Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 48

เอกสารประกอบการเรียนการสอน

วิชา คณิตศาสตร์พื้นฐาน (ค32102)

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566

เรื่อง หลักการนับเบื้องต้นและความน่าจะเป็น (1)

ชื่อ-นามสกุล : _____________________________________

ชั้น ม.5 ห้อง :__________ เลขที่________

(ต้นฉบับโดย : โรงเรียนสตรีภูเก็ต)
1

ในการแนะนํากฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับในที่นจี้ ะเริ่มจากตัวอย่างสองตัวอย่างเพื่อเชื่อมโยงไปสู่ความ
เข้าใจกฎเกณฑ์ดังนี้
1 ปรีชามีเสื้อ 4 ตัวแตกต่างกัน มีกางเกง 3 ตัวแตกต่างกัน จงหาว่าปรีชาจะมีวิธีแต่งกาย จากชุดที่
กําหนดให้ได้กี่วิธี
ให้ ส1, ส2, ส3, ส4 แทน เสื้อตัวที่หนึ่งถึงเสื้อตัวทีส่ ี่

ก1, ก2, ก3 แทน กางเกงตัวที่หนึ่งถึงเสื้อตัวที่สาม

อาจใช้ แสดงการจับคู่เสื้อและกางเกง ดังนี้

สามารถจับคู่เสื้อและกางเกง ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

จะสังเกตได้ว่า สามารถหาจํานวนวิธีแต่งกายจากชุดที่กําหนดให้ได้โดยการคูณ คือ นําจํานวนชุดของเสื้อคูณจํานวน


ชุดของกางเกง จะได้ ................... วิธี
2

1
ถ้าสามารถทํางานอย่างแรกวิธีต่างๆ ได้ n1 วิธี และแต่ละวิธีของการทํางานอย่าง
แรกสามารถทํางานอย่างที่สองวิธีต่างๆ ได้ n2 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมดทีจ่ ะเลือกทํางานอย่างที่หนึ่ง
ตามด้วยการทํางานอย่างที่สอง สามารถทําวิธีต่างๆ ได้ n1 n2 วิธี

ในการเลือกรับประทานอาหารประเภทละหนึ่งอย่าง จากอาหารสามประเภท คือมีแกงอยู่ 2


อย่าง มีต้มจืดอยู่ 3 อย่าง และมีขนมหวานอยู่ 2 อย่าง จะมีวธิ ีเลือก รับประทานได้ทั้งหมดกี่วิธี
ให้ ก1, ก2 แทน แกงอย่างที่หนึ่งและอย่างที่สองตามลําดับ
จ1, จ2, จ3 แทน ต้มจืดอย่างที่หนึ่งถึงอย่างที่สามตามลําดับ
ข1, ข2 แทน ขนมอย่างที่หนึ่งและอย่างที่สองตามลําดับ
วิธีเลือกรับประทานอาหารประเภทละหนึ่งอย่าง พิจารณาได้จากแผนภาพต้นไม้ ดังนี้

ซึ่งจะได้ 12 วิธี คือ


………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………..

วิธีเลือกทั้งหมดพิจารณาได้จากการทํางานสามงาน คือ
1) มีวิธีเลือกแกงได้ 2 วิธี
2) แต่ละวิธีของการเลือกแกงจะมีวิธีเลือกต้มจืดได้ ……………. วิธี
3) แต่ละวิธีของการเลือกแกงและเลือกต้มจืดจะมีวิธเี ลือกขนมหวานได้ ……………วิธี
ดังนั้น จะมีวิธีเลือกทั้งหมด เป�น ……………….= ………… วิธี
3

n1
n2
n3 ... k nk

... k n1 n2 n3 ...nk

1. ถ้ามีวิธีเดินทางจากปราจีนบุรีไปกรุงเทพมหานครได้ 3 วิธี และมีวิธีเดินทางจากกรุงเทพมหานครไป


สมุทรสาครได้ 4 วิธี จะมีวิธีเดินทางจากปราจีนบุรี ผ่านกรุงเทพมหานครไปสมุทรสาครได้ทั้งหมดกี่วิธี
(เขียนแผนภาพต้นไม้)

2. มีดินสอแตกต่างกัน 3 แท่ง ไม้บรรทัดแตกต่างกัน 4 อัน และสมุดแตกต่างกัน 5 เล่ม ถ้าต้องการเลือก


ดินสอ ไม้บรรทัด และสมุดอย่างละ 1 เล่ม จะมีวิธีเลือกต่างๆ กัน ได้กี่วิธี
(ใช้กฎการนับ)
4

ในการทํางานอย่างหนึ่งมีวิธีการทํางานได้ k แบบ แต่ละแบบทํางานเสร็จโดยไม่ต่อเนื่องกับแบบอื่น

ตัวอย่าง ในการทอดลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง


(1) มีกวี่ ิธีที่ผลรวมของแต้มที่ขน
ึ้ ทั้งสองลูกน้อยกว่า 8 แต้ม

(2) มีกี่วิธท
ี ี่ผลรวมของแต้มที่ขน
ึ้ ทั้งสองลูกเป�นจํานวนคี่

.....................................................................................................................................................

………………………………………………………………………………………………………………………………….
1. มีเส้นทางจากตําบล ก ไปตําบล ข อยู่ 4 เส้นทาง มีเส้นทางจากตําบล ข ไปตําบล ค อยู่ 3 เส้นทาง ถ้า
เดินทางจากตําบล ก ไปยังตําบล ค โดยผ่านตําบล ข จะมีเส้นทางการเดินทางแตกต่างกันได้กี่วิธี (12 วิธี)

2. เพ็ญศรีมีกระโปรง 4 ตัว มีเสื้ออยู่ 5 ตัว และเข็มขัด 2 เส้น จะมีวิธีแต่งตัวแตกต่างกันได้ทงั้ หมดกี่วิธี


5

3. มีเรือข้ามฟากระหว่างท่าน�าราษฎร์บูรณะและท่าน�าสะพานสูงอยู่ 8 ลํา ถ้าสมนึกต้องการข้ามฟากและกลับ


ระหว่างท่าน�าราษฎร์บูรณะและท่าน�าสะพานสูง โดยขากลับจะไม่ขึ้นซ�าเรือลําเดียวกับขาไป สมนึกจะมีวิธีใช้เรือ
ข้ามฟากได้ทั้งหมดกี่วิธี (56 วิธี)

4. บริษัทผลิตรถยนต์แห่งหนึ่ง ต้องการผลิตรถยนต์4 แบบ แต่ละแบบมีสีอยู่ 5 สี ถ้าจะจัดห้องแสดงรถยนต์ทุกแบบ


ทุกสีอย่างละหนึ่งคัน จะต้องจัดที่จอดรถทั้งหมดกีท
่ ี่
.

6. อาหารป��นโตเสนอรายการอาหาร ดังนี้ แกง 3 ชนิดแตกต่างกัน ต้มจืด 4 ชนิดแตกต่างกัน ผัดผัก 2 ชนิด


แตกต่างกัน และขนมหวาน 5 ชนิดแตกต่างกัน ถ้าผู้สั่งอาหารป��นโตแต่ละ รายเลือกแกงได้หนึ่งอย่าง ต้มจืดหนึ่ง
อย่าง ผัดผักหนึ่งอย่าง และขนมหวานหนึ่งอย่าง จะมีวิธีเลือกรายการอาหารต่างๆ ได้ทั้งหมดกี่วิธี
6

7. มีหนังสือคณิตศาสตร์แตกต่างกัน 3 เล่ม วิทยาศาสตร์แตกต่างกัน 4 เล่ม ภาษาอังกฤษ แตกต่างกัน 6 เล่ม


และภาษาไทยแตกต่างกัน 5 เล่ม ในการเลือกหนังสือวางบนโต๊ะชุดหนึ่ง ซึ่งประกอบด้วย คณิตศาสตร์หนึ่ง
เล่ม วิทยาศาสตร์หนึ่งเล่ม ภาษาอังกฤษหนึ่งเล่ม และภาษาไทยหนึ่งเล่ม จะมีวิธีเลือกต่างๆ กันได้ทั้งหมดกี่วิธี

8. มีวิธีที่จัดคน 8 คนให้นั่งเก้าอี้ทวี่ างอยู่เป�นแถวจํานวน 4 ตัว ได้กวี่ ิธี โดยในแต่ละวิธีจะมีคนไม่ได้นั่งสี่คน


7

1 สถาบันทดสอบความพร้อมเพือ
่ เข้าเรียนต่อในมหาวิทยาลัยได้กําหนดรหัสของ นักศึกษาด้วย
อักษรภาษาไทย 1 ตัว และตามด้วยตัวเลขสี่ตัว สถาบันจะมีวิธีกําหนดรหัสของผู้เข้าสอบได้
แตกต่างกันทั้งหมดกี่วิธี ถ้า
1) ไม่มีข้อกําหนดใดๆ เพิ่มเติม
2) ห้ามออกบัตรที่ตัวเลขเป�นศูนย์พร้อมกันทั้งสี่หลัก
1) ไม่มีข้อกําหนดใดๆ เพิ่มเติม ดังนั้นการจัดรหัสจะเหมือนกับการทํางาน 5 ขั้นตอน
ขั้นที่หนึ่ง มีวิธีเลือกอักษรภาษาไทยได้ ………….. วิธี
ขั้นที่สองถึงขั้นที่ห้า มีวิธีเลือกตัวเลขได้ ขัน
้ ตอนละ …………… วิธี
ดังนั้น จะออกรหัสได้ทั้งหมด …………………………….. = ………………. วิธี
2) กรณีที่ออกบัตรที่ตวั เลขเป�นศูนย์พร้อมกันทั้งสี่หลักมีวิธีออกบัตรได้………………… = …………. วิธี
ดังนั้น กรณีที่ออกบัตรที่ตัวเลขไม่เป�นศูนย์พร้อมกันทั้งสี่หลักจะมีวธิ ีออกบัตรได้
…………………..…………………. วิธี

สถาบันทดสอบศักยภาพทางภาษาอังกฤษของสถาบันแห่งหนึ่งมีวิธีกําหนดรหัสประจําตัวของผู้เข้าสอบด้วย
อักษรภาษาอังกฤษ 2 ตัว และตามด้วยตัวเลขอีก 4 ตัว สถาบันจะมีวิธีกําหนดรหัสของผู้เข้าเรียนได้แตกต่างกัน
ทั้งหมดกี่วิธี ถ้า
1. ไม่มข
ี ้อกําหนดใดๆ เพิม
่ เติม (6,760,000 วิธ)ี
2. ห้ามออกบัตรที่ตัวเลขเป�นศูนย์พร้อมกันทั้งสี่หลัก (6,759,324 วิธี)
8

. ถ้าในการกําหนดเลขทะเบียนรถยนต์จะต้องใช้พยัญชนะนําหน้า 2 ตัว (ซ�ากันได้) จากพยัญชนะทั้งหมด 44 ตัว


และกําหนดให้มีตัวเลขไม่เกิน 4 หลัก ถ้ากําหนดป้ายทะเบียนเป�นสี่แบบดังนี้
1) มีตัวเลข 1 หลัก (จาก 1 ถึง 9)
2) มีตัวเลข 2 หลัก (จาก 10 ถึง 99)
3) มีตัวเลข 3 หลัก (จาก 100 ถึง 999)
4) มีตัวเลข 4 หลัก (จาก 1000 ถึง 9999)
อยากทราบว่า จะออกป้ายทะเบียนรถยนต์ได้แบบละกี่ป้าย
วิธีทํา

4. บริษัทแห่งหนึ่ง กําหนดให้มรี หัสประจําตัวพนักงาน ซึ่งประกอบด้วยตัวอักษรภาษอังกฤษ 1 ตัว และเลขโดด


3 ตัว ตัวอย่างเช่น A-123 อยากทราบว่ารหัสประจําตัวของพนักงานในบริษัทนี้จะมีได้ทั้งหมดกี่รหัส ถ้ารหัส
ประจําตัวพนักงานต้อง
วิธีทํา

5. จะออกหมายเลขโทรศัพท์ที่ใช้ตัวเลข 9 ตัว เมื่อหมายเลขตัวที่หนึ่งเป�น 0 และหมายเลขตัวที่สองเป�นตัวเลข


1 และตามด้วยตัวเลข 7 หลักได้กี่วิธีถ้า
1) ตัวเลขที่เหลือไม่เป�นศูนย์พร้อมกันทั้งเจ็ดตัว

2) ตัวเลขที่เหลือไม่ใช้ตัวเลขซ�า

========================================================================================
9

6. หมายเลขโทรศัพท์ซึ่งประกอบด้วยเลขโดด 9 ตัว และห้าตัวแรกเป�น 02392 มีได้ทั้งหมดกี่หมายเลข

7. เดิมหมายเลขทะเบียนรถยนต์ในกรุงเทพประกอบด้วยตัวอักษรย่อชื่อ จังหวัด พยัญชนะอีก 1 ตัว และเลขโดด


ตามหลังอีก 4 ตัว เช่น กท.อ. 0278 จงหาว่า กองทะเบียนจะใช้ระบบนี้ออกทะเบียนให้รถยนต์ได้ทั้งหมดกี่คัน
(สมมุติว่าใช้พยัญชนะครบทุกตัว) และถ้ากองทะเบียนรถเปลี่ยนระบบออกทะเบียนรถยนต์โดยใช้ตัวเลข 1 ถึง 9
นําหน้าพยัญชนะ 1 ตัว และตามด้วยเลขโดด 4 ตัว เช่น 5ค-5985 โดยวิธีนี้กองทะเบียนจะออกหมายเลขทะเบียน
รถยนต์เพิ่มขึ้นจากเดิมเท่าไรโดยแต่ละแบบต้องไม่เป�น 0 พร้อมกันหมด
10

1 จํานวนคู่บวกซึ่งมีสามหลักมีทั้งหมดกี่จํานวน
วิธีทํา เลขโดดที่ใช้ในการเขียนตัวเลขแสดงจํานวนที่ต้องการในหลักทั้งสามต่างก็เป�นสมาชิกของเซต S
โดยที่ S = {……………………………………………………………….}
การเลือกเลขโดดมาใช้เขียนในหลักร้อยเป�นได้ ............. วิธี เนื่องจาก.................................................
....................................................................................................................................................................
การเลือกเลขโดดในหลักสิบเป�นได้...............วิธี คือจะเป�นสมาชิกตัวใดตัวหนึ่งของ S ก็ได้
การเลือกเลขโดดมาเขียนในหลักหน่วยเป�นได้ ..................วิธี เนื่องจาก..................................
..........................................................................................................................................................
ดังนั้น จํานวนคู่ที่มีสามหลักมีทงั้ หมด..........................................................จํานวน
2. จงหาว่า
1) จํานวนเต็มบวกซึ่งมีหกหลักมีทงั้ หมดกี่จํานวน (900,000 วิธ)ี

2) จํานวนเต็มบวกทีเ่ ป�นจํานวนคี่ซึ่งมีหกหลักมีกี่จํานวน (450,000 วิธี)

3) จํานวนเต็มบวกซึ่งมีหกหลัก และหลักหน่วยเป�น 9 มีทงั้ หมดกี่จํานวน (90,000 วิธี)

3. จงหาว่า จะมีวิธีเขียนตัวเลขแสดงจํานวนต่อไปนี้ได้กี่วิธีโดยใช้
1) เลขโดด 2 ถึง 9 เขียนตัวเลขแสดงจํานวนคู่ที่มีสามหลัก (256 วิธี)
2) เลขโดด 1 ถึง 8 เขียนตัวเลขแสดงจํานวนคี่ที่มีสี่หลัก (2,048 วิธี)
11

4. มีจํานวนนับทีม
่ ากกว่า 400 อยู่กี่จํานวนที่เป�นจํานวนไม่เกินสี่หลักและแต่ละหลักใช้เลขโดด 2, 3, 4
หรือ5 โดยไม่มีเลขโดดซ�า

5. จะสร้างจํานวนสามหลักจากเลขโดด 0, 1 , 2, 5, 7, 9 โดยที่จํานวนนั้นหารด้วย 5 ลงตัวได้ทั้งหมดกี่จํานวน


ถ้า
(1) ใช้เลขโดดซ�ากันได้

(2) ห้ามใช้เลขโดดซ�ากัน

6. ถ้าต้องการสร้างจํานวนเต็มที่มีค่าอยู่ระหว่าง 2,000 และ 4,000 โดยสร้างจากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5 จะ


สร้างได้ทั้งหมดกี่จํานวน ถ้า
(1) เลขแต่ละหลักซ�ากันได้

(2) เลขแต่ละหลักไม่ซ�ากัน

(3) เป�นจํานวนคี่
12

เกี่ยวกับ การ โยน ทอด ทอย เหรียญหรือลูกเต๋า แม้ว่าจะเป�นการโยนออกจากมือพร้อมกัน แต่


ผลลัพธ์ที่แสดงออกมาหลังจากโยนตกถึงพื้นไม่พร้อมกัน (ไม่เหมือนการหยิบ หยิบพร้อมกันจะไม่รู้ลําดับก่อนหลัง)
เช่น
(1) โยนลูกเต๋า 1 ลูก 2 ครั้ง ได้ผล (1, 2) หมายถึงผลของ ที่ 1 และ 2
(2) โยนลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน 1 ครั้ง ได้ผล (1,2) หมายถึงผลของ ที่ 1 และ ที่ 2

1. ถ้าโยนลูกเต๋าสองลูก เราจะใช้คู่อันดับแสดงหน้าที่แต้มปรากฏของลูกเต๋าลูกที่หนึ่ง และลูกเต๋าลูกที่สอง เช่น


(4, 2) บอกให้ทราบว่าลูกเต๋าลูกที่หนึ่งขึ้นหน้า 4 แต้ม และลูกเต๋าลูกที่สอง ขึ้นหน้า 2 แต้ม ดังนั้นเมื่อโยน
ลูกเต๋าสองลูก จะมีคู่อันดับแสดงหน้าที่ปรากฏต่างๆ กันทั้งหมดกี่วิธี อะไรบ้าง

2. ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมๆ กัน จงหาจํานวนวิธีทจี่ ะได้เหตุการณ์ดังนี้


1) ผลรวมของแต้มเท่ากับ 8

2) ผลรวมของแต้มมากกว่า 7
13

3. ในการทอดลูกเต๋าสองพร้อม ๆ กัน จงหาจํานวนวิธจี ะได้ผลลัพธ์เหล่านี้


1) จํานวนแต้มตรงกัน

2) ผลรวมของแต้มเท่ากับสิบ

3) จํานวนแต้มต่างกัน

4) ผลรวมของแต้มน้อยกว่าสิบ

3. จงหาจํานวนวิธีที่ผลบวกของแต้มบนหน้าลูกเต๋าสามลูกมากกว่า 4 เมื่อทอดลูกเต๋าสามลูกพร้อมกัน
14

H
T

1. โยนเหรียญ 3 เหรียญ 1 ครั้ง จงหา


1) จํานวนวิธีทั้งหมด

2) จํานวนวิธีที่เหรียญขึน
้ หัวมากกว่าก้อย

3) จํานวนวิธีทข
ี่ ึ้นหน้าเดียวกันหมดทั้ง 3 เหรียญ

2. โยนเหรียญ 1 เหรียญและตามด้วยลูกเต๋า 2 ลูก จงหา


1) จํานวนวิธีทั้งหมด

2) จํานวนวิธีทเี่ หรียญขึ้นหัว และลูกเต๋าทั้ง 2 ลูกขึ้นแต้มมากกว่า 5

3) จํานวนวิธีที่เหรียญขึ้นก้อย และผลบวกของลูกเต๋าน้อยกว่า 5
15

1. หยิบไพ่จากสํารับขึ้นมา 1 ใบ 2 ครั้งโดยไม่ใส่คืน มีกวี่ ิธีที่


1) ได้ไพ่หน้าโพดําทั้ง 2 ใบ

2) ได้ไพ่สีเดียวกัน

2. หยิบไพ่ 1 ใบจากสํารับ จงหาวิธีที่หยิบได้ไพ่โพแดง หรือ แต้ม 5

มีลูกบอลสีแดง ฟ้า เขียว อย่างละ 1 ลูกอยู่ในถุง จงหาจํานวนวิธีหยิบลูกบอลดังนี้


1. หยิบครั้งละ 2 ลูก พร้อมกัน

2. หยิบครั้งละ 1 ลูก 2 ครั้งโดยใส่คืน

3. หยิบครั้งละ 1 ลูก 2 ครั้งโดย ใส่คืน


16


1. มีถนนจากโรงเรียนสตรีภูเก็ต ถึงห้างเซ็นทรัล 3 สาย และมีถนนจากห้างเซ็นทรัลถึงห้างจังซีลอน 4 สาย
ถ้าจะขับรถไปและกลับจากโรงเรียนสตรีภูเก็ตถึงห้างจังซีลอน จะใช้เส้นทางที่ต่างกันได้ทั้งหมดกี่วิธี

2. จากข้อ 1. ถ้าเดินทางไปและกลับ โดยที่ขากลับไม่ใช้วิธีเดียวกับขาไป ได้กี่วิธี (132 วธี)


1 .สนามกีฬาแห่งหนึ่งมีประตูอยู่ 4 ประตู ถ้าจะเข้าประตูหนึ่งแล้วออกอีกประตูหนึ่งไม่ให้ซ�ากับประตูที่เข้ามา จะมี
วิธีเข้าและออกจากสนามกีฬาแห่งนี้ได้ทั้งหมดกี่วิธี (12 วิธี)

2. สวนสาธารณะแห่งหนึ่งมีประตูเข้าออก 5 ประตู นาย ก,ข และ ค จะเข้าและออกจากสวนสาธารณะได้กี่วิธีถ้า


(1) ทั้งสามคนจะเข้าออกประตูใดก็ได้

(2) แต่ละคนเข้าประตูใดจะออกประตูนั้นไม่ได้

(3) ตอนออกไม่ซ�ากับตอนกับตอนเข้า และทั้งสามจะไม่ใช้วิธีเดียวกัน


17

1. ต้องการนําตัวอักษร จากคําว่า IPHONE ครั้งละ 3 ตัวไม่ซ�ากัน มาสร้างคําใหม่ โดยไม่คํานึงถึงความหมาย และ


ขึ้นต้นด้วยสระ จะสร้างได้กี่คํา

2. ต้องการนําตัวอักษร จากคําว่า ELENENTARY ครั้งละ 4 ตัวไม่ซ�ากัน มาสร้างคําใหม่ โดยไม่คํานึงถึง


ความหมาย และขึ้นต้นด้วยสระ จะสร้างได้กี่คํา ถ้าคําที่สร้างขึ้นมาขึ้นต้นด้วยสระและลงท้ายด้วยพยัญชนะ

3. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์แตกต่างกัน 3 เล่ม ภาษาอังกฤษแตกต่างกัน 2 เล่ม ถ้านําหนังสือทั้งหมดขึ้นเรียงบน


ชั้นหนังสือ โดยให้หนังสือวิชาเดียวกันอยู่ติดกันได้กี่วิธี

4. นํานักเรียนชาย 3 คน นักเรียนหญิง 2 คน มายืนเรียงแถวหน้ากระดานได้กี่วิธี ถ้านักเรียนชายยืนสลับที่กับ


นักเรียนหญิง

5. นํานักเรียนชาย 3 คน นักเรียนหญิง 3 คน มายืนเรียงแถวหน้ากระดานได้กี่วิธี ถ้านักเรียนชายยืนสลับที่กับ


นักเรียนหญิง

6. มีลูกเสือ 5 คน ต้องจัดแถวยืนเรียงหน้ากระดานได้กี่วิธีถ้า
6.1) หัวหน้ายืนหัวแถวเสมอ
18

6.2) หัวหน้ายืนหัวแถว รองหัวหน้ายืนท้ายแถว

6.3) หัวหน้ายืน

7. ต้องการคัดพนักงาน 5 คน มาดํารงตําแหน่งหัวหน้า รองหัวหน้า และเลขาฯ ตําแหน่งละ 1 คนได้กี่วิธี

8.นักท่องเที่ยว 5 คน เช่ารถเก๋ง 5 ที่นั่ง 1 ค้น จะมีวิธีการนั่งได้กี่วิธีถ้า 2 ใน 5 คน ขับรถเป�น (48วิธี)


19

1. มีจดหมายที่แตกต่างกัน 4 ฉบับ ต้องการทิ้งจดหมายทั้งหมดในตู้ไปรษณีย์ ซึ่งมีทั้งหมด 5 ตู้ จะมีจํานวน


วิธีทิ้งจดหมายกี่วิธี ถ้า
(1) ไม่มีเงื่อนไขเพิม
่ เติม

(2) จดหมายแต่ละฉบับต้องไม่ซ�าตู้กัน

(3) มีจดหมายอย่างน้อย 2 ฉบับทิ้งในตู้เดียวกัน

(4) ทิ้งตู้เดียวกันทั้ง 4 ฉบับไม่ได้


20

2. มีหนังสือที่แตกต่างกัน 4 เล่ม ต้องการนําหนังสือใส่กระเป๋าหนังสือ 5 ใบที่แตกต่างกัน อยากทราบว่า จะ


มีวิธีการนําหนังสือทั้ง 4 เล่ม ใส่กระเป๋าหนังสือได้กี่วิธี ถ้า
(1) หนังสือแต่ละเล่มจะใส่ในกระเป๋าใดก็ได้

(2) กระเป๋าแต่ละใบใส่หนังสือได้ไม่เกิน 1 เล่ม

(3) หนังสือทั้ง 5 เล่มอยู่ในกระเป๋าใบเดียวกัน

(4)*** มีประเป๋าอยู่ 1 ใบที่ใส่หนังสือได้เพียงเล่มเดียว


21

4. ญาญ่ามีเพื่อน 5 คน ต้องการเชิญเพื่อนมาร่วมรับประทานอาหารได้กี่วิธีถ้า
(1) ต้องเชิญเพื่อนอย่างน้อย 1 คน

(2) ต้องเชิญเพื่อนอย่างน้อย 1 คน และจะเชิญภรรยาของเพื่อนมาด้วยก็ได้ (สมมติเพื่อนทุกคนมีภรรยาและ


ภรรยาจะมาได้ก็ต่อเมื่อสามีต้องมาด้วย)

5.นกฝูงหนึ่งมี 10 ตัว บินไปเกาะกิ่งไม้ 7 กิ่งได้กี่วิธี ถ้า


(1) ไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม

(2) ถ้านกหัวหน้าฝูงเกาะกิ่งไม้ใด นกตัวอื่นจะไม่เกาะกิ่งไม้นน


ั้
22

6. ในวันคริสต์มาส ครูเตรียมของขวัญไว้ 3 ชิ้น เพื่อจับฉลากให้นักเรียน 20 คนได้กวี่ ิธีถ้า


(1) นักเรียนมีสท
ิ ธิ์ได้ของขวัญเกิน 1 ชิ้น

(2) นักแต่ละคนมีสิทธิ์รับรางวัลไม่เกิน 1 ชิ้น

7. ถ้าต้องการเลือกผลไม้ 3 ชนิดจาก 5 ชนิด ได้แก่ ส้ม ชมพู่ มังคุด มะม่วงและน้อยหน่า โดยมีเงื่อนไขว่าส้มและ


ชมพู่ ถ้าถูกเลือกจะต้องเลือกทั้ง 2 ชนิด จะเลือกได้ทั้งหมดกี่วธิ ี

ในการเล่นเกมชนิดหนึ่งระหว่าง ก กับ ข โดยมีเงื่อนไขว่า ถ้าผูใ้ ดชนะก่อน 2 เกมติดต่อกัน จะเป�นผู้ชนะ หรือผู้ใด


ชนะ 3 เกมก่อน ก็จะเป�นผู้ชนะ อยากทราบว่า มีวิธีการเล่นได้กี่วิธี (10 วิธี)
23

เป�นการหาว่าโอกาสที่เหตุการณ์ใด จะเกิดขึ้นมีมากน้อยเพียงใด ซึ่งก่อนหาความ


น่าจะเป�นของเหตุการณ์ใด ผูเ้ รียนต้องเข้าใจความหมายของการทดลองสุ่ม แซมเป�ลสเปซ เหตุการณ์ ก่อน

คือ การทดลองซึ่ง
ในบรรดาผลที่อาจเป�นได้เหล่านั้น

1. การแข่งขันฟุตบอลของทีมโรงเรียนพานพิทยาคมที่จะทําการแข่งขันกับทีมโรงเรียนแม่ลาววิทยาคมใน
สัปดาห์หน้า ซึ่งผลทีอ
่ าจเกิดขึน
้ ทั้งหมดได้แก่ ชนะ แพ้ เสมอ (เรารูว้ ่าผลที่อาจเกิดขึ้นมี 3 แบบนี้ แต่ไม่รวู้ ่าถ้าลง
แข่งขันกันจริง ๆ ผลจะเป�นอย่างไร)
2. การทอดลูกเต๋าลูกเดียวหนึ่งครั้ง ถือว่าเป�นการทดลองสุ่มเพราะสามารถบอกได้ว่าผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึน

คือแต้ม 1, 2, 3 , 4 , 5 , 6
3. การโยนเหรียญ 2 เหรียญพร้อมกัน เป�นการทดลองสุ่ม เพราะสามารถบอกได้ว่าผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึน

คือ หัวหัว , ก้อยก้อย , หัวก้อย , ก้อยหัว

(Sample space)

บทนิยาม แซมเป�ลสเปซ คือ ที่มีสมาชิกเป�นผลลัพธ์ที่อาจเป�นไปได้ทั้งหมดของการทดลองสุ่ม


แต่ละสมาชิกของปริภูมิตัวอย่างหรือผลการทดลอง เรียกว่า จุดตัวอย่าง (sample point หรือ outcome)

1.ในการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูก สนใจหน้าที่ออก
แซมเป�ลสเปซ คือ S = { 1 , 2 , 3 , 4 , 5 , 6 }
2.ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมกันสนใจหน้าที่ออก
แซมเป�ลสเปซ คือ S = {(1,1), (1,2) , (1,3), … , (6,4) , (6,5) , (6,6) }
3. เพศของบุตรครอบครัวที่มีบุตร 2 คนเรียงตามลําดับการเกิดก่อนหลัง
แซมเป�ลสเปซ คือ S ={ชายชาย , ชายหญิง , หญิงชาย ,หญิงหญิง }
24

1. ในการตรวจสภาพของสินค้าชนิดหนึ่งซึ่งผลิตจากเครื่องจักรโดยการหยิบขึ้นมาตรวจ 3 ชิ้น หยิบทีละชิ้นโดยไม่


เจาะจงถือว่าเป�นการทดลองสุ่ม ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจคือสภาพของสินค้าทั้ง 3 ชิ้น ที่หยิบขึ้นมาว่าชํารุดหรือไม่ชํารุด
ให้สินค้าที่ชํารุดแทนด้วย “ช” และสินค้าที่ไม่ชํารุดแทนด้วย “ม” แซมเป�ลสเปซจะเป�นเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิก
ดังนี้
S1 = ……………………………………………………………………………….
แต่ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจคือ จํานวนชิ้นที่ชํารุดโดยไม่สนใจว่าเรียงลําดับอย่างไร แซมเป�ลสเปซ คือ
S2 = ………………………………………………………………………………

2. จงเขียนแซมเป�ลสเปซของการทดลองสุ่มในแต่ละข้อต่อไปนี้
(1) ทีมฟุตบอล ก ลงแข่งกับทีมฟุตบอล ข และสนใจผลการแข่งขันของทีม ก
S1 = …………………………………………………………………
(2) โยนเหรียญหนึ่งอันสี่ครั้งและสนใจจํานวนครั้งที่ขึ้นหัว
S2 = …………………………………………………………………
(3) ผลิตหลอดไฟฟ้า 5 หลอด และสนใจจํานวนหลอดที่เสียเมื่อผลิตครบ 24 ชั่วโมง
S3 = …………………………………………………………………
(4) หยิบลูกป�งปองหนึ่งลูกออกมาจากกล่องซึ่งมีลูกป�งปองสีขาว สีแดง
และสนใจว่าได้ลูกป�งปองสีใด
S4 = …………………………………………………………………

( Events )

ในการทดลองสุ่มใด ๆ แซมเป�ลสเปซเป�นเซตของผลลัพธ์ทั้งหมดที่อาจเกิดขึน
้ เกิดขึน
้ แต่เหตุการณ์เป�นเซต
ของผลลัพธ์ที่เป�นไปตามเงื่อนไขที่สนใจ ดังนั้นเซตของเหตุการณ์อาจมีจํานวนสมาชิกมากเท่าใดก็ได้แต่จะไม่เกิน
จํานวนสมาชิกของแซมเป�ลสเปซ
25

1.ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมกันแซมเป�ลสเปซ คือ S = {(1,1) , (1,2) , (1,3) , …(6,4), (6,5 , (6,6)}


ถ้า E1 เป�นเหตุการณ์ที่แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนคู่ทั้งสองจํานวนแล้ว
E1 = ………………………………………………………………………………………………
ถ้า E2 เป�นเหตุการณ์ที่ผลรวมบนหน้าลูกเต๋าเป�น 10 แล้ว
E2 = ………………………………………………………………………………………………
ถ้า E3 เป�นเหตุการณ์ที่แต้มบนหน้าลูกเต๋าต่างกัน 1แล้ว
E3 = ………………………………………………………………………………………………
ถ้า E4 เป�นเหตุการณ์ที่แต้มบนหน้าลูกเต๋าต่างกัน 3 แล้ว
E4 = ………………………………………………………………………………………………
ถ้า E5 เป�นเหตุการณ์ที่แต้มบนหน้าลูกเต๋ารวมกันได้ 8แล้ว
E5 =………………………………………………………………………………………………..
ถ้า E6 เป�นเหตุการณ์ที่แต้มบนหน้าลูกเต๋าต่างกัน 10 แล้ว
E6 = ………………………………………………………………………………………………

2. ในการทอดลูกเต๋าลูกเดียวหนึ่งครั้ง ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจคือแต้มที่ได้
แซมเป�ลสเปซ คือ S = ...................................................................................{ 1, 2, 3, 4, 5, 6 }
ถ้า E1 เป�นเหตุการณ์ที่ได้แต้มซึ่งหารด้วย 3 ลงตัว จะได้ E1 = ………………………{ 3, 6 }
ถ้า E2 เป�นเหตุการณ์ที่ได้แต้มต�ากว่า 4 จะได้ E2 = ……………………….{ 1, 2, 3 }

3. ในการชั่งน�าหนักนักเรียนแต่ละคนในชั้น ถ้าแทนเซตของผลของการชั่งน�าหนักซึ่งมีหน่วยเป�นกิโลกรัมด้วย
แซมเป�ลสเปซ S
S = { w | w > 0 } ( น�าหนักของนักเรียนเป�นจํานวนจริงที่มากกว่า 0 เสมอ )
เหตุการณ์ที่สนใจอาจเป�นเหตุการณ์ที่น�าหนักของนักเรียนแต่ละคนในชั้นนั้นเกิน 60 กิโลกรัม และถ้า
แทนเหตุการณ์นี้ด้วย E1 จะได้
E1 = ………………………………………………{ W | W > 60 }
แต่ ถ้ า เหตุ ก ารณ์ ที่ ส นใจคื อ น� า หนั ก ของนั ก เรี ย นแต่ ล ะคนในชั้ น นั้ น ที่ ห นั ก ตั้ ง แต่ 50 กิ โ ลกรั ม ถึ ง 60
กิโลกรัม และแทนเหตุการณ์นี้ด้วย E2 จะได้
E2 = ………………………………………………{ W | 50 W 60 }
26

ถ้า E1 และ E2 เป�นเหตุการณ์ สองเหตุก ารณ์ แล้ ว ยูเนียนของเหตุก ารณ์ E1 และ E2 คือเหตุการณ์ ซึ่ ง
ประกอบด้วยสมาชิกของเหตุการณ์ E1 หรือของเหตุการณ์ E2 หรือของทั้งสองเหตุการณ์ เขียนแทน ยูเนียนของ
เหตุการณ์ E1 และ E2 ด้วยสัญลักษณ์ E1 E2

1 ในการทอดลูกเต๋าพร้อมกันสองลูก ถ้า E1 เป�นเหตุการณ์ที่ได้ผลรวมของแต้มเป�น 10 และ E2 เป�น


เหตุการณ์ที่ได้ผลรวมของแต้มหารด้วย 5 ลงตัว ถ้าผลลัพธ์ที่สนใจคือ ผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าทั้ง
สองจงหายูเนียนของเหตุการณ์ E1 และ E2

แซมเป�ลสเปซซึ่งเป�นเซตที่ประกอบด้วยผลรวมของแต้มบนลูกเต๋าทั้งสองที่อาจเป�นไปได้ทั้งหมด คือ
S = ……………………………………………………………..{ 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 }
ดังนั้น E1 = ……………………………{ 10 }
E2 = ……………………………{ 5, 10 }
ดังนั้น E1 E2 = …………………{5,10}ซึ่งก็คือเหตุการณ์ที่ได้ผลรวมของแต้มเป�น 10 หรือผลรวมของ
แต้มหารด้วย 5 ลงตัว
=======================================================================

ถ้ า E1 และ E2 เป� น เหตุ ก ารณ์ ส องเหตุ ก ารณ์ ณื แ ล้ ว อิ น เตอร์ เ ซกชั น ของเหตุ ก ารณ์ E1 และ E2 คื อ
เหตุ ก ารณ์ ซึ่งประกอบด้ วยสมาชิ ก ที่อยู่ ทั้งในเหตุ การณ์ E1 และเหตุ ก ารณ์ E2 เขี ยนแทน อิ น เตอร์ เซกชันของ
เหตุการณ์ E1 และ E2 ด้วยสัญลักษณ์ E1 E2

อินเตอร์เซกชันของเหตุการณ์ E1 และ E2 ในตัวอย่างที่ 1 คือเหตุการณ์ที่ได้ผลรวมของแต้มเป�น 10


และหารด้วย 5 ลงตัว
ดังนั้น E1 E2 = ………………………………{ 10 }

ในการรับสมัครเข้าทํางานของหน่วยงานแห่งหนึ่ง ถ้าให้ E1 เป�นเหตุการณ์ที่ผู้สมัครจะต้องมีอายุ


ตั้งแต่ 20 ป�ขึ้นไป และ E2 เป�นเหตุการณ์ที่ผู้สมัครจะต้องเป�นชายแล้ว
E1 E2 คือเหตุการณ์ที่ผู้สมัครจะต้องเป�นชายที่มีอายุตั้งแต่ 20 ป�ขึ้นไป
=======================================================================
27

ถ้า E1 และ E2 เป�นเหตุการณ์สองเหตุการณ์ และ E1 E2 = แล้ว จะเรียกเหตุการณ์ E1 และ E2


ว่าเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน

ในการทอดลูกเต๋าลูกหนึ่ง ให้ E1 เป�นเหตุการณ์ท่จี ะได้แต้มเป�นจํานวนคู่ และ E2 เป�นเหตุการณ์ที่


จะได้แต้มเป�นจํานวนคี่
จะได้ E1 = ....................................{2,4,6}และ E2 = ………………………… { 1, 3, 5 }
E1 E2 =
ดังนั้น E1 และ E2 เป�นเหตุการณ์ที่ไม่เกิดร่วมกัน
ในการหยิบไพ่หนึ่งใบจากไพ่ทั้งสํารับ ถ้า E1 เป�นเหตุการณ์ที่ได้โพแดง และ E2 เป�นเหตุการณ์ที่
ได้ดอกจิก
E1 และ E2 เป�นเหตุการณ์ที่ไม่เกิ ดร่วมกัน เพราะไพ่ใบหนึ่ งจะเป�นทั้งโพแดงและดอกจิ ก ใน
ขณะเดียวกันไม่ได้
=======================================================================

ถ้า S เป�นแซมเป�ลสเปซ และ E เป�นเหตุการณ์ที่เป�นสับเซตของ S แล้ว คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ E


คือเหตุการณ์ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในแซมเป�ดสเปซ S แต่ไม่อยู่ในเหตุการณ์ E เขียนแทนคอมพลีเมนต์ของ
เหตุการณ์ E ด้วยสัญลักษณ์ E

6 คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ E1 ในตัวอย่างที่ 5 คือ


E1 = ……………………………………………………….{ โพดํา, ดอกจิก, ข้าวหลามตัด }

8 ในการสอบวิชาภาษาอังกฤษซึ่งมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน ถ้าพิจารณาเฉพาะคะแนนซึ่งเป�นจํานวน


เต็มเท่านั้น แซมเป�ลสเปซ S คือ
S = …………………………………………………………{ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10 }
ถ้าให้ E เป�นเหตุการณ์ที่คะแนนของเด็กชายกําธรเป�น 6 ขึ้นไป
กล่าวคือ E = ………………………………………….…………….{ 6, 7, 8, 9, 10 }
คอมพลีเมนต์ของเหตุการณ์ E คือ
E = ………………………………………………………. { 0, 1, 2, 3, 4, 5 }
======================================================================
28

1. กล่องใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีขาว 2 ลูก โดยที่ลูกบอลทุกลูกแตกต่างกัน หยิบลูกบอลออกมา 2 ลูก โดย


การหยิบมีเงื่อนไขว่าให้หยิบทีละ 1 ลูก และให้คืนลูกแรกลงไปก่อนที่จะหยิบลูกที่สอง จงหา
(1) ปริภูมิตัวอย่าง
S = …………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
(2) เหตุการณ์ที่ได้ลูกบอลทั้งสองลูกเป�นสีขาว
E = ………………………………………………………………………………………..
2. จากการทดลองโยนเหรียญหนึ่งอัน 3 ครั้ง จงหา
(1) ปริภูมิตัวอย่างของการโยนเหรียญและสนใจการขึ้นหน้าของเหรียญ
S = ……………………………………………………………………………………………………………………………..
(2) เหตุการณ์ที่ออกหัวอย่างน้อยหนึ่งครึ้ง
E1 = ………………………………………………………………………………………..
(3) เหตุการณ์ที่ออกหัวเพียงหนึ่งครั้ง
E2 = ………………………………………………………………………………………..

(4) เหตุการณ์ที่ออกหัวสามครั้ง
E3 = ………………………………………………………………………………………..
(5 เหตุการณ์ที่ไม่ออกหัวเลย
E4 = ………………………………………………………………………………………..

3. การโยนเหรียญอันหนึ่งกับทอดลูกเต๋าลูกหนึ่ง จงหา
(1) เหตุการณ์ที่เหรียญออกก้อยและลูกเต๋าขึ้นแต้มเป�นจํานวนคี่
E1 = ………………………………………………………………………………………..
(2) เหตุการณ์ที่ลูกเต๋าขึ้นแต้มเป�นจํานวนที่หารด้วย 3 ลงตัว
E2 = ………………………………………………………………………………………..
(3) เหตุการณ์ที่เหรียญออกหัว และลูกเต๋าขึ้นแต้มเป�นจํานวนคู่
E3 = ………………………………………………………………………………………..

4. โยนเหรียญ 3 เหรียญ หนึ่งครั้ง ผลลัพธ์ที่สนใจคือ หน้าของเหรียญทั้งสามเหรียญที่ขึ้น จงหา


(1) ปริภูมิตัวอย่าง
S = ………………………………………………………………………………………………………………………….

(2) E1 ซึ่งแทนด้วยเหตุการณ์ที่เหรียญทั้งสามเหรียญขึ้นหน้าเหมือนกัน
E1 = ………………………………………………………………………………………..
29

(3) E2 ซึ่งแทนด้วยเหตุการณ์ที่เหรียญขึ้นหน้าหัวอย่างน้อย 2 เหรียญ


E2 = ………………………………………………………………………………………..

(4) E3 ซึ่งแทนด้วยเหตุการณ์ที่มีเหรียญขึ้นหน้าก้อยมากกว่าขึ้นหน้าหัว
E3 = ………………………………………………………………………………………..
(5) E1 E 2 =…………………………………………………………………………………………………
(6) E1 E 3 =…………………………………………………………………………………………………
(7) E 2 E 3 =…………………………………………………………………………………………………
(8) E1 E 2 =…………………………………………………………………………………………………
(9) E1 E 3 =…………………………………………………………………………………………………
(10) E 2 E 3 =…………………………………………………………………………………………………
(11) E1 =………………………………………………………………………………………………………….
(12) E 2 =………………………………………………………………………………………………………….
(13) E 3 =………………………………………………………………………………………………………….
30

========================================================================================
31

ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ E เขียนแทนด้วย P(E)


1.หาจํานวนสมาชิกในแซมเป�ลสเปซ ของการทดลองสุ่มนั้น แทนด้วย n(S)
2.หาจํานวนสมาชิกของเหตุการณ์ที่สนใจ แทนด้วย n (E)

n (E)
3.หาความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ P (E)
n ( S)
จากสูตรการคํานวณค่า P(E) ผู้เรียนจะพบว่าตัวเลขที่แทนความน่าจะเป�นของเหตุการณ์จะมีค่ามากสุด
เป�น 1 และมีค่าน้อยที่สุดเป�น 0 ถ้า P(E) = 1 หมายความว่าเหตุการณ์ที่สนใจจะเกิดขึ้นแน่นอน และถ้า P(E) = 0
หมายความว่าเหตุการณ์ที่สนใจไม่มีโอกาสเกิดขึน
้ เลย
ถ้าเหตุการณ์ใดมีโอกาสเกิดขึ้นมากความน่าจะเป�นจะมีค่าเข้าใกล้ 1 และเหตุการณ์ใดมีโอกาสเกิดขึ้นน้อย
ความน่าจะเป�นจะมีค่าเข้าใกล้ 0
ตัวอย่างเช่น ในการทดลองลูกเต๋าลูกเดียวหนึ่งครั้ง ถ้าเหตุการณ์ที่สนใจคือได้แต้ม 3 ในที่นแี้ ซมเป�ล
สเปซคือ S = { 1, 2, 3, 4, 5, 6 } สมาชิกแต่ละตัวของ S มีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่า ๆ กัน ส่วนเหตุการณ์ที่สนใจคือ
1
E = { 3 } โอกาสที่เหตุการณ์ E จะเกิดขึ้นเท่ากับ ซึ่งเป�นอัตราส่วนระหว่างจํานวนสมาชิกของ E กับจํานวน
6
สมาชิกของ S
พิจารณาอีกตัวอย่างหนึ่ง ในการทอดลูกเต๋าสองลูกหนึ่งครั้ง ถ้าเหตุการณ์ที่สนใจคือได้ผลรวมของแต้ม
เป�น 5 แซมเป�ลสเปซเป�น 5 แซมเป�ลสเปซ S และเหตุการณ์ที่สนใจ E อาจเขียนได้ดังนี้

S = { 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 } และ


E = {5}

วิธีนไี้ ม่ถูกต้อง เนื่องจาก S เช่นการที่จะได้ผลรวม


ของแต้มเป�น 2 มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้วิธีเดียว คือ (1,1) แต่การที่จะได้ผลรวมของแต้มเป�น 4 มีโอกาสทีจ่ ะ
เกิดขึ้นได้ถึง 3 วิธี คือ (1,3), (3,1), (2,2)
จะเห็นว่าการที่จะได้ผลรวมของแต้มเป�น 4 มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นได้มากกว่าการที่จะได้ผลรวมของแต้มเป�น 2
32

เพื่ อใช้ ใ นการคํ านวณหาโอกาสที่จ ะได้ ผลรวมของแต้ มเป� น 5


S1 กล่าวคือ
S1 = {(1,1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6),
(2,1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6),
(3,1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6),
(4,1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6),
(5,1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6),
(6,1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6) }
ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่จะได้ผลรวมของแต้มเป�น 5 จะได้ E1 = { (1, 4), (2, 3) (3, 2) (4, 1) }
ดังนั้น โอกาสที่จะได้ผลรวมของแต้มเป�น 5 คือ อัตราส่วนระหว่างจํานวนสมาชิ กใน E1 กับจํานวน
สมาชิกใน S1 ซึ่งเท่ากับ 4 1
36 9
ถ้าสมาชิกของแซมเป�ลสเปซมีโอกาสเกิดขึ้นเท่า ๆ กันแล้ว เรียกอัตราส่วนระหว่างจํานวนสมาชิกของ
เหตุการณ์ที่สนใจกับจํานวนสมาชิกของแซมเป�ลสเปซ ว่า ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์

อาจกล่าวได้ว่า ความน่าจะเป�น เป�นจํานวนที่บอกให้ทราบว่าเหตุการณ์ที่เราสนใจมีโอกาสเกิดขึ้นมากน้อย


เพียงใด กล่าวคือ
้ เลย หรือเป�นไปไม่ได้ที่เหตุการณ์ E จะ
ถ้า P (E) = 0 หมายความว่าเหตุการณ์ E ไม่มีโอกาสเกิดขึน
เกิดขึ้น เช่น ถ้า E เป�นเหตุการณ์ที่ได้เต้ม 7 จากการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูกครั้งเดียว
ถ้า P (E) = 1 หมายความว่าโอกาสที่เหตุการณ์ E จะเกิดขึน
้ อย่างแน่นอน เช่น ถ้า E เป�นเหตุการณ์ที่
ได้แต้มเป�นจํานวนคู่หรือจํานวนคี่จากการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูกครั้งเดียว
ถ้า P (E) =
1 หมายความว่าโอกาสที่เหตุการณ์ E จะเกิดหรือไม่เกิดมีเท่า ๆ กัน เช่น E เป�น
2
เหตุการณ์ที่ได้แต้มคู่จากการทอดลูกเต๋าหนึ่งลูกครั้งเดียว
ถ้า P (E1) = 1 และ P(E2) = 2 หมายความว่าเหตุการณ์ E2 มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นมากกว่าเหตุการณ์ E1
5 5

จากที่ได้กล่าวมาแล้ว อาจสรุปสมบัติที่สําคัญของความน่าจะเป�นได้ดังนี้
(1) ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ E ใด ๆ จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1 เสมอ นั่นคือ 0 P (E) 1
(2) ความน่าจะเป�นของแซมเป�ลสเปซ S มีค่าเท่ากับ 1 นั่นคือ P (S) = 1
(3) ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ที่เป�นเซตว่างมีค่าเท่ากับ 0 นั่นคือ P ( ) = 0

บทนิยามที่ให้ไว้ใช้คํานวณความน่าจะเป�นของเหตุการณ์จากแซมเป�ลสเปซที่เป�นเซตจํากัดและสมาชิกแต่
ละตัวมีโอกาสเกิดขึ้นได้เท่า ๆ กัน ส่วนการคํานวณจากแซมเป�ลสเปซที่เป�นเซตอนันต์จะยังไม่กล่าวถึงในชั้นนี้
33

1 ในการทอดลูกเต๋าสองลูกพร้อมกัน จงหาความน่าจะเป�นที่
1.แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนเดียวกัน
2.แต้มบนหน้าลูกเต๋าต่างกัน 1
3.แต้มบนหน้าลูกเต๋ารวมกันได้ 10
4.แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนคู่ทั้งสองจํานวน
5.แต้มบนหน้าลูกเต๋ารวมกันได้ 20
6.แต้มบนหน้าลูกเต๋ารวมกันได้ค่ามากกว่า 0
หาผลที่อาจเกิดขึ้นทั้งหมดจากการทอดลูกเต๋าสองลูกได้ดังนี้
แซมเป�ลสเปซ คือ S = {(1,1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6),
(2,1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6),
(3,1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6),
(4,1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6),
(5,1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6),
(6,1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6) }
n(S) = …………………………………………………
1. แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนเดียวกัน
เหตุการณ์ที่แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนเดียวกัน E1 =……………………………………………………. n(E1) = ………
ความน่าจะเป�นที่ทอดลูกเต๋าสองลูกแล้วได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนเดียวกัน แทนด้วย P(E1)
n(E1 )
P(E1) = ………………………………………………………….
n ( S)

2.แต้มบนหน้าลูกเต๋าต่างกัน 1
เหตุการณ์ที่แต้มบนหน้าลูกเต๋าต่างกัน 1 (E2) = …………………………………………………………n(E2)= …………
ความน่าจะเป�นที่ทอดลูกเต๋าสองลูกแล้วได้แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนต่างกัน 1 = P(E2)
n(E 2 )
P(E2) = …………………………………………………………………………………………………………
n ( S)
3.แต้มบนหน้าลูกเต๋ารวมกันได้ 10
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.แต้มบนหน้าลูกเต๋าเป�นจํานวนคู่ทั้งสองจํานวน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
34

5.แต้มบนหน้าลูกเต๋ารวมกันได้ 20
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6.แต้มบนหน้าลูกเต๋ารวมกันได้ค่ามากกว่า 0
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………
กล่องใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 2 ลูก สีขาว 3 ลูก โดยทุกลูกต่างกัน ทําการหยิบลูกบอลออกมา
2 ลูก จงหาความน่าจะเป�นที่จะหยิบได้ลูกบอล
(1) เป�นสีเดียวกัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
เป�นสีแดงท้ ังสองลูก ……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……
……………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… ……
เป�นสีแดง 1 ลูก สีฟ้า 1 ลูก ……
………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….…………………

ถุงใบหนึ่งบรรจุลก
ู บอลที่มีหมายเลขกํากับตั้งแต่หมายเลข 1 ถึง 50 จงหาความน่าจะเป�นที่
1.หยิบลูกบอลขึ้นมา 1 ลูกแล้วได้หมายเลขเป�นจํานวนคู่
…………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

2.หยิบลูกบอลขึ้นมา 1 ลูกแล้วได้หมายเลขมากกว่า 20
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.หยิบลูกบอลขึ้นมา 1 ลูกแล้วได้หมายเลขที่หารด้วย 3 ลงตัว


…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
35

4.หยิบลูกบอลขึ้นมา 1 ลูกแล้วได้หมายเลขที่เป�นจํานวนเฉพาะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……

5.หยิบลูกบอลขึ้นมา 1 ลูกแล้วได้หมายเลขที่เป�นพหุคูณของ 8
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……
…………
ในการซื้อสลากกินแบ่งรัฐบาลทีประกอบด้วยเลข 6 หลัก นายดําเลือกซื้อ หมายเลข 867532 จง
หาความน่าจะเป�นที่
1. นายดําจะถูกรางวัลที่ 1
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. นายดําจะถูกรางวัลเลขท้ายสองตัว
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. จงหาความน่าจะเป�นทีน
่ ายดําจะถูกรางวัลเลขท้ายสามตัว
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. จงหาความน่าจะเป�นทีน
่ ายดําจะถูกรางวัลที่ห้า
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…….

5 ถ้าสุ่มครอบครัวที่มีบุตรสองคนมาครอบครัวหนึ่ง โดยคํานึงถึงลําดับของบุตรคนที่ 1 และคนที่ 2 ถ้า


สนใจเพศของบุตร จงหาความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ ที่ครอบครัวนั้น
(1) มีบุตรคนแรกเป�นชาย บุตรคนที่สองเป�นหญิง
(2) มีบุตรเป�นชายอย่างน้อย 1 คน
ค32102 คณิตศาสตร์4 ม.5 ภาคเรียนที่ 2 ครูเณริศา พรหมวิลัย 36
=======================================================================================
(3) ไม่มีบุตรชายเลย
(4) มีบุตรชาย 1 คน บุตรหญิง 1 คน
(5) มีบุตรหญิง 3 คน

ตุการณ์ที่จะหยิบได้ลูกแก้วสีขาว 1 ลูก สีแดง 1 ลูก

========================================================================================
37

???
1. นาย ก ข ค เล่นเกมทอดลูกเต๋า 2 ลูก 1ครั้ง ซึ่งกติกาคือ ถ้าลูกเต๋าขึ้นแต้มคี่ทั้งสองลูก นาย ก ชนะ ถ้าลูกเต๋าขึ้น
แต้มคู่ทั้งสองลูก นาย ข ชนะ ถ้าลูกเต๋าขึ้นคู่และคี่ หรือ แต้มคี่และคู่อย่างละลูก นาย ค ชนะ ใครได้เปรียบที่สุด

2. จงความน่าจะเป�นของการชวนเพื่อน 5 คนไปเที่ยวเสม็ดนางชี โดยจะต้องมีเพื่อนอย่างน้อย 1 คนไปด้วย

3. ข้อประเภท choices แต่ละข้อมี 3 ตัวเลือกคือ ก, ข, ค จํานวน 10 ข้อและแต่ละข้อมีขอ


้ ถูกอยู่เพียงข้อเดียว
ถ้าเด็กหญิงเอเดาข้อสอบทั้งหมด จงหาความน่าจะเป�นที่เด็กหญิงเอจะได้คะแนนเต็ม
38

4. เด็กชายมดแดง และเพื่อนอีก 4 คนยืนเรียงแถวหน้ากระดาน จงหา

4.1 ความน่าจะเป�นที่เด็กชายมดแดงยืนหัวแถว

4.2 ความน่าจะเป�นที่เด็กชายมดแดงยืนริม (2ข้าง)

4.3 ความน่าจะเป�นที่เด็กชายมดแดงยืนตรงกลาง
39

ถ้า A และ B เป�นเหตุการณ์ใดๆ ที่เป�นสับเซตของแซมเป�ลสเปซ S แล้ว


P(A B) = P(A) + P(B) - P(A B)

ถ้า A และ B เป�นเหตุการณ์ใดๆ ที่ไม่เกิดร่วมกันแล้ว


P(A B) = P(A) + P(B)

ถ้า A เป�นเหตุการณ์ใดๆ ที่เป�นสับเซตของแซมเป�ลสเปซ S แล้ว


P( A ) = 1 - P(A)

ถ้า A และ B เป�นเหตุการณ์ใดๆ ที่เป�นสับเซตของแซมเป�ลสเปซ S แล้ว


P (A-B) = P(A) – P(A B)

หมู่บ้านแห่งหนึง่ มีปะชากรอาศัยอยู่ 200 ครอบครัว มีครอบครัวที่ปลูกข้าว 100 ครอบครัว


ปลูกข้าวโพด 120 ครอบครัว และปลูกทั้งข้าวและข้าวโพด 40 ครอบครัว จงหาความน่าจะเป�นที่ครอบครัว
หนึ่งในหมู่บ้านนั้นจะปลูกข้าวหรือข้าวโพด

ให้ E1 เป�นเซตของครอบครัวที่ปลูกข้าว
ให้ E 2 เป�นเซตของครอบครัวที่ปลูกข้าวโพด

ที่ 1 จากสิ่งที่กําหนดให้ในโจทย์ เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกของแต่ละส่วนของ E1 E 2 ได้ดังนี้

ดังนัน
้ ความน่าจะเป�นที่ครอบครัวหนึ่งในหมู่บ้านนัน
้ จะปลุกข้าวหรือข้าวโพดเท่ากับ .......................
40

โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป�ที่ 5 จํานวน 80 คน นักเรียนแต่ละคนจะต้องเรียน


วิชาฟ�สิกส์ เคมี หรือคณิตศาสตร์อย่างน้อยหนึ่งวิชา จากการนับจํานวนนักเรียนที่เลือกเรียนในแต่ละวิชา
ปรากฏว่ามีนักเรียนที่เลือกเรียนวิชาฟ�สิกส์ เคมี หรือคณิตศาสตร์เป�นจํานวน 50 ,40 และ 33 คน ตามลําดับ
ในจํานวนดังกล่าวนี้ มีผู้ที่เลือกเรียนทั้งสามวิชาอยู่ 5 คน เลือกเรียนวิชาคณิตศาสตร์อย่างเดียว 10 คน เลือก
เรียนวิชาเคมีอย่างเดียว 12 คน และเลือกเรียนทั้งวิชาเคมี และวิชาคณิตศาสตร์ 13 คน จงหาความน่าจะ
เป�นที่นักเรียนคนหนึ่งในชัน
้ นีจ้ ะเรียนวิชา
(1) ฟ�สิกส์หรือเคมี
(2) คณิตศาสตร์หรือฟ�สิกส์
(3) เคมีหรือคณิตศาสตร์
ให้ E 1 , E 2 และ E 3 เป�นเหตุการณ์ที่นักเรียนคนหนึ่งในชั้นนีจ้ ะเรียนวิชาฟ�สิกส์ เคมี และคณิตศาสตร์
ตามลําดับ เขียนแผนภาพแสดงจํานวนสมาชิกได้ดังรูป
41

1. เด็กคนหนึ่งมีลูกแก้วขนาดเดียวกัน 4 ลูก อยู่ในกระเป๋ากางเกงเป�นสีแดง 2 ลูก สีเขียวและ


สีเหลืองอย่างละ 1 ลูก จงหาความน่าจะเป�นที่เด็กคนนัน
้ ล้วงกระเป๋า หยิบลูกแก้วขึ้นมาหนึ่งลูก แล้ว
(1) ได้ลูกแก้วสีแดงหรือลูกแก้วสีเขียว (0.75)

(2) ไม่ได้ลูกแก้วสีแดงหรือสีเขียว

ในการทอดลูกเต๋า 2 ลูกพร้อมกัน จงหา


(1) ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าทั้งสองลูกจะขึ้นหน้าเหมือนกัน หรือ ผลรวมของแต้มมากกว่า 10

1
(2) ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าทั้งสองลูกจะขึ้นหน้าเหมือนกัน หรือ ผลรวมของแต้มเท่ากับ 7 ( )
3

(3) ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าทั้งสองลูกจะขึ้นหน้าไม่เหมือนกัน

(4) ความน่าจะเป�นของเหตุการณ์ที่ลูกเต๋าทัง้ สองลูกจะขึ้นหน้าเหมือนกันแต่ผลรวมของแต้มไม่มากกว่า 10


42

3. มีสลาก 6 ใบ แต่ละใบเขียนกํากับเลขโดดไว้ 1 ตัวคือ 1, 2, 3, 4, 7, 8


(1) ถ้าสร้างจํานวนจากการหยิบสลากมาทีละ 1 ใบ 2 ครั้งโดย ใส่คืน จงหาความน่าจะเป�นที่จํานวนที่สร้างได้

เป�นจํานวนคี่

(2) ถ้าสร้างจํานวนจากการหยิบสลากมาทีละ 1 ใบ 2 ครั้ง โดยหยิบครั้งแรกแล้ว จงหาความน่าจะเป�นที่


1
จํานวนที่สร้างได้มีหลักหน่วยเป�น 8 ( )
6

4. มีนักเรียนชาย 3 คน นักเรียนหญิง 2 คน ยืนเรียงหน้ากระดานถ่ายรูปจงหาความน่าจะเป�นที่

(1) นักเรียนชายยืนสลับที่กับนักเรียนหญิง

(2) นักเรียนชายยืนติดกัน

(3) นักเรียนหญิงยืนติดกัน
43

5. ข้อสอบชนิดเติมเครื่องหมายถูกผิด จํานวน 10 ข้อ ถ้านักเรียนคนหนึ่งเดาข้อสอบทุกข้อ ความน่าจะเป�นที่

นักเรียนคนนี้ทําข้อสอบถูกหมดเป�นเท่าใด

6. ในกล่องใบหนึ่งมีบอล 3 สี คือ สีม่วง ฟ้า และเขียว จํานวนลูกแก้วสีม่วงเท่ากับสีฟ้า จํานวนลูกแก้วสีเขียวเป�น


2 เท่าของสีฟ้า หยิบลูกบอลมา 1 ลูก จงหาความน่าจะเป�นที่จะได้ลูกบอลสีม่วง

7. สุ่มหยิบสลาก 1 ใบจาก 10 ใบที่กํากับตัวเลข 1 ถึง 10 ไว้ ให้ E1 แทนเหตุการณ์ที่หยิบได้จํานวนเฉพาะ


E2 แทนเหตุการณ์ ที่หยิบได้จํานวนคี่ จงหา
(1) P(E1 E 2)

(2) P(E1 E2)


44

1. กล่องใบหนึ่งมีลูกบอล 30 ลูก เป�นลูกบอลสีแดง 10 ลูก สีเขียว 10 ลูก และสีเหลือง 10 ลูก ถ้าหยิบลูกบอลครั้ง


ละ 1 ลูก 3 ครั้ง โดยหยิบแล้วไม่ใส่คืน คงหาความน่าจะเป�นทีจ่ ะได้ลูกบอลสีแดง 2 ลูก และสีเหลือง 1 ลูก

ตามลําดับ

2. มีคน 10 คนซึ่งใน 10 คนนี้ มีปารมีและภูผาอยู่ด้วย ถ้าจัดคน 10 คน นั่งเป�นวงกลมจงหาความน่าจะเป�นที่

ปารมี และภูผานั่งติดกัน

3. กล่องใบหนึ่งมีบัตร 5 ใบ ซึ่งมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 ถ้าหยิบบัตรจากกล่องใบนี้ 3 ใบพร้อมกัน จงหา


ความน่าจะเป�นที่ผลรวมของแต้มบนบัตรมากกว่า 10

4. นักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน ยืนเรียงแถวหน้ากระดาน จงหาความน่าจะเป�นที่นก


ั เรียนชายและ
นักเรียนหญิงยืนสลับกันคนต่อคน
45

5. กล่องในหนึ่งมีลูกแก้วขนาดเดียวกัน 13 ลูก เป�นสีแดง 6 ลูก สีขาว 4 ลูก และสีเหลือง 3 ลูก โดยที่ลูกแก้วทุกลูก


แตกต่างกัน ถ้าสุ่มหยิบลูกแก้วออกมา 3 ลูก แล้ว จงหาความน่าจะเป�นทีจ่ ะได้ลูกแก้วสีต่างกันทั้ง 3 ลูก

6. นักเรียนคนหนึ่งมีหนังสือคณิตศาสตร์ 3 เล่ม หนังสือเคมี 2 เล่ม และหนังสือฟ�สิกส์ 1 เล่ม โดยที่หนังสือทุกเล่ม


แตกต่างกัน ถ้านักเรียนคนนี้สุ่มหยิบหนังสือไปโรงเรียนอย่างน้อย 1 เล่มแล้ว จงหาความน่าจะเป�นที่
1
1) ได้เฉพาะหนังสือคณิตศาสตร์ ( )
9

1
2) ได้เฉพาะหนังสือเคมี ( )
21

1
3) ได้เฉพาะหนังสือฟ�สิกส์ ( )
63

1
4) ได้หนังสือครบทุกวิชา ( )
3
46

7. ชายคนหนึ่งมีเสื้ออยู่ 5 ตัวเป�นเสื้อสีขาว 3 ตัว สีฟ้า 2 ตัว และมีกางเกงขายาว 4 ตัว เป�นกางเกงสีขาว 1 ตัว สี


เทา 3 ตัว ถ้าชายคนนี้แต่งตัวออกจากบ้านโดยไม่เจาะจงแล้ว จงหาความน่าจะเป�นที่ชายคนนี้จะสวมเสื้อและ
17
กางเกงสีต่างกัน ( )
20

8. ตะกร้าใบหนึ่งมีส้ม มังคุด และมะม่วงรวมกัน 10 ลูก โดยทีจ่ ํานวนส้มเป�น 2 เท่าของจํานวนมังคุด และมีมะม่วง


อยู่ 1 ลูก โดยที่ผลไม้ทุกลูกแตกต่างกัน ถ้าหยิบผลไม้อย่างไม่เจาะจงจากตะกร้าใบนี้จํานวน 3 ลูก จงหาความ
3
น่าจะเป�นทีจ่ ะหยิบผลไม้ชนิดละ 1 ลูก ( )
30

9. ถ้าความน่าจะเป�นที่ นายธงชัย จะสอบผ่านวิชาคณิตศาสตร์และวิชาภาษาอังกฤษเป�น 0.6 และ 0.5 ตามลําดับ


และความน่าจะเป�นที่ผ่านอย่างน้อย 1 วิชาเป�น 0.8 จงหาความน่าจะเป�นที่นายธงชัยจะผ่านทั้งสองวิชานี้
(0.3)
47

10. มีนักเรียนกลุ่มหนึ่งจํานวน 120 คน ในจํานวนนี้พบว่า มีนักเรียนที่ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 60 คน มี


นักเรียนที่ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 50 คน และมีนักเรียนทีช
่ อบเรียนทั้งสองวิชา 20 คน ถ้าสุ่มเลือกนักเรียน
จากกลุ่มนี้มา 1 คน แล้ว จงหาความน่าจะเป�นที่นักเรียนคนทีจ่ ะเลือกมาจะ
1) ชอบเรียนอย่างน้อย 1 วิชา
2) ไม่ชอบเรียนทั้งสองวิชา
3) ชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แต่ไม่ชอบเรียนวิชาภาษาอังกฤษ
4) ชอบเรียนอย่างมาก 1 วิชา

You might also like