บทที่ 5 ตอน 1 ซื้อขาย2565 มทร

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 22

สั ญญาซื้อขาย

สั ญญาแลกเปลีย่ น สั ญญาให้

ผศ.สถิต จำเริญ
Email: satidjum@gmail.com
Tell : 0942896828
1
สั ญญาซื้อขาย คือ
สัญ ญาซื้ อ ขาย คื อ สัญ ญาซึ่ ง บุ ค คลฝ่ ายหนึ่ ง
เรี ย กว่ า ผู้ข ายโอนกรรมสิ ทธ์ ิ แห่ ง ทรัพ ย์ สิ น
ให้แก่บุคคลอีกฝ่ ายหนึ่ งเรียกว่าผู้ซื้อ และผู้ซื้อ
ตกลงว่าจะใช้ราคาทรัพย์สินนัน้ ให้แก่ผข้ ู าย
2
(ต่อ)

ลักษณะทีส่ าคัญของสั ญญาซื้อขาย

มีการโอนกรรมสิ ทธิ์

ดังนี้
ผู้ซื้อตกลงจะใช้ ราคาทรัพย์ สิน

3
(ต่อ)
สั ญญาซื้อขายเกิด เมื่อคู่สัญญาได้ แสดงเจตนาถูกต้ องตรงกันว่ าผู้ขายตกลง
โอนกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินนั้นให้ แก่ผ้ซู ื้อ และผู้ซื้อตกลงใช้ ราคาให้ แก่ผู้ขายแล้ว
ซึ่งมีผลทาให้ กรรมสิ ทธิ์โอนไปยังผู้ซื้อทันที

สั งหาฯ=ไม่ ต้องทาตามแบบ
ต้ องทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่
แบบของสั ญญาซื้อขาย

อสั งหาริมทรัพย์
สั งหาริมทรัพย์ ชนิดพิเศษ
4
(ต่อ)

หน้ าทีแ่ ละความรับผิดของผู้ขาย


1.หน้ าที่ในการส่ งมอบ

ดังนี้ 2. ความรับผิดในความชารุดบกพร่ อง

3. ความรับผิดในการรอนสิ ทธิ
5
หน้ าทีข่ องผู้ซื้อ
 การทีผ ่ ู้ซื้อตกลงจะใช้ ราคาทรัพย์ สินให้ แก่ ผู้ขาย
เงิน
◼ เงินตราไทย
◼ เงินตราต่ างประเทศ

6
(ต่อ)

สั ญญาซื้อขายเฉพาะอย่ าง

ขายฝาก
ดังนี้ ขายตามตัวอย่ าง
ขายตามคาพรรณนา
ขายเผื่อชอบ 7
สัญญำขำยฝำก
ทำที…่ ………………………………………...
วันที…่ ………..เดือน…………………….พ.ศ.…………
สัญญำฉบับนีท้ ำขึน้ ระหว่ำง …………………………………………………………………….อยู่
บ้ำนเลขที… ่ ……………………………..ถนน………………………แขวง…………….………………...
เขต…………….……………………………กรุ งเทพมหำนคร ซึ่งต่อไปในสัญญำนีจ้ ะเรียกว่ำ “ผู้ขำยฝำก”
ฝ่ ำยหนึ่งกับ……………………………… ……………………………อยู่บ้ำนเลขที่ ………………………..
ถนน……………………….แขวง……………………………อำเภอ/เขต…………….………………………
กรุ งเทพมหำนคร ซึ่งต่อไปในสัญญำนีจ้ ะเรียกว่ำ “ผู้ซอื้ ฝำก” อีกฝ่ ำยหนึ่ง ทัง้ สองฝ่ ำยได้ตกลงทำสัญญำ
กันมีข้อควำมดังต่อไปนี้
ข้อ 1. ผู้ขำยฝำกตกลงขำยฝำกและผู้ซอื้ ฝำกตกลงรับซือ้ ฝำก ทีด่ นิ โฉนดเลขที… ่ ……………...
เลขทีด่ นิ ……………………………หน้ำสำรวจ………………………………ตำบล…………………….….
อำเภอ…………………………จังหวัด………………………………พร้อมทัง้ สิ่งปลูกสร้ำงบนทีด่ นิ ดังกล่ำว
ซึ่งเป็ นกรรมสิทธิข์ องผู้ขำยฝำก เป็ นจำนวนเงินทัง้ สิน้ …………………บำท (……………………………..)
ข้อ 2. ผู้ซอื้ ตกลงให้ผู้ขำยฝำกไถ่ทรัพย์สินทีข่ ำยฝำก คืนได้ภำยในกำหนดระยะ เวลำ……….ปี นับแต่วันจด
ทะเบียนสัญญำขำยฝำกฉบับนีต้ ่อพนักงำนเจ้ำหน้ำทีโ่ ดยกำหนดสินไถ่กันเป็ นจำนวนเงิน
…………………………บำท (……………………………………………………..)
ข้อ 3. ค่ำฤชำธรรมเนียมกำรขำยฝำกซึ่งผู้ซอื้ ได้ออกไปนั้น ผู้ไถ่ต้องใช้ให้แก่ผู้ซอื้ พร้อมกัน สินไถ่ส่วน
ค่ำฤชำธรรมเนียมกำรไถ่ทรัพย์นั้น ผู้ไถ่พงึ ออกใช้ 9
ข้อ 4. ผู้ซอื้ ตกลงว่ำจะไม่นำทรัพย์สินทีข่ ำยฝำกออกจำหน่ำยถ้ำผู้ซอื้ จำหน่ำยทรัพย์สินทีข่ ำย
ฝำกนั้นโดยฝ่ ำฝื นสัญญำข้อนี้ ผู้ซอื้ ต้องรับผิดต่อผู้ขำยฝำกในควำมเสียหำยใดๆ อันเกิดแต่กำร
นั้น
ข้อ 5. ในกรณีทผี่ ู้ขำยฝำกได้ใช้สิทธิไถ่ทรัพย์สินทีข่ ำยฝำกคืนภำยในกำหนดเวลำตำมข้อ 2.
หำกปรำกฏว่ำทรัพย์สินนั้นถูกทำลำยหรือทำให้เสื่อมเสียไปเพรำะควำมผิดของผู้ซอื้ ผู้ซอื้
จะต้องใช้ค่ำสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ขำยฝำก
สัญญำฉบับนีท้ ำขึน้ เป็ นสองฉบับมีข้อควำมถูกต้องตรงกันทุกประกำร ทัง้ สองฝ่ ำยได้อ่ำน และ
เข้ำใจข้อควำมตำมสัญญำโดยตลอดแล้วเห็นว่ำถูกต้องตำมเจตนำ จึงลงลำยมือชือ่ ให้เป็ น
หลักฐำนต่อหน้ำพยำนและต่ำงยึดถือไว้ฝ่ำยละฉบับ
ลงชื่ อ…………………………………………ผู้ขายฝาก
(………………………………………..)
ลงชื่ อ…………………………………………ผู้ซื้อ
(………………………………………..)
ลงชื่ อ…………………………………………พยาน
(…………………………………………)
ลงชือ่ …………………………………………พยำน
(…………………………………………)

10
11
12
13
สั ญญาแลกเปลีย่ น
สั ญญาแลกเปลีย่ น คือ สั ญญาซึ่ งคู่กรณีต่างโอนกรรมสิ ทธิ์
แห่ งทรั พย์ สินให้ กันและกัน เช่ น นายเขียวมอบนาฬิ กา
เรื อนหนึ่งให้ นายขาว โดยแลกเปลี่ยนกับปากกาของนาย
ขาว ดั ง นี้ เป็ นสั ญ ญาแลกเปลี่ ย น หากนายเขี ย วมอบ
นาฬิ กาให้ นายขาว และนายขาวชาระราคาให้ ดังนี้ไม่ เป็ น
สั ญญาแลกเปลีย่ น

14
ลักษณะทีส่ าคัญของสั ญญาแลกเปลีย่ น
มีดังต่ อไปนี้
1) ต้ องเป็ นการโอนกรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินระหว่ าง
คู่สัญญา
2) การโอนกรรมสิ ทธิ์โอนกันได้ เฉพาะทรัพย์ สินต่ อ
ทรัพย์ สิน อีกฝ่ ายจะชาระราคาตอบแทนไม่ ได้

15
ประเภทของสั ญญาแลกเปลีย่ น
มี 2 ประเภท ได้ แก่
 1) สั ญญาแลกเปลี่ยนธรรมดา เป็ นกรณีที่คู่ สัญญาต่ างโอน
กรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์ สินซึ่งมิใช่ เงินอันเป็ นราคาของให้ แก่ กนั เช่ น
นายเอตกลงแลกเปลี่ยนนาฬิ กาเรื อนหนึ่งกับเสื้ อเชิ้ต 1 ตัวของ
นายบีต่างฝ่ ายต่ างส่ งมอบทรัพย์ แลกเปลีย่ นกัน เป็ นต้ น
 2) สั ญญาแลกเปลีย่ นซึ่งคู่สัญญาฝ่ ายหนึ่งได้ ตกลงจะโอนเงินเพิม ่
กั บ ทรั พ ย์ สิ น อื่ น ให้ แก่ อี ก ฝ่ ายหนึ่ ง หากมู ล ค่ า ของทรั พ ย์ ที่
แลกเปลีย่ นมีความต่ างกันมากพอควร
16
สั ญญาให้
สั ญญาให้ คื อ สั ญญาซึ่ ง บุ ค คลหนึ่ ง เรี ย กว่ าผู้ ให้ โอน
ทรั พ ย์ สิ น ของตนให้ โดยเสน่ หาแก่ บุ ค คลอี ก คนหนึ่ ง
เรียกว่ าผู้รับ และผู้รับยอมรับเอาทรัพย์ สินนั้น

17
ลักษณะทีส่ าคัญของสั ญญาให้
มีดังต่ อไปนี้
 1) เป็ นสั ญญา
 2) สั ญญาให้ ไม่ ใช่ สัญญาต่ างตอบแทน
 3) ถ้ าผู้ให้ แสดงเจตนาฝ่ ายเดียวว่ าได้ ยกทรั พย์ สินให้ แก่ ผ้ ูรับหรื อยึดถื อ
ทรัพย์ สินไว้ ต่อไปเพื่อประโยชน์ ของผู้รับ โดยที่ผู้รับมิได้ แสดงเจตนารับ
ก็ไม่ เป็ นการยกให้ และผู้แสดงเจตนาให้ ย่ อมไม่ ผูกพันตามเจตนาที่ได้
แสดงไว้ น้ัน ถือว่ าสั ญญาให้ ยงั ไม่ เกิด
 4) ผู้ให้ ต้องโอนทรัพย์ สินให้ แก่ ผ้ ูรับ

18
ความสมบูรณ์ ของสั ญญาให้
 การให้ น้ันย่ อมสมบูรณ์ เมื่อส่ งมอบทรัพย์ สินทีใ่ ห้ (มาตรา 523)
ข้ อยกเว้ นหลักทีว่ ่ าการให้ จะสมบูรณ์ เมื่อส่ งมอบทรัพย์ สินแก่ ผ้ รู ับ มีดงั นี้
 1) การให้ สิทธิอน ั มีหนังสื อตราสารเป็ นสาคัญ
 2) การให้ อสั งหาริมทรัพย์ หรื อสั งหาริมทรัพย์ ชนิดพิเศษซึ่งในการซื้ อขายกันต้ อง
ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่ จะสมบูรณ์ ต่อเมื่อได้ มีการทา
เป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงานเจ้ าหน้ าที่
 3) คามั่นจะให้ ทรัพย์ สินนั้น ถ้ าไม่ ได้ ทาเป็ นหนังสื อและจดทะเบียนต่ อพนักงาน
เจ้ าหน้ าทีผ่ ้ จู ะให้ ย่อมไม่ ผูกพันในการทีจ่ ะส่ งมอบทรัพย์ สินนั้นแก่ ผ้ ูรับ
 4) การให้ โดยการปลดหนีใ้ ห้ แก่ ผ้ รู ับก็ได้

19
การให้ อนั มีภาระติดพัน
 การให้ ที่มีภาระติดพันหรื อค่ าภาระติดพันดังที่บัญญัติไว้ ในมาตรา 528 (มีเงื่อนไข
บังคับหลัง) เพราะว่ ากรรมสิ ทธิ์ในทรั พย์ สินนั้นได้ โอนไปยังผู้รับแล้ ว แต่ มีเงื่อนไข
ว่ า ผู้รับจะต้ องปฏิบัตภิ าระบางอย่ างทีจ่ ะต้ องดาเนินการต่ อไปเกีย่ วกับการให้ น้ัน
 เช่ น จ านอง จ าน า หรื อ ผู้ ใ ห้ ยกเงิ น แต่ ใ ห้ เอาดอกเบี้ ย นของเงิ น นั้ น มาเป็ น
ทุนการศึกษาแก่ เด็กกาพร้ าปี ละ 2 ทุน เป็ นต้ น
ข้ อสั งเกต ดังนี้
 1) การให้ ซึ่งมีภาระติดพันมีลกั ษณะเป็ นสั ญญาต่ างตอบแทน
 2) ถ้ าค่ าภาระติดพันนั้นมากกว่ าราคาของทรั พย์ สินที่ให้ แล้ วผู้รับต้ องชาระแต่ เพียง
เท่ าราคาทรัพย์สินที่ให้ เท่ านั้น (มาตรา 529)
 3) การให้ โ ดยมี ค่ า ภาระติ พัน นั้ น มาตรา 530 บั ง คับ ให้ ผ้ ู ใ ห้ ต้ อ งรั บ ผิด เพื่ อ ความ
ช ารุ ด บกพร่ องหรื อเพื่ อ การรอนสิ ทธิ ด้ ว ย แต่ ท้ังนี้จ ากัด ว่ าไม่ ต้องรั บผิดเกินว่ า20

จานวนค่ าภาระติดพัน
การเพิกถอนการให้
กรณีต่อไปนี้
 1) ผู้รับทาผิดเงื่อนไขของสั ญญาให้
 2) ผู้รับประพฤติเนรคุ ณผู้ ให้ ในกรณีที่ผ้ ู รับประพฤติเนรคุ ณผู้ ใ ห้ ตาม
มาตรา 531 บั ญ ญัติ ใ ห้ ผู้ ใ ห้ มี สิ ท ธิ ถอนคื น การให้ ไ ด้ เฉพาะเมื่ อ มี ก าร
พฤติการณ์ ดังนี้
ก) ถ้ าผู้รับได้ ประทุษร้ ายต่ อผู้ให้ เป็ นความผิดอาญาอย่ างร้ ายแรงตาม
ประมวลกฎมายอาญา
ข) ถ้ าผู้รับได้ ทาให้ ผู้ให้ เสี ยชื่ อเสี ยง หรื อหมิ่นประมาทผู้ให้ อย่ างร้ ายแรง
ค) ถ้ าผู้รับได้ บอกปั ดไม่ ยอมให้ สิ่งของจาเป็ นเลีย้ งชี พแก่ ผู้ให้ ในเวลาที่
ผู้ให้ ยากไร้ และผู้รับยังสามารถจะให้ ได้ 21
ข้ อสั งเกต
สิ ทธิถอนคืนการให้ เพราะผู้รับประพฤติเนรคุณนี้เป็ นสิ ทธิเฉพาะตัว ถ้ าผู้ให้ ตายก่ อนต้ อง
ร้ องคดีสิทธิน้ันก็จะสิ้นสุ ดลงตามไปด้ วย ไม่ เป็ นมรดกตกทอดแก่ ทายาท
 ข้ อยกเว้ นให้ ทายาทมีสิทธิถอนคืนการให้ ในกรณีต่อไปนีไ้ ด้
(1) เมื่อผู้รับฆ่ าผู้ให้ ตายโดยเจตนาและไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย
(2) ผู้รับได้ กีดกันมิให้ ผ้ ูให้ ถอนคืนการให้ แต่ หากผู้ให้ ได้ ฟ้องคดีถอนคืนการให้ ไว้ แล้ ว
โดยชอบและตายไปในระหว่ างคดี
 ข้ อยกเว้ นกรณีไม่ สามารถถอนคืนการให้ เพราะเหตุเนรคุณ มีดงั นี้
1) เมื่ อผู้ให้ ได้ ให้ อภัยแก่ ผ้ ูรับในเหตุเนรคุณนั้นแล้ ว หรื อเมื่ อเวลาได้ ล่วงพ้ นไปแล้ ว 6
เดื อนนับแต่ เหตุเช่ นนั้นได้ ทราบถึงบุคคลผู้ชอบที่จะเรี ยกถอนคื นการให้ ได้ ผู้ให้ ไม่ มี
สิ ทธิถอนคืนการให้ (มาตรา 533)
2) การให้ ในกรณีต่อไปนี้ ผู้ให้ จะถอนคื นการให้ เพราะเหตุ เนรคุ ณไม่ ได้ การให้ เป็ น
บาเหน็จสิ นจ้ างโดยแท้ ให้ สิ่งที่มีค่าภาระติดพัน ให้ โดยหน้ าที่ธรรมจรรยา หรื อให้ ใน
การสมรส 22

You might also like