผูเรียน (Audience Analysis) ผูจัดทําปญหาพิเศษไดทําการวิเคราะห
ผูเรียนดานตาง ๆ อาทิ ระดับชั้น ความรูพื้นฐาน ประสบการณเดิม ระดับความรูความสามารถ และ
ความสนใจตอการเรียนของผูเรียนกลุมดังกลาว กอนพัฒนาบทเรียนอิเลิรนนิง (e-Learning) เพื่อให
บทเรียนที่พัฒนาขึ้นเหมาะสมกับกลุมผูเรียน
3.3.3**การวิเคราะหวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม (Behavioral Analysis) ผูจัดทําปญหาพิเศษได
พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยคํานึงถึงวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมเปนแนวทางการ
จั ด การของบทเรี ย นให ดํ า เนิ น ไปตามกระบวนการเรี ย นรู อ ย า งเป น ระบบ และสอดคล อ งกั บ
ประสบการณของผูเรียน ใชวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมในการกําหนดความสามารถของผูเรียนหลัง
การใชบทเรียนที่พัฒนาขึ้น และเพื่อการประเมินผลผูเรียน
3.3.4**การเขียนขอสอบ (Write Test Item) ผูจัดทําปญหาพิเศษไดออกแบบขอสอบแบบ
เลือกตอบ โดยการออกขอสอบใหสอดคลองกับวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของบทเรียนที่กําหนด
ไว
3.3.5**การวิเคราะหเนื้อหา ผูจัดทําปญหาพิเศษ ไดดําเนินการวิเคราะหเนื้อหาและกิจกรรม ที่
จะออกแบบในบทเรียนโดยกําหนดเนื้อหาที่ครอบคลุมทุกหัวขอยอยของรายวิชาการใชโปรแกรม
กราฟก โดยแบงเนื้อหาบทเรียนออกเปน 8 หนวยดังนี้
3.3.5.1**ความรูเบื้องตนเกีย่ วกับคอมพิวเตอรกราฟก
ก)**ความหมายของคอมพิวเตอรกราฟก
ข)**ประเภทและคุณลักษณะของภาพกราฟก
ค)**ความแตกตางของกราฟก 2 มิติ และกราฟก 3 มิติ
ง)**ประโยชนของงานคอมพิวเตอรกราฟก
3.3.5.2**โปรแกรมสําหรับงานกราฟก
ก)**แนะนําโปรแกรม Adobe Photoshop
ข)**สวนประกอบของโปรแกรม Photoshop
ค)**รูจักแถบเครื่องมือโปรแกรม Photoshop
ง) **การใชงานพาเลต
39

3.3.5.3**การจัดการรูปภาพ
ก)**Marquee Tool
ข) **Magic Wand Tool
ค) **Lasso Tool
ง) **Crop Tool
3.3.5.4**การใชเครื่องมือตาง ๆ
ก)**Shape Tool
ข)**Type Tool
ค)**Pen Tool
ง)**Clone Stamp Tool
3.3.5.5**การใชคําสั่งในการปรับรูปภาพ
ก)**Image Mode
ข)**Image Size
ค)**Image Rotation
ง)**Edit Transform
3.3.5.6**การใชงานเลเยอร
ก)** การเพิ่ม-ลบเลเยอร
ข)**การซอนแสดงเลเยอร
ค)**เลเยอรสไตล
ง)**เลเยอรมารก
3.3.5.7**การปรับแตงสีรูปภาพ
ก)**คําสั่ง Adjustment Level/Hue Situation/ Viriation
ข)**การใชเครื่องมือ Paint Backet Tool/ Gadient Tool
ค)**การใชเครื่องมือ Bulr Tool/ Sharpen/ Smudge Tool
ง)**การใชคําสั่ง Filter
3.3.5.8**การออกแบบชิ้นงานบนเว็บไซด
ก)**การออกแบบ Banner
ข)**การสราง Animation
ค)**การสรางปุม Link
ง)**การบันทึกเปนไฟลเว็บเพจ
40

จากนั้นใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาจํานวน 3 ทาน ทําการประเมินแลวนําผลการประเมินจาก


ผูเชี่ยวชาญหาคาดัชนีความสอดคลองของเนื้อหาและวัตถุประสงคการเรียนรู (Index of Item
Objective Congruence: IOC) โดยผลการหาคาดัชนีความสอดคลองดานเนื้อหาดังตารางที่ 3-1

ตารางที่ 3-1 ผลการหาคาดัชนีความสอดคลองดานเนื้อหา


คาดัชนีความสอดคลอง สรุปผล
รายการประเมิน (R)
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 N

ความหมายของคอมพิวเตอรกราฟก +1 +1 +1 1.00
ประเภทและคุณลักษณะของภาพกราฟก 0 +1 +1 0.67
ความแตกตางของกราฟก 2 มิติ และกราฟก 3 มิติ +1 +1 +1 1.00
ประโยชนของงานคอมพิวเตอรกราฟก 0 +1 +1 0.67
แนะนําโปรแกรม Adobe Photoshop +1 +1 +1 1.00
สวนประกอบของโปรแกรม 0 +1 +1 0.67
รูจักแถบเครื่องมือโปรแกรม 0 +1 +1 0.67
การใชงานพาเลต +1 +1 +1 1.00
การใชเครื่องมือ Marquee Tool +1 +1 +1 1.00
การใชเครื่องมือ Magic Wend +1 +1 +1 1.00
การใชเครื่องมือ Lasso +1 +1 +1 1.00
การใชเครื่องมือ Crop +1 +1 +1 1.00
การวาดรูปทรง ดวยเครื่องมือ Shape Tool +1 +1 +1 1.00
การพิมพขอความดวยเครื่องมือ Type +1 +1 +1 1.00
การใชเครื่องมือ Pen +1 +1 +1 1.00
การทําสําเนาดวยเครื่อง Clone Stamp +1 +1 +1 1.00
การใชคําสั่ง Image Mode +1 +1 +1 1.00
การใชคําสั่ง Image Size +1 +1 +1 1.00
การใชคําสั่ง Image Ratation +1 +1 +1 1.00
การใชคําสั่ง Edit Transform +1 +1 +1 1.00
การเพิ่ม-ลบเลเยอร +1 +1 +1 1.00
การซอนแสดงเลเยอร +1 +1 +1 1.00
41

ตารางที่ 3-1 (ตอ)


คาดัชนีความสอดคลอง สรุปผล
รายการประเมิน (R)
คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 N

การใชงานเลเยอรสไตล +1 +1 +1 1.00
การใชงานเลเยอรมารค +1 +1 +1 1.00
การใชคําสั่ง Adjustment level +1 +1 +1 1.00
การใชเครื่องมือ Paint Backet และ Gadient +1 +1 +1 1.00
การใชเครื่องมือ Bulr Sharpen และ Smudge +1 +1 +1 1.00
การใชคําสั่ง Filter +1 +1 +1 1.00
การออกแบบ Banner +1 +1 +1 1.00
การสรางภาพ Animation +1 +1 +1 1.00
การสรางลิงค +1 +1 +1 1.00
การบันทึกเปนไฟลเว็บเพจ +1 +1 +1 1.00
คาเฉลี่ยความสอดคลอง 0.96
จากการใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาจํานวน 3 คน ทําการหาคาดัชนีความสอดคลองของเนื้อหา
และวัตถุประสงคการเรียนรู ไดคาดัชนีความสอดคลองเทากับ 0.96 ซึ่งสูงกวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้ง
ไว คือมากกวาหรือเทากับ 0.5 แสดงวา เนื้อหาที่ใชในการสรางบทเรียนมีความสอดคลองกับ
วัตถุประสงคที่ตั้งไว สามารถนํามาสรางเปนบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนได
3.3.6**ทําการปรับปรุงแกไขเนื้อหาตามผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาเพื่อใหไดเนื้อหาบทเรียนที่
สมบูรณและนํามาใชในการพัฒนาบทเรียน

3.4**การวิเคราะหและออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
การวิเคราะหและออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอบบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใช
หลักการของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก ผูจัดทําปญหาพิเศษไดทําการวิเคราะห
และออกแบบบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ซึ่ ง เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช ใ นการวิ เ คราะห แ ละออกแบบบทเรี ย น
ประกอบดวย แผนภาพบริบท (Context Diagram) แผนภาพการไหลของขอมูล (Data Flow
42

Diagram) แผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล (Entity Relationship Diagram) และ


พจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary)
3.4.1**แผนภาพบริบท (Context Diagram) ระบบจัด การเรี ย นการสอนแสดง
ความสัมพันธของผูใชงานระบบซึ่งแบงออกเปน 3 กลุม คือ ผูดูแลระบบ ผูสอน และผูเรียน เพื่อ
แสดงภาพการไหลของขอมูลของกลุมผูใชงานแตละกลุม ซึ่งในภาพรวมจะมีการไหลของขอมูล
หลักที่กลุมผูใชงานแตละกลุมกระทําผานกระบวนการตางๆ ที่ถูกกําหนดสิทธิ์ใหใชงานไดโดย
ผูดูแลระบบ และผูดูแลระบบยังมีหนาที่กําหนดสิทธิ์การเขาใชงานในสวนของผูใชงานทุกกลุม
สามารถแสดงดังภาพที่ 3-1

ขอมูลการจัดการระบบ
ล็อกอินเขาระบบ ขอมูลกลุมผูใชงาน
แกไขขอมูลสวนตัว รายงานสรุป ผูดูแลระบบ
สมัครสมาชิก ยืนยันสิทธิ์การเขา
แบบทดสอบ/แบบ
สงขอความ

สิทธิ์การเขาใช
ผูเรียน 0 เพิ่ม/ลบ/แกไข กลุม
ตรวจสอบรายงาน
เพิ่ม/ลบ/แกไข การจัดการ
การพัฒนาบทเรียน ขอมูลแบบทดสอบ
คอมพิวเตอรชวยสอนบน ขอมูล
ขอมูล้ การลงทะเบียน
เครือขายอินเตอรเน็ต ขอมูลการเรียนของ
ขอความที่ไดรับ
ขอมูลสวนตัว

ขอความที่ไดรับ
ผลการเรียน
ขอมลการเขาเรียน
ผลการสมัครสมาชิก
แกไขขอมูลสวนตัวใหม
ผลการล็อกอิน
ขอมูลสวนตัวใหม ผูสอน
สงขอความ
แจงผลการเรียน
เปด/ยกเลิกการสมัครสมาชิก
เพิ่ม/ลบ/แกไขเนื้อหาวิชา
เพิ่ม/ลบ/แกไข/สรางแบบทดสอบ

ภาพที่ 3-1 แผนภาพบริบทของระบบจัดการเรียนการสอน


43

3.4.2**แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 0 (Data Flow Diagram Level 0) คือ ภาพรวมของ


ผังแสดงการไหลของขอมูลของระบบการจัดการเรียนการสอนของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
แบงการทํางานของระบบเปน 3 สวน คือ สวนจัดการขอมูลผูใชงานระบบ สวนจัดการระบบ และ
สวนจัดการเรียนการสอนดังภาพที่ 3-2

ชื่อผูใชงานและรหัสผาน
แกไขขอมูลสวนตัว ขอมูลผูใชงาน
1.0 ขอมูลผูใชงานที่มีการแกไข ขอมูลผูใชงาน
D
เปลี่ยนแปลงรหัสผานใหม จัดการขอมูลผูใช
ขอมูลผูใชงาน ขอมูลผูใชงาน
เพิ่ม/ลบ/แกไข ผูใชงานระบบ
ขอมูลขาว

D ขอมูลขาว

ผูดูแลระบบ
ขอมูลจดหมาย

D ขอมูลจดหมาย
ขอมูลขาว

ผูเรียน
ขอมูลจดหมาย
รับขอมูลขาว
สงจดหมาย 2.0 สงขอมูลขาว
รับขอมูลจดหมาย
จัดการขอมูลระบบ สงขอมูลจดหมาย
รับขอมูล
ขอมูลการสอบของผูเรียน

ขอมูลลงทะเบียนเรียน
เขาเรียน, ทําขอสอบ

สิทธิ์การเขาใชงานระบบ
ลงทะเบียนเรียน

ขอมูลรายงาน
จัดทํารายงาน D ขอมูลรายงาน

ขอมูลผูเรียน/ผูสอน ขอมูลผูใชงาน
D
ขอมูลการลงทะเบียน/การ
ประวัติลงทะเบียน D ขอมูลการลงทะเบียน
ขอมูลลงทะเบียน
3.0 ขอมูลหลักสูตร D ขอมูลหลักสูตรวิชา
จัดการขอมูล
การเรียนการสอน ขอมูลการจัดการ
ขอมูลบทเรียน
จัดการระบบการเรียนการสอน

ขอมูลบทเรียน D
ขอมูลการสอบของผูเรียน
ขอมูลการเรียนการสอน
ขอมูลคะแนนของผูเรียน

ขอมูลคะแนนสอบ
ตรวจผลการเรียน

ขอมูลคะแนนสอบของ D1 ขอมูลคะแนนของผูเรียน

คําตอบ
ขอมูลขอสอบ D1 ขอมูลขอสอบ
ขอมูลขาว
ขอมูลการเขาสอบ
ขอมูลจดหมาย
ผูสอน ขอมูลการสอบ D1 ขอมูลการสอบของผูเรียน
สงจดหมาย

ภาพที่ 3-2 แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 0 ของระบบการจัดการเรียนการสอน


44

ภาพที่ 3-3 แสดงการไหลขอมูลในระดับ Data Flow Diagram Level 1 ของการจัดการขอมูล


กลุมผูใ ช งาน โดยจะมีขั้ น ตอนการเข า ใชง านระบบเริ่ม จากการสมั ครสมาชิ ก การแก ไขข อมู ล
สวนตัว การเปลี่ยนรหัสผาน โดยจะมีผูดูแลระบบเปนผูกําหนดสิทธิ์การเขาถึงขอมูลของผูใชงาน
ระบบ

ขอมูลการสมัครสมาชิก 1.1 ขอมูลสมาชิกใหม


สมัครสมาชิก

D1 ขอมูลผูใชงาน

ชื่อผูใช,รหัสผาน 1.2
สิทธิ์การใชงานระบบ ล็อกอิน ชื่อผูใช,รหัสผานถูกตอง

ผูใชงาน รหัสผานใหม

1.3 สิทธิ์การใชงาน
ขอมูลผูใชงาน
รหัสผานใหม

แกไขขอมูลสวนตัว ขอมูลผูใชงาน D1 ขอมูลผูใชงาน


ขอมูลผูใชงานที่แกไข สิทธิ์การใชงาน
ชื่อผูใช,อีเมล
1.4
รหัสผูใชงานที่ถูกตอง ลืมรหัสผาน
รหัสผานใหม

D1 ขอมูลผูใชงาน

สิทธิ์การใชงาน
1.5
ขอมูลผูใชงาน
จัดการผูใชงาน
ขอมูลผูใชงาน ขอมูลการเปลี่ยนสิทธิ์,ลบผูใชงาน ผูดูแลระบบ

ภาพที่ 3-3 แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการจัดการขอมูลกลุมผูใชงาน


45

ภาพที่ 3-4 แสดงการไหลของขอมูลในสวนการจัดการสงขอความ โดยผูใชงาน คือ ผูเรียน


ผูสอนและผูดูแลระบบ สามารถสงขอความถึงผูใชงานคนอื่น ๆ

ขอมูลผูใชงาน
D1 ขอมูลผูใชงาน

เพิ่มขอความใหม
2.1 ขอมูลขอความ
ผูใชงาน ขอความขอความ D3 ขอมูลขอความ
ขอมูลขอความ สงขอความ

แกไขขอความ
2.2 ขอมูลแกไขขอความ
แกไขขอความ
ขอมูลขอความที่แกไข ขอมูลขอความ

2.3 ขอมูลขอความ
ขอมูลขอความ
ดูขอความ ขอมูลขอความ
ขอมูลขอความ

ภาพที่ 3-4 แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการจัดการการสงขอความ

ภาพที่ 3-5 แสดงการไหลของขอมูลในสวนของขาว/ประกาศ โดยผูเรียนและผูสอนสามารถ


เขาไปอานขาวสารได แตจะไมสามารถเพิ่มหรือแกไขขาวได ซึ่งเปนหนาที่ของผูดูแลระบบ

ขอมูลขาว
ขอมูลขาว
2.4 D2 ขอมูลขาว
ผูเรียน อานขาว/ประกาศ
เพิ่มขอมูลขาว

ขอมูลขาว

ผูสอน 2.5
เพิ่มขาว/ประกาศ
เพิ่มขอมูลขาว ขอมูลขาว
ผูดูแลระบบ
ขอมูลขาว

แกไขขอมูลขาว 2.6 ขอมูลขาวแกไข


แกไขขาว/ประกาศ
ขอมูลขาว ขอมูลขาว

ภาพที่ 3-5 แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการจัดการขาวและประกาศ


46

ภาพที่ 3-6 แสดงการไหลของการจัดการรายงาน โดยในระบบนี้จะเปนสวนของการเรียกดู


รายงานตางๆ สําหรับผูสอนและผูเรียนโดยมีการเก็บขอมูลลงในฐานขอมูลเพื่อใหสามารถเรียกดู
รายงานได

ขอมูลการเรียน เรียกดูรายงาน
2.7
ขอมูลผลการเรียน เรียกดูรายงาน ขอมูลรายงาน

นักเรียน
D4 ขอมูลรายงาน

ผูสอน
ขอมูลการเรียนของผูเรียน

ขอมูลการเรียนของผูเรียน

ภาพที่ 3-6 แผนภาพกระแสขอมูลระดับ 1 ของการจัดการรายงาน

3.4.3**แผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล (E-R Diagram) ฐานขอมูลระบบ


จัดการเรียนการสอนของโปรแกรม Moodle แสดงดังภาพที่ 3-3 เปนการแสดงความสัมพันธของ
ตารางขอมูลตาง ๆ ที่ใชสําหรับจัดเก็บขอมูลคําถามของบทเรียน
47

ภาพที่ 3-7**แผนภาพแสดงความสัมพันธระหวางขอมูล

3.4.4 พจนานุกรมขอมูล (Data Dictionary) ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้น มี


โครงสรางแฟมขอมูล ดังนี้
3.4.4.1**พจนานุกรมขอมูลตารางขอมูลบทเรียน เก็บขอมูลบทเรียนลงในฐานขอมูล
ชื่อ Mdl_context
48

ตารางที่ 3-2 พจนานุกรมขอมูลบทเรียน


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
1 Id Bigint 10 รหัส Primary Key
2 Contextlevel Bigint 10 ระดับเนื้อหา Foreign Key
3 Instanceid Bigint 10 รหัส Foreign Key
4 Path Varchar 255 โฟลเดอร -
5 Depth Tinyint 2 ขนาด -

3.4.4.2**พจนานุกรมขอมูลตารางผูใช (User) สําหรับเก็บขอมูลประวัติผูใชงานระบบ


ลงในฐานขอมูลชื่อ Mdl_User ซึ่งมีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้

ตารางที่ 3-3 พจนานุกรมขอมูลประวัติผูใชงานระบบ


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
1 Id Bigint 10 รหัส Primary Key
2 Auth Varchar 20 ชื่อสมาชิก -
3 Comfirmed Tinyint 1 สิทธิ -
4 Policyagreed Tinyint 1 ยอมรับ -
5 Deleted Tinyint 1 สถานะ -
6 Mnethostid Bigint 10 รหัสกลุม -
7 Username Bigint 10 ชื่อผูใช -
8 Password Varchar 100 รหัสผาน -
9 Idnumber Varchar 100 รหัสผูใช Foreign Key
10 Firstname Varchar 100 ชื่อสมาชิก -
11 Lastname Varchar 100 นามสกุล -
12 Email Varchar 100 อีเมล -
13 Emailstop Tinyint 1 อีเมล -
14 Icq Varchar 15 รหัส Icq -
15 Skype Varchar 50 รหัส Skype -
49

ตารางที่ 3-3 (ตอ)


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
16 Yohoo Varchar 50 Yahoo -
17 Aim Varchar 50 Aim -
18 Msn Varchar 50 msn -
19 Phone1 Varchar 20 โทรศัพท -
20 Phone2 Varchar 20 โทรศัพท -
21 Institution Varchar 40 องคกร -
22 Department Varchar 30 แผนก -
23 Address Varchar 70 ที่อยู -
24 City Varchar 20 จังหวัด -
25 Country Varchar 2 ประเทศ -
26 Lang Varchar 30 รหัสไปรษนีย -
27 Theme Varchar 50 รูปแบบ -
28 Timezone Varchar 100 เวลา -
29 Firstaccess Bigint 10 วันเวลาเขาครั้งแรก -
30 Lastaccess Bigint 10 เวลาเขาระบบลาสุด -
31 Lastlogin Bigint 10 ล็อกอินครั้งลาสุด -
32 Currentlogin Bigint 10 จํานวนผูล็อกอิน -
33 Lastip Varchar 15 เลขที่ ip ลาสุด -
34 Secret Varchar 15 คําถามลืมรหัสผาน -
35 Picture Tinyint 1 รูปสมาชิก -
36 Url Varchar 255 url -
37 Description Text - รายละเอียด -
38 Mailformat Tinyint 1 รูปแบบเมล -
39 Maildigest Tinyint 1 เมล -
40 Maildisplay Tinyint 2 แสดงอีเมล -
50

ตารางที่ 3-3 (ตอ)


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
41 Htmleditor Tinyint 1 เว็บเพจ -
42 Ajax Tinyint 1 Ajax -
การแสดงความ
43 Autosubscribe Tinyint 1 -
คิดเห็นโดยอัตโนมัติ
44 Trackforums Tinyint 1 แทร็กโฟรัม -
45 Timemodified Bigint 10 เวลาแกไข -
การหักลบหรือเพิ่ม
46 Trustbitmask Bigint 10 -
Bit Mask
47 Imagealt Varchar 255 รูปภาพ -
48 Screemreader Tinyint 1 การชวยอานหนาจอ -

3.4.4.3**พจนานุกรมขอมูลบทเรียน ในระบบจัดการเรียนการสอนลงในฐานขอมูล
ชื่อ Mdl_course_sections

ตารางที่ 3-4 พจนานุกรมขอมูลหลักสูตร


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
1 Id Bigint 10 รหัส Primary Key
2 Course Bigint 10 รายวิชา -
3 Section Bigint 10 หนวยที่ -
4 Summary Varchar 255 หัวขอบทเรียน -
5 Sequence Bigint 10 ลําดับไฟลเนือ้ หา -
6 Visible Bigint 10 สถานะ -

3.4.4.4**พจนานุกรมขอมูลกระดานขาว ในระบบจัดการเรียนการสอนลงใน
ฐานขอมูลชื่อ Mdl_forrum_discusstion
51

ตารางที่ 3-5 พจนานุกรมขอมูลกระดานขาว


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
1 Id Bigint 10 รหัส Primary Key
2 Coures Bigint 10 หลักสูตร Foreign Key
3 Forum Bigint 10 โฟรัม
4 Name Varchar 255 ชื่อ -
5 Firstpost Bigint 10 โพสตครั้งแรก -
6 Userid Bigint 10 รหัสผูใช Foreign Key
7 Groupid Bigint 10 กลุมผูใช -
8 Assessed Tinyint 1 สถานะ -
9 Timemodified Bigint 10 เวลาปรับปรุง -
10 Usermodified Bigint 10 ผูปรับปรุง -
11 Timestart Bigint 10 เวลาเขาสูระบบ -
12 Timeend Bigint 10 เวลาออกจากระบบ -

3.4.4.5**พจนานุกรมขอมูลการจัดการแบบทดสอบ ในระบบจัดการเรียนการสอน
เก็บในรูปแบบคลังขอสอบ ลงในฐานขอมูลชื่อ Mdl_question

ตารางที่ 3-6 พจนานุกรมขอมูลแบบทดสอบ


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
1 Id Bigint 10 รหัส Primary Key
2 Category Bigint 10 ประเภท -
3 Parent Bigint 10 ระดับ -
4 Name Varchar 255 ชื่อ -
5 Questiontext Text - คําถาม -
6 Questiontextformat Tinyint 2 รูปแบบคําถาม -
7 Image Varchar 255 ภาพ -
8 Generalfeedback Text - คําโตตอบ -
52

ตารางที่ 3-6 (ตอ)


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
9 Defaultgrade Bigint 10 เกรด -
10 Penalty Double - สถานะคําตอบ -
11 Qtype Varchar 20 ประเภท -
12 Length Bigint 10 ความยาว -
การกําหนดคา
13 Stamp Varchar 255 -
Stamp
14 Version Varchar 255 เวอรชั่น -
15 Hidden Tinyint 1 สถานะซอน -
16 Timecreated Bigint 10 เวลาโพสต -
17 Timemodified Bigint 10 เวลาแกไข -
18 Createdby Bigint 10 ผูโพสต -
19 Modifiedby Bigint 10 ผูแกไข -

3.4.4.6**พจนานุกรมขอมูลการจัดการหลักสูตรที่เปดสอนของระบบจัดการเรียนการ
สอน ลงในฐานขอมูลชื่อ Mdl_course

ตารางที่ 3-7 พจนานุกรมขอมูลหลักสูตร


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
1 Id Bigint 10 รหัส Primary Key
2 Category Bigint 10 ประเภทวิชา -
3 Sortorder Bigint 10 ลําดับหัวขอ -
4 Password Varchar 50 รหัสผาน -
5 Fullname Varchar 254 ชื่อวิชา -
6 Shortname Varchar 100 ชื่อยอ -
7 Idnumber Varchar 100 เลขที่หัวขอ -
8 Summary Text - คําอธิบาย -
53

ตารางที่ 3-7 (ตอ)


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
9 Format Varchar 10 รูปแบบ -
10 Showgrades Tinyint 2 แสดงเกรด -
11 Modinfo Longtext - แกไขประวัติ -
12 Newsitems Mediumint 5 ขาว -
13 Teacher Varchar 100 ครู -
14 Teachers Varchar 100 ครู -
15 Student Varchar 100 นักเรียน -
16 Students Varchar 100 นักเรียน -
17 Guest Tinyint 2 ผูใชทั่วไป -
18 Startdate Bigint 10 วันที่เริ่มเรียน -
19 Enrolperiod Bigint 10 เวลาเรียน -
20 Numsections Mediumint 5 กลุมสมาชิก -
21 Marker Bigint 10 หมายเหตุ -
22 Maxbytes Bigint 10 เนื้อที่เก็บ -
23 Showreports Smallint 4 แสดงรายงาน -
24 Visible Tinyint 1 สถานะ -
25 Hiddensections Tinyint 2 ซอน -
26 Groupmode Smallint 4 โหมดกลุม -
27 Groupmodeforce Smallint 4 กลุม -
28 Defaultgroupingid Bigint 10 สถานะกลุม -
29 Lang Varchar 30 รหัสไปรษณีย -
30 Theme Varchar 50 รูปแบบ -
31 Cost Varchar 10 ราคา -
32 Currency Varchar 3 อัตรา -
33 Timecreated Bigint 10 เวลาสราง -
54

ตารางที่ 3-7 (ตอ)


ลําดับ ชื่อฟลด ประเภท ความยาว คําอธิบาย หมายเหตุ
34 Timemodified Bigint 10 เวลาแกไข -
35 Metacourse Tinyint 1 คอรส -
36 Requested Tinyint 1 คําถาม -
37 Restrictmodules Tinyint 1 โมดูล -
การเตือนสําหรับ
38 Expirynotify Tinyint 1 กําหนดชวงเวลา -
เรียน
39 Expirythreshold Bigint 10 ชวงเวลาเรียน -
40 Notifystudents Tinyint 1 สถานะผูเรียน -
41 Enrollable Tinyint 1 สถานะผูใชงาน -
42 Enrolstartdate Bigint 10 วันที่เริ่มบทเรียน -
43 Enrolenddate Bigint 10 วันที่เรียน -
44 Enrol Varchar 20 กลุม -
45 Defaultrole Bigint 10 สถานะสมาชิก -

3.4.4.7 การออกแบบคอรสแวร (Courseware Design) ในขั้นตอนนี้จะเปนการนํา


เนื้อหาของบทเรียนมากําหนดรูปแบบการนําเสนอตามหลักการของ Robert Gagne ที่พิจารณา
กระบวนการเรียนรูตาง ๆ เชน การนําเสนอบทเรียน การจัดกิจกรรมการเรียน การเลือกใชสื่อ การใช
คําถามระหวางบทเรียน การตัดสินคําตอบ การเสนอสิ่งเรา และการใหขอมูลยอยกลับ การเสริมแรง
และสวนตาง ๆ ที่เกี่ยวของ ในการผลิตสื่อประกอบบทเรียน และนําเนื้อหาเขาสูระบบ LMS โดยนํา
ขอมูลและสื่อตาง ๆ ที่เตรียมไวมาจัดระบบตามโครงสรางของบทเรียนที่ออกแบบไวแลว โดยมี
ผังการทํางานของบทเรียน ดังนี้
การออกแบบผังงาน (Lesson Flowchart) เปนการสรางแผนภูมิเพื่อแสดงความสัมพันธวา
เนื้อหาแตละสวนเกี่ยวของกับสวนใด ซึ่งแสดงดังภาพที่ 3-8
55

เริ่ม

เขาสูบทเรียน

ทดสอบกอนเรียน

ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ


ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ

หนวยที่ 1 หนวยที่ 3 หนวยที่ 5 หนวยที่ 7

หนวยที่ 2 หนวยที่ 4 หนวยที่ 6 หนวยที่ 8


ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ
ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

รายงานผลการเรียน

สิ้นสุด

ภาพที่ 3-8**ผังงานบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน

3.4.4.8**การออกแบบหนาจอ (Screen Design) หนาจอของบทเรียนคอมพิวเตอรเปน


สวนที่ติดตอกับผูเรียนโดยตรง เนื่องจากผูเรียนตองอยูหนาจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร
ตลอดเวลาที่ศึกษา การออกแบบหนาจอจึงมีความสําคัญที่จะตองคํานึงถึงองคประกอบตาง ๆ ที่มี
ผลกระทบตอผูเรียน เชน ความละเอียดในการแสดงผลของจอภาพ สีพื้นหลัง การเลือกใชสี ขนาด
56

ของตัวอักษร วิธีการปฏิสัมพันธ ความสะดวกในการใชงานและความรวดเร็วในการนําเสนอภาพ


เปนตน ผูจัดทําปญหาพิเศษไดออกแบบหนาจอตาง ๆ ของบทเรียน ดังนี้

หนวยที่ ชื่อบทเรียน

สวนเมนูควบคุมเนื้อหาบทเรียน

เนื้อหา
ภาพ
ประกอบ
ปุมควบคุม

ภาพที่ 3-9**ภาพการออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรหนวยตาง ๆ

3.4.4.9**การออกแบบบทดําเนินเรื่อง (Storyboard Design) ผูจัดทําปญหาพิเศษไดนํา


โครงสรางของบทเรียนมาแจกแจงรายละเอียดโดยแบงออกเปนเฟรมตามหัวขอยอยของบทเรียน
โดยรางออกเปนเฟรมยอย ๆ แตละเฟรมประกอบดวย ขอความ ภาพ คําถาม-คําตอบ ปฏิสัมพันธ
ของบทเรียน ดังนี้
57

หนวยการเรียนที่ 1 ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม ดังนี้ เฟรมที่ 1 หัวขอ ความหมาย


ของคอมพิวเตอรกราฟก แสดงดังภาพที่ 3-10

Frame No. 01
ประเภทภาพ
ความหมาย  ภาพนิ่ง
ของคอมพิวเตอรกราฟก  ภาพเคลื่อนไหว
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
 ขอความ
  เสียง
 และไฟลมัลติมีเดีย

ภาพที่ 3-10**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 1

เฟรมที่ 2 หัวขอ ประเภทและคุณลักษณะของคอมพิวเตอรกราฟก แสดงดังภาพที่ 3-11

Frame No. 02
ประเภทภาพ
ประเภทและคุณลักษณะ ภาพนิ่ง
ของคอมพิวเตอรกราฟก  ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจและ
 ขอความ
  เสียง
 ไฟลมัลติมีเดีย

ภาพที่ 3-11**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 2


58

เฟรมที่ 3 หัวขอ ความหมายของภาพกราฟก 2 มิติ แสดงดังภาพที่ 3-12

Frame No. 03
ประเภทภาพ
ความหมายของภาพกราฟก 2 มิติ ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจและ
ไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-12**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 3

เฟรมที่ 4 หัวขอ ประโยชนของคอมพิวเตอรกราฟก แสดงดังภาพที่ 3-13

Frame No. 04
ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง
ประโยชนของคอมพิวเตอรกราฟก
 ภาพเคลื่อนไหว
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-13**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 4


59

หนวยการเรียนที่ 2 ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม เฟรมที่ 5 หัวขอ แนะนําโปรแกรม


Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-14

Frame No. 05
ประเภทภาพ
แนะนําโปรแกรม  ภาพนิ่ง

Adobe Photoshop  ภาพเคลื่อนไหว


ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-14**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน เฟรมที่ 5

เฟรมที่ 6 หัวขอ สวนประกอบโปรแกรม Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-15

Frame No. 06
ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง
สวนประกอบของโปรแกรม Photoshop
 ภาพเคลื่อนไหว
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-15**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 6


60

เฟรมที่ 7 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-16

Frame No 07
ประเภทภาพ
รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม  ภาพนิ่ง

Adobe Photoshop  ภาพเคลื่อนไหว


ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย

 ข อความ 
 เสียง

ภาพที่ 3-16** บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 7

เฟรมที่ 8 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-17

Frame No. 08
ประเภทภาพ
การใชงานพาเลต  ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-17**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 8


61

หนวยการเรียนที่ 3 หัวขอการจัดการรูปภาพ ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม ดังนี้


เฟรมที่ 9 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-18

Frame No. 09
ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง
การจัดการภาพดวยเครื่องมือ
 ภาพเคลื่อนไหว
Marquee tool ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-18**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 9

เฟรมที่ 10 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-19

Frame No. 10
ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง

การจัดการภาพดวย  ภาพเคลื่อนไหว

Magic Wand Tool ภาพกราฟก


ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-19**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 10


62

เฟรมที่ 11 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-20

Frame No. 11
ประเภทภาพ

การจัดการภาพดวย Lasso Tool  ภาพนิ่ง


 ภาพเคลื่อนไหว

ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
 ขอความ
  เสียง
 และไฟลมัลติมีเดีย

ภาพที่ 3-20**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 11

เฟรมที่ 12 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-21

Frame No. 11
ประเภทภาพ

การจัดการภาพดวย Pen Tool  ภาพนิ่ง


 ภาพเคลื่อนไหว
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
 ขอความ
  เสียง
 และไฟลมัลติมีเดีย

ภาพที่ 3-21**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 12


63

หนวยการเรียนที่ 4 หัวขอการใชเครื่องมือตาง ๆ ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม ดังนี้


เฟรมที่ 13 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-22

Frame No. 13
ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
เครื่องมือ Shape Tool  ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-22**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 13

เฟรมที่ 14 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-23

Frame No. 14
การพิมพขอความ ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
ดวยเครื่องมือ  ภาพเคลื่อนไหว
Type Tool แบบตาง ๆ  ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-23**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 14


64

เฟรมที่ 15 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-17

Frame No. 15
ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
เครื่องมือ pen Tool
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-24 บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 15

เฟรมที่ 16 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-25

Frame No. 16
ประเภทภาพ
การใชเครื่องมือ  ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
Clone Stamp Tool
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-25 บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 16


65

หนวยการเรียนที่ 5 การใชคําสั่งในการปรับรูปภาพ ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม


ดังนี้ เฟรมที่ 17 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-26

Frame No. 17
การกําหนดโหมดภาพ ดวยคําสั่ง Image Mode ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-26**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 17

เฟรมที่ 18 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-27

Frame No. 18
การใชคําสั่ง ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง
Image Size
 ภาพเคลื่อนไหว

ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-27**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 18


66

เฟรมที่ 19 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-28

Frame No. 19
การหมุนภาพดวย ประเภทภาพ
คําสั่ง Image Rotation ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-28**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 19

เฟรมที่ 20 บทดําเนินเรื่องหัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop


แสดงดังภาพที่ 3-29

Frame No. 20
การปรับภาพดวยคําสั่ง ประเภทภาพ
Edit Transform ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-29**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 20


67

หนวยการเรียนที่ 6 การใชงานเลเยอร ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม ดังนี้ เฟรมที่ 21


หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-30

Frame No. 21
ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
การเพิ่ม - ลบเลเยอร  ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-30**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 21

เฟรมที่ 22 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-31

Frame No. 22
ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
การซอน/แสดงเลเยอร  ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-31**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 22


68

เฟรมที่ 23 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-32

Frame No. 23
ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
การใชเลเยอรสไตล ในการปรับแตงภาพ
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-32**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 23

เฟรมที่ 24 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-33

Frame No. 24
ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
การใชงาน เลเยอรมารก
 ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-33**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 24


69

หนวยการเรียนที่ 7 หัวขอ การปรับแตงสีรูปภาพ ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม ดังนี้


เฟรมที่ 24 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-34

Frame No. 25
ประเภทภาพ
การปรับแตงสีภาพดวย ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
คําสั่ง Image/ Adjustment
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-34**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 25

เฟรมที่ 26 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-35

Frame No. 26
ประเภทภาพ
การกําหนดสีภาพดวย
ภาพนิ่ง
เครื่องมือ
 ภาพเคลื่อนไหว
Paint Backet และ Gadient
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-35**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 26


70

เฟรมที่ 27 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-36

Frame No. 27
การปรับภาพดวย ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
เครื่องมือ
 ภาพเคลื่อนไหว
Burl sharpen และ Smudge
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-36**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 27

เฟรมที่ 28 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-37

Frame No. 28
ประเภทภาพ
การใชคําสั่ง Filter  ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว

ภาพกราฟก
ภาพ
 ขอความ
  เสียง
 ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย

ภาพที่ 3-37**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 28


71

หนวยการเรียนที่ 8 หัวขอ การออกแบบชิ้นงาน ประกอบดวยบทดําเนินเรื่อง 4 เฟรม ดังนี้


เฟรมที่ 29 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-28

Frame No. 29
ประเภทภาพ
การออกแบบ Banner ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-38**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 29

เฟรมที่ 30 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-39

Frame No. 30
การสรางภาพเคลื่อนไหว ประเภทภาพ
 ภาพนิ่ง
( Animation )
 ภาพเคลื่อนไหว
ภาพกราฟก
ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
 ขอความ
  เสียง
 และไฟลมัลติมีเดีย

ภาพที่ 3-39**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 30


72

เฟรมที่ 31 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-40

Frame No. 31
ประเภทภาพ
ภาพนิ่ง
 ภาพเคลื่อนไหว
การสรางปุมเชื่อมโยงในชิน้ งาน
 ภาพกราฟก

ภาพ
ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
และไฟลมัลติมีเดีย
 ขอความ
  เสียง

ภาพที่ 3-40**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 31

เฟรมที่ 32 หัวขอ รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Adobe Photoshop แสดงดังภาพที่ 3-41

Frame No. 32
ประเภทภาพ

 ภาพนิ่ง
การบันทึกไฟลเปนเว็บเพจ
 ภาพเคลื่อนไหว

ภาพกราฟก
ภาพ
 ขอความ  เสียง ลักษณะการนําเสนอ
นําเสนอในรูปของเว็บเพจ
 ขอความ
  เสียง
 และไฟลมัลติมีเดีย

ภาพที่ 3-41**บทดําเนินเรื่องบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เฟรมที่ 32


73

3.5**การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
การพั ฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร ชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชห ลักการของ
ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก มีรายละเอียดการพัฒนา ดังนี้
3.5.1**การวิเคราะหเนื้อหาที่ใชในการสรางบทเรียน ศึกษาเนื้อหาบทเรียนจากตํารา และ
เอกสารต า ง ๆ โดยวิ เ คราะห เ นื้ อ หาให ค รอบคลุ ม วั ต ถุ ป ระสงค ร ายวิ ช า และสอดคล อ งกั บ
วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมของวิชา การใชโปรแกรมกราฟก
3.5.2**การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยใชซอฟตแวรตาง ๆ ดังนี้
3.5.2.1 พัฒนาระบบจัดการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชโปรแกรม
Moodle ซึ่งเปนซอฟตแวรประเภทฟรีแวร และโอเพนซอรส (Open Source) ภายใต GPL Licence ที่
ใชบนระบบ LAMP (Linux,Apache Server, MySQL, และ PHP) เปนระบบจัดการเรียนการสอน
(LMS) สําหรับจัดกิจกรรมการเรียนการสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต ซึ่งสามารถใชบทเรียนที่เปน
ไฟลแบบตาง ๆ ไดเชน ไฟลเอกสาร เว็บเพจ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว นอกจากนี้ยังมีระบบการทํา
แบบฝกหัด และแบบทดสอบ เปนตน โปรแกรม Moodle มีองคประกอบของระบบ ประกอบดวย
ระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management) ระบบการสรางบทเรียน (Content Management)
ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) ระบบสงเสริมการเรียน (Course
Tools) ระบบจัดการขอมูล (Data Management System)
3.5.2.2**พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยใชโปรแกรม Adobe Flash CS4
เปนโปรแกรมประเภทสรางสื่อมัลติมีเดีย สําหรับสรางบทเรียนภาพเคลื่อนไหวประกอบเสียง
บรรยาย*ใชโปรแกรม Photoshop CS4 โปรแกรม Illustrator CS4 เปนโปรแกรมที่ใชออกแบบ
กราฟกและตกแตงภาพ สําหรับสรางบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน และโปรแกรม Free Audio
Recorder เปนโปรแกรมสําหรับอัดเสียงประกอบบทเรียน
3.5.3**จัดทําเครื่องมือในการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่ง
ประกอบดวยเครื่องมือตาง ๆ ดังนี้
3.5.3.1**แบบประเมิ น คุ ณ ภาพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนบนเครื อ ข า ย
อินเทอรเน็ต ผูจัดทําปญหาพิเศษไดสรางแบบประเมินคุณภาพซึ่งแบงเปนแบบประเมินคุณภาพดาน
เนื้อหา และคุณภาพดานสื่อการเรียนการสอน ใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบหัวขอแบบประเมิน
และแกไขกอนนําแบบประเมินใหผูเชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ
3.5.3.2**แบบทดสอบก อ นเรี ย นและหลั ง เรี ย น ในการพั ฒ นาบทเรี ย นได ส ร า ง
แบบทดสอบก อ นเรีย น และหลั ง เรีย นในแตละหนว ยการเรีย น เปนแบบทดสอบแบบปรนัย 4
ตัวเลือก ใชสําหรับประเมินผูเรียนในการเรียนแตละหนวยการเรียนเพื่อเก็บคะแนนระหวางเรียน
74

3.5.3.3**แบบทดสอบวั ด ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการเรี ย น ในการสร า งแบบทดสอบวั ด


ผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน เป นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ ครอบคลุมเนื้อหาทุ กหนว ย
การเรียน จัดทําเปนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ใชแบบทดสอบกอนเรียน ประเมินผูเรียน
กอนเริ่มเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต และเมื่อผูเรียนผานการ
เรียนดวยบทเรียนจนครบทุกหนวยการเรียน ใหผูเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
หลังเรียน
3.5.3.4**แบบประเมินความพึงพอใจของผูใชงาน โดยใหนักเรียนกลุมตัวอยางจํานวน
30 คนทําแบบประเมินเพื่อวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่
พัฒนาขึ้น
3.5.3.5**ทําการวิเคราะหขอมูล โดยหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เพื่อวัด
ระดับความพึงพอใจของกลุมตัวอยางที่มีตอบทเรียน การแปลความหมายใชคะแนนเฉลี่ยที่ไดจาก
การวิเคราะหขอมูลมาเปรียบเทียบกับเกณฑ นํามาหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังนี้
คะแนน 4.50-5.00 แปลความวา มีความพึงพอใจในเรื่องนั้นมากที่สุด
3.50-4.49 แปลความวา มีความพึงพอใจในเรื่องนั้นมาก
2.50-3.49 แปลความวา มีความพึงพอใจในเรื่องนั้นปานกลาง
1.50-2.49 แปลความวา มีความพึงพอใจในเรื่องนั้นนอย
1.00-1.49 แปลความวา มีความพึงพอใจในเรื่องนั้นนอยที่สุด
3.5.4**การทดลองใช นําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาใหอาจารยที่ปรึกษาพิจารณา
นํ า ข อ เสนอแนะของอาจารย ม าปรั บ ปรุ ง แก ไ ข เมื่ อ ผ า นการพิ จ ารณา และปรั บ ปรุ ง แก ไ ขแล ว
นํามาใชทดลองกับนักศึกษากลุมตัวอยาง และนําผลที่ไดจากการทดลองมาปรับปรุงบทเรียนใหมี
คุณภาพตอไป

3.6 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
3.5.1** การหาคาเฉลี่ย (Mean) คํานวณจากสมการที่ 3-1

X = ∑xi (3-1)
n
เมื่อ
X แทน คาเฉลี่ยของคะแนน
∑xi แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
n แทน จํานวนนักเรียนในกลุม ตัวอยาง
75

3.5.2 การหาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) คํานวณจากสมการที่ 3-2

S.D. n∑xi2-(∑x)2i (3-2)


n(n-1)
เมื่อ
S.D. แทน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
x แทน คะแนนแตละตัว
∑xi แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
n แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง
3.5.3 การหาคาดัชนีความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับวัตถุประสงคที่กําหนด คํานวณ
จากสมการที่ 3-3
IOC = ∑R (3-3)
n
เมื่อ
IOC แทน ดัชนีความสอดคลองระหวางแบบทดสอบกับวัตถุประสงค
∑R แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
N แทน จํานวนคน
เกณฑการพิจารณาการวัดคุณภาพของแบบทดสอบ ดังแสดงในตารางที่ 3-8

ตารางที่ 3-8**เกณฑคาความสอดคลองระหวางผลการเรียนรูที่คาดหวังกับแบบทดสอบ
คาเฉลี่ย แปลผล
มากกวาหรือเทากับ 0.5 เปนขอสอบที่มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา เพราะวัดตามผลการ
เรียนรูที่คาดหวังที่ตองการ
นอยกวา 0.5 เป น ข อ สอบที่ ค วรตัด ทิ้ ง หรื อแก ไ ข เพราะวัด ไม ไ ด ต ามผลการ
เรียนรูที่คาดหวังที่ตองการ

จากตารางที่ 3-8 เปนการแบงคาความสอดคลองระหวางผลการเรียนรูที่คาดหวังกับ


แบบทดสอบที่มีการทดสอบ เพื่อนําไปวิเคราะหระดับความรูของผูเรียนกอนเรียนและหลังเรียน
76

3.5.4 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร คํานวณจากสมการที่ 3-4 และสมการที่


3-5
∑x
E1 = N x 100 (3-4)
A
∑y
E2 = N x 100 (3-5)
B
เมื่อ
E1 แทน คาประสิทธิภาพของบทเรียนจากการทําแบบทดสอบทาย
บทเรียนทั้งหมดคิดเปนรอยละ
E2 แทน คาประสิทธิภาพของบทเรียนจากการทําแบบทดสอบหลัง
เรียนคิดเปนรอยละ
x แทน คะแนนรวมของการทําแบบทดสอบทายบทเรียนไดถูกตอง
y แทน คะแนนรวมของการทําแบบทดสอบหลังเรียนไดถูกตอง
A แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบทายบทเรียน
B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
N แทน จํานวนผูเรียน
3.5.5 การหาคา t-test ใชทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของคะแนนที่ไดจากการ
ทดสอบกอนเรียนและคะแนนที่ไดจากการทดสอบหลังเรียน คํานวณจากสมการที่ 3-6

t = ∑D , df = N-1 (3-6)
2 2
N∑D -(∑D)
N-1
เมื่อ
t แทน คาความแตกตางระหวางคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบกอนเรียน
และแบบทดสอบหลังเรียน
∑D แทน ความแตกตางของคะแนนแตละคูของแบบทดสอบกอนเรียนและ
แบบทดสอบ
N แทน จํานวนคู
บทที่ 4
ผลการดําเนินงานวิจัย

จากการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ
ADDIE*Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก ไดทําการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวย
สอนโดยผูเชี่ยวชาญ ทําการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
และหาค า ประสิ ท ธิ ภ าพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอนจากการทํ าแบบทดสอบก อนเรี ยน
แบบสอบถามหลังเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งผลการดําเนินการแบงเปน 5
ขอดังนี้
4.1**ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
4.2**ผลการประเมินคุณภาพการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
4.3**ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ รียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
4.4**ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยใชการสอนแบบ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก

4.1**ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอนบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ต
จากการออกแบบและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใช
หลักการของ ADDIE*Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก ซึ่งผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร
ชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตสามารถแสดงไดดังภาพที่ 4-1 ถึง 4-14 โดยหนาจอหลักของ
บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาโดยใชโปรแกรม Moodle สามารถ
แสดงไดดังภาพที่ 4-1
78

ภาพที*่ 4-1**ผลการออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต

ในการพั ฒ นาบทเรี ย นคอมพิว เตอร ชว ยสอนบนเครือ ขายอิ น เทอรเ น็ ต ได มี ก ารกํ า หนด
ผูใชงานบทเรียนคอมพิวเตอร ตองสมัครเปนสมาชิก และเขาสูระบบดวย ชื่อผูใชและรหัสผาน เพื่อ
เปนการรักษาความปลอดภัย โดยมีหนาจอการล็อกอินเพื่อเขาสูระบบดังภาพที่ 4-2

ภาพที*่ 4-2**ภาพการออกแบบหนาจอการเขาสูระบบ

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต มีการแบงกลุมผูใชงาน
ออกเปน 3 กลุม ดวยกัน คือ ผูดูแลระบบ ครูผูสอน และผูเรียน ซึ่งผลการพัฒนาสามารถแสดงไดดัง
ภาพที่ 4-3
79

ภาพที*่ 4-3**สวนของกลุมผูใชงานระบบ

ผลการออกแบบหนาจอสวนผูดูแลระบบ ซึ่งประกอบดวย การจัดการหลักสูตร ระบบจัดการ


สมาชิก และการจัดการบทเรียนดังภาพที่ 4-4

ภาพที*่ 4-4**หนาจอสวนผูดูแลระบบ

บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน กําหนดใหผูดูแลระบบสามารถปรับปรุง แกไข ขอมูลตาง ๆ


ของระบบได สามารถจัดการเพิ่ม/แกไขรายวิชาไดดังแสดงภาพที่ 4-5
80

ภาพที*่ 4-5**หนาจอการจัดการรายวิชาของบทเรียน

หนาจอสวนครูผูสอน จะแสดงรายวิชาของครูผูสอนพรอมทั้งขอมูลผูเรียนที่ทําการสมัครเปน
สมาชิกของบทเรียนในรายวิชาที่เปดสอน ครูผูสอนสามารถทําการแกไข/เพิ่ม ขาวประกาศ เพิ่ม
แหลงขอมูล เพิ่มกิจกรรม และสามารถเพิ่มแกไขเนื้อหาบทเรียนได นอกจากนี้ยังสามารถเรียกดู
ขอมูลและผลการเรียนของผูเรียนรายบุคลไดอีกดวยดังภาพที่ 4-6

ภาพที*่ 4-6**หนาจอสวนครูผูสอน
81

เมื่อเขาสูบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนสามารถแสดงหนาจอกลุมผูเรียนไดดังภาพที่ 4-7

ภาพที*่ 4-7**หนาจอสวนของผูเรียน

เมื่อเขาสูสวนเนื้อหาบทเรียน ในบทเรียนจะแบงเนื้อหาออกเปน 8 หนวยการเรียนตาม


โครงสรางเนื้อหาที่ผูสอนไดออกแบบไวดังภาพที่ 4-8

ภาพที*่ 4-8**โครงสรางเนื้อหาบทเรียนแตละหนวย
82

ผูใชงานสามารถเรียกดูและแจงขอมูลขาวสารซึ่งสามารถแสดงไดดังภาพที่ 4-9

ภาพที*่ 4-9**หนาจอการแจงขาวสารกับผูเรียน

ผลการพัฒนาสวนของการตัง้ กระทูของผูเรียน สามารถแสดงไดดังภาพที่ 4-10

ภาพที*่ 4-10**หนาจอกระดานเสวนา
83

ในบทเรียนมีการตั้งกระทูถาม-ตอบ เมื่อเลือกโพล จะปรากฏหนาจอดังภาพที่ 4-11

ภาพที*่ 4-11**หนาจอการถามตอบคําถาม

หน า จอแสดงส ว นของแบบทดสอบก อ นเรี ย น/หลั ง เรี ย น เมื่ อ ผู เ รี ย นเลื อ กหั ว ข อ การทํ า
แบบทดสอบ จะปรากฏหนาจอดังภาพที่ 4-12

ภาพที*่ 4-12**หนาจอแบบทดสอบกอน/หลังเรียน
84

ผลการออกแบบสวนของเนื้อหาบทเรียน แบงออกเปนการนําเสนอในรูปของเว็บเพจ และใน


รูปของสื่อมัลติมีเดีย โดยการใชเสียงบรรยายประกอบภาพ และนําเสนอในรูปแบบจากงายไปยาก
เพื่อใหผูเรียนสามารถติดตามและเขาใจบทเรียนไดแสดงดังภาพที่ 4-13

ภาพที*่ 4-13**หนาจอสวนของเนื้อหาบทเรียนในรูปแบบเว็บเพจ

สวนของเนื้อหาบทเรียนในรูปแบบสื่อมัลติมีเดีย อยูในเมนูบทเรียนแตละหนวยการเรียน เมื่อ


เลือกที่หนวยการเรียนที่ 1 ดังภาพที่ 4-14

ภาพที*่ 4-14**หนาจอบทเรียนแบบสื่อมัลติมีเดีย
85

4.2**ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร
การวิเคราะหผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญจํานวน 5 คน ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการ
พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ ADDIE Model วิชา
การใชโปรแกรมกราฟก โดยแบบประเมินแบงออกเปน 4 ดาน คือ การประเมินดานเนื้อหา การประเมิน
ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน การประเมินดานการจัดการบทเรียน และการประเมิน
ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนซึ่งใชเกณฑในการใหคะแนนประเมินคุณภาพของบทเรียน
ในดานตาง ๆ ตามตารางที่ 4-1

ตารางที่*4-1**ขอมูลเพศของผูเชี่ยวชาญ
เพศ จํานวน (คน) รอยละ
ชาย 2 40.00
หญิง 3 60.00
รวม 5 100.00

จากตารางที่ 4-1 แสดงขอมูลเพศของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 5 คน เปนเพศชาย คิดเปน


รอยละ 40 และเพศหญิงคิดเปนรอยละ 60

ตารางที่*4-2**ขอมูลอายุของผูเชี่ยวชาญ
อายุ จํานวน (คน) รอยละ
25-30 ป 0 0.00
31-35 ป 0 0.00
36-40 ป 0 0.00
41-45 ป 1 20.00
46-50 ป 4 80.00
50 ปขึ้นไป 0 0.00
รวม 5 100.00

จากตารางที่ 4-2 แสดงขอมูลอายุของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 5 คน จําแนกเปนอายุ 41-45 ป


คิดเปนรอยละ 20 รองลงมาคือ อายุ 46-50 ป คิดเปนรอยละ 80
86

ตารางที่*4-3**ขอมูลระดับการศึกษาของผูเชี่ยวชาญ
ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละ
ปริญญาโท 5 100.00
ปริญญาเอก 0 0.00
รวม 5 100.00

จากตารางที่ 4-3 แสดงขอมูลระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 5 คน เปนระดับ


ปริญญาโทคิดเปนรอยละ 100

ตารางที่*4-4**ขอมูลประสบการณการทํางานของผูเชี่ยวชาญ
ประสบการณการทํางาน จํานวน (คน) รอยละ
1-5 ป 0 0.00
6-10 ป 0 0.00
11-15 ป 2 40.00
16-20 ป 3 60.00
มากกวา 20 ปขึ้นไป 0 0.00
รวม 5 100.00

จากตารางที่ 4-4 แสดงขอมูลประสบการณการทํางานของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 5 คน


เปนประสบการณการทํางาน 16-20 ป คิดเปนรอยละ 60 รองลงมา คือ ประสบการณ 11-15 ปคิด
เปนรอยละ 40

ตารางที่*4-5**ขอมูลประสบการณการทํางานรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศของผูเชี่ยวชาญ
ประสบการณการทํางานรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ จํานวน (คน) รอยละ
1-5 ป 0 0.00
6-10 ป 0 0.00
11-15 ป 2 40.00
16-20 ป 3 60.00
มากกวา 20 ปขึ้นไป 0 0.00
รวม 5 100.00
87

จากตารางที่ 4-5 แสดงขอมูลประสบการณการทํางานของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 5 คน


เปนประสบการณการทํางานรวมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 16-20 ป คิดเปนรอยละ 60 รองลงมาคือ
ประสบการณ 11-15 ป คิดเปนรอยละ 40

ตารางที่*4-6**ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดานเนื้อหา
ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. เนื้อหาบทเรียนครอบคลุมวัตถุประสงค 4.40 0.55 ดี
2. เนื้อหามีความถูกตอง สมบูรณ 4.60 0.55 ดีมาก
3. เนื้อหาบทเรียนมีความนาสนใจ 4.20 0.84 ดี
4. การจัดลําดับขั้นการนําเสนอเนื้อหามีความเหมาะสม 5.00 0.00 ดีมาก
5. การใชภาษามีความเหมาะสม ชัดเจน งายตอการเขาใจ 4.00 0.71 ดี
6. เนื้อหาทันสมัย สามารถนําไปประยุกตใชกับงาน 4.60 0.55 ดีมาก
สรุปผลการประเมิน 4.47 0.63 ดี

ผลจากการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรบนเครือขายอินเทอรเน็ต ดานเนื้อหา
แสดงไดดังตารางที่ 4-6 คุณภาพอยูในระดับดีมาก ไดแก เนื้อหามีความถูกตองสมบูรณ (คาเฉลี่ย
เทากับ 4.60 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.55) การจัดลําดับขั้นการนําเสนอเนื้อหามีความเหมาะสม
(คาเฉลี่ยเทากับ 5.00 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.00) เนื้อหาทันสมัย สามารถนําไปประยุกตใช
กับงานคอมพิวเตอรกราฟกไดจริง (คาเฉลี่ยเทากับ 4.60 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.55) คุณภาพ
ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดานเนื้อหาโดยภาพรวมอยูในเกณฑ ดี (คาเฉลี่ยเทากับ 4.47 คา
เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.63)

ตารางที่*4-7**ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดานกราฟกและรูปแบบ
การนําเสนอบทเรียน
ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ภาพที่นําเสนอตรงตามเนือ้ หา 4.80 0.45 ดีมาก
2. ขนาดของภาพใชประกอบบทเรียนเหมาะสม 4.20 0.45 ดี
3. ภาพที่ใช สือ่ ความหมายไดชัดเจน 5.00 0.00 ดีมาก
88

ตารางที่ 4-7 (ตอ)


ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
4. เสียงที่ใชประกอบมีความเหมาะสม 3.40 0.55 ปานกลาง
5. เสียงบรรยาย ชัดเจน 4.00 0.00 ดี
6. ใชคําบรรยายไดอยางถูกตองตามไวยากรณของภาษา 3.40 0.55 ปานกลาง
7. ความเหมาะสมของแบบอักษร (Font) 4.60 0.55 ดีมาก
8. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่เลือกใช 3.80 0.45 ดี
9. ความเหมาะสมของสีตัวอักษรกับพืน้ จอภาพ 4.40 0.55 ดี
10. ความเหมาะสมในการจัดภาพ 4.20 0.45 ดี
สรุปผลการประเมิน 4.18 0.66 ดี

ผลจากการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดานกราฟกและรูปแบบการ
นําเสนอบทเรียน แสดงไดดังตารางที่ 4-7 โดยคุณภาพอยูในระดับดีมาก ไดแก ภาพที่นําเสนอตรง
ตามเนื้อหา (คาเฉลี่ยเทากับ 4.80 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.45) ภาพที่ใชสื่อความหมายไดชัดเจน
(คาเฉลี่ยเทากับ 5.00 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.00) ความเหมาะสมของแบบอักษร (Font)
(คาเฉลี่ยเทากับ 4.60 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.55) คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียนโดยภาพรวม อยูในเกณฑดี (คาเฉลี่ยเทากับ 4.18
คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.66)

ตารางที่*4-8**ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนดานการจัดการบทเรียน
ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ความชัดเจนของคําอธิบายการปฏิบัติในบทเรียน 3.60 0.55 ดี
2. ความตอเนือ่ งของการนําเสนอเนื้อหา 4.60 0.55 ดีมาก
3. การเปดโอกาสใหผูเรียนควบคุมบทเรียน 4.00 0.71 ดี
4. ความเหมาะสมของวิธีการโตตอบกับบทเรียน 3.40 0.55 ปานกลาง
5. ความเหมาะสมของวิธีการสรุปเนื้อหาบทเรียน 4.00 0.71 ดี
สรุปผลการประเมิน 3.92 0.70 ดี
89

ผลจากการประเมิน คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร ชวยสอน ดานการจัดการบทเรีย น


ดังตารางที่ 4-8 โดยคุณภาพอยูในระดับดีมาก ไดแก ความตอเนื่องของการนําเสนอเนื้อหา (คาเฉลี่ย
เทากับ 4.60 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.55) คุณภาพของบทเรียนดานการจัดการบทเรียนโดย
ภาพรวม อยูในเกณฑ ดี (คาเฉลี่ยเทากับ 3.92 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.70)

ตารางที่*4-9**ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอรดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ความสอดคลองแบบทดสอบกับเนื้อหาบทเรียน 4.60 0.55 ดีมาก
2 .ความถูกตองชัดเจนของคําถามและคําตอบ 4.80 0.45 ดีมาก
3. ความยากงายของคําถาม มีความเหมาะสม 5.00 0.00 ดีมาก
4. แบบทดสอบสงผลใหผูเรียนไดทบทวนเนื้อหา 4.40 0.55 ดี
5. ความเหมาะสมของจํานวนขอคําถามในแตละเนื้อหา 4.60 0.55 ดีมาก
สรุปผลการประเมิน 4.29 0.68 ดีมาก

ผลจากการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดานแบบทดสอบกอนเรียนและ
หลังเรียน แสดงไดดังตารางที่ 4-9 โดยคุณภาพอยูในระดับดีมาก ไดแก ความสอดคลองแบบทดสอบกับ
เนื้อหาบทเรียน (คาเฉลี่ยเทากับ 4.60 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.55) ความถูกตองชัดเจนของคําถาม
และคําตอบ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.80 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.45) ความยากงายของคําถาม มี
ความเหมาะสม (คาเฉลี่ยเทากับ 5.00 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.00) ความเหมาะสมของจํานวน
ขอคําถามในแตละเนื้อหา (คาเฉลี่ยเทากับ 4.60 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.55) ประสิทธิภาพ
ของระบบดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนโดยภาพรวม อยูในเกณฑ ดีมาก (คาเฉลี่ยเทากับ
4.29 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.68)

ตารางที่*4-10**สรุปผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน
ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ดานเนื้อหา 4.47 063 ดี
2. ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน 4.18 0.66 ดี
3. ดานจัดการในบทเรียน 3.92 0.70 ดี
90

ตารางที่*4-10*(ตอ)
ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
4. ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 4.68 0.48 ดีมาก
สรุปผลการประเมิน 4.24 0.68 ดี

จากตารางที่ 4-10 ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใช


หลักการสอนของ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก โดยผูเชี่ยวชาญ ที่พัฒนาขึ้น ผลการ
ประเมินคุณภาพชองบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน มีคาเฉลี่ยรวมทุกดานเทากับ 4.24 และมีคาสวน
เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.68 ดังนั้นบทเรียนคอมพิวเตอรที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพในภาพรวม
อยูในระดับดี

4.3**ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
การแจกแบบสอบถามความพึงพอใจของผูเรียน ใชสําหรับวัดระดับความคิดเห็นของผูเรียน
หลังจากที่เขาใชงานบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต*เพื่อประเมินความ
เหมาะสมของบทเรียนที่พัฒนาขึ้น ลักษณะของแบบสอบถามเปนแบบมาตราสวนประเมิน 4 ดาน
คือดานเนื้อหาบทเรียน ดานกราฟกและการนําเสนอ ดานการจัดการในบทเรียน ดานแบบทดสอบ
กอนเรียนและหลังเรียน ซึ่งผลการประเมินดังแสดงในตารางที่ 4-11 ถึง 4-17

ตารางที่*4-11**ขอมูลเพศของผูเรียน
เพศ จํานวน (คน) รอยละ
ชาย 11 36.67
หญิง 19 63.33
รวม 30 100.00

จากตารางที่ 4-11 ขอมูลเพศของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 30 คน เปนเพศชายคิดเปน


รอยละ 36.67 และเพศหญิงคิดเปนรอยละ 63.33
91

ตารางที่*4-12**ขอมูลอายุของผูเรียน
อายุ จํานวน (คน) รอยละ
15 ป 22 20.00
16 ป 8 80.00
รวม 30 100.00

จากตารางที่ 4-12 ขอมูลอายุของผูตอบแบบสอบถามจํานวน 30 คน จําแนกเปนอายุ 16 ป คิด


เปนรอยละ 20.00 รองลงมา คือ อายุ 15 ป คิดเปนรอยละ 20.00

ตารางที่*4-13**ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ดานเนื้อหา
ระดับคะแนนการประเมินคุณภาพ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. เนื้อหาบทเรียนครอบคลุมวัตถุประสงค 4.83 0.38 ดีมาก
2. เนื้อหามีความถูกตอง สมบูรณ 4.73 0.45 ดีมาก
3. เนื้อหาบทเรียนมีความนาสนใจ 3.83 0.38 ดี
4. การจัดลําดับขั้นการนําเสนอเนื้อหามีความเหมาะสม 4.00 0.53 ดี
5. การใชภาษามีความเหมาะสม ชัดเจน งายตอ การเขาใจ
4.70 0.47 ดีมาก
ในเนื้อหา เหมาะกับระดับความรูของผูเรียน
6. เนื้อหาทันสมัย สามารถนําไปประยุกตใชกับงาน
4.37 0.49 ดี
คอมพิวเตอรกราฟกไดจริง
สรุปผลการประเมิน 4.41 0.59 ดี

ผลจากการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดาน
เนื้อหา แสดงไดดังตารางที่ 4-13 โดยความพึงพอใจของผูเรียนที่อยูในระดับดีมาก ไดแก เนื้อหา
บทเรียนครอบคลุมวัตถุประสงค (คาเฉลี่ยเทากับ 4.83 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.38) เนื้อหามี
ความถูกตอง สมบูรณ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.73 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.45) การใชภาษามีความ
เหมาะสม ชัดเจน งายตอการเขาใจในเนื้อหา เหมาะกับระดับความรูของผูเรียน (คาเฉลี่ยเทากับ 4.70 คา
เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.47) คุณภาพของระบบดานเนื้อหาโดยภาพรวมอยูในเกณฑ ดี (คาเฉลี่ย
เทากับ 4.41 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.59)
92

ตารางที่*4-14**ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ภาพที่นําเสนอตรงตามเนือ้ หา 4.00 0.53 ดี
2. ขนาดของภาพใชประกอบบทเรียนเหมาะสม 4.63 0.49 ดีมาก
3. ภาพที่ใช สือ่ ความหมายไดชัดเจน 4.53 0.51 ดีมาก
4. เสียงที่ใชประกอบมีความเหมาะสม 3.80 0.41 ดี
5. เสียงบรรยาย ชัดเจน 3.93 0.58 ดี
6. ใชคําบรรยายไดอยางถูกตองตามไวยากรณของภาษา 4.03 0.18 ดี
7. ความเหมาะสมของแบบอักษร (Font) 4.60 0.56 ดีมาก
8. ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่เลือกใช 4.77 0.43 ดีมาก
9. ความเหมาะสมของสีตัวอักษรกับพืน้ จอภาพ 4.10 0.31 ดี
10. ความเหมาะสมในการจัดภาพ 4.63 0.56 ดีมาก
สรุปผลการประเมิน 4.30 0.58 ดี

ผลจากการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดาน
กราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน แสดงไดดังตารางที่ 4-14 โดยความพึงพอใจของผูเรียน
อยูในระดับดีมาก ไดแก ขนาดของภาพใชประกอบบทเรียนเหมาะสม (คาเฉลี่ยเทากับ 4.63 คา
เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.49) ภาพที่ใชสื่อความหมายไดชัดเจน (คาเฉลี่ยเทากับ 4.53 คาเบี่ยงเบน
มาตรฐานเทากับ 0.51) ความเหมาะสมของแบบอักษร (Font) (คาเฉลี่ยเทากับ 4.60 คาเบี่ยงเบน
มาตรฐานเทากับ 0.56) ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่เลือกใช (คาเฉลี่ยเทากับ 4.77 คา
เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.43) ความเหมาะสมในการจัดภาพ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.63 คาเบี่ยงเบน
มาตรฐานเทากับ 0.56) ความพึงพอใจของผูเรียนดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียนโดย
ภาพรวม อยูในเกณฑ ดี (คาเฉลี่ยเทากับ 4.30 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.58)
93

ตารางที่*4-15**ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
ดานการจัดการบทเรียน
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ความชัดเจนของคําอธิบายการปฏิบัติในบทเรียน 3.37 0.49 ปานกลาง
2. ความตอเนือ่ งของการนําเสนอเนื้อหา 4.07 0.25 ดี
3. การเปดโอกาสใหผูเรียนควบคุมบทเรียน 4.20 0.41 ดี
4. ความเหมาะสมของวิธีการโตตอบกับบทเรียน 4.27 0.45 ดี
5. ความเหมาะสมของวิธีการสรุปเนื้อหาบทเรียน 4.80 0.41 ดีมาก
สรุปผลการประเมิน 4.14 0.61 ดี

ผลจากการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดานการ
จัดการบทเรียน แสดงไดดังตารางที่ 4-15 โดยความพึงพอใจของผูเรียนอยูในระดับดีมาก ไดแก
ความเหมาะสมของวิธีสรุปบทเรียน (คาเฉลี่ยเทากับ 4.80 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.41) ความ
พึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน ดานการจัดการบทเรียนโดยภาพรวม อยู
ในเกณฑ ดี (คาเฉลี่ยเทากับ 4.14 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.61)

ตารางที่*4-16**ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเรียนที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอรชว ยสอน
ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ความสอดคลองแบบทดสอบกับเนื้อหาบทเรียน 4.27 0.45 ดี
2. ความถูกตองชัดเจนของคําถามและคําตอบ 4.03 0.18 ดี
3. ความยากงายของคําถาม มีความเหมาะสม 3.80 0.71 ดี
4. แบบทดสอบสงผลใหผูเรียนไดทบทวนเนื้อหา 4.73 0.45 ดีมาก
5. ความเหมาะสมของจํานวนขอคําถามในแตละเนื้อหา 4.33 0.55 ดี
สรุปผลการประเมิน 4.23 0.58 ดี

ผลจากการประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู ใ ช ง านบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน ด า น


แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แสดงไดดังตารางที่ 4-16 โดยความพึงพอใจของผูใชงาน อยู
94

ในระดั บ ดี ม าก ได แ ก แบบทดสอบส ง ผลให ผู เ รี ย นได ท บทวนเนื้ อ หา (ค า เฉลี่ ย เท า กั บ 4.73
คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.45) ความพึงพอใจของผูเรียน ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลัง
เรียนโดยภาพรวม อยูในเกณฑ ดีมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 4.23 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.58)

ตารางที่*4-17**สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผูใ ช
ระดับคะแนนความพึงพอใจ
รายการประเมิน
X S.D. เชิงคุณภาพ
1. ดานเนื้อหา 4.41 0.59 ดี
2. ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน 4.30 0.58 ดี
3. ดานจัดการในบทเรียน 4.14 0.61 ดี
4. ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน 4.23 058 ดี
สรุปผลการประเมิน 4.29 0.60 ดี

จากตารางที่ 4-17 ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเ รี ย น ในการพั ฒนาบทเรี ย น


คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใช
โปรแกรมกราฟก ที่พัฒนาขึ้น ผลการประเมินความพึงพอใจโดยผูเรียน มีคาเฉลี่ยรวมทุกดาน
เทากับ 4.29 และมีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.60 ดังนั้นบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่
พัฒนาขึ้นมีความพึงพอใจในภาพรวมอยูในระดับ ดี

4.4**ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต
โดยใชการสอนแบบ ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก
การวิเคราะหหาผลคะแนนแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน โดยผูจัดทําปญหาพิเศษได
นําบทเรียนคอมพิวเตอรไปใชกับผูเรียนกลุมทดลองจํานวน 30 คน ซึ่งผลการวิเคราะหผลคะแนน
สอบกอนเรียนและคะแนนสอบระหวางเรียนสามารถแสดงไดดังตารางที่ 4-18

ตารางที่*4-18**การวิเคราะหผลคะแนนสอบกอนเรียนและคะแนนสอบระหวางเรียน
จํานวน คะแนน
รายการประเมิน ∑X X รอยละ
ผูทดสอบ เต็ม
แบบทดสอบกอนเรียน 30 80 937 31.2 39.00
แบบทดสอบระหวางเรียน 30 80 1948 64.9 81.20
95

จากตารางที่ 4-18 แสดงใหเห็นผลการทําแบบทดสอบกอนเรียนและระหวางเรียนของผูเรียน


ในแตละหนวยการเรียน โดยมีผลคะแนนกอนเรียน รอยละ 39.00 และผลคะแนนระหวางหลังเรียน
รอยละ 81.20

ตารางที่*4-19**การวิเคราะหผลคะแนนสอบของผูเรียนกอนเรียนและหลังเรียน
จํานวน คะแนน
รายการประเมิน ∑X X รอยละ
ผูทดสอบ เต็ม
แบบทดสอบกอนเรียน 30 40 320 10.67 26.67
แบบทดสอบหลังเรียน 30 40 1046 34.87 87.17

จากตารางที่ 4-19 แสดงใหเห็นผลการทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนของผูเรียน เมื่อ


สิ้นสุดการเรียน โดยมีคะแนนแบบทดสอบกอนเรียนรอยละ 26.67 คะแนน และแบบทดสอบหลัง
เรียนรอยละ 87.17
การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร โดยผูจัดทําปญหาพิเศษไดนําบทเรียน
คอมพิวเตอรไปใชกับผูเรียนจํานวน 30 คน โดยใหผูเรียนทําแบบทดสอบแตละหนวยการเรียน และ
เมื่อเรียนครบทุกหนวยการเรียนใหผูเรียนทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการวิเคราะห
ดังแสดงในตารางที่ 4-20

ตารางที่*4-20**การวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนของผูเรียน
จํานวน คะแนน คะแนน คะแนน
รายการประเมิน รอยละ
ผูทดสอบ เต็ม รวม เฉลี่ย
แบบทดสอบระหวางเรียน 30 40 974 32.45 81.20
แบบทดสอบหลังเรียน 30 40 1046 34.87 87.17

จากตารางที่ 4-20 ผลการวิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร โดยการทํา


แบบทดสอบระหวางเรียนของผูเรียนเมื่อสิ้นสุดการเรียนในแตละหนวยการเรียน เฉลี่ยรวมรอยละ
81.20 และทําแบบทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยรอยละ 87.17 ดังนั้นประสิทธิภาพของบทเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชา การใช
โปรแกรมกราฟก คือ 81.20/87.17 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนดไวที่ 80/80
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

5.1**สรุป
การพั ฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชห ลักการของ
ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย
อินเทอรเน็ต เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนหลังเรียนดวยบทเรียนคอมพิวเตอร
ชว ยสอน และประเมิน คุณ ภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน โดยผู เ ชี่ย วชาญดานเนื้อ หา
จํานวน 3 คน ผูเชี่ยวชาญดานพัฒนาสื่อ จํานวน 5 คน ซึ่งการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร โดยใช
หลักการของ ADDIE Model เริ่มตั้งแต การศึกษาและรวบรวมขอมูล การวิเคราะหและออกแบบ
ระบบ การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน การสรางแบบสอบถามประเมินคุณภาพ และการ
ปรับปรุงบทเรียน พรอมคูมือการใชงาน โดยสามารถทําการสรุปผลไดดังนี้
5.1.1**ผลการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต วิชา การใช
โปรแกรมกราฟก
การสรางบทเรียนคอมพิวเตอร ตามขั้นตอนการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรตามแนวทาง
ของ ADDIE Model ซึ่งมีขั้นตอนการสราง 5 ขั้นตอน ไดแก การวิเคราะห (Analysis) การออกแบบ
(Design) การพั ฒ นา (Development) การทดลองใช (Implementation) และการประเมิ น ผล
(Evaluation)
จากการพัฒนาพบวา เมื่อนําบทเรียนที่ไดสรางขึ้นใหผูเชี่ยวชาญประเมิน จํานวน 5 ทาน
ประเมินและตรวจสอบคุณภาพ ซึ่งแบงการประเมินผลออกเปน 4 ดาน คือ ดานเนื้อหา ดานกราฟก
และการนําเสนอบทเรียน ดานการจัดการบทเรียน และดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
พบวาผูเชี่ยวชาญประเมินคุณภาพบทเรียน ดานเนื้อหาอยูในเกณฑดี ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.47 และ
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.63 ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอ อยูในเกณฑดี ไดคาเฉลี่ย
เทากับ 4.18 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.66 ดานการจัดการบทเรียน อยูในเกณฑดี ได
คาเฉลี่ยเทากับ 3.92 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.70 ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลัง
เรียน อยูในเกณฑดี ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.24 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.68
5.1.2**ผลการประเมินความพึงพอใจของผูใช เมื่อผูเรียนไดเรียนครบทุกหนวยการเรียนแลว
จะใหผูเรียนทําแบบประเมินความพึงพอใจ ซึงสามารถสรุปผลออกเปน 4 ดาน ดังนี้
98

สรุปผลการประเมินความพึงพอใจของผูใชตอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขาย
อินเทอรเน็ต โดยใชหลักการของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก ที่พัฒนาขึ้น ประกอบดวย
4 ดาน ดังนี้ ดานเนื้อหา ดานกราฟกและการนําเสนอบทเรียน ดานการจัดการบทเรียน และดาน
แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน พบวา ดานเนื้อหาอยูในเกณฑดี ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.41 และ
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.59 ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอ อยูในเกณฑดี ไดคาเฉลี่ย
เทากับ 4.30 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.58 ดานการจัดการบทเรียน อยูในเกณฑดี ได
คาเฉลี่ยเทากับ 4.14 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.61 ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน
อยูในเกณฑดี ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.23 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.58 โดยภาพรวมอยูใน
เกณฑดี ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.29 และมีคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.60
5.1.3**ผลการหาประสิทธิภาพ
เมื่อทําการตรวจสอบคุณภาพเรียบรอยแลว ไดดําเนินการออกแบบแบบทดสอบแบบปรนัย
จํานวนหนวยละ 10 ขอและแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จํานวน 30 ขอ เมื่อผูเรียนเรียน
ครบแตละหนวยการเรียนจะใหทําการสอบเก็บคะแนน และเมื่อเรียนครบทุกหนวยการเรียนแลวจะ
ทําการทดสอบดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอีกครั้ง
ผลการหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก ของผูเรียน พบวาผูเรียนมีคะแนนเฉลี่ยจากการทํา
แบบทดสอบระหวางเรียน มีคาเฉลี่ยเทากับ 81.20 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
มีประสิทธิภาพเทากับ 81.20/87.17 ซึ่งสูงกวาเกณฑที่กําหนด 80/80

5.2**อภิปรายผล
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรบนระบบเครือขายอินเทอรเน็ตที่พัฒนาขึ้น ใชแบบประเมิน
คุณภาพของระบบสําหรับผูเชี่ยวชาญ แบบทดสอบระหวางเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียน และแบบประเมินความพึงพอใจสําหรับผูใชงานในดานตาง ๆ ซึ่งสามารถอภิปรายผลไดดังนี้
5.2.1**อภิ ป รายผลการประเมิ น คุ ณ ภาพของบทเรี ย นคอมพิ ว เตอร ช ว ยสอน วิ ช าการใช
โปรแกรมกราฟก ดานตาง ๆ จากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน สามารถแบงผลการประเมินคุณภาพใน
แตละดานไดดังตอไปนี้
5.2.1.1**ดานเนื้อหา ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.47 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.63 ซึ่ง
ผูจัดทําปญหาพิเศษไดตั้งสมมติฐานทางสถิติไวดังนี้
H0: μ ≤ 3.50
H1: μ > 3.50
99

กําหนดระดับนัยสําคัญที่ระดับ .05 (α = .05)


μ คือ คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก มีคาเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3.50
จากสมมติฐานขางตนสามารถสรุปไดวา ยอมรับสมมติฐาน H1 หมายถึง ผลการทดสอบ
คุณภาพดานเนื้อหาอยูในระดับดี เนื่องจากบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนที่พัฒนาขึ้นสามารถใชเปน
บทเรียนในการจัดการเรียนการสอนได อยางมีคุณภาพ มีเนื้อหาบทเรียนที่ครบถวนครอบคลุม
วัตถุประสงครายวิชา มีการนําเสนออยางเปนลําดับจากงายไปยาก และมีความชัดเจนในการอธิบาย
เนื้อหา ใชภาษาที่สั้น ๆและ งาย
5.2.1.2**ดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.18 และ
สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.66 ซึ่งผูจัดทําปญหาพิเศษไดตั้งสมมติฐานทางสถิติ ไวดังนี้
H0: μ ≤ 3.50
H1: μ > 3.50
กําหนดระดับนัยสําคัญที่ระดับ .05 (α = .05)
μ คือ คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก มีคาเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3.50
จากสมตมติฐานขางตนสามารถสรุปไดวายอมรับสมมติฐาน H1 หมายถึง ผลการทดสอบ
คุณภาพดานกราฟกและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน อยูในระดับดี เนื่องจากบทเรียนที่พัฒนาขึ้นมี
การใชภาพ เสียงบรรยายและตัวอักษรที่เหมาะสมในการพัฒนาสื่อบทเรียน
5.2.1.3**ดานจัดการบทเรียน ไดคาเฉลี่ยเทากับ 3.98 และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
เทากับ 0.70 ซึ่งผูจัดทําปญหาพิเศษไดตั้งสมมติฐานทางสถิติ ไวดังนี้
H0: μ ≤ 3.50
H1: μ > 3.50
กําหนดระดับนัยสําคัญที่ระดับ .05 (α = .05)
μ คือ คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก มีคาเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3.50
จากสมมติฐานขางตนสามารถสรุปไดวายอมรับสมมติฐาน H1 หมายถึง ผลการทดสอบ
คุณภาพดานจัดการบทเรียน อยูในระดับดี เนื่องจากบทเรียนที่พัฒนาขึ้นมีคําอธิบายที่ชัดเจน การ
การเปดโอกาสใหผูเรียนสามารถควบคุมและโตตอบบทเรียน
100

5.2.1.4**ดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ไดคาเฉลี่ยเทากับ 4.68 และสวน


เบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.48 ซึ่งผูจัดทําปญหาพิเศษไดตั้งสมมติฐานทางสถิติ ไวดังนี้
H0: μ ≤ 3.50
H1: μ > 3.50
กําหนดระดับนัยสําคัญที่ระดับ .05 (α = .05)
μ คือ คุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชหลักการ
ของ ADDIE Model วิชาการใชโปรแกรมกราฟก มีคาเฉลี่ยมากกวาหรือเทากับ 3.50
จากสมมติฐานขางตนสามารถสรุปไดวายอมรับสมมติฐาน H1 หมายถึง ผลการทดสอบ
คุณภาพดานแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน อยูในระดับดีมาก เนื่องจากบทเรียนที่พัฒนาขึ้นมี
การจัดทําแบบทดสอบที่เหมาะสมกับเนื้อหา และชวยใหผูเรียนสามารถทบทวนบทเรียนไดเปน
อยางดี

5.3**ขอเสนอแนะในการวิจัย
การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร ชวยสอนบนเครือขายอินเทอรเน็ต โดยใชห ลักการของ
ADDIE Model วิชา การใชโปรแกรมกราฟก มีขอเสนอแนะดังตอไปนี้
5.3.1**ในสวนของระบบการจัดการเรียนการสอน การสมัครสมาชิกทําไดยาก ผูดูแลระบบ
ควรเพิ่มสมาชิกใหกับผูเรียน และควรเพิ่มชองทางการติดตอผูดูแลระบบใหกับบุคคลทั่วไปในกรณี
ตองการสมัครสมาชิกแลวทําไมได
5.3.2**การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร ควรเพิ่มกิจกรรมที่หลากหลายมากขึ้นเพื่อใหผูเรียน
ไดพัฒนาความรูจากบทเรียนได
5.3.3**ในการทดสอบควรจั ด ให มี ก ารทดสอบในชั้ น เรี ย นร ว มด ว ยเพื่ อ การตรวจสอบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน เพราะเนื่องจากการทดสอบบนเครือขายไมสามารถตรวจสอบ
ไดวา ผูที่ทําการล็อกอินคือผูเรียนจริงหรือไมและผูเรียนเปนผูที่ทําแบบทดสอบดวยตนเองหรือไม
สําหรับแนวทางในการพัฒนาในอนาคต ควรพัฒนารูปแบบการนําเสนอในผูเรียนเกิดความ
สนใจในบทเรียนมากขึ้น ควรเพิ่มแบบฝ กหัดหรือใบงาน ควรเนนการมีปฏิสัมพัน ธกั บผูเรี ย น
ระหวางเรียนและควรจัดใหมีการอบรมการใชบทเรียนเพื่อใหผูเรียนสามารถใชงานบทเรียนไดอยาง
ครบถวน
เอกสารอ้ างอิง
ภาษาไทย
เกศินี การสมพจน์. การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนผ่านอินเทอร์ เน็ต เรื่ องการวางแผน
ครอบครัว สําหรับนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
เทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช สํานักบรรณ
สารสนเทศ, 2543.
จิระวัฒน์ อโศกวัฒนะ. การสร้างและหาคุณภาพ WBT เพื่อใช้ฝึกอบรมหลักสู ตรระยะสั้น วิชา
วิศวกรรมแทรฟฟิ ค ขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตร์
อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาไฟฟ้ า ภาควิชาครุ ศาสตร์ ไฟฟ้ า สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2542.
ชมนาฎ อัจฉริ ยะญาติ. การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนผ่านอินเทอร์ เน็ต วิชา
วิทยาศาสตร์ ทว่ั ไป สําหรับนักเรี ยนระดับ 6 โรงเรี ยนสถานศึกษานานาชาติกรุ งเทพ ศึกษา
ศาสตรมหาบัณฑิต เทคโนโลยีและสื่ อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช,
2544.
ฐิตาภรณ์ นิลวรรณ. การพัฒนาบทเรี ยนออนไลน์ เรื่ อง ระบบคอมพิวเตอร์ และสถาปั ตยกรรม
สารนิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าพระนครเหนือ, 2546.
ณัฐพล จีนุพงศ์. “ การพัฒนาบทเรี ยนวิชาถ่ายภาพเบื้องต้นโดยใช้รูปแบบของไฮเปอร์ เท็กซ์บน
เครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต.” วิทยานิพนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชา
เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา ภาควิชาครุ ศาสตร์ เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2540
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. “อินเทอร์เน็ต : เครื อข่ายเพื่อการศึกษา ”. วารสารครุ ศาสตร์. 26(2),
พฤศจิกายน- กุมภาพันธ์ 2541 : 55-66.
_______. E-learning ทางเลือกใหม่ของการศึกษาในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ.
102

บุญชม ศรี สะอาด. การวิจัยเบือ้ งต้ น. กรุ งเทพฯ : สุ รีวทิ ยาสาส์น, 2545.
มนต์ชยั เทียนทอง. “Elearning learning solution for the next education” พัฒนาเทคนิคศึกษา. ปี ที่
15, ฉบับที่ 44 (ต.ค.-ธ.ค. 2545), หน้า 53-60 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร
เหนือ.คณะเทคโนโลยีสารสนเทศสํานักหอสมุดกลาง
________, การออกแบบและพัฒนาคอร์ สแวร์ สาํ หรับบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน งานเอกสาร
และการพิมพ์ กองบริ การการศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2546
ศิริชยั นามบุรี.การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนผ่านเว็บ เรื่ อง ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์และ
การใช้สารสนเทศวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรี ยนรู ้ หลักสู ตรสถาบันราชภัฏ
ระดับปริ ญญาตรี (หลังอนุปริ ญญา) สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา,
2546.
_______. การเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและความพึงพอใจของผูเ้ รี ยนโดยใช้กิจกรรม
หนังสื ออิเล็กทรอนิกส์และบทเรี ยนสําเร็ จรู ปอิเล็กทรอนิกส์ในสภาพแวดล้อมแบบอีเลิร์
นนิ่งผ่านโปรแกรม Moodle, มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 2550.

ภาษาอังกฤษ
He, Hui-Chieh Judy. “the Comparison of the Effects of Two Computer-Based Music Instructional
Programs in Teacher Piano Note Reading to Adults Through Two Different Delevery
Systems. “Dissertation Abstracts International 57(1996) : 1534.
Mohaidin, Jamaludin. Utilization of the Internet by Malaysian Students Who are Studying in
Foreign Countries and Factors that Influence its Adoption. EDD. Thesis, University of
Pittsburgh, 1995.
Deborah Ellen Wildish. Interpreting the experience of adults engaged in self-directed learning of
the Internet. Thesis National Library of Canada University of Toronto, 1995.
ภาคผนวก ก

รายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญในการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา
รายชื่อผูเ้ ชี่ยวชาญในการประเมินคุณภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์
หนังสื อเชิญผูเ้ ชี่ยวชาญ
104

รายชื่ อผู้เชี่ ยวชาญในการประเมินคุณภาพ


บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
ผู้เชี่ ยวชาญ ประเมินด้ านเนือ้ หา รายวิชา การใช้ โปรแกรมกราฟิ ก

1.**ชื่อ-นามสกุล :* นางสุ รีย ์ โรบินสัน


การศึกษา : *พบ.ม. สถิติประยุกต์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริ หารศาสตร์
ตําแหน่งงาน : *ครู วิทยะฐานะชํานาญการพิเศษ
สถานที่ติดต่อ : *วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร 286/1 ถนนบํารุ เมือง แขวงบ้านบาตร
เขตป้ อมปราบฯ กรุ งเทพฯ 10100
ประสบการณ์ทาํ งาน : *26 ปี
ความเชี่ยวชาญทางด้าน : *การสร้างเว็บเพจ

2.**ชื่อ-นามสกุล :* ผศ. ศิวาพร เหมียดไธสง


การศึกษา : *คอ.ม. คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ตําแหน่งงาน : *รองคณะบดี คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
สถานที่ติดต่อ : * มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี 38 หมู่ 8 ถนนหาดเจ้าสําราญ
ตําบลนาวุง้ อําเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000
ประสบการณ์ทาํ งาน : *15 ปี
ความเชี่ยวชาญทางด้าน : * การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ,การวิเคราะห์ระบบ

3.**ชื่อ-นามสกุล :* นางอําภา กุลธรรมโยธิ น


การศึกษา : *คอ.ม.คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ตําแหน่งงาน : *ครู วิทยะฐานะชํานาญการพิเศษ
หัวหน้าแผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
กรรมการควบคุมดูแลศูนย์บริ การอินเทอร์ เน็ตและข้อมูลของสถานศึกษา
สถานที่ติดต่อ : วิทยาลัยอาชีวศึกษาธนบุรี
ประสบการณ์ทาํ งาน : *16 ปี
ความเชี่ยวชาญทางด้าน : พัฒนาระบบเทคโนโลยีทางการศึกษาและพัฒนาระบบเครื อข่าย
105

รายชื่ อผู้เชี่ยวชาญ ในการประเมินคุณภาพ


บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต วิชา การใช้ โปรแกรมกราฟิ ก

1.**ชื่อ-นามสกุล :* นางสุ ภาพ เถื่อนเมือง


การศึกษา : *วท.ม. อินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
ตําแหน่งงาน : *ครู วิทยะฐานะชํานาญการ
สถานที่ติดต่อ : วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ประสบการณ์ทาํ งาน : *17 ปี
ความเชี่ยวชาญ : บัญชี

2.**ชื่อ-นามสกุล :* นางละออง เชื้อบ่อคา


การศึกษา : *คอ.ม. คอมพิวเตอร์ และสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ตําแหน่งงาน : *ครู วิทยะฐานะชํานาญการพิเศษ
สถานที่ติดต่อ : วิทยาลัยกาญจนาภิเษกสุ ราษฎร์ ธานี
ประสบการณ์ทาํ งาน : *16 ปี
ความเชี่ยวชาญ : คอมพิวเตอร์

3.**ชื่อ-นามสกุล :* นายยุทธการ ตั้งบรรดาศักดิ์


การศึกษา : *คอ.ม.เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ตําแหน่งงาน : *ครู วิทยะฐานะชํานาญการ
สถานที่ติดต่อ : วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
ประสบการณ์ทาํ งาน : *15 ปี
ความเชี่ยวชาญ : คอนโทรลเลอร์ และภาษาคอมพิวเตอร์
106

4.**ชื่อ-นามสกุล :* นายประมุข ติฐิโต


การศึกษา : *ปริ ญญาโท ครุ ศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาบริ หารการศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบุรี
ตําแหน่งงาน : *รองผูอ้ าํ นวยการ วิทยะฐานะชํานาญการ
สถานที่ติดต่อ : วิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด
ประสบการณ์ทาํ งาน : *15 ปี
ความเชี่ยวชาญ : การบริ หารระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์

5.**ชื่อ-นามสกุล :* นางสาวนุมาศ ยอดประเสริ ฐ


การศึกษา : *วท.ม. เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตและสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยนเรศวร
ตําแหน่งงาน : *ครู วิทยะฐานะชํานาญการ
สถานที่ติดต่อ : วิทยาลัยอาชีวศึกษาเพชรบุรี
ประสบการณ์ทาํ งาน :*21 ปี
ความเชี่ยวชาญ : งานวิจยั และโปรแกรมเมอร์
107
108
109
110
111
112
113
114
ภาคผนวก ข
แบบประเมินความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญด้านความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
แบบประเมินคุณภาพบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตสําหรับผูเ้ ชี่ยวชาญ
แบบสอบถามความพึงพอใจบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตสําหรับนักศึกษา
116

แบบประเมินเนือ้ หาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต


แบบแสดงความคิดเห็นของผูท้ รงคุณวุฒิที่มีต่อนวัตกรรม
การพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ บนระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
โดยใช้หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิ ก
คําชี้แจง ขอให้ท่านผูเ้ ชี่ยวชาญได้กรุ ณาแสดงความคิดเห็นของท่านที่มีต่อรายการเนื้อหาของ
บทเรี ยน
โดยใส่ เครื่ องหมายถูก () ลงในช่องความคิดเห็นของท่านพร้อมเขียนข้อเสนอแนะที่
เป็ นประโยชน์ในการนําไปพิจารณาปรับปรุ งต่อไป

ความคิดเห็น ส่ งเสริม ส่ งเสริมทักษะ ส่ งเสริมให้


ไม่ ความสามารถ ในการทํางานให้ ผู้เรียน
สอด ไม่
เนือ้ หา สอด ในการแก้ ปัญหา ถูกต้ อง มีเจตคติที่ดี
คล้ อง แน่ ใจ
คล้ อง
(+1) (0) (-1) X I O X I O X I O
1. ความรู้เบือ้ งต้ นเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
1.1 ความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิ ก
1.2 ประเภทและคุณลักษณะของ
ภาพกราฟิ ก
1.3 ความแตกต่างของกราฟิ ก 2 มิติ และ 3
มิติ
1.4 ประโยชน์ของงานกราฟิ ก
2. โปรแกรมสําหรับงานกราฟิ ก
2.1 โปรแกรม Adobe Photoshop
2.2 ส่วนประกอบของโปรแกรม
2.3 รู ้จกั แถบเครื่ องมือโปรแกรม
2.4 การใช้งานพาเลต
3. การจัดการรู ปภาพ
3.1 การใช้เครื่ องมือ Marquee Tool
3.2 การใช้เครื่ องมือ Magic Wend
3.3 การใช้เครื่ องมือ Lasso
3.4 การใช้เครื่ องมือ Crop
4. การใช้ เครื่องมือต่ าง ๆ
4.1 การวาดรู ปด้วย Shape Tool
4.2 การใช้ Type Tool
4.3 การใช้วาดภาพด้วย Pen Tool
4.4 การทําสําเนาด้วย Clone Stamp
117

ความคิดเห็น ส่ งเสริม ส่ งเสริมทักษะ ส่ งเสริมให้


ไม่ ความสามารถ ในการทํางานให้ ผู้เรียน
สอด ไม่
เนือ้ หา สอด ในการแก้ ปัญหา ถูกต้ อง มีเจตคติที่ดี
คล้ อง แน่ ใจ
คล้ อง
(+1) (0) (-1) X I O X I O X I O
5. การใช้ คาํ สั่งในการปรับรูปภาพ
5.1 การใช้คาํ สัง่ Image Mode
5.2 การใช้คาํ สัง่ Image Size
5.3 การใช้คาํ สัง่ Image Ratation
5.4 การใช้คาํ สัง่ Edit Transform
6. การใช้ งานเลเยอร์
6.1 การเพิ่ม-ลบเลเยอร์
6.2 การซ่อนแสดงเลเยอร์
6.3 การใช้งานเลเยอร์สไตล์
6.4 การใช้งานเลเยอร์มาร์ค
7. การปรับแต่ งสีรูปภาพ
7.1 คําสัง่ Adjustment level
7.2 เครื่ องมือ Paint Bacet และ Gradient
7.3 เครื่ องมือ Blur Sharpen และ Smudge
8. การออกแบบงานบนเว็บไซด์
8.1 การออกแบบ Banner
8.2 การสร้างภาพ Animation
8.3 การสร้างลิงค์
8.4 การบันทึกเป็ นไฟล์เว็บเพจ

ข้อเสนอแนะ ………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………….
หมายเหตุ เกณฑ์ : ระดับการวิเคราะห์
X = มีผลอย่างมาก
I = มีผลปานกลาง
0 = เกือบไม่มีผล
118

แบบประเมินคุณภาพบทเรียนสํ าหรับผู้เชี่ ยวชาญ


เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ บนระบบเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
โดยใช้ หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้ โปรแกรมกราฟิ ก
รหัส 2201-2419
หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
Developing Web-Based Instruction Using the ADDIE Model
on the Subject of Usage in Graphic Program

ผูจ้ ดั ทําปั ญหาพิเศษ


นางจตุพร ตันติรังสี รหัสนักศึกษา 53-7028-633-7
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คําชี้แจง
1. แบบประเมินคุณภาพฉบับนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อรวบรวมและนําความ คิดเห็น ของ
ผูเ้ ชี่ยวชาญ เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือในการ ประเมินคุณภาพของการพัฒนาบทเรี ยนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอนบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต โดยใช้หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรม
กราฟิ กให้มีคุณภาพ เกิดประโยชน์สูงสุ ดในการนําไปใช้ต่อไปในอนาคต โดยแบบประเมินคุณภาพ
แบ่งออกเป็ น 3 ตอน คือ
ตอนที่ *1**ข้อมูลทัว่ ไปของผูเ้ ชี่ยวชาญ
ตอนที่*2**ความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนที่พฒั นาขึ้น
ตอนที่*3**ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาหรื อปรับปรุ งแก้ไขบทเรี ยน
2.กกผลการประเมินคุณภาพบทเรี ยนจะนําไปใช้ปรับปรุ งและพัฒนาบทเรี ยนให้มีคุณภาพ
เพิ่มขึ้น
119

ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูเ้ ชี่ยวชาญ


คําชี้แจง โปรดทําเครื่ องหมาย ( ) ลงในช่องสี่ เหลี่ยม (  ) ที่ ตรงกับความจริ งของท่าน
มากที่สุด
ข้ อ 1. เพศ
 ชาย
 หญิง

ข้ อ 2. อายุ
 ตํ่ากว่า 25 ปี
 26 – 35 ปี
 36 – 45 ปี
 46 – 55 ปี
 มากกว่า 55 ปี

ข้ อ 3. ระดับการศึกษา
 ตํ่ากว่าปริ ญญาตรี
 ปริ ญญาตรี
 ปริ ญญาโท
 สู งกว่าปริ ญญาโท

ข้ อ 4. ประสบการณ์ ด้านการสอน
 ตํ่ากว่า 5 ปี
 5-10 ปี
 11-15 ปี
 16–20 ปี
 มากกว่า 20 ปี
ข้ อ 5. มีความเชี่ ยวชาญทางด้ าน
…………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………….…
120

ตอนที่ 2กกความคิดเห็นของผูเ้ ชี่ยวชาญที่มีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ บนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต โดย


ใช้หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิ ก
คําชี้แจง
1.กกแบบประเมินคุณภาพนี้แบ่งการประเมินออกเป็ น 4 ด้าน คือ ดดดด
1.1 การประเมินคุณภาพด้านเนื้อหา เป็ นการทดสอบความถูกต้องของเนื้อหาว่าตรง
ตามมาตรฐานรายวิชาและครอบคลุมวัตถุประสงค์รายวิชามากน้อยเพียงใด
1.2กกการประเมินคุณภาพด้านกราฟิ กและการนําเสนอบทเรี ยน เป็ นการทดสอบความ
เหมาะสมการใช้ภาพ เสี ยง ภาษา และการจัดรู ปแบบการนําเสนอเนื้อหาบทเรี ยนว่ามีความเหมาะสม
มากน้อยเพียงใด
1.3กกการประเมินคุณภาพด้านการจัดการบทเรี ยน เป็ นการทดสอบลักษณะการใช้งาน
ของบทเรี ยนว่ามีความง่ายต่อการใช้งานมากน้อยเพียงใด
1.4กกการประเมินคุณภาพด้านแบบทดสอบบทเรี ยน เป็ นการประเมินแบบทดสอบของ
บทเรี ยนว่ามีเหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรี ยน มากน้อยเพียงใด
2. โปรดแสดงความคิดเห็นของท่านโดยทําเครื่ องหมาย( )ลงในช่องระดับความคิดเห็น
ซึ่ งกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินคุณภาพดังนี้
5 หมายถึง บทเรี ยนที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีคุณภาพในระดับดีมาก
4 หมายถึง บทเรี ยนที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีคุณภาพในระดับดี
3 หมายถึง บทเรี ยนที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีคุณภาพในระดับพอใช้
2 หมายถึง บทเรี ยนที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีคุณภาพในระดับควรปรับปรุ ง
1 หมายถึง บทเรี ยนที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีคุณภาพในระดับไม่เหมาะสม
ตัวอย่ างการประเมิน

ระดับความคิดเห็น
รายการประเมิน
ปั ป
ดีมาก

พอใช้

ควร

ไม่
ดี

1. เนื้อหามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 
2. ภาพและเสี ยงที่นาํ เสนอตรงกับเนื้อหา 
121

ระดับความคิดเห็น

ควรปรับปรุง
ไม่ เหมาะสม
ดีมาก
รายการประเมิน

พอใช้
ดี
5 4 3 2 1
1. ด้ านเนือ้ หา
1.1 เนื้อหาบทเรี ยนครอบคลุมวัตถุประสงค์
1.2 เนื้อหามีความถูกต้อง สมบูรณ์
1.3 เนื้อหาบทเรี ยนมีความน่าสนใจ
1.4 การจัดลําดับขั้นการนําเสนอเนื้อหามีความเหมาะสม
1.5 การใช้ภาษามีความเหมาะสม ชัดเจน ง่ายต่อ
การเข้าใจในเนื้อหา เหมาะกับระดับความรู ้ของผูเ้ รี ยน
1.6 เนื้อหาทันสมัย สามารถนําไปประยุกต์ใช้กบั งาน
คอมพิวเตอร์ กราฟิ กได้จริ ง
2. ด้ านกราฟิ กและรูปแบบการนําเสนอบทเรียน
2.1 ภาพที่นาํ เสนอตรงตามเนื้อหา
2.2 ขนาดของภาพใช้ประกอบบทเรี ยนเหมาะสม
2.3 ภาพที่ใช้ สื่ อความหมายได้ชดั เจน
2.4 เสี ยงที่ใช้ประกอบมีความเหมาะสม
2.5 เสี ยงบรรยาย ชัดเจน
2.6 ใช้คาํ บรรยายได้อย่างถูกต้องตามไวยากรณ์ของภาษา
2.7 ความเหมาะสมของแบบอักษร (Font)
2.8 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่เลือกใช้
2.9 ความเหมาะสมของสี ตวั อักษรกับพื้นจอภาพ
2.10 ความเหมาะสมในการจัดภาพ
122
ระดับความคิดเห็น

ควรปรับปรุง
ไม่ เหมาะสม
ดีมาก
รายการประเมิน

พอใช้
ดี
5 4 3 2 1
3. การจัดการในบทเรียน
3.1 ความชัดเจนของคําอธิ บายการปฏิบตั ิในบทเรี ยน
3.2 ความต่อเนื่องของการนําเสนอเนื้อหา
3.3 การเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนควบคุมบทเรี ยน
3.4 ความเหมาะสมของวิธีการโต้ตอบกับบทเรี ยน
3.5 ความเหมาะสมของวิธีการสรุ ปเนื้อหาบทเรี ยน
4. ด้านแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
4.1 ความสอดคล้องแบบทดสอบกับเนื้อหาบทเรี ยน
4.2 ความถูกต้องชัดเจนของคําถามและคําตอบ
4.3 ความยากง่ายของคําถาม มีความเหมาะสม
4.4 แบบทดสอบส่ งผลให้ผเู ้ รี ยนได้ทบทวนเนื้อหา
4.5 ความเหมาะสมของจํานวนข้อคําถามในแต่ละเนื้อหา
ตอนที่*3**ข้อเสนอเพิ่มเติมในการพัฒนาหรื อปรับปรุ งแก้ไขระบบ

ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านเนื้อหาของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านกราฟิ ก
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
123

ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านการออกแบบจอภาพ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านการจัดการในบทเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านแบบทดสอบก่อนเรี ยนและหลังเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมอื่นๆ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..........................................................................................................................

ขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งที่กรุ ณาสละเวลาในการตอบแบบประเมินคุณภาพบทเรี ยน


คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตในครั้งนี้

นางจตุพร ตันติรังสี
ผูจ้ ดั ทําปั ญหาพิเศษ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
124

แบบประเมินความพึงพอใจสํ าหรับผู้ใช้ งาน


เรื่อง บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
โดยใช้ หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้ โปรแกรมกราฟิ ก
รหัส 2201-2419
หลักสู ตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ผูจ้ ดั ทําปั ญหาพิเศษ


นางจตุพร ตันติรังสี รหัสนักศึกษา 53-7028-633-7
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คําชี้แจง
1. แบบประเมินความพึงพอใจฉบับนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อรวบรวมและนําความคิดเห็น ของ
ผูใ้ ช้งาน เพื่อใช้เป็ นเครื่ องมือในการ ประเมินความพึงพอใจของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบน
เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต โดยใช้หลักการ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรม กราฟิ ก ให้มีคุณภาพ
และเกิดประโยชน์สูงสุ ดในการนําไปใช้ต่อไปในอนาคต โดยแบบประเมิน ความพึงพอใจ แบ่ง
ออกเป็ น 3 ตอน คือ
ตอนที่ *1**ข้อมูลทัว่ ไปของผูใ้ ช้งาน
ตอนที่*2**ความคิดเห็นของผูใ้ ช้งานที่มีต่อบทเรี ยนที่พฒั นาขึ้น
ตอนที่*3**ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในการพัฒนาหรื อปรับปรุ งแก้ไขบทเรี ยน
2.กกผลการประเมินความพึงพอใจบทเรี ยนจะนําไปใช้ปรับปรุ งและพัฒนาบทเรี ยนให้มี
ความพึงพอใจเพิม่ ขึ้น
125

ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่ วนบุคคล จํานวน 4 ข้อ


คําชี้แจง โปรดเขียนเครื่ องหมาย  ลงในช่อง 

1. เพศ
 ชาย  หญิง

2. อายุ.........................ปี

3. ระดับชั้น
 ปวส. 1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  ปวส. 2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 ปวช. 1 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ  ปวช. 2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 ปวช. 3 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

ตอนที่ 2กกความคิดเห็นของผูเ้ รี ยนที่มีต่อบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่พฒั นาขึ้น


คําชี้แจง
1.กกแบบประเมินความพึงพอใจนี้แบ่งการประเมินออกเป็ น 4 ด้าน คือ
1.1 การประเมินความพึงพอใจด้านเนื้อหา เป็ นการทดสอบความถูกต้องของเนื้อหาว่า
ตรงตามมาตรฐานรายวิชาและครอบคลุมวัตถุประสงค์รายวิชามากน้อยเพียงใด
1.2กกการประเมินความพึงพอใจด้านกราฟิ กและการนําเสนอบทเรี ยน เป็ นการทดสอบ
ความเหมาะสมการใช้ภาพ เสี ยง ภาษา และการจัดรู ปแบบการนําเสนอเนื้อหาบทเรี ยนว่ามีความ
เหมาะสมมากน้อยเพียงใด
1.3กกการประเมินความพึงพอใจด้านการจัดการบทเรี ยน เป็ นการทดสอบลักษณะการ
ใช้งานของบทเรี ยนว่ามีความง่ายต่อการใช้งานมากน้อยเพียงใด
1.4กก การประเมินความพึงพอใจด้านแบบทดสอบบทเรี ยน เป็ นการประเมิน
แบบทดสอบของบทเรี ยนว่ามีเหมาะสมสอดคล้องกับเนื้อหาของบทเรี ยน มากน้อยเพียงใด
126

2. โปรดแสดงความคิดเห็นของท่านโดยทําเครื่ องหมาย ( )ลงในช่องระดับความคิดเห็น


ซึ่ งกําหนดเกณฑ์การให้คะแนนของแบบประเมินความพึงพอใจดังนี้
5 หมายถึง ระบบที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด
4 หมายถึง ระบบที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีความพึงพอใจในระดับมาก
3 หมายถึง ระบบที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง
2 หมายถึง ระบบที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีความพึงพอใจในระดับน้อย
1 หมายถึง ระบบที่พฒั นาทํางานได้อย่างมีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด

ตัวอย่ างการประเมิน
ระดับความคิดเห็น

รายการประเมิน

ปานกลาง

น้ อยทีส่ ุ ด
ดีมาก

น้ อย
ดี
1. เนื้อหามีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 
2. ภาพและเสี ยงที่นาํ เสนอตรงกับเนื้อหา 
127

แบบประเมินความพึงพอใจสํ าหรับผู้ใช้ งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน

ระดับความคิดเห็น

ควรปรับปรุง

ไม่ เหมาะสม
ดีมาก
รายการประเมิน

พอใช้
ดี
5 4 3 2 1
1. ด้ านเนือ้ หาและการนําเสนอ
1.1 เนื้อหาบทเรี ยนครอบคลุมวัตถุประสงค์
1.2 เนื้อหามีความถูกต้อง สมบูรณ์
1.3 เนื้อหาบทเรี ยนมีความน่าสนใจ
1.4 การจัดลําดับขั้นการนําเสนอเนื้อหามีความเหมาะสม
1.5 การใช้ภาษามีความเหมาะสม ชัดเจน ง่ายต่อ
การเข้าใจในเนื้อหา เหมาะกับระดับความรู ้ของผูเ้ รี ยน
1.6 เนื้ อหาทันสมัย สามารถนําไปประยุกต์ใช้กบั งาน
คอมพิวเตอร์กราฟิ กได้จริ ง
2. ด้ าน ภาพ เสียง และการใช้ ภาษา
2.1 ภาพที่นาํ เสนอตรงตามเนื้อหา
2.2 ขนาดของภาพใช้ประกอบบทเรี ยนเหมาะสม
2.3 ภาพที่ใช้ สื่ อความหมายได้ชดั เจน
2.4 เสี ยงที่ใช้ประกอบมีความเหมาะสม
2.5 เสี ยงบรรยาย ชัดเจน
2.6 ใช้คาํ บรรยายได้อย่างถูกต้องตามไวยากรณ์ของภาษา
3. ด้ านการออกแบบจอภาพ
3.1 ความเหมาะสมของแบบอักษร (Font)
3.2 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่เลือกใช้
3.3 ความเหมาะสมของสี ตวั อักษรกับพื้นจอภาพ
3.4 ความเหมาะสมในการจัดภาพ
3.5 เสี ยงบรรยาย ชัดเจน
128

ระดับความคิดเห็น

ควรปรับปรุง

ไม่ เหมาะสม
ดีมาก
รายการประเมิน

พอใช้
ดี
5 4 3 2 1
4. การจัดการในบทเรียน
4.1 ความชัดเจนของคําอธิบายการปฏิบตั ิในบทเรี ยน
4.2 ความต่อเนื่องของการนําเสนอเนื้อหา
4.3 การเปิ ดโอกาสให้ผเู ้ รี ยนควบคุมบทเรี ยน
4.4 ความเหมาะสมของวิธีการโต้ตอบกับบทเรี ยน
4.5 ความเหมาะสมของวิธีการสรุ ปเนื้อหาบทเรี ยน
ตอนที่*3**ข้อเสนอเพิ่มเติมในการพัฒนาหรื อปรับปรุ งแก้ไขบทเรี ยน

ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิม่ เติมด้านเนื้อหาของบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน


.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านกราฟิ ก
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านการออกแบบจอภาพ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
........................................................................................................................................
ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมด้านการจัดการในบทเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.................................................................................................................................
129

ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเพิ่มเติมอื่นๆ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
..........................................................................................................................

ขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสู งที่กรุ ณาสละเวลาในการตอบแบบประเมินความพึงพอใจ


บทเรี ยนบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ในครั้งนี้

นางจตุพร ตันติรังสี
ผูจ้ ดั ทําปั ญหาพิเศษ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ภาคผนวก ค
คู่มือการใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน
132

คู่มือการใช้ งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต


โดยใช้ หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้ โปรแกรมกราฟิ ก

การเข้าใช้งานบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน สามารถเข้าใช้งานได้ทางเว็บไซต์ ของวิทยาลัย


การอาชีพบ้านลาด โดยมีช่องทางการเข้าสู่ บทเรี ยนได้ดงั นี้
1.**เข้าสู่ เว็บไซต์วทิ ยาลัยการอาชีพบ้านลาด โดยพิมพ์ URL ดังนี้ www.bicec.ac.th ดังภาพที่*ค-1

ภาพที*่ ค-1**การเข้าสู่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์

2.**คลิกเลือกหัวข้อ บทเรียนออนไลน์ ครู จตุพร ดังภาพที่*ค-2

ภาพที*่ ค-2**หน้าจอแสดงช่องทางการเข้าสู่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์


133

เมื่อเข้าสู่ บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิ ก จะ ปรากฏหน้าจอ


บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนดังภาพ ค-3

ภาพที*่ ค-3**หน้าจอแรกของการเข้าสู่ ระบบการจัดการเรี ยนการสอน

การล็อกอินเข้ าสู่ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน


บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ น้ ีมีการแบ่งกลุ่มผูใ้ ช้งานออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ ผูด้ ูแลระบบ ครู ผสู้ อน
และผูใ้ ช้งาน ในการเข้าใช้งาน ผูใ้ ช้งานต้องทําการ ล็อกอินเพื่อเข้าสู่ ระบบ โดยการใช้ชื่อผูใ้ ช้ และ
รหัสผ่าน โดยมีหน้าจอล็อกอินเข้าสู่ ระบบดังภาพที่*ค-4

ภาพที*่ ค-4**หน้าจอล็อกอินเข้าสู่ ระบบ


134

ส่ วนของผูด้ ูแลระบบ เมื่อทําการล็อกอินเข้าสู่ ระบบโดย ใช้ชื่อผูใ้ ช้เป็ น Admin จะเข้าสู่


หน้าจอหลักสําหรับผูด้ ูแลระบบ ซึ่ งส่ วนของการเมนูหลัก ส่ วนของรายวิชา และส่ วนของการ
จัดการระบบดังแสดงในภาพที่ ค-5

ภาพที่ ค-5 หน้าจอหลักสําหรับผูด้ ูและระบบ

หน้าจอจัดการข้อมูลผูใ้ ช้ระบบ เป็ นหน้าจอแสดงข้อมูลของผูใ้ ช้งานระบบ ซึ่ งแสดง


รายละเอียด ชื่อ/นามสกุลผูใ้ ช้ระบบ อีเมล์ จังหวัด ประเทศ และประวัติการใช้งานล่าสุ ด โดย
ผูด้ ูแลระบบสามารถเพิ่มข้อมูลผูใ้ ช้ ทําการแสดงข้อมูลผูใ้ ช้ระบบ แก้ไขข้อมูล และทําการลบข้อมูล
ผูใ้ ช้ระบบ หน้าจอสําหรับการจัดการข้อมูลผูใ้ ช้ระบบดังแสดงในภาพที่ ค-6

ภาพที่ ค-6 หน้าจอการเพิ่มสมาชิกสําหรับผูด้ ูแลระบบ


135

หน้าจอแสดงการเพิ่ม/แก้ไขรายวิชา ผูด้ ูแลระบบสามารถเพิ่ม แก้ไข และลบรายวิชาที่เปิ ด


สอนบนระบบการจัดการเรี ยนการสอนได้ดงั ภาพที่ ค-7

ภาพที*่ ค-7*หน้าจอสําหรับเพิ่มและแก้ไขรายวิชา

เมื่อต้องการเข้าสู่ การบทเรี ยน คลิกที่รายวิชาดังภาพ ค-8

ภาพที*่ ค-8**หน้าจอหลักสําหรับเข้าสู่ บทเรี ยน

หน้าจอการแก้ไขบทเรี ยน ส่ วนของการแก้ไขบทเรี ยน ผูด้ ูแลระบบ และผูส้ อน สามารถทํา


การเพิ่ม แก้ไข และลบบทเรี ยนได้ หน้าจอโครงสร้างบทเรี ยนดังภาพที่ ค-9
136

ภาพที่ ค-9 หน้าจอสําหรับการเพิ่ม แก้ไข และลบเนื้อหาบทเรี ยน

บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิ ก แบ่ง


หน่วยการเรี ยนออกเป็ น 8 หน่วย โดย แต่ละหน่วยจะประกอบด้วย แบบทดสอบก่อนเรี ยน สื่ อ
บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ 2 สื่ อ แบบทดสอบหลังเรี ยน ก่อนเริ่ มเรี ยนในหน่วยที่ 1 ให้ผเู้ รี ยนทํา
แบบทดสอบก่อนเรี ยน ในบทนําของบทเรี ยนก่อน หลังจากนั้น จึงเข้าสู่ การเรี ยนในหน่วยต่าง ๆ
โดยเริ่ มเรี ยนตามลําดับเนื้อหาของบทเรี ยน
เมื่อเลือกบทเรี ยนหน่วยที่ 1 เรื่ อง ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ในบทเรี ยนจะ
ประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรี ยน เนื้อหาบทเรี ยน ซึ่ งประกอบดัวย ความหมายของคอมพิวเตอร์
กราฟิ ก ประเภทแลคุณลักษณะของภาพกราฟิ ก ความแตกต่างของกราฟิ ก 2 มิติ กับ 3 มิติ และ
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก ภาพแสดงผลการพัฒนาบทเรี ยนในรู ปแบบเว็บไซด์ และผลการ
พัฒนาบทเรี ยนในรู ปไฟล์มลั ติมีเดีย แสดงในภาพที่ ค-10 ถึง ค-19
ซึ่งเมื่อเลือกเมนู ความหมายของกราฟิ กและคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก จะแสดงหน้าจอ ดังภาพที่
ค-10
137

ภาพที*่ ค-10**หน้าจอบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หัวข้อ ความหมายของกราฟิ กและ


คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก

คลิกเลือกเมนูที่ตอ้ งการ เมื่อเลือกหน้าจอบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยที่ 1 ความรู ้


เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กราฟิ กจะแสดงดังภาพที่ ค-11

ภาพที*่ ค-11**หน้าจอบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หน่วยที่ 1 ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับ


คอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
138

คลิกเลือกเมนูที่ตอ้ งการ เมื่อเลือกความหมายของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก จะปรากฏบทเรี ยน


พร้อมบรรยายเสี ยงโดยแสดงหน้าจอดังภาพที่ ค-12

ภาพที*่ ค-12**หน้าจอบทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน หัวข้อ ความหมายของคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก

ภาพที*่ ค-13**หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ประเภทและคุณลักษณะของงานกราฟิ ก


139

จากภาพที่ ค -13 แสดงการคลิกเลือกเมนูบทเรี ยนในหัวข้อ ประเภทและคุณลักษณะของงาน


กราฟิ ก และหากคลิกเลือกเมนูบทเรี ยนในหัวข้อ เท็กซ์โหมดจะแสดงได้ดงั ภาพที่ ค-14

ภาพที*่ ค-14**หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ เท็กซ์โหมด

คลิกเลือกเมนูบทเรี ยน หัวข้อ กราฟิ กโหมด จะแสดงได้ดงั ภาพที่ ค-15

ภาพที่ ค-15 หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ กราฟิ กโหมด


140

หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก จะแสดงได้ดงั ภาพที่


ค-16

ภาพที่ ค-16 หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ความรู ้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก

หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ความแตกต่างของภาพกราฟิ ก 2 มิติ และ 3 มิติ จะแสดงได้ดงั ภาพที่


ค-17

ภาพที่ ค-17 หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ความแตกต่างของภาพกราฟิ ก 2 มิติ และ 3 มิติ


141

หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ประโยชน์ของกราฟิ กจะแสดงได้ดงั ภาพที่ ค-18

ภาพที่ ค-18 หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ประโยชน์ของกราฟิ ก

หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ประโยชน์ของงานคอมพิวเตอร์ กราฟิ กจะแสดงได้ดงั ภาพที่ ค-19

ภาพที่ ค-19 หน้าจอบทเรี ยน หัวข้อ ประโยชน์ของงานคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก


142

บทเรี ยนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนนี้ มีเนื้อหาบทเรี ยนจํานวน 8 หน่วยการเรี ยน ให้นกั ศึกษาทํา


แบบทดสอบก่อนเรี ยน และ เข้าศึกษาในแต่ละหน่วยเมื่อศึกษาเนื้อหาบทเรี ยนแล้วให้ทาํ
แบบทดสอบหลังเรี ยน ให้ครบทั้ง 8 หน่วยการเรี ยน
143

ประวัติผ้ จู ัดทําปัญหาพิเศษ

ชื่อ :*นางจตุพร ตันติรังสี


ชื่อปัญหาพิเศษ :*การพัฒนา บทเรี ยน คอมพิวเตอร์ช่วยสอ นบนเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้
หลักการของ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรมกราฟิ ก
สาขาวิชา :*เทคโนโลยีสารสนเทศ

ประวัติ
ประวัติส่วนตัว เกิดเมื่อวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2514 ภูมิลาํ เนา จังหวัดเพชรบุรี ที่อยูป่ ัจจุบนั
45 หมู่ 3 ตําบลสมอพลือ อําเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี 76150 อีเมล์: jatu_vi@hotmail.com
ประวัติการศึกษา สําเร็ จการศึกษาระดับปริ ญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ วิทยาลัยครู เพชรบุรี เมื่อ พ.ศ. 2536
ประวัติการทํางาน ปี พ.ศ. 2536 - 2550 ตําแหน่ง อาจารย์ 1 แผนกคอมพิวเตอร์ วิทยาลัย
สารพัดช่างพระนคร กรุ งเทพมหานคร ปี พ.ศ. 2550 - 2552 ตําแหน่ง ครู วิทยะฐานะชํานาญการ
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ. 2552 - ปั จจุบนั
ตําแหน่ง ครู วิทยะฐานะชํานาญการ แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ วิทยาลัยการอาชีพบ้านลาด
จังหวัดเพชรบุรี

You might also like