Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 25

บทที่ 3

วิธีดำเนินกำรวิจัย

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู ผู้วิจัยใช้ รูปแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development : R&D)
ประกอบด้ วย 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาข้ อมูลพื้นฐาน (R1) ระยะที่ 2 สร้ างหลักสูตร (D1)
ระยะที่ 3 นาหลักสูตรไปใช้ (R2) ดังรายละเอียดต่อไปนี้

1. ระยะที่ 1 ศึกษำข้อมู ลพื้ นฐำน (R1) เป็ นระยะของการศึกษาค้ นคว้ า รวบรวมข้ อมูลเกี่ยวกับ
การพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัต กรรม
ที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
1.1 วัตถุประสงค์
เพื่ อ ศึ ก ษาข้ อ มู ลพื้ นฐานเกี่ ย วกั บหลั ก สูต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ างสรรค์ เ พื่ อ ส่ง เสริม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
1.2 ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
1.2.1 แหล่งข้อมูล ประกอบด้ วยเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับการคิดสร้ างสรรค์
และการส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น จานวน 15
รายการ โดยจัดกลุ่มของประเด็นต่าง ๆ ที่สอดคล้ องกันได้ ดังนี้
1) ประเด็นเกี่ยวกับสภาพปัจจุบันปัญหา สถานการณ์ท่เี กิดขึ้นในสภาวะปั จจุบัน
เกี่ยวกับการส่งเสริมให้ นักเรียนเป็ นผู้ท่สี ามารถสร้ างนวัตกรรม โดยอาศัยทักษะการคิดสร้ างสรรค์
ตลอดจนแนวโน้ มการจั ดการศึ กษาที่ต อบโจทย์ส ภาวะของเศรษฐกิ จในประเทศ โดยผู้วิจั ย ได้
สังเคราะห์ข้อมูลจาก รายงานสภาวะการศึกษาไทย ปี 2557/2558 “รากเหง้ าของปัญหาและแนว
ทางแก้ ไ ข” (วิ ท ยากร เชี ย งกู ล , 2560) แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 12
(พ.ศ. 2560 - 2564) (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ , 2560)
และ รายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี 2560 (สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (องค์การมหาชน), 2560) ซึ่งข้ อมูลที่สังเคราะห์จะเป็ นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนความ
ต้ อ งการจ าเป็ นในการพั ฒ นาหลั ก สู ต รที่ส่ ง เสริ ม ทัก ษะการคิ ด สร้ า งสรรค์ ซึ่ ง ผู้ วิ จั ย ได้ ด าเนิ น
การศึกษาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคิดสร้ างสรรค์ การส่งเสริมและการพัฒนาทักษะดังกล่าวดัง
รายละเอียดในประเด็นทักษะการคิดสร้ างสรรค์
92

2) ประเด็น เกี่ ย วกั บ ทั ก ษะการคิ ด สร้ า งสรรค์ โดยศึ ก ษารายละเอี ย ดของ


ความหมายในมุมมองของนักการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ เพื่อให้ ทราบถึงแนวทางการส่งเสริม
การสนับสนุ นให้ นักเรียนสามารถใช้ ศักยภาพของตนเองในการสร้ างนวัต กรรมที่นาภูมิ ปั ญ ญา
ท้องถิ่นเข้ ามามีบทบาทในการเป็ นแหล่งข้ อมูลและฐานคิดในการสร้ างนวัตกรรม โดยศึกษาเอกสาร
และวิเคราะห์ข้อมูลจากหนังสือและตาราการคิดสร้ างสรรค์ (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2553)
ความคิ ด และความคิ ด สร้ างสรรค์ (วนิ ช สุ ธ ารั ต น์ , 2547) Creativity and Its Cultivation
(Anderson, H.H., 1959) Training Creative Thinking (Davis, G.A, 1972) ข้ อมูลที่ได้ จากการ
สังเคราะห์จะเป็ นส่วนประกอบในการส่งเสริมให้ เกิดมีหลักสูตรที่พัฒนาความคิดสร้ างสรรค์
3) ประเด็นเกี่ยวกับหลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร โดยศึกษาเอกสารและ
งานวิ จั ย ที่เ กี่ ย วข้ อ งจากนั ก การศึก ษา เกี่ ย วกั บ ความหมายของการพัฒ นาหลัก สู ต ร การสร้ าง
การปรับปรุง รูปแบบของการพัฒนาตลอดจนหลักสูตรท้ องถิ่นที่ตอบสนองความต้ องการของ
ผู้ เ รี ย นและชุ ม ชน โดยชุ ม ชนมี ส่ วนร่ ว ม ซึ่ ง ศึ ก ษาจากเอกสารและตารา การพั ฒ นาหลักสูตร:
หลักการแนวปฏิบัติ (ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์, 2539) การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม เรื่อง
งานประดิษฐ์ จากวัสดุรีไซเคิลเพื่อส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6
(จิราภา กุล ชาติ, 2557) การพัฒนาหลักสูตรฝึ กอบรมเพื่อส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ด้านพล
ศึกษาของนักศึกษาในสถาบั น การพลศึ กษา (นรินทร์ สุทธิศักดิ์, 2550) การพัฒนาหลั ก สู ต ร
รายวิชาสิ่งประดิษฐ์สร้ างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ตามแนวทฤษฎีคอนสตรัคชั่นนิสต์ สาหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 (ไพศาล วงศ์กระโซ่, 2557) การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการ
คิดสร้ างสรรค์สาหรับนักเรียนประถมศึกษา (เมริกา ตรรกวาทการ, 2558) การพัฒนาหลักสูตร
เสริมเพื่อส่งเสริม ความคิดสร้ างสรรค์สาหรับ นั ก เรีย นช่ วงชั้น ที่ 2 (สมพร หลิมเจริญ , 2552)
Student and faculty perspectives on creative thinking across the master of occupational therapy
program (Angela, 2015) The Effectiveness of a Creativity Course on Developing Chinese
Design Students’ Creative Thinking (Hua Zhu, 2015)
นอกจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับประเด็น ข้ อคาถาม หรือ
วัตถุประสงค์การวิจัยแล้ ว ผู้วิจัยยังได้ วางแผนเก็บรวบรวมข้ อมูลจากผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ องกับการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน โดยการสัมภาษณ์ เพื่อนาข้ อมูลมาสนับสนุนข้ อค้ นพบจากการศึก ษา
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง ดังรายละเอียดที่จะนาเสนอเป็ นลาดับต่อไปนี้
1.2.2 ผู ม้ ี ส่ ว นเกี่ ย วข้อ ง ประกอบด้ ว ย ตั ว แทนนั ก เรี ย น ครู ท่ีป รึ ก ษานวั ต กรรม
ผู้บริหารสถานศึกษา และตัวแทนคณะกรรมการสถานศึกษาหรือปราชญ์ชาวบ้ าน ของโรงเรียนที่มี
นวัตกรรมดีเด่นระดับจังหวัด จากการประกวดนวัตกรรมในงานศิลปะหัตถกรรมนักเรียน รวม 3 ปี
ย้ อนหลัง ด้ วยการเลือกแบบเจาะจง และยินดีให้ ข้ อมูล โดยการสัมภาษณ์ รวมทั้งหมด 15 คน
รายละเอียดผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องมีดังนี้
93

1) ตัวแทนนักเรียนซึ่งเป็ นเจ้ าของนวัตกรรม


จานวน 3 โรงเรียนๆ ละ 2 คน จานวน 6 คน
2) ครูท่ปี รึกษานวัตกรรม
จานวน 3 โรงเรียนๆ ละ 1 คน จานวน 3 คน
3) ผู้บริหารสถานศึกษา
จานวน 3 โรงเรียนๆ ละ 1 คน จานวน 3 คน
4) คณะกรรมการสถานศึกษาหรือปราชญ์ชาวบ้ าน
จานวน 3 โรงเรียนๆ ละ 1 คน จานวน 3 คน
1.3 เครื่องมือและกำรหำคุณภำพเครื่องมือ
เครื่ อ งมื อ ที่ใ ช้ ใ นการวิ จั ย ระยะนี้ ได้ แ ก่ แบบสั ม ภาษณ์ ซึ่ ง เป็ นเครื่ อ งมื อ ที่ใ ช้ เ ก็บ
รวบรวมข้ อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสนทนาแบบเผชิญหน้ า และการบันทึกข้ อมูลลงในเอกสารแบบ
บันทึก ตลอดจนการถอดความจากเทปบันทึกการสัมภาษณ์ กล่าวคือ ผู้วิจัยจะใช้ คาถามที่เตรียมไว้
สนทนาร่วมกันทุกคน โดยดาเนินการเป็ นรายบุคคล ซึ่งมีประเด็นคาถามกว้ างๆ เกี่ยวกับหลักสูตร
และการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรม
ที่บู ร ณาการภูมิ ปั ญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา จั ง หวั ด หนองบั ว ล าภู มี ข้ั น ตอนการ
ดาเนินการสร้ างและหาคุณภาพเครื่องมือดังนี้
1) ศึกษาเอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้ องกับ หลั กสูตร การส่งเสริมความคิ ด
สร้ างสรรค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนการบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการสร้ างนวัตกรรม
2) ศึกษาวิธีสร้ างแบบสัมภาษณ์ และกาหนดรูปแบบของแบบสัมภาษณ์
3) สร้ างข้ อ ค าถามเกี่ ย วกั บ หลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ างสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น มีประเด็นดังต่อไปนี้
- การส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ในสถานศึกษามีลักษณะอย่างไร
- โครงสร้ างของหลักสูตรสถานศึกษา ควรมีลักษณะอย่างไร
- การน าภูมิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น เข้ า มาร่ ว มในกิ จ กรรมการเรี ย นการสอนที่ส่ ง เสริ ม
ความคิดสร้ างสรรค์ ควรมีลักษณะอย่างไร
- เนื้อหาวิชาที่ส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ควรมีลักษณะอย่างไร
- การวัดผลประเมินผลความคิดสร้ างสรรค์ควรมีลักษณะอย่างไร
- ปัญหาในการสร้ างนวัตกรรมของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาเป็ นอย่างไร
- แนวทางการพัฒนาหลักสูตรที่นาภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ าร่วมควรมีลักษณะอย่างไร
4) จัดพิมพ์และทาฉบับสาเนา เพื่อดาเนินการหาคุณภาพของเครื่องมือต่อไป
5) นาแบบสัมภาษณ์ท่สี ร้ างขึ้นให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญ พิจารณาความเหมาะสมของข้ อคาถาม
6) ปรับปรุงแก้ ไขแบบสัมภาษณ์ท่ผี ้ เู ชี่ยวชาญให้ ข้อเสนอแนะ พร้ อมจัดทาต้ นฉบับเพื่อ
นาเครื่องมือไปใช้ เก็บรวบรวมข้ อมูลต่อไป
94

1.4 วิธีดำเนินกำรวิจัย
1) ผู้วิจัยวางแผนการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้ องและการสัมภาษณ์กับผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ อง
2) นัดหมายผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องในการสัมภาษณ์
3) แจ้ งวัตถุประสงค์ในการสัมภาษณ์
4) ดาเนินการสัมภาษณ์ โดยผู้วิจัยเป็ นผู้ดาเนินการสัมภาษณ์ด้วยตนเอง
5) บันทึกผลการสัมภาษณ์
6) รวบรวมข้ อมูลจากการถอดเทปบันทึกเสียง
1.5 กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล
ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้ อมูล โดยแบ่ งออกเป็ น 2 ส่วน คือ การสรุปและวิเคราะห์
เอกสารที่เกี่ยวข้ องในประเด็นของความสาคัญของปั ญหา การส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ การ
พัฒนาหลักสูตร ตลอดจนการนาภูมิปัญญาท้ องถิ่นเข้ ามามีบทบาทในกิจ กรรมการเรียนการสอน
เพื่อส่งเสริมให้ นักเรียนได้ เกิดความรักในท้ องถิ่ นใกล้ ตัว นอกจากนั้นยังนาข้ อมูล ที่ได้ จากการ
สัมภาษณ์ และการถอดเทปบันทึกเสียง โดยใช้ การวิเคราะห์และสรุปเนื้อหา (Content Analysis)

2. ระยะที่ 2 สร้ำงหลักสูตร (D1)


ผู้วิจัยดาเนินการสร้ างหลักสูตร โดยใช้ ข้อมูลพื้นฐานจากการศึกษาในระยะที่ 1 เพื่อกาหนด
องค์ประกอบและโครงร่างของหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการ
สร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยมี
ขั้นตอนการตรวจสอบหลักสูตรจากผู้เชี่ยวชาญ ครูผ้ ูสอน ซึ่งเป็ นผู้ใกล้ ชิดกับผู้เรียนอีกทั้งมีความ
ชานาญกับการนาหลักสูตรไปใช้ ในระดับชั้นเรียน โดยมีรายละเอียดดังนี้
2.1 ขั้นที่ 1 ร่ำงหลักสูตร
2.1.1 วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ยกร่ า งหลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ างสรรค์ เ พื่ อ ส่ งเสริม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
2.1.2 ผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง
1) ครูผ้ สู อน จานวน 1 คน
2) ปราชญ์ชาวบ้ าน จานวน 1 คน
3) ผู้เชี่ยวชาญด้ านความคิดสร้ างสรรค์ จานวน 1 คน
4) ผู้เชี่ยวชาญด้ านหลักสูตรและการสอน จานวน 1 คน
5) ผู้เชี่ยวชาญด้ านการวัดผลและประเมินผล จานวน 1 คน
2.1.3 เครื่องมือและกำรหำคุณภำพเครื่องมือ
เครื่ อ งมื อ ที่ ใ ช้ ใ นการเก็บ รวบรวมข้ อ มู ล ในขั้ น นี้ ได้ แ ก่ แบบประเมิ น ร่ า ง
หลักสูตร เป็ นแบบประเมินค่า 5 ระดับ แบ่งออกเป็ น 2 ตอน ตอนที่ 1 เป็ นแบบประเมิน ความ
95

เหมาะสมของร่ างหลั กสูตร โดยการพิจารณาส่วนประกอบต่ าง ๆ ของร่ างหลักสูตรว่ ามี ค วาม


เหมาะสมเพียงใด ประกอบด้ วย หลักการและเหตุผล ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี จุ ดมุ่งหมาย
โครงสร้ างหลักสูตร แนวทางการจัดการเรียนรู้ สื่อและแหล่งเรียนรู้ แนวทางการวัดและประเมินผล
ตอนที่ 2 เป็ นแบบแสดงความคิดเห็นและข้ อเสนอแนะเพิ่มเติม มีวัตถุประสงค์ให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญได้
แสดงความคิดเห็นหรือข้ อเสนอแนะอื่น ๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการปรับปรุงแก้ ไขร่างของหลักสูตร
ให้ ดีข้ ึนก่อนที่จะนาไปทดลองใช้ ผู้วิจัยได้ กาหนดประเด็นคาถามเพื่อให้ ผ้ ูเกี่ยวข้ องได้ แสดงความ
คิดเห็นที่สะท้ อนถึงการพัฒนาหลักสูตร การสร้ างหลักสูตร โดยผู้วิจัยเสนอประเด็นข้ อคาถามให้
อาจารย์ท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์พิจารณาก่อนนาไปใช้ จริง
2.1.3.1 แบบประเมินร่างหลักสูตร สร้ างและหาคุณภาพเครื่องมือ ดังนี้
1) ศึ ก ษาเอกสาร ต ารา และงานวิ จั ย ที่เ กี่ ย วข้ อ งกั บ หลั ก สู ต ร การ
ส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ ภูมิปัญญาท้ องถิ่น ตลอดจนการบูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่นกับการ
สร้ างนวัตกรรมในชุมชน
2) ศึกษาวิธีการสร้ างแบบประเมินร่างหลักสูตร
3) สร้ างแบบประเมินร่างหลักสูตรเพื่อใช้ สาหรับประเมินร่างหลักสูตร
กิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธ ยมศึ ก ษา จังหวัดหนองบั วล าภู และเป็ นแบบมาตราส่ว นประมาณค่ า
(Rating Scale) 5 ระดับ โดยกาหนดค่าความคิดเห็นตามระดับความเหมาะสม ดังนี้
5 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด
4 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก
3 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
2 หมายถึง มีความเหมาะสมน้ อย
1 หมายถึง มีความเหมาะสมน้ อยที่สุด
การวิเคราะห์แบบประเมิ นร่างหลักสูตร ใช้ เกณฑ์แปลความหมายของ
ระดับความเหมาะสมเกี่ยวกับร่างหลักสูตรมีค่าเฉลี่ย ดังนี้
4.51 – 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมมากที่สุด
3.51 – 4.50 หมายถึง มีความเหมาะสมมาก
2.51 – 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสมปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายถึง มีความเหมาะสมน้ อย
1.00 – 1.50 หมายถึง มีความเหมาะสมน้ อยที่สุด
4) จั ด พิ ม พ์ แ ละท าฉบั บ ส าเนา เพื่ อ ด าเนิ น การหาคุ ณ ภาพของ
เครื่องมือต่อไป
5) ผู้วิจัยนาแบบประเมินร่างหลักสูตรไปให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญพิจารณาความ
เหมาะสมของข้ อคาถาม จานวน 5 คน ผลการตัดสินพิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญ (Expert Judgement)
96

ให้ ค วามเห็ น ว่ า หลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ าง
นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ที่สร้ างขึ้น
ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับ “มาก” ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90
6) ปรับปรุงแก้ ไขแบบประเมินร่างหลักสูตร ที่ผ้ ูเชี่ยวชาญเสนอแนะ
พร้ อมจัดทาต้ นฉบับเพื่อนาเครื่องมือไปใช้ เก็บรวบรวมข้ อมูลต่อไป
2.1.4 วิธีดำเนินกำรวิจัย
1) ศึกษาเอกสาร แนวคิดทฤษฎีท่เี กี่ยวข้ องกับความคิดสร้ างสรรค์ การพัฒนา
หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ภมู ิปัญญาท้องถิ่น นาข้ อมูลพื้นฐานที่ได้ มาวิเคราะห์ สังเคราะห์
2) สั ม ภาษณ์ ผ้ ู มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งประกอบด้ ว ย ครู ผ้ ู ส อน นั ก เรี ย น ผู้ บ ริ ห าร
สถานศึกษา ผู้ปกครองหรือตัวแทนชุมชน
3) ยกร่ างหลักสูตรบนพื้นฐานของข้ อมูล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล เอกสาร
แนวคิด ทฤษฎีท่เี กี่ยวข้ องและการสัมภาษณ์กับผู้เชี่ยวชาญ
4) ร่ า งหลั ก สู ต รตามองค์ ป ระกอบพื้ นฐานของหลั ก สู ต รกิ จ กรรม การคิ ด
สร้ างสรรค์เพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของ
นักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
5) นาหลักสูตรฉบับร่ างให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญพิจารณาความเหมาะสมของหลักสู ต ร
โดยใช้ เทคนิคการสนทนากลุ่ม (Focus Group) เพื่อทาการตรวจสอบความเหมาะสมของหลักสูตร
โดยผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 คน ประกอบด้ วย
- ครูผ้ สู อน จานวน 1 คน
- ปราชญ์ชาวบ้ าน จานวน 1 คน
- ผู้เชี่ยวชาญด้ านความคิดสร้ างสรรค์ จานวน 1 คน
- ผู้เชี่ยวชาญด้ านหลักสูตรและการสอน จานวน 1 คน
- ผู้เชี่ยวชาญด้ านการวัดผลและประเมินผล จานวน 1 คน
6) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา
7) ปรับปรุงตามข้ อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ
8) จัดทาหลักสูตรฉบับร่างและเอกสารประกอบหลักสูตร นาไปทดลองใช้ ต่อไป
2.1.5 กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล
ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ จากการสนทนา การสังเกต และการบันทึก
ข้ อมูลโดยใช้ การวิเคราะห์ เนื้อหา (Content Analysis) และใช้ สถิติพ้ ืนฐานในการวิเคราะห์ผลการ
ประเมินร่างหลักสูตร
2.2 ขั้นที่ 2 ทดลองใช้หลักสูตร เป็ นขั้นของการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรที่สร้ างขึ้น
รวมทั้งเป็ นการปรับปรุงหลักสูตรหรือแก้ ไขก่อนนาไปใช้ จริง โดยใช้ วิธีการวิจัยเชิง ทดลองเบื้องต้ น
(Pre – Experimental Design) กลุ่มเดียววัดผลเฉพาะหลังการทดลอง (One - Shot Case Study)
97

เป็ นแนวทางในการพั ฒ นาประสิ ทธิภ าพของหลั กสู ตรกิจ กรรมการคิ ดสร้ า งสรรค์ เพื่ อส่ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู เพื่อให้ ได้ ข้อมูลที่นาไปสู่การปรับปรุงแก้ ไขก่อนนาไปใช้ ต่อไป
2.2.1 วัต ถุ ป ระสงค์ เพื่ อ ตรวจสอบคุ ณ ภาพของร่ า งหลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด
สร้ างสรรค์เพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของ
นักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
2.2.2 กลุ่มเป้ ำหมำย
กลุ่มเป้ าหมาย ได้ แก่ นักเรียนโรงเรียนสุวรรณคูหาพิทยาสรรค์ สังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 จังหวัดหนองบัวลาภู ที่ลงทะเบียนเรียนกิจกรรมชุมนุ มนัก
ประดิษฐ์ ประจาปี การศึกษา 2562 จานวน 20 คน โดยผู้วิจัยดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนด้ วยตนเอง ซึ่งนักเรียนเป็ นผู้สมัครใจเข้ าร่วมทดลอง จัดในชั่วโมงเรียนของกิจกรรมชุมนุม
2.2.3 เครื่องมือและกำรหำคุณภำพเครื่องมือ ประกอบด้ วย
2.2.3.1) เครื่องมือวัดระดับควำมคิดสร้ำงสรรค์
แบบทดสอบความคิ ด สร้ า งสรรค์ ข อง Jellen and Urban (2005)
แบบทดสอบชุ ด นี้ มี ช่ื อ ว่ า “แบบทดสอบที ซี ที – ดี พี ” (TCT - DP : The Test for Creative
Thinking - Drawing Production) เป็ นแบบทดสอบที่ ใ ช้ ก ระดาษและดิ น สอ ใช้ ท ดสอบ เป็ น
รายบุคคลหรือรายกลุ่ม โดยมีสิ่งที่กาหนดให้ เป็ นสิ่งเร้ าที่จัดไว้ ในรูปแบบของชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่มี
ขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน มีรูปครึ่งวงกลม รูปมุมฉากรูปสี่ เหลี่ยมจัตุรัสแบบที่ไม่สมบูรณ์ รูป
รอยเส้ น ประรู ป เส้ น โค้ ง คล้ า ยตั ว S ซึ่ ง อยู่ ภ ายในและภายนอกของกรอบสี่ เ หลี่ ย มใหญ่ ก าร
ตอบสนองสิ่งเร้ า ผู้ถูกทดสอบสามารถสนองได้ อย่างอิสระตามจินตนาการ โดยการวาดภาพขึ้นใน
ขอบเขตของ ช่ ว งเวลาที่ก าหนดให้ แ ละมี เ กณฑ์ ส าหรับ ยึด ถื อ เป็ นหลั ก ในการประเมิ น คุ ณ ค่ า
ความคิดสร้ างสรรค์ จากภาพวาดทั้ง 11 เกณฑ์ ดังต่อนี้ 1) การต่อเติม (Cn : Continuations) 2)
ความสมบู ร ณ์ (Cm : Completions) 3) ภาพที่ ส ร้ า งขึ้ นใหม่ (Ne : New Elements) 4) การ
ต่ อเนื่องด้ วยเส้ น (Cl : Connections made with lines) 5) การต่ อเนื่องที่ทาให้ เกิดเป็ นเรื่องราว
(Cth : Connections made that Contribute to a theme) 6) การข้ ามเส้ นกั้นเขต โดยใช้ ช้ ินส่วนที่
กาหนดให้ นอกกรอบใหญ่ (Bid : Boundary Breaking Fragment-Dependent) 7) การข้ ามเส้ น
กั้นอย่ า งอิสระ โดยไม่ ใช้ ช้ ินส่วนที่กาหนดให้ นอกกรอบใหญ่ (Bfi : Boundary Breaking being
Fragment-Dependent) 8) การแสดงความลึก ใกล้ – ไกล หรือมิติของภาพ (Pe : Perspective)
9) อารมณ์ ขั น (Hu : Human) 10) การคิ ด ที่ แ ปลกใหม่ โดยไม่ ติ ด ตามแบบแผน (Uc :
Unconventionality) 11) ความเร็ว (Sp : Speed)
คะแนนรวมของแบบทดสอบ มีช่องให้ คะแนนอยู่ 11 ช่อง แต่ละช่อง
จะมีรหัสให้ คะแนน วิธีการให้ คะแนน เพียงแต่พับส่วนล่างของแบบทดสอบขึ้นมาก็สามารถให้
คะแนนได้ ทนั ที คะแนน รวมของแบบทดสอบ TCT-DP คือ 72 คะแนน
98

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 รวม
Cn Cm Ne Cl Cth Bid Bfi Pe Hu Uc Sp
a b c d

เกณฑ์การตัดสินระดับความสามารถในการคิดสร้ างสรรค์ เป็ นดังนี้


คะแนนรวมต่ากว่า 24 คะแนน มีความคิดสร้ างสรรค์อยู่ในระดับต่า
คะแนนรวมระหว่าง 25 –47 คะแนน มีความคิดสร้ างสรรค์อยู่ในระดับปานกลาง
คะแนนรวมตั้งแต่ 48 คะแนน มีความคิดสร้ างสรรค์อยู่ในระดับสูง
2.2.3.2) เครื่องมือวัดควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม ประกอบด้ วย
แบบประเมินนวัตกรรม และแบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) แบบประเมินนวัตกรรม ดาเนินการ ดังนี้
(1) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับวิธีการสร้ างประเมินนวัต กรรม
กาหนดรูปแบบการประเมินจากเอกสาร หลักการประเมินผลการศึกษา (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2545)
(2) สร้ างแบบประเมินนวัตกรรม ชนิดมาตราส่วนประมาณค่ามี
5 ระดับ จานวน 1 ฉบับ แยกเป็ น 5 ด้ าน ตามองค์ประกอบคุณภาพของนวัตกรรม (สุวิมล ว่ อง
วาณิช, 2547) ซึ่งผลมาจากคุณภาพของกระบวนการสร้ างนวัตกรรม การตัดสินให้ คะแนนคุณภาพ
ของนวั ต กรรมขึ้ น อยู่ กั บ มาตรฐานและประสบการณ์ ส่ ว นตั ว ของผู้ ป ระเมิ น จึ ง ต้ อ งมี ก ารอิ ง
คุณลักษณะที่วัดเป็ นเกณฑ์ โดยผู้ประเมินต้ องมีความชานาญในเรื่องนั้นๆ คุณลักษณะที่ใช้ ในการ
วัดนวัตกรรม มีดังนี้
ด้ านที่ 1 ความคิดริเริ่ม
(1) ความเป็ นต้ นคิด
(2) ความโดดเด่น
ด้ านที่ 2 คุณภาพของนวัตกรรม
(1) การออกแบบ
(2) ระบบการทางาน
ด้ านที่ 3 การเลือกใช้ วัสดุ
(1) ความประหยัด
(2) ความเหมาะสม
ด้ านที่ 4 คุณค่าของนวัตกรรม
(1) บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น
(2) ประโยชน์ของนวัตกรรมสู่ชุมชน
99

ด้ านที่ 5 การนาเสนอนวัตกรรม
(1) ความถูกต้ อง
(2) ทักษะการสื่อสาร
(3) เอกสารประกอบการนาเสนอ
โดยกาหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพนวัตกรรม ดังนี้ (ส านักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2562)
80 – 100 หมายถึง นวัตกรรมมีคุณภาพระดับ “ดีเยี่ยม”
70 – 79 หมายถึง นวัตกรรมมีคุณภาพระดับ “ดี”
60 – 69 หมายถึง นวัตกรรมมีคุณภาพระดับ “พอใช้ ”
0 – 59 หมายถึง นวัตกรรมมีคุณภาพระดับ “ปรับปรุง”
(3) น าแบบประเมิ น นวั ต กรรม ที่ ส ร้ า งขึ้ นไปให้ ผ้ ู เ ชี่ ย วชาญ
พิจารณาความเหมาะสมของข้ อความ จานวน 5 คน ผลการตัดสินพิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญ (Expert
Judgement) ให้ ความเห็นว่ า แบบประเมิน นวั ตกรรมที่ส ร้ างขึ้นในภาพรวมมีค วามเหมาะสมใน
ระดับ “มาก” ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.45
(4) ปรับปรุงแบบประเมินนวัตกรรม ตามที่ผ้ เู ชี่ยวชาญเสนอแนะ
(5) พิ ม พ์ แ บบประเมิ น ฉบั บ สมบู ร ณ์ เ พื่ อ น าไปเก็บ ข้ อ มู ล กั บ
กลุ่มเป้ าหมาย
2) แบบประเมิน กระบวนกำรสร้ำ งนวัต กรรม เป็ นการประเมิน
กระบวนการสร้ างทางเลือกของความคิดในลักษณะการคิดแบบอเนกนัย (Divergent Thinking)
เพื่อให้ ได้ ความคิดที่หลากหลายซึ่งจะนาไปสู่ผลลัพธ์ท่ีต้องการ เกิดผลิตผลที่มีคุณภาพ โดยมี
คุ ณ ลั ก ษณะที่ ใ ช้ ในการวั ด กระบวนการสร้ างนวั ต กรรม ประกอบด้ ว ย 1) การวางแผน
2) การปฏิบัติงาน 3) การประเมินตนเอง 4) การปรับปรุงงาน มีข้นั ตอนการดาเนินการดังนี้
(1) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้ องกับแบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม
(2) วิเคราะห์เนื้อหา เลือกประเด็นที่จะสังเกตกระบวนการสร้ างนวัตกรรม
(3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเด็นที่จะสังเกต พฤติกรรม ความคิดรวบยอด
และจุดประสงค์ของการเรียนรู้ในการจัดกิจกรรมในชั้นเรียน
(4) กาหนดรายการต่างๆ ที่จะสังเกตในแต่ละขั้นตอน กาหนดสัดส่วนของคะแนนใน
แต่ละขั้นตอนและเกณฑ์การให้ คะแนนในแต่ละรายการย่อยๆ จากแบบประเมินกระบวนการสร้ าง
นวัตกรรม โดยแบบสังเกตกระบวนการสร้ างนวัตกรรมที่สร้ างขึ้นเป็ นแบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scale) 5 ระดับ โดยกาหนดค่าระดับการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียน ดังนี้
5 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ มากที่สุด
4 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ มาก
3 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ ปานกลาง
100

2 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ น้ อย


1 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ น้ อยที่สุด
การวิเคราะห์แบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม ผู้วิจัยให้ ความหมายของระดับ
คุณภาพการมีส่วนร่วมในการทางาน ดังนี้
4.51 – 5.00 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ มากที่สุด
3.51 – 4.50 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ มาก
2.51 – 3.50 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ ปานกลาง
1.51 – 2.50 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ น้ อย
1.00 – 1.50 หมายถึง มีการปฎิบัติ ในระดับ น้ อยที่สุด
(5) นาตารางความสัมพันธ์ท่ีวิเคราะห์ในข้ อ 3 และเกณฑ์การให้ คะแนนในแต่ ล ะ
รายการย่อยไปให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญ จานวน 5 คน พิจารณาความสอดคล้ องของรายการต่างๆ และเกณฑ์
การให้ คะแนนของแบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม ผลการตัดสินพิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญ
(Expert Judgement) ให้ ค วามเห็น ว่ า แบบประเมิ น กระบวนการสร้ า งนวั ต กรรม ที่ส ร้ า งขึ้ น ใน
ภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับ “มาก” ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.41
(6) นาผลการพิจารณามาปรับปรุงแก้ ไขแบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมให้
เกิดความสมบูรณ์
(7) จัดพิมพ์แบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม
2.2.4 วิธีดำเนินกำรวิจัย
ผู้วิจัยจัดทาร่างหลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตร หลังจากนั้นตรวจสอบ
คุณภาพของร่างหลักสูตรและประเมินความเหมาะสมของโครงร่างหลักสูตร ก่อนนาหลักสูตรฉบับ
ร่างไปทดลองใช้ ทั้งนี้ผ้ วู ิจัยใช้ วิธีการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้ น (Pre – Experimental Design) กลุ่ม
เดี ย ววั ด ผลเฉพาะหลั ง การทดลอง (One - Shot Case Study) มาเป็ นแนวทางในการพั ฒ นา
ประสิ ท ธิ ภ าพของหลัก สูต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่อ ส่ง เสริ ม ความสามารถในการสร้ าง
นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ดาเนินการ
วิจัยและเก็บข้ อมูล ดังนี้
1) ขอความอนุเคราะห์ในการดาเนินการวิจัย ในสถานศึกษาที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย
2) นัดหมายนักเรียนที่เป็ นกลุ่ม เป้ าหมาย เพื่อทาความเข้ าใจในการใช้ หลักสูตร
กิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
ท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยใช้ การประชุมชี้แจง สร้ างความเข้ าใจ
และแนวปฏิบัติ
3) ผู้วิจัยนาหลักสูตรไปทดลองใช้ ในชั้นเรียน
4) ผู้ช่วยผู้วิจัยสังเกตพฤติกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน
5) ประชุมถอดบทเรียนเพื่อให้ ได้ แนวปฏิบัติท่ดี ี (Good Practice)
101

6) เก็บรวบรวมข้ อมูล นาผลที่ได้ มาวิเคราะห์และสรุปผลการทดลองใช้ หลักสูตร


2.2.5 กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล
ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยแบ่งออกเป็ น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ผลการประเมินระดับความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียน โดยใช้
แบบทดสอบ TCT-DP ใช้ สถิติพ้ นื ฐาน ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลค่าระดับความคิด
สร้ างสรรค์
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ผลการประเมินนวัตกรรม จากนวัตกรรมนักเรียนที่เรีย นรู้
ผ่านหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณา
การภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้
ความสามารถด้ านการสร้ างนวัตกรรม เป็ นผู้ประเมิน นวัตกรรม โดยใช้ สถิติพ้ ืนฐาน แปลค่าระดับ
คุณภาพของนวัตกรรม
ตอนที่ 3 วิเคราะห์ผลการประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมในชั้นเรียน โดย
ใช้ แบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัย ใช้ สถิติพ้ ืนฐาน ค่าเฉลี่ย
และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลค่าระดับกระบวนการสร้ างนวัตกรรม
2.3 ขั้นที่ 3 ปรับปรุงและแก้ไขหลักสูตร เป็ นขั้นการนาข้ อมูลจากการทดลองใช้ หลักสูตร
ในขั้นที่ 2 และข้ อมูลจากการสัมภาษณ์ ผ้ ู มีส่ว นเกี่ ยวข้ อ ง เช่ น ผู้ช่วยผู้วิจัย นักเรียน ผู้บริห าร
สถานศึกษา มาจัดกระทา จัดกลุ่ม หรือสังเคราะห์ และปรับปรุงแก้ ไขหลักสูตรอย่างเป็ นระบบและ
มีประสิทธิภาพจนได้ หลักสูตรและเอกสารประกอบหลักสูตรฉบับสมบูรณ์
2.3.1 วัตถุประสงค์
เพื่ อ ปรั บ ปรุ ง และแก้ ไ ขหลั ก สู ต รกิ จ กรรมการคิ ด สร้ า งสรรค์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม
ความสามารถในการสร้ างนวัต กรรมที่บูร ณาการภูมิ ปัญญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
2.3.2 ผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง
1) ผู้วิจัย
2) ผู้ช่วยผู้วิจัย
3) นักเรียน
4) อาจารย์ท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์
2.3.3 เครื่องมือและกำรหำคุณภำพเครื่องมือ
แบบสัมภาษณ์ ประเมินการใช้ หลักสูตร มีข้นั ตอนและหาคุณภาพเครื่องมือดังนี้
1) นาข้ อมูลจากการสัมภาษณ์ผ้ มู ีส่วนเกี่ยวข้ องมาวิเคราะห์และสังเคราะห์
2) สร้ างข้ อคาถามโดยระบุประเด็นเกี่ยวกับการการทดลองใช้ หลักสูตรและ
ผลกระทบจากการมีส่วนเกี่ยวข้ องกับการใช้ หลักสูตร
102

3) นาข้ อคาถามที่สร้ างขึ้นเสนออาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจสอบ


ความเหมาะสมและความถูกต้ องด้ านเนื้อหาและนาไปปรับปรุงแก้ ไข
4) นาแบบสัมภาษณ์ท่ีปรับปรุงแล้ ว ให้ ผ้ ูเชี่ยวชาญจานวน 5 คน ตรวจสอบ
คุณภาพความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity)
5) ปรับปรุงแก้ ไขในประเด็นที่ผ้ ู เชี่ ยวชาญเสนอแนะเพื่ อความสมบูร ณ์ ข อง
เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย แล้ วนาไปใช้ ในการเก็บรวบรวมข้ อมูลกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง
2.3.4 วิธีดำเนินกำรวิจัย
ผู้วิจัยสัมภาษณ์ผ้ ูท่ีมีส่วนเกี่ยวข้ องตามประเด็นในแบบสัมภาษณ์ โดยปฏิบัติ
ดังนี้
1) ก่อนเริ่มสัมภาษณ์ ผู้วิจัยแนะนาตนเองก่อนและบอกจุ ดมุ่งหมายของการ
สัมภาษณ์ให้ ชัดเจนด้ วยภาษาง่ายๆ ที่ให้ ผ้ มู ีส่วนเกี่ยวข้ องเข้ าใจได้
2) ผู้วิจัยใช้ วิธีการสัมภาษณ์แบบตัวต่ อตัว เพื่อให้ ผ้ ูมีส่วนเกี่ยวข้ องเกิด ความ
กล้ าและไม่ลังเลใจที่จะตอบ
3) ผู้วิจัยสร้ างความคุ้นเคย ด้ วยการสนทนาก่อนจะเริ่มเข้ าสู่ประเด็นที่เตรียมไว้
4) ผู้วิจัยใช้ คาถามตามประเด็นที่เตรียมไว้ สอบถามจนครบและมั่นใจได้ ว่า
ข้ อมูลมีความสมบูรณ์ และเปลี่ยนถามผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องคนถัดไปจนครบทุกคน
5) ผู้วิจัยกล่าวขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องที่ให้ ความร่วมมือในการสัมภาษณ์
2.3.5 กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล
ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามและสังเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์
นักเรียนและผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ องตามประเด็นในแบบสัมภาษณ์ โดยการวิเคราะห์เนื้อหา

3. ระยะที่ 3 นำหลักสูตรไปใช้ (R2)


การนาหลักสูตรไปใช้ ซึ่งเป็ นการนาหลักสูตรที่แก้ ไขปรับปรุงแล้ วไปใช้ ใช้ เวลา 18 ชั่วโมง
ตามโครงสร้ างของหลักสูตรกิจกรรมการคิ ดสร้ างสรรค์เพื่ อ ส่งเสริม ความสามารถในการสร้ า ง
นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ที่ผ้ ูวิจัย
สร้ างขึ้นและผู้วิจัยใช้ วิ ธีการวิ จัย เชิง ทดลองเบื้ องต้ น (Pre – Experimental Design) กลุ่มเดี ย ว
วัดผลเฉพาะหลังการทดลอง (One - Shot Case Study) มาเป็ นแนวทางในการศึกษาผลของการ
ใช้ หลักสูตรที่พัฒนาขึ้น โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
3.1 วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาผลของการใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถ
ในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
ประกอบด้ วย
103

1) ระดับความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียน เกณฑ์การตัดสินระดับความสามารถในการ


คิดสร้ างสรรค์ของแบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ TCT – DP เป็ นดังนี้
คะแนนรวมต่ากว่า 24 คะแนน มีความคิดสร้ างสรรค์อยู่ในระดับต่า
คะแนนรวมระหว่าง 24 –47 คะแนน มีความคิดสร้ างสรรค์อยู่ในระดับปานกลาง
คะแนนรวมตั้งแต่ 48 คะแนน มีความคิดสร้ างสรรค์อยู่ในระดับสูง
2) ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรม คือ การประเมินนวัตกรรมและกระบวนการ
สร้ างนวัตกรรม
3.2 กลุ่มเป้ ำหมำย
กลุ่มเป้ ำหมำย ได้ แก่ นักเรียนในโรงเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัดหนองบัวลาภู
ซึ่งใช้ โรงเรียนเป็ นหน่วยในการเลือกเข้ าร่วมจากโรงเรียนจังหวัดหนองบัวลาภู ด้ วยความพร้ อมและ
ความสมัครใจ จานวน 6 โรงเรียน พร้ อมทั้งรับสมัครนักเรียนที่ล งทะเบียนและเลือกกิจ กรรม
ชุมนุมนักประดิษฐ์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียน โดยความสมัคร
ใจเข้ าร่วมชุมนุม จานวน 20 คนต่อโรงเรียน
3.3 เครื่องมือและกำรหำคุณภำพเครื่องมือ ประกอบด้ วย
3.3.1 เครื่องมือวัดระดับควำมคิดสร้ำงสรรค์ แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์ของ
Jellen and Urban (2005) แบบทดสอบชุดนี้มีช่ือว่ า “แบบทดสอบทีซีที – ดีพี” (TCT - DP :
The Test for Creative Thinking - Drawing Production) เป็ นแบบทดสอบที่ ใ ช้ กระดาษและ
ดินสอ ใช้ ทดสอบ เป็ นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม โดยมีสิ่งที่กาหนดให้ เป็ นสิ่งเร้ าที่จัดไว้ ในรูป แบบ
ของชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่มีขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน มีรูปครึ่งวงกลม รูปมุมฉาก รูปสี่ เหลี่ยมจัตุรัส
แบบที่ไม่ สมบูรณ์ รูปรอยเส้ นประรูปเส้ นโค้ งคล้ า ยตั ว S ซึ่งอยู่ภ ายในและภายนอกของกรอบ
สี่เหลี่ยมใหญ่การตอบสนองสิ่งเร้ า ผู้ถูกทดสอบสามารถสนองได้ อย่างอิสระตามจินตนาการ โดย
การวาดภาพขึ้นในขอบเขตของช่วงเวลาที่กาหนดให้
3.3.2 เครื่องมือวัดควำมสำมำรถในกำรสร้ำงนวัตกรรม ประกอบด้ วยแบบประเมิน
นวัตกรรม และแบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) แบบประเมินนวัตกรรม ชนิดมาตราส่วนประมาณค่ามี 5 ระดับ จานวน 1
ฉบับ แยกเป็ น 5 ด้ าน ตามองค์ประกอบคุณภาพของนวัตกรรม (สุวิมล ว่องวาณิช, 2547) ซึ่งผล
มาจากคุณภาพของกระบวนการสร้ างนวัตกรรม การตัดสินให้ คะแนนคุณภาพของนวัตกรรมขึ้นอยู่
กับมาตรฐานและประสบการณ์ส่วนตัวของผู้ประเมิน จึงต้ องมีการอิงคุณลักษณะที่วัดเป็ น เกณฑ์
โดยผู้ประเมินต้ องมีความชานาญในเรื่องนั้นๆ คุณลักษณะที่ใช้ ในการวัดนวัตกรรม
2) แบบประเมิ น กระบวนกำรสร้ำ งนวัต กรรม ด าเนิ น การสร้ า งและหา
คุณภาพเครื่องมือ พร้ อมทั้งสังเกตชั้นเรียนในแต่ละขั้นตอน กาหนดสัดส่วนของคะแนนในแต่ล ะ
ขั้นตอนและเกณฑ์ การให้ ค ะแนนในแต่ ล ะรายการย่ อยๆ จากแบบประเมิ น กระบวนการสร้ า ง
นวัตกรรม
104

3.4 วิธีดำเนินกำรวิจัย ใช้ วิธีการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้ น (Pre – Experimental Design)


กลุ่มเดียววัดผลเฉพาะหลังการทดลอง (One - Shot Case Study) ดังนี้

X O

เมื่อ X แทน การจัดกิจกรรมโดยใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์


เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
O แทน การวัดความคิดสร้ างสรรค์ โดยใช้ แบบทดสอบความคิดสร้ างสรรค์
TCT – DP และวัดความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมโดยแบบ
ประเมินนวัตกรรมและแบบประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม

ในการวิจัยครั้งนี้ผ้ ูวิจัยกาหนดให้ มี การอบรมผู้ช่วยผู้วิจัย ในการนาหลักสูตรกิจกรรม


การคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู ไปใช้ ในชั้นเรียน โดยดาเนินการดังนี้
1) ทาหนังสือขอความอนุเคราะห์ไปยังสถานศึกษาที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย
2) นัดหมายผู้ช่วยผู้วิจัย จานวน 6 คน เพื่อเข้ ารับการอบรมการใช้ หลักสูตรกิจกรรม
การคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้ องถิ่น
ของนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู โดยการประชุม ชี้แจงเชิงปฏิบัติการ
3) ดาเนินการประชุม ชี้แจง โดยผู้วิจัยเป็ นผู้ดาเนินการประชุมด้ วยตนเอง
4) เก็บรวบรวมข้ อมูล ข้ อเสนอแนะจากผู้ช่วยผู้วิจัยที่ได้ รับการอบรมการใช้ หลักสูตร
กิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรม
5) ผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้ วิจั ย ร่ วมกันสะท้ อนความคิ ดเห็นเกี่ย วกั บแนวทางและสภาพ
ปัญหา ตลอดจนอุปสรรคที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในระหว่างการใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์
เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัต กรรม หลังจากนั้นผู้ช่วยผู้วิจัย นาหลักสูตรไปใช้ ใ น
โรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย โดยมีวิธีดาเนินการดังต่อไปนี้
1) การสร้ างความเข้ าใจให้ กับนักเรียนก่อนใช้ หลักสูตร ผู้วิจัยประชุมร่วมกับครูฝ่ าย
วิ ช าการโรงเรี ย นพร้ อ มทั้ ง ร่ ว มด าเนิ น การวางแผนการน าหลั ก สู ต รไปใช้ ใ นภาคเรี ย นที่ 1
ปี การศึ ก ษา 2563 โดยก าหนดเป็ น 3 ระยะ คื อ ก่ อ นการใช้ ห ลั ก สู ต ร ระหว่ า งใช้ ห ลั ก สู ต ร
และหลังใช้ หลักสูตร รวมถึงทาความเข้ าใจกั บหัวหน้ างานกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่จะดาเนินการ
บรรจุหลักสูตรไว้ ในชั่วโมงชุมนุมของโครงสร้ างหลักสูตรสถานศึกษา
2) ผู้ ช่ ว ยผู้ วิ จั ย น าหลั ก สู ต รไปใช้ กั บ กลุ่ ม เป้ าหมาย นั ด หมายนั ก เรี ย นที่ เ ป็ น
กลุ่มเป้ าหมาย ซึ่งเป็ นนักเรี ย นที่เลื อกเรีย นกิ จ กรรมชุม ชุม โดยความสมัครใจจานวน 20 คน
105

เพื่อทาความเข้ าใจในการใช้ หลักสูตร โดยใช้ รูปแบบการประชุม อบรม สร้ างความเข้ าใจและแนว


ปฏิบัติ โดยใช้ เวลาในการจัดกิจกรรมชุมนุ ม ตามโครงสร้ างหลักสูตร ที่ผ้ ู วิจัยสร้ างขึ้น เป็ นเวลา
18 ชั่วโมง โดยจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2563
3) ผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัยร่ วมสัง เกต การจัดกิจกรรมการเรีย นรู้ข องผู้ช่ว ยผู้วิ จั ย ทั้ง
6 คน พร้ อมทั้งสังเกตการเปลี่ยนแปลงด้ านต่าง ๆ อีกทั้งให้ ผ้ ูช่วยผู้วิจัยดาเนินการบันทึกข้ อมูล
ด้ วยเครื่องบันทึกวีดีโอ และสังเกตพฤติกรรมโดยรวมของชั้นเรียน
4) ผู้วิจัย และผู้ช่วยผู้วิจัย ร่วมกันสะท้อนผล การนาหลักสูตรไปใช้ โดยการสะท้อนผล
จะแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน
ส่วนแรก คือ ผู้วิจัย ผู้ช่วยผู้วิจัย จะร่วมกันสะท้อนผลการใช้ หลักสูตรเมื่อเสร็จสิ้นแต่ละ
หน่วยเพื่อพิจารณาว่ าพฤติกรรมใดที่ส่งเสริมสนับสนุ นให้ ผ้ ูเรียนเกิดความคิดสร้ างสรรค์ หรือมี
ประเด็นใดที่จาเป็ นต้ องแก้ ไขระหว่างการจัดกิจกรรม เพื่อให้ หลักสูตรมีประสิทธิภาพมากขึ้ น และ
ต้ องปรับปรุงอย่างไร
ส่วนที่สอง คือ ภายหลังจากเสร็จสิ้นการใช้ หลักสูตร ผู้วิจัย ผู้ช่วยผู้วิจัย นักเรียน และ
ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมกันสะท้อนผลกระบวนการใช้ หลักสูตร ความคิดสร้ างสรรค์และนวัตกรรมที่เกิดขึ้น
ในระหว่างการจัดกิจกรรม ทบทวนกระบวนการและสรุปประเมินผลการจัดกิจกรรม ประเมินระดับ
ความคิดสร้ างสรรค์หลังจัดกิจกรรมประเมินผลนวัตกรรม ตลอดจนประเมินกระบวนการสร้ าง
นวัตกรรม ตามเครื่องมือที่จัดเตรียมไว้
จุดมุ่งหมำยของหลักสูตร เนื้ อหำ กิจกรรมกำรเรียนรู้ ประเมินผล
1. พัฒนำควำมคิดสร้ำงสรรค์
2. ออกแบบและสร้ำงนวัตกรรม
3. นำเสนอนวัตกรรม กำรสร้ำง กิจกรรมเรียนรูแ้ หล่งภูมิปัญญำ
เตรียมควำมพร้อมก่อนร่วมกิจกรรมโดยกำรสร้ำงสมำธิของนักเรียน

วัดระดับควำมคิดสร้ำงสรรค์ ด้วยแบบทดสอบ TCT – DP (หลัง)

แรงบันดำล ท้องถิ่น 8 ประเภท ในจังหวัด นวัตกรรม


หนองบัวลำภู เพื่อสร้ำงแรง
บันดำลใจในกำรสร้ำงนวัตกรรม
กำรสืบค้น กระบวนกำร
ฝึ กทักษะกระบวนกำรคิดสร้ำงสรรค์
16 กิจกรรม....นำ...สร้ำงสรรค์

หลักสูตรกิจกรรมกำรคิด ข้อมูล
สร้ำงสรรค์เพื่อส่งเสริม
ควำมสำมำรถในกำรสร้ำง กิจกรรมออกแบบนวัตกรรม
นวัตกรรมที่บูรณำกำร กำรศึกษำแหล่ง
นวัตกรรมและ
และกำรสร้ำงนวัตกรรม
ภูมิปัญญำท้องถิ่น ภูมิปัญญำ นำเสนอนวัตกรรม
หรือนวัตกรรม

กำรสร้ำง
นวัตกรรม
เขียนรำยงำน
นำเสนอนวัตกรรม
กำร จัดนิทรรศกำรเผยแพร่นวัตกรรม
เผยแพร่
นวัตกรรมสู่ ประเมิน
หลักสูตร

ภำพที่ 9 ขั้นตอนการทดลองใช้ หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถ


ในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา
จังหวัดหนองบัวลาภู
106

3.5 กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล


ผู้วิจัยดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูลเป็ น 3 ตอน ดังนี้
ตอนที่ 1 วิเคราะห์ผลการวัดประเมินระดับความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียน โดยใช้
แบบทดสอบ TCT-DP ใช้ สถิติพ้ นื ฐาน ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตอนที่ 2 วิเคราะห์ ผลการประเมิ น นวั ต กรรม จากนวัตกรรมนั ก เรี ย นที่เ รีย นรู้ ผ่ า น
หลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิ
ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ของนั ก เรี ย นมั ธ ยมศึ ก ษา จั ง หวั ด หนองบั ว ล าภู โดยผู้ เ ชี่ ย วชาญที่ มี ค วามรู้
ความสามารถด้ านการสร้ างนวัตกรรม เป็ นผู้ประเมิน นวัตกรรม โดยใช้ สถิติพ้ ืนฐาน ค่าเฉลี่ยและ
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลค่าระดับคุณภาพของนวัตกรรม
ตอนที่ 3 วิเคราะห์ผลการประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรมในชั้นเรียน โดยใช้ แบบ
ประเมินกระบวนการสร้ างนวัตกรรม โดยผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัย ใช้ สถิติพ้ ืนฐาน ค่าเฉลี่ยและส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน แปลค่าระดับกระบวนการสร้ างนวัตกรรม

4. สถำนที่ทำกำรวิจัยและลักษณะกำรดำเนินกำรวิจัย
การดาเนินการวิจัยในครั้งนี้ เป็ นรูปแบบการวิจัยและพัฒนา พื้นที่ดาเนินการเป็ นโรงเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 จังหวัดหนองบัวลาภู
มีข้นั ตอนการดาเนินการเป็ น 3 ระยะ โดยมีรายละเอียดต่อไปนี้
ระยะที่ 1 ศึกษาข้ อมูลพื้นฐาน (R1) รายละเอียดของระยะนี้ คือ การดาเนินการศึ ก ษา
เอกสาร รวบรวมข้ อมูล การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้ อมูล และการจัดทากระบวนการระดมความ
คิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ จากบุคลากรในโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดหนองบัวลาภู สานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19 โดยการเก็บข้ อมูลด้ วยการสัมภาษณ์ครูผ้ ูเชี่ยวชาญด้ านการ
ส่งเสริมนักเรียนให้ เกิดความคิดสร้ างสรรค์ ในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดหนองบัวลาภู
ระยะที่ 2 สร้ างหลักสูตร (D1) รายละเอียดของระยะนี้เป็ นการจั ดทาร่ างหลักสูตร โดย
ผู้เชี่ยวชาญและผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้ อง และในขั้นตอนนี้มีการนาหลักสูตรไปทดลองใช้ กับนักเรียน
โรงเรียนสุวรรณคูหาพิทยาสรรค์ จานวน 20 คน ได้ มาจากการเลือกแบบเจาะจง
ระยะที่ 3 นาหลักสูตรไปใช้ (R2) การนาหลักสูตรไปใช้ กับโรงเรียนกลุ่มเป้ าหมาย เป็ น
โรงเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ในจังหวัดหนองบัวลาภู โดยเลือกจากโรงเรียนขนาดใหญ่ ขนาด
กลาง และขนาดเล็ก จาก 21 โรงเรียน ขนาดละ 2 โรงเรียน รวมจานวน 6 โรงเรียนๆ ละ 1 กลุ่ม
ที่ยินดีให้ ความร่วมมือเข้ าร่วมการนานาหลักสูตรไปใช้ โดยนักเรียนแต่ละกลุ่มเป็ นนักเรียนที่เลือก
ลงทะเบียนเรียนในชั่วโมงกิจกรรมชุมนุ ม นักประดิษฐ์ ซึ่งวัตถุประสงค์ข องชุมนุ มเพื่อส่งเสริม
ความคิดสร้ างสรรค์ของนักเรียน สู่การสร้ างนวัตกรรมใหม่ โดยนักเรียนเลือกตามความสมัครใจ
กลุ่มละ 20 คน และครูท่ปี รึกษาชุมนุม จานวน 1 คน
107

ระยะกำรพัฒนำ วิธีกำรดำเนินกำร ผลที่ได้

1. รวบรวมข้ อมูลในการพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมเพื่อ
ส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์ 1. องค์ประกอบสาคัญของหลักสูตร
ระยะที่ 1 2. สัมภาษณ์กับผู้เชี่ยวชาญ กิจกรรม
กำรศึกษำข้อมูลพื้นฐำน 3. วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล 2. แนวทาง วิธีการ ในการพัฒนา
(R1) และส่งเสริมความคิดสร้ างสรรค์
4. วิเคราะห์และสรุปแนวทางการพัฒนาหลักสูตร

1. ยกร่ำงหลักสูตรกิจกรรม
1) หลักการและเหตุผล 2) ปรัชญาและแนวคิดทฤษฎี => หลั ก สู ต รกิ จ กรรมที่ ส่ ง เสริ ม
ระยะที่ 2 3) จุดมุ่งหมาย 4) โครงสร้ างหลักสูตร 5) แนว
สร้ำงหลักสูตรกิจกรรม ความคิ ด สร้ า งสรรค์ โ ดยผ่ า นการ
ทางการจัดการเรียนรู้ 6) สื่อและแหล่งเรียนรู้ 7) แนว ตรวจสอบคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ
(D1) ทางการวัดและประเมินผล => เอกสารประกอบหลั ก สู ต รที่
2. ตรวจสอบร่ำงหลักสูตรกิจกรรมโดยผูเ้ ชี่ยวชำญ พร้ อมนาไปทดลองใช้

3. ทดลองใช้และปรับปรุงหลักสูตรก่อนนำไปใช้

นาหลักสูตรกิจกรรมไปใช้ กับกลุ่มเป้ าหมาย ผลของการใช้ หลักสูตรกิจกรรม


การคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม
ระยะที่ 3 ความสามารถในการสร้ าง
นำหลักสูตรไปใช้ ใ ช้ วิ ธี ก า ร วิ จั ย เ ชิ ง ท ด ล อ ง เ บื้ อ ง ต้ น ( Pre – นวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญา
(R2) Experimental Design) กลุ่ ม เดี ย ววัด ผลเฉพาะหลัง ท้องถิ่น ของนักเรียนมัธยมศึกษา
การทดลอง (One - Shot Case Study) จังหวัดหนองบัวลาภู

ใช้ ได้ ปรับปรุงแก้ไข

สะท้อนผลจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้ องจากการใช้ หลักสูตร หลักสูตรกิจกรรมการคิด


สร้ างสรรค์
ปรับปรุงแก้ไข ที่พบข้ อบกพร่อง
ใช้ ได้

หลักสูตรฉบับสมบูรณ์
แก้ไขข้ อบกพร่อง

ภำพที่ 10 ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรกิจกรรมการคิดสร้ างสรรค์เพื่อส่งเสริม


ความสามารถในการสร้ างนวัตกรรมที่บูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่น ของนักเรียน
มัธยมศึกษา จังหวัดหนองบัวลาภู
108

จากขั้ น ตอนการด าเนิ น การวิ จั ย ที่ ก ล่ า วมา ผู้ วิ จั ย ได้ น าเสนอเพื่ อ ให้ เ ห็ น ขั้ น ตอนและ
กระบวนการโดยรวม ดังตารางที่ 1

ตำรำงที่ 1 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน (R1)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี 1) ตัวแทน ใช้ วิธีวิเคราะห์ 1) แบบบันทึก 1) ได้ ข้อมูล
เกี่ยวกับการพัฒนา นักเรียน เจ้ าของ ข้ อมูลที่ได้จาก การวิเคราะห์ เบื้องต้ นเกี่ยวกับ
หลักสูตรกิจกรรมการคิด นวัตกรรม การสัมภาษณ์ เอกสาร แนวทางการ
สร้ างสรรค์ และกาหนด 2) ครูท่ปี รึกษา และการถอดเทป 2) แนวคาถาม พัฒนาหลักสูตร
ประเด็นการศึกษา นวัตกรรม บันทึกเสียง โดย ปลายเปิ ดสาหรับ กิจกรรมการคิด
เอกสารตลอดจนการ 3) ผู้บริหาร ใช้ การวิเคราะห์ ผู้ให้ ข้อมูลหลัก สร้ างสรรค์เพื่อ
สัมภาษณ์ สถานศึกษา เนื้อหา (Content 3) แบบบันทึก ส่งเสริม
2) จัดทาร่างประเด็น 4) คณะกรรมการ Analysis) การสัมภาษณ์ ความสามารถใน
การศึกษาเอกสารและร่าง สถานศึกษาหรือ 4) เทป การสร้ าง
แนวคาถามการสัมภาษณ์ ปราชญ์ชาวบ้ าน บันทึกเสียง นวัตกรรมที่
3) นาร่างประเด็น บูรณาการภูมิ
การศึกษาเอกสารและ ปัญญาท้องถิ่น
การสัมภาษณ์เสนอต่อ ของนักเรียน
อาจารย์ท่ปี รึกษา มัธยมศึกษา
วิทยานิพนธ์ เพื่อ จังหวัด
พิจารณาตรวจสอบความ หนองบัวลาภู
สอดคล้ องกับ 2) ได้ ร่างและ
วัตถุประสงค์และความ ประเด็นในการ
เหมาะสมเพื่อปรับปรุง สัมภาษณ์
แก้ไข 3) ได้ ข้อสรุปจาก
4) นัดหมายผู้ให้ ข้อมูล การสัมภาษณ์
หลักเพื่อดาเนินการ
สัมภาษณ์
5) ดาเนินการสัมภาษณ์
โดยผู้วิจัยเป็ น
ผู้ดาเนินการด้ วยตนเอง
6) บันทึกผลการ
สัมภาษณ์และวิเคราะห์
ข้ อมูล พร้ อมทั้งสรุปผล
109

ตำรำงที่ 1 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 1 ศึกษาข้อมูลพื้นฐาน (R1) (ต่อ)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี 1) ตัวแทน ใช้ วิธีวิเคราะห์ 1) แบบบันทึก 1) ได้ ข้อมูล
เกี่ยวกับการพัฒนา นักเรียน เจ้ าของ ข้ อมูลที่ได้จาก การวิเคราะห์ เบื้องต้ นเกี่ยวกับ
หลักสูตรกิจกรรมการคิด นวัตกรรม การสัมภาษณ์และ เอกสาร แนวทางการ
สร้ างสรรค์ และกาหนด 2) ครูท่ปี รึกษา การถอดเทป 2) แนวคาถาม พัฒนาหลักสูตร
ประเด็นการศึกษา นวัตกรรม บันทึกเสียง โดย ปลายเปิ ดสาหรับ กิจกรรมการคิด
เอกสารตลอดจนการ 3) ผู้บริหาร ใช้ การวิเคราะห์ ผู้ให้ ข้อมูลหลัก สร้ างสรรค์เพื่อ
สัมภาษณ์ สถานศึกษา เนื้อหา (Content 3) แบบบันทึก ส่งเสริม
2) จัดทาร่างประเด็น 4) คณะกรรมการ Analysis) การสัมภาษณ์ ความสามารถใน
การศึกษาเอกสารและ สถานศึกษาหรือ 4) เทป การสร้ าง
ร่างแนวคาถามการ ปราชญ์ชาวบ้ าน บันทึกเสียง นวัตกรรมที่บูรณา
สัมภาษณ์ การภูมิปัญญา
3) นาร่างประเด็น ท้องถิ่น ของ
การศึกษาเอกสารและ นักเรียน
การสัมภาษณ์เสนอต่อ มัธยมศึกษา
อาจารย์ท่ปี รึกษา จังหวัด
วิทยานิพนธ์ เพื่อ หนองบัวลาภู
พิจารณาตรวจสอบความ 2) ได้ ร่างและ
สอดคล้ องกับ ประเด็นในการ
วัตถุประสงค์และความ สัมภาษณ์
เหมาะสมเพื่อปรับปรุง 3) ได้ ข้อสรุปจาก
แก้ไข การสัมภาษณ์
4) นัดหมายผู้ให้ ข้อมูล
หลักเพื่อดาเนินการ
สัมภาษณ์
5) ดาเนินการสัมภาษณ์
โดยผู้วิจัยเป็ น
ผู้ดาเนินการด้ วยตนเอง
6) บันทึกผลการ
สัมภาษณ์และวิเคราะห์
ข้ อมูล พร้ อมทั้งสรุปผล
110

ตำรำงที่ 2 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 2 สร้ างหลักสูตร (D1)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
ขั้นที่ 1 ร่ำงหลักสูตร 1) ผู้วิจัย ผู้วิจัยดาเนินการ 1) ประเด็น ได้ สิ่งกาหนด
1) ยกร่างหลักสูตรบน 2) ครูผ้ สู อน วิเคราะห์ข้อมูลที่ คาถามที่ใช้ ใน หลักสูตร คือ
พื้นฐานของข้ อมูล จาก 3) ผู้เชี่ยวชาญ ได้ จากการ การสัมภาษณ์กับ วัตถุประสงค์ของ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ ด้ านความคิด สนทนา การ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง หลักสูตร
ได้ จากการสัมภาษณ์กับ สร้ างสรรค์ สัมภาษณ์ การ ได้ แสดงความ กิจกรรมการคิด
ผู้เชี่ยวชาญ 4) ผู้เชี่ยวชาญ สังเกต และการ คิดเห็นที่สะท้อน สร้ างสรรค์เพื่อ
2) นาหลักสูตรฉบับร่าง ด้ านหลักสูตร บันทึกข้ อมูลโดย ถึงการพัฒนา ส่งเสริม
ให้ ผ้ เู ชี่ยวชาญพิจารณา และการสอน ใช้ การวิเคราะห์ หลักสูตร การ ความสามารถใน
ความเหมาะสมของ 4) ผู้เชี่ยวชาญ เนื้อหา (Content สร้ างหลักสูตร การสร้ าง
หลักสูตร โดยใช้ เทคนิค ด้ านการวัดผล Analysis) โดยผู้วิจัยเสนอ นวัตกรรมที่
การสนทนากลุ่ม (Focus และประเมินผล ประเด็นข้ อ บูรณาการภูมิ
Group) กาหนด คาถามให้ ปัญญาท้องถิ่น
คุณสมบัติของผู้เชี่ยวชาญ อาจารย์ท่ปี รึกษา ของนักเรียน
ดังนี้ วิทยานิพนธ์ มัธยมศึกษา
2.1) ครูผ้ สู อน พิจารณาก่อน จังหวัด
2.2) ปราชญ์ชาวบ้ าน นาไปใช้ จริง หนองบัวลาภู
2.3) ด้ านความคิด 2) แบบบันทึก
สร้ างสรรค์ การสังเกต
2.4) ผู้เชี่ยวชาญด้ าน กระบวนการมี
หลักสูตรการสอน ส่วนร่วมใน
2.5) ผู้เชี่ยวชาญด้ าน ขั้นตอนต่างๆ
การวัดผลประเมินผล ของการสร้ าง
3) วิเคราะห์ข้อมูลเชิง หลักสูตร
คุณภาพ โดยการ 3) แบบบันทึก
วิเคราะห์เนื้อหา การประชุมจัดทา
4) ปรับปรุงตาม ร่างหลักสูตรและ
ข้ อเสนอแนะของ บันทึกการ
ผู้เชี่ยวชาญ วิพากษ์หลักสูตร
5) จัดทาหลักสูตรฉบับ
ร่างและเอกสารประกอบ
หลักสูตร
111

ตำรำงที่ 2 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 2 สร้ างหลักสูตร (D1) (ต่อ)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
ขั้นที่ 2 ทดลองใช้ หลักสูตร 1) ผู้วิจัย 1) วิเคราะห์ 1) แบบทดสอบ ได้ หลักสูตร
1) ทาหนังสือขออนุญาต 2) ผู้ช่วยผู้วิจัย สรุป เนื้อหา ความคิด กิจกรรมที่
ดาเนินการวิจัย ใน 3) ครูวิชาการ 2) สถิติพ้ นื ฐาน สร้ างสรรค์ ส่งเสริมความคิด
สถานศึกษาที่เป็ น 4) หัวหน้ างาน ในการวิเคราะห์ 2) แบบประเมิน สร้ างสรรค์ฉบับ
กลุ่มเป้ าหมาย หลักสูตร ข้ อมูล 𝑥̅ , S.D. นวัตกรรม ร่าง
2) นัดหมายนักเรียนที่เป็ น 5) หัวหน้ างาน 2.1) 3) แบบประเมิน
กลุ่มเป้ าหมาย เพื่อทา กิจกรรมพัฒนา แบบทดสอบ กระบวนการสร้ าง
ความเข้ าใจในการใช้ ผู้เรียน ความคิด นวัตกรรม
หลักสูตรกิจกรรมการคิด 6) นักเรียนชั้น สร้ างสรรค์
สร้ างสรรค์ โดยใช้ รูปแบบ มัธยมศึกษา 2.2) แบบ
การประชุมชี้แจง สร้ าง จานวน 20 คน ที่ ประเมิน
ความเข้ าใจและแนวปฏิบัติ ลงทะเบียนใน นวัตกรรม
3) ผู้วิจัยนาหลักสูตรไปใช้ กิจกรรมชุมนุม 2.3) แบบ
ในชั้นเรียนตามขั้นตอน นักประดิษฐ์ ประเมิน
โดยผู้วิจัยเลือกใช้ รูปแบบ กระบวนการสร้ าง
การวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้ น นวัตกรรม
(Pre-Experimental
Design) กลุ่มเดียวกันวัด
หลังการทดลอง
4) ผู้ช่วยผู้วิจัยสังเกต
กระบวนการสร้ าง
นวัตกรรมของนักเรียน
5) ประชุมถอดบทเรียน
เพื่อให้ ได้ แนวปฏิบัติท่ดี ี
(Good Practice)
6) เก็บรวบรวมข้ อมูล นา
ผลที่ได้ มาวิเคราะห์และ
เปรียบเทียบการใช้
หลักสูตร
112

ตำรำงที่ 2 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 2 สร้ างหลักสูตร (D1) (ต่อ)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
ขั้นที่ 3 ปรับปรุงและแก้ไข 1) ผู้วิจัย ผู้วิจัยวิเคราะห์ 1) แบบบันทึก ได้ หลักสูตรที่มี
หลักสูตร (D2) 2) ผู้ช่วยผู้วิจัย ข้ อมูลจากการ การสัมภาษณ์ คุณภาพจากผล
1) ผู้วิจัยสัมภาษณ์นักเรียน สังเกตพฤติกรรม 2) เทป การวิเคราห์
และผู้ท่มี ีส่วนเกี่ยวข้ องตาม และสังเคราะห์ บันทึกเสียงการ ข้ อมูล
ประเด็นในแบบสัมภาษณ์ ข้ อมูลจากการ สัมภาษณ์
ด้ วยการบันทึกเสียง โดย สัมภาษณ์
ปฏิบัติดังนี้ นักเรียนและผู้ท่มี ี
1.1) ก่อนเริ่มสัมภาษณ์ ส่วนเกี่ยวข้ อง
ผู้วิจัยแนะนาตนเองก่อน ตามประเด็นใน
และบอกจุดมุ่งหมายของ แบบสัมภาษณ์
การสัมภาษณ์ให้ ชัดเจน โดยการวิเคราะห์
ด้ วยภาษาง่ายๆ ที่ให้ ผ้ มู ี เนื้อหา (Content
ส่วนเกี่ยวข้ องเข้ าใจได้ Analysis)
1.2) ผู้วิจัยใช้ การ
สัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว
เพื่อให้ ผ้ มู ีส่วนเกี่ยวข้ อง
เกิดความกล้ าและไม่ลงั เล
ใจที่จะตอบ
1.3) ผู้วิจัยสร้ าง
ความคุ้นเคย ด้ วยการ
สนทนาทัว่ ไป ก่อนจะเริ่ม
เข้ าสู่ประเด็นที่เตรียมไว้
1.4) ผู้วิจัยใช้ คาถาม
ตามประเด็นที่เตรียมไว้
สอบถามจนครบและมั่นใจ
ได้ ว่าข้ อมูลมีความสมบูรณ์
และเปลี่ยนถามผู้มีส่วน
เกี่ยวข้ องคนถัดไปจนครบ
ทุกคน
2) นาข้ อมูลที่ได้ มา
วิเคราะห์เนื้อหา หาข้ อสรุป
3) ปรับปรุงหลักสูตรตาม
คาแนะนาหรือข้ อมูลที่
ได้ รับ
113

ตำรำงที่ 3 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 3 นาหลักสูตรไปใช้ (R2)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
1) ทาหนังสือขอความ 1) ผู้วิจัย ใช้ วิธีการ 1) เครื่องมือที่ใช้ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง
อนุเคราะห์ในการ 2) ผู้ช่วยผู้วิจัย วิเคราะห์เนื้อหา ในการปฏิบัติการ มีความเข้ าในใน
ดาเนินการวิจัย กับ 3) นักเรียน เพื่อให้ ได้ ข้อสรุป วิจัย คือ หลักสูตร หลักการและ
สถานศึกษาที่เป็ น กลุ่มเป้ าหมาย เชิงอุปนัย กิจกรรมการคิด กระบวนการใน
กลุ่มเป้ าหมาย 4) ครูวิชาการ สถิติท่ใี ช้ ในการ สร้ างสรรค์เพื่อ การนาหลักสูตร
2) นัดหมายผู้ช่วยผู้วิจัย ของโรงเรียน วิเคราะห์ข้อมูล ส่งเสริม ไปใช้
ที่เป็ นกลุ่มเป้ าหมาย 5) หัวหน้ างาน ความสามารถใน
จานวน 6 คน เพื่อเข้ ารับ กิจกรรมพัฒนา การสร้ าง
การอบรมการใช้ หลักสูตร ผู้เรียน นวัตกรรมที่บูรณา
โดยการประชุม ชี้แจงเชิง 6) ผู้บริหาร การภูมิปัญญา
ปฏิบัติการ โรงเรียน ท้องถิ่น ของ
3) ดาเนินการประชุม นักเรียน
ชี้แจง โดยผู้วิจัยเป็ น มัธยมศึกษา
ผู้ดาเนินการประชุมด้ วย จังหวัด
ตนเอง หนองบัวลาภู
4) เก็บรวบรวมข้ อมูล 2) เครื่องมือที่ใช้
ข้ อเสนอแนะจากผู้ช่วย ในการเก็บ
ผู้วิจัยที่ได้ รับการอบรม รวบรวมข้ อมูล
การใช้ หลักสูตร 2.1)
5) ผู้วิจัย ผู้ช่วยผู้วิจัย แบบทดสอบ
ร่วมสะท้อนความคิดเห็น ความคิด
เกี่ยวกับผลการใช้ สร้ างสรรค์
หลักสูตร 2.2) แบบ
ประเมิน
นวัตกรรม
2.3) แบบ
ประเมิน
กระบวนการสร้ าง
นวัตกรรม
114

ตำรำงที่ 3 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 3 นาหลักสูตรไปใช้ (R2) (ต่อ)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
ผูช้ ่วยผูว้ ิจัยนำหลักสูตร 1) ผู้วิจัย 1) วิเคราะห์ 1) หลักสูตร ผู้ช่วยผู้วิจัยและ
ไปใช้ในโรงเรียน 2) ผู้ช่วยผู้วิจัย สรุป เนื้อหา กิจกรรมการคิด นักเรียน ใช้
กลุ่มเป้ำหมำย 3) นักเรียน 2) สถิติพ้ นื ฐาน สร้ างสรรค์เพื่อ หลักสูตรฉบับ
นาหลักสูตรไปใช้ และ กลุ่มเป้ าหมาย ในการวิเคราะห์ ส่งเสริม สมบูรณ์ในการ
ศึกษาผลการใช้ หลักสูตร ข้ อมูล 𝑥̅ , S.D. ความสามารถใน ส่งเสริมความคิด
1) การสร้ างความเข้ าใจ 2.1) การสร้ าง สร้ างสรรค์
ให้ กับนักเรียนก่อนใช้ แบบทดสอบ นวัตกรรมที่
หลักสูตร ผู้วิจัยประชุม ความคิด บูรณาการภูมิ
ร่วมกับครูฝ่ายวิชาการ สร้ างสรรค์ ปัญญาท้องถิ่น
โรงเรียน ร่วมดาเนินการ 2.2) แบบ ของนักเรียน
วางแผนการนาหลักสูตร ประเมิน มัธยมศึกษา
ไปใช้ ในภาคเรียนที่ 1 ปี นวัตกรรม จังหวัด
การศึกษา 2563 โดย 2.3) แบบ หนองบัวลาภู
กาหนดเป็ น 3 ระยะ คือ ประเมิน 2) แบบทดสอบ
ก่อนการใช้ หลักสูตร กระบวนการสร้ าง ความคิด
ระหว่างใช้ หลักสูตร และ นวัตกรรม สร้ างสรรค์
หลังใช้ หลักสูตร รวมถึงทา 3) แบบประเมิน
ความเข้ าใจกับหัวหน้ างาน นวัตกรรม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ที่ 4) แบบประเมิน
จะดาเนินการเสนอบรรจุ กระบวนการสร้ าง
หลักสูตรไว้ ในชั่วโมง นวัตกรรม
ชุมนุมของโครงสร้ าง
หลักสูตรสถานศึกษา
2) นาหลักสูตรไปใช้ กับ
กลุ่มเป้ าหมาย นัดหมาย
นักเรียนที่เป็ น
กลุ่มเป้ าหมาย ซึ่งเป็ น
นักเรียนที่เลือกเรียน
กิจกรรมชุมชุม โดยความ
สมัครใจจานวน 20 คน
115

ตำรำงที่ 3 ขั้นตอนการวิจัย ระยะที่ 3 นาหลักสูตรไปใช้ (R2) (ต่อ)

กำรวิเครำะห์ เครื่องมือ ผลกำร


วิธีกำรดำเนินกำร ผูใ้ ห้ขอ้ มูลหลัก
ข้อมูล กำรวิจัย ดำเนินงำน
3) ผู้วิจัยสังเกตการจัด
กิจกรรมการสอนของผู้ช่วย
ผู้วิจัยพร้ อมทั้งสังเกตการ
เปลี่ยนแปลงด้ านต่างๆ อีก
ทั้งให้ ผ้ ชู ่วยผู้วิจัย
ดาเนินการบันทึกข้ อมูล
ด้ วยวีดีโอ และสังเกต
พฤติกรรมโดยรวม
4) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้ อง
ร่วมกันสะท้อนผล การนา
หลักสูตรไปใช้ ดังนี้
ส่วนแรก คือ ผู้วิจัย
ผู้ช่วยผู้วิจัย และร่วมกัน
สะท้อนผลการใช้ หลักสูตร
เมื่อเสร็จสิ้นแต่ละหน่วย
เพื่อพิจารณาว่าพฤติกรรม
ใดที่ส่งเสริมสนับสนุนให้
ผู้เรียนเกิดความคิด
สร้ างสรรค์ หรือมีประเด็น
ใดที่จาเป็ นต้ องแก้ไข
ระหว่างการจัดกิจกรรม
เพื่อให้ หลักสูตรมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
ส่วนที่สอง คือ หลังจาก
เสร็จสิ้นการใช้ หลักสูตร
ผู้วิจัย ผู้ช่วยผู้วิจัย นักเรียน
ร่วมกันสะท้อนผล
กระบวนการใช้ หลักสูตร
ความคิดสร้ างสรรค์และ
นวัตกรรมที่เกิดขึ้นใน
ระหว่างการจัดกิจกรรม
และสรุปประเมินผลการจัด
กิจกรรม

You might also like