Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

Course: GE905 การเรียนรู น้ อกห้องเรียน

นิยามศัพท์และคาทีเ่ กี่ยวข้องกับการเรียนรู้นอกห้องเรียน

1. Linguistic Landscape ภูมทิ ศั น์ทางภาษาศาสตร์


หมายถึง การศึกษาภาษาที่ปรากฏในพืน้ ที่สาธารณะ เช่น ป้ายโฆษณา ป้ายถนน ป้าย
ชื่อสถานที่ ป้ายชื่อร้านค้า ป้ายของหน่วยงานราชการ ป้ายของสถานศึกษา ข้อความ
บนถังขยะ

2. Lifelong Learning การเรียนรู้ตลอดชีวติ


- หมายถึง การไม่หยุดเรียนรู ส้ ่งิ ต่าง ๆ รอบตัว ที่ไม่ใช่เพียงแค่การศึกษาเท่านัน้ แต่ยงั
รวมไปถึงพัฒนาตัวเอง ครอบครัว องค์กร พร้อมทัง้ เปิ ดกว้างทางด้านความคิด รับฟั ง
ผูอ้ ่นื และตื่นตัวในการรับสิ่งใหม่ ๆ ตลอดเวลา

- หมายถึง การพัฒนาและการปรับตัว หรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึน้ ในตัวบุคคลอัน


เป็ นผลมาจากกระบวนการพัฒนาสติปัญญา สังคม และบุคคล ที่กระทาอย่างต่อเนื่อง
ตลอดช่วงชีวิต ซึง่ อาจเป็ นจากการดาเนินชีวิต การเรียนรูอ้ ย่างตัง้ ใจหรือไม่ตงั้ ใจก็ได้
การเรียนรู ต้ ลอดชีวิตไม่ได้ครอบคลุมเฉพาะการศึกษาของผูใ้ หญ่แต่เป็ นการศึกษา
สาหรับทุก ๆ ช่วงของชีวิต ตัง้ แต่เกิดจนตาย

ตัวอย่างทักษะที่ใช้ในการเรียนรู ต้ ลอดชีวิต (Lifelong Learning Skills)


1. Creativity Skill ทักษะคิดสร้างสรรค์
2. Problem Solving Skill ทักษะการจัดการปั ญหา
3. Critical Thinking Skill ทักษะคิดเชิงวิพากษ์

1
Course: GE905 การเรียนรู น้ อกห้องเรียน

4. Leadership ภาวะผูน้ า
5. Communication Skill ทักษะสื่อสาร
6. Collaboration Skill ทักษะการร่วมมือและประสานงาน
7. Information Management การจัดการข้อมูลข่าวสาร
8. Adaptability Skill ทักษะการปรับตัว
9. Curiosity ความอยากรู อ้ ยากเห็น

3. Self-Directed Learning/Autonomous Learning การเรียนรู้ด้วยตนเอง


- หมายถึง การเรียนรู ซ้ ง่ึ ผูเ้ รียนรับผิดชอบในการวางแผน การปฏิบตั ิ และการ
ประเมินผล ความก้าวหน้าของการเรียนของตนเอง เป็ นลักษณะซึง่ ผูเ้ รียนทุกคนมีอยู่ใน
ขณะที่อยู่ในสถานการณ์การเรียนรู ้ ผูเ้ รียนสามารถถ่ายโอนการเรียนรูแ้ ละทักษะที่เกิด
จากการเรียนจากสถานการณ์หนึ่งไปยังอีกสถานการณ์หนึ่งได้ (Hiemstra, 1994)
- เป็ นกระบวนการที่ผเู้ รียนวิเคราะห์ความต้องการในการเรียนรู ข้ องตนเอง ตัง้ เป้าหมาย
ในการเรียน แสวงหาผูส้ นับสนุน แหล่งความรู ้ สื่อการศึกษาที่ใช้ในการเรียนรู ้ และ
ประเมินผลการเรียนรูข้ องตนเอง ทัง้ นีผ้ เู้ รียนอาจได้รบั ความช่วยเหลือจากผูอ้ ่นื หรือ
อาจจะไม่ได้รบั ความช่วยเหลือจากผูอ้ ่นื ก็ได้ ในการกาหนดพฤติกรรมตามกระบวนการ
ดังกล่าว ดิกสัน (Dixon, 1992)

- “If you give a man a fish, you feed him for a day. If you teach a man
to fish, you feed him for a lifetime.”
“ให้ปลาแก่คนเท่ากับให้เขากินแค่วนั เดียว สอนวิธีการจับปลาให้คนเท่ากับให้เขามี
กินไปตลอดชีวติ ” (Lao Tzu เหลาซือ)
2
Course: GE905 การเรียนรู น้ อกห้องเรียน

4. Learning Strategies กลวิธีการเรียนรู้


ออกซ์ฟอร์ด (Oxford, 1990, p. 14-150) ได้เสนอการจัดประเภทของกลวิธีในการ
เรียนภาษาเป็ น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ กลวิธีทางตรง และกลวิธีทางอ้อม ดังนี ้

กลวิธีการเรียนทางตรง( Direct strategies ) หมายถึง กลวิธีท่เี กี่ยวข้อง


โดยตรงกับภาษาเป้าหมายที่ผเู้ รียนเรียนโดยกลวิธีนีผ้ เู้ รียนใช้กระบวนการทางสมองที่
แตกต่างกัน ได้แก่
1) กลวิธีดา้ นการจา (Memory strategies) เช่น การจัดกลุ่มคาศัพท์ การนา
คาศัพท์ใหม่ไปใช้ในบริบท การเสริมสร้างความจาโดยใช้ภาพ ใช้เสียง ใช้ท่าทาง
2) กลวิธีดา้ นความคิด (Cognitive strategies) เช่น การฝึ กฝนด้วยการพูดซา้ ๆ
การฝึ กเขียนหรือพูดอย่างมีรูปแบบ การจับใจความอย่างรวดเร็ว การวิเคราะห์และการ
ให้เหตุผล การจดโน๊ตย่อ การสรุปความ
3) กลวิธีการชดเชยข้อบกพร่อง (Compensation strategies) เช่น การเดาอย่างมี
หลักการ การแก้ไขข้อจากัดทางภาษาโดยการใช้คาในภาษาแม่แทนคาศัพท์ท่ตี ิดขัด
การใช้ท่าทางประกอบการพูด
กลวิธีในการเรียนทางอ้อม (Indirect strategies) หมายถึง กลวิธีท่ผี เู้ รียน
ใช้ในการจัดการกับการเรียนและส่งเสริม รวมทัง้ ควบคุมกระบวนการเรียนของตน
กลวิธีดงั กล่าวแบ่งได้ดงั นี ้
1) กลวิธีท่ีนาไปสูค
่ วามสาเร็จ (Metacognitive strategies) เช่น การเอาใจใส่ตอ่
การเรียน การจัดการและการวางแผนการเรียน การประเมินผลการเรียนหรือ
ความก้าวหน้าในการเรียนของตนเอง

3
Course: GE905 การเรียนรู น้ อกห้องเรียน

2) กลวิธีดา้ นอารมณ์ (Affective strategies) เช่น การลดความวิตกกังวล การให้


กาลังใจตนเอง การตรวจสอบระดับจิตใจและอารมณ์ของตนเองด้วยการใช้แบบสารวจ
เพื่อตรวจสอบความรูส้ กึ ทัศนคติ และแรงจูงใจของตนเองที่ หรือการเขียนบันทึก
ประจาวันเกี่ยวกับความรู ส้ กึ อารมณ์
3) กลวิธีดา้ นสังคม (Social strategies) หมายถึง กลวิธีท่จี าเป็ นต้องใช้เมื่อผูเ้ รียนมี
การปฏิสมั พันธ์กบั บุคคลอื่น เช่น การถามคาถาม การทางานร่วมกับผูอ้ ่ืน การคานึงถึง
ผูอ้ ่นื และเข้าใจผูอ้ ่ืน

5. Motivation แรงจูงใจ
หมายถึง แรงพลักดันที่ทาให้คนเราเกิดการเคลื่อนไหว หรือเกิดพฤติกรรม อย่างหนึ่ง
อย่างใด หรือหลายอย่าง ที่จะทาให้เราสามารถบรรลุเป้าหมายตามที่เราได้ตงั้ เอาไว้ได้

แรงจูงใจนี ้ สามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ก็คือ


Intrinsic motives (แรงจูงใจภายใน) และ Extrinsic motives (แรงจูงใจภายนอก)

1) Intrinsic motives (แรงจูงใจภายใน)


แรงจูงใจภายใน คือแรงขับเคลื่อนที่ทาให้เราเกิดพฤติกรรมต่าง ๆ ที่มาจากภายในจิตใจ
ของเรา ไม่ว่าจะมาจากความคิด ทัศนคติ ความสนใจ ความชอบ หรือแม้แต่
ความเชือ่ ของเราก็ตาม แล้วส่งผ่านออกมาเป็ นการกระทาของตัวเรา เป็ นแรงจูงใจที่
ค่อนข้างยั่งยืน และส่งผลให้เราแสดงออกทางด้านพฤติกรรมเหล่านัน้ ได้อย่างต่อเนื่อง
และยาวนาน

4
Course: GE905 การเรียนรู น้ อกห้องเรียน

2) Extrinsic motives (แรงจูงใจภายนอก)


แรงจูงใจภายนอก คือแรงจูงใจที่เกิดจากการถูกกระตุน้ จากภายนอกจิตใจของเรา
อาจจะเกิดจากการต้องการการยอมรับจากผู้อ่นื ต้องการการมีชอ่ื เสียง หรือ
เกิดการมีของรางวัลทีเ่ ราต้องการมาล่อใจ ทาให้เราเกิดแรงขับเคลื่อน หรือแรงพลัก
ดันในการแสดงออกทางพฤติกรรมอย่างหนึ่งอย่างใด หรือหลายอย่าง เพื่อให้บรรลุ
และได้มาซึ่งเป้าหมายที่เราตัง้ ไว้ โดยเป้าหมายในที่นีก้ ็คือการยอมรับจากผูอ้ ่นื ชื่อเสียง
หรือของรางวัลใด ๆ นั่นเอง

Sources
https://hs.kku.ac.th/inter_report/pdf/Fri114448kNdxPGe.%E0%B8%A8%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%81%E0%B8%B4
%E0%B8%95,%E0%B8%AD.%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B6%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%A4%E0%B8%97%E0%
B8%B1%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A7.pdf

https://www.yournextu.com/th/%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%AD%E0%B8%81/lifelong-learning/

https://sites.google.com/site/jirayusji192020/hawkhx-3/-kar-reiyn-ru-tlxd-chiwit-lifelong-learning

https://penpakchauypan.wordpress.com/2015/05/13/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%
B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%99%E0%B8%B
3%E0%B8%95%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%87-self/

https://www.gotoknow.org/posts/173089

You might also like