Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 7

ตราโรงเรียน โรงเรียน................................. อําเภอ............................... จังหวัด..........................

(ถามี) แบบทดสอบวัดผลรายตัวชี้วัด ชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3


กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี วิชา วิทยาศาสตร รหัส วิชา ว ...............
ผูออกขอสอบ ...............................................................................
บทที่ 2 พันธุกรรม
(สาระที่ 1 วิทยาศาสตรชีวภาพ มาตรฐาน ว 1.2 ตัวชี้วัด ม. 3/1 – ม. 3/4)
ม.3/1 สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหนวยพันธุกรรม หรือยีนในนิวเคลียส
ม.3/2 อธิบายความสําคัญของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ และกระบวนการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ขอสอบแบบปรนัยจํานวน ......30..... ขอ รวมคะแนน.......30...... คะแนน เวลา......45........ นาที


คําชี้แจง ใหนักเรียนเลือกขอที่ถูกตองที่สุด แลวกากบาท (X) ลงในกระดาษคําตอบ

1. ภาพใดแสดงโครโมโซมเพศของเซลลสืบพันธุเพศชายไดถูกตอง
A. B.

C. D.

ก. A ข. B
ค. C ง. C และ D
2. ลักษณะตางๆ ที่ถายทอดจากพอแมไปสูลูกหลานไดนั้นจะมีหนวยควบคุมซึ่งอยูในโครงสรางใด
ก. นิวเคลียส ข. พลาสมา
ค. เม็ดเลือดแดง ง. โพรโทพลาซึม
3. ขอใดกลาวไมถูกตอง
ก. ยีนแตละลักษณะจะมีอยูเปนคูๆ ข. โครโมโซมมียีน
ค. โครโมโซมในเซลลรางกายมี 46 แทง ง. โครโมโซมในเซลลรางกายมี 44 แทง
4. ขอใดหมายถึงลักษณะทางพันธุกรรม
ก. ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ควบคุมโดยยีน
ข. ลักษณะซึ่งถายทอดจากรุนหนึ่งไปยังอีกรุนหนึง่
ค. ลักษณะสืบเนื่องกันไปโดยอาศัยเซลลสืบพันธุเปนสื่อกลาง
ง. ถูกทุกขอ
5. ขอใดไมใชลักษณะทางพันธุกรรม
ก. ศีรษะลาน ข. ลักษณะทรงผม
ค. ตาบอดสี ง. โลหิตจาง
6. ในสิ่งมีชีวิตพบยีนไดที่ใด
ก. ในนิวเคลียส ข. บนจีโนไทป
ค. บนฟโนไทป ง. บนโครโมโซม
7. ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับโครโมโซม
ก. โครโมโซมของคน มี 23 คู ข. โครโมโซมของคน เรียกวา ออโตโซม
ค. เพศหญิงมีโครโมโซม XX ง. เพศชายมีโครโมโซม XY
8. ลูกชายเกิดจากการผสมระหวางโครโมโซม X ของเซลลไขกับเซลลอสุจิที่มีโครโมโซมชนิดใด
ก. X ข. Y
ค. XX ง. XY
9. อสุจิของคนมีโครโมโซมจํานวนกี่โครโมโซม
ก. 22 ข. 23
ค. 44 ง. 46
10. การแสดงลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่งนัน้ จะถูกควบคุมโดยยีนอยางนอยกี่คู
ก. 1 คู ข.2 คู
ค. 3 คู ง. มากกวา 3 คูขึ้นไป
11. ชายผิวเผือกแตงงานกับหญิงผิวปกติ มีลักษณะปกติแท โอกาสที่จะมีลูกผิวเผือกเปนเทาใด
ก. 0% ข.25%
ค. 75% ง. 100%
12. กําหนดให T คือ ลักษณะเดนควบคุมลักษณะตนสูง และ t คือ ลักษณะดอยควบคุมตนเตี้ย จีโนไทปของ
ตนถั่วลันเตาสูงพันธุทาง สูงพันธุแท และตนเตี้ย คือขอใดตามลําดับ
ก. Tt, TT, tt ข. Tt, tt, TT
ค. TT, tt, Tt ง. TT, Tt, tt
13 . ขอใดคือความหมายของ “จีโนไทป”
ก. ลักษณะที่ปรากฏใหเห็นในสิ่งมีชีวิต
ข. ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่พิจารณาในระดับหนึ่ง
ค. คูของยีน เชน AA , Aa ,aa
ง. การเปลี่ยนแปลงของยีนจากสภาพหนึ่งไปเปนอีกสภาพหนึ่ง
14. ขอใดถูกตอง
ก. ยีนแตละลักษณะจะมีอยูเปนคูๆ และจะแสดงออกพรอมกัน
ข. โครโมโซม 1 คู จะมียีนที่ควบคุมการแสดงออกอยู 1 ลักษณะ
ค. โครโมโซมในเซลลรางกายหากมีการแบงตัว จะมีการจําลองตัวเองเพิ่มเปน 4 เทา
ง. โครโมโซมเพศ หมายถึงคูที่ 23 ซึ่งจะเปนตัวกําหนดเพศดวย
15. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ปรากฏใหเห็นภายนอก เรียกวาอะไร
ก. ฟโนไทป ข. จีโนไทป
ค. โครโมโซม ง. ฮอโมโลกัส
16. นักวิทยาศาสตรที่ถือวาเปน บิดาแหงวิชา พันธุศาสตร คือ
ก. เกรเกอร เมนเดล ข. ชารล ดาวิน
ค. ไอแซก นิวตัน ง. มารค ซัคเคอรเบิรก
17. ขอใดคือลักษณะของ ฮอโมไซกัส
ก. AA ข. Aa
ค. rr ง. ทั้ง ก และ ค
18. ขอใดคือลักษณะของ เฮเทอโรไซกัส
ก. Tt ข. AA
ค. rr ง. PP
19. เด็กชายคนหนึ่งผิวเผือก มีพอผิวปกติ และแมผิวปกติเด็กคนนี้ไดรับยีนผิวเผือกจากผูใด และโอกาสจะมีผิว
เผือกรอยละเทาใด
ก. พอ / รอยละ 100 ข. แม / รอยละ 50
ค. พอและแม / รอยละ 25 ง. ปูและพอ / รอยละ 25
20. ลักษณะตาสีน้ําตาลในคนเปนลักษณะเดนขมลักษณะตาสีฟา สามีภรรยาคูหนึ่งมีตาสีน้ําตาลและมี
บุตรสาวตาสีฟา โอกาสที่สามีภรรยาคูนี้จะมีบุตรคนตอไปตาสีน้ําตาลเปนสัดสวนเทาใด
ก. 0 ข. 1 /2
ค. 1 / 4 ง. 3 / 4
21. ถากําหนดใหลักษณะตาสองชั้นเปนยีนดอย ตาชั้นเดียวเปนยีนเดน ชายหญิงคูหนึ่งแตงงานกัน และมีลูก
ตาชั้นเดียว 2 คน อยากทราบวา ชายหญิงคูนี้มียีนควบคุมลักษณะชั้นตาเชนไร
ก. มียีนเดนแทหมดทั้งสองคน
ข. มียีนดอยแฝงอยูทั้งสองคน
ค. มียีนดอยแทหมดทั้งสองคน
ง. มีโอกาสเปนไปได คือ ก. และ ข.
22. ชายหนุมคนหนึ่งมีลักษณะผิวดําพันธุแท แตงงานกับหญิงสาวผิวขาว มีลูก 2 คน ลูกทั้งสองมีโอกาสเปน
แบบใด
1. ผิวดําทั้งหมด 2. ผิวขาวทั้งหมด
3. ผิวดํา หรือขาวก็ได 4. คนหนึ่งผิวดํา อีกคนหนึ่งผิวขาว

23. จงพิจารณาแผนภูมิตอไปนี้

ขอใดสรุปถูกตอง
ก. พอและแมมียีนดอยแฝงอยู ข. เฉพาะพอมียีนดอยแฝงอยู
ค. เฉพาะแมมียีนดอยแฝงอยู ง. ลูกที่มีผิวปกติจะไมมียีนดอยแฝงอยู
24. ถาการรวมกันของยีนที่ติดบนโครโมโซมเปนไปอยางอิสระ สมมติให L เปนยีนที่ควบคุมลักษณะมีเขาของ
วัวเปนลักษณะเดน และให l เปนยีนที่ควบคุมลักษณะไมมีเขาของวัวเปนลักษณะดอย ถานักเรียนผสมวัว
ที่มีเขาพันธุแท กับวัวที่ไมมีเขาพันธุแท ลูกที่ไดจากการผสมจะเปนอยางไร
ก. ไดลูกวัวมีเขาทั้งหมด
ข. ไดลูกวัวไมมีเขาทั้งหมด
ค. ไดลูกวัวมีเขาและไมมีเขาอยางละเทาๆ กัน
ง. ไดลูกวัวมีเขา 3 สวนไมมีเขา 1 สวน
25. จากขอ 24 . ถานําวัวรุนลูกมาผสมกันเอง จะไดวัวรุน หลานเปนอยางไร
ก. ไดวัวมีเขาทั้งหมด ข. ไดวัวไมมีเขาทั้งหมด
ค. ไดวัวมีเขาและไมมีเขาอยางละเทาๆ กัน ง. ไดวัวมีเขา 3 สวนและไมมีเขา 1 สวน
26. กําหนดให A แทน ยีนเดนที่ควบคุมลักษณะผิวปกติ และ
a แทน ยีนดอยที่ควบคุมลักษณะผิวเผือก
สามี – ภรรยา ที่มีลักษณะยีนในคูใดที่ลูกของพวกเขามีโอกาสแสดงลักษณะผิวเผือก 50%
ก. AA × aa ข. Aa × Aa
ค. Aa × aa ง. AA × Aa
27. ถาลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะหนึ่งถูกควบคุมดวยยินดอยที่อยูบนโครโมโซมเพศชนิด X การถายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะนี้จะเปนอยางไร
ก. พบลักษณะนี้ในผูหญิงเทานั้น
ข. พบลักษณะนี้ในผูหญิงมากกวาผูชาย
ค. พบลักษณะนี้ในผูชายมากกวาผูหญิง
ง. ไมสามารถพบลักษณะนี้ในผูชายได
28. ทดลองผสมพันธุพืชชนิดหนึ่งที่มีดอก 2 สี ไดแก สีแดง และสีขาว โดยสีแดงเปนลักษณะเดน ซึ่งถูกควบคุม
ดวยยีน R และสีขาวเปนลักษณะดอยซึ่งถูกควบคุมโดยยีน r เมื่อไดผลผลิตรุน F1 แลว นํามาไปผสม
กันตอ ไดรุน F 2 อยากทราบวาฟโนไทป ของรุน F 1 มีลักษณะเดน ตางจากรุน F2 กี่เปอรเซ็นต
ก. 0 % ข. 12.5 %
ค. 25.0 % ง. 50.0 %
29. หากมี พอ หรือ แม คนใดคนหนึ่ง มีหมูเลือด AB หมูเลือดใด ที่ไมมีโอกาสเปนไปไดในลูก หา
ก. A ข. B
ค. O ง. AB
30.หากพอมีเลือดหมู A แมมีเลือดหมู B ลูกที่เกิดมาสองคนมีเลือดหมู A และหมู B โอกาสที่ลูกคนที่สามจะ
เลือดหมู O เปนเทาใด
ก. 0 % ข. 12.5 %
ค. 25.0 % ง. 50.0 %
เฉลย
ขอ เฉลย และ อธิบาย
1. ง. C และ D : ในเพศชาย จะมีโครโมโซม 23 คู (2n = 46 แทง) โดยคู 23 จะเปนโครโมโซ
เพศ ซึ่งเพศชายจะเปน XY การแบงเซลลสืบพันธุ จะเหลือ โครโมโซมครึ่งเดียว ( n = 23 ) โดย
คูที่ 23 จะถูกแบง ออกเปน X กับ Y ดังนั้น จึงมีเซลลสืบพันธุได 2 แบบ
2. ก.นิวเคลียส : บรรจุสารพันธุกรรม
3. ง. โครโมโซมในเซลลรางกายมี 44 แทง : ในเซลลรา งกายจะมีโครโมโซม 23 คู หรือ 46 แทง
โดย 22 คูแรก จะเปนโรคโมโซมที่ควบคุมการแสดงออกของรางกาย สวนคูที่ 23 ควบคุมการ
แสดงออกทางเพศ
4. ง. ถูกทุกขอ
5. ข. ลักษณะทรงผม
6. ง. บนโครโมโซม
7. ข. โครโมโซมของคน เรียกวา ออโตโซม : ออโตโซม (Autosome) หมายถึงโครโมโซมควบคุมการ
แสดงออกของรางกาย หรือ คูที่ 1 – 22
8. ข. Y
9. ข. 23
10. ก.1 คู
11. ก. 0% : ลูกรุน F1 จะมีลักษณะเดน 100% รุน F2 จะมีลักษณะเดน : ดอย 3 : 1
12. ก. Tt, TT, tt
13. ค. คูของยีน เชน AA , Aa ,aa
14. ง. โครโมโซมเพศ หมายถึงคูที่ 23 ซึ่งจะเปนตัวกําหนดเพศดวย
15. ก. ฟโนไทป
16. ก. เกรเกอร เมนเดล
17. ง. ทั้ง ก และ ค
18. ก. Tt
19. ค.พอและแม / รอยละ 25 : พอ แม ตางก็เปนพาหะ ที่มียีนแฝงของผิวเผือก โอกาสที่จะมีลูก
เปนโรคผิวเผือก คือ 25% หรือ 1 ใน 4
20. ง. 3 / 4 : พอ แม ตาสีน้ําตาลทั้งคู แตมีลุกตาสีฟาได แปลวา ทั้งคูมียีนแฝง ของตาสีฟา ดังนั้น
โอกาสที่จะมีลูกตาสีฟา คือ ¼ และ มีลูกตาสีน้ําตาล คือ ¾
21. ข. มียีนดอยแฝงอยูทั้งสองคน การที่มีลูก มีตาชั้นเดียว 2 คน ซึ่งแปลวา ตาชั้นเดียวคือยีนเดน
แตยังมีลูกที่มีตาสองชั้น (ซึ่งตาสองชั้นคือยีนดอย) นั่นแปลวา พอกับแม

22. ง. มีโอกาสเปนไปได คือ ก. และ ข. : เพราะการมีลูกเปนลักษณะเดน นั่นแปลวา พอ และแม


ตองมียีนเดน ซึ่งเปนไปไดวา เปนเดนพันธุแท หรือ เปนเดนพันธุทางก็เปนได
23. ก. พอและแมมียีนดอยแฝงอยู : เพราะพอแมไมไดปวย แตมีลูกที่มีผิวเผือกได ดังนั้น
แปลวา ทั้งพอ และแม มียีนผิวเผือกแฝงอยู ทั้งคู
24. ก. ไดลูกวัวมีเขาทั้งหมด : ลูกรุน F1 จะมีลักษณะเดน 100% รุน F2 จะมีลักษณะเดน : ดอย
3:1
25. ง. ไดวัวมีเขา 3 สวนและไมมีเขา 1 สวน
26. ค . Aa × aa
27. ค . พบลักษณะนี้ในผูชายมากกวาผูหญิง ; เพราะเพศชายมีโครโมโซม คูที่ 23 แบบ XY
ดังนั้น หากโรคถายทอดมาทาง X-โครโมโซม ในชาย จะแสดงความเปนโรคทันที แตในหญิง มี XX
หากไดมา 1 ขาง จะยังไมแสดงออก (เปนเพียงพาหะ) ดังนั้น จึงมีโอกาสพบโรค ในชาย มากกวา
หญิง
28. ค. 25.0 % รุน 1 มีลักษณะเดน 100% รุน 2 มีลักษณะเดน 75% ดังนั้น ตางกัน 25%
29. ค. O
30. ค. 25.0 % การที่ พอหมูเลือด A แม B แลว มีลูก A และ B นั่นแปลวา พอ และมี เปน

พันทาง ทั้งคู โดยที่ พอ จะมียีนแบบ iAi0 สวนแมมียีนแบบ iBi0 ดังนั้น โอกาสของลูกที่มี

พอ แม ลักษณะนี้ คือ หมู A = 25% หมู B = 25 % หมู AB = 25% และหมู O =
25%

You might also like