Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 125

แผนจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ ว30206

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

Kinetic Theory of Gases


นางสาวสายรุง้ ทองสูง
ตาแหน่ง ครู คศ.1
โรงเรียนสระแก้ว
ตาบลสระแก้ว อาเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว
สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 7
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 1
ชื่อเรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ หน่วยที่ 1
เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 2 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น สืบค้นข้อมูล และอธิบายสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้ง
ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. ผลการเรียนรู้
1. สารวจตรวจสอบ อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติและการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาสเปกตรัม
คลื่ น แม่เหล็ กไฟฟ้ ามีความถี่ต่อเนื่ องกัน โดยคลื่ นแม่ เหล็ กไฟฟ้าช่วงความถี่ต่างๆ มีลั กษณะเฉพาะตั ว ซึ่ ง
สามารถน าไปใช้ ป ระโยชน์ ได้ แ ตกต่ า งกั น เช่ น การรั บ ส่ ง วิ ท ยุ โทรทั ศ น์ การป้ อ งกั น อั น ตรายจากคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ไม่อยู่ใกล้เตาไมโครเวฟขณะเตาทางาน
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
ใจความของทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์กล่าวว่าเมื่อสนามแม่เหล็กบริเวณหนึ่งเปลี่ยนแปลง
จะเหนี่ ย วน าให้ เกิ ด สนามไฟฟ้ า โดยสนามที่ ถู ก เหนี่ ย วน าจะมี ร ะนาบตั้ ง ฉากกั บ ทิ ศ การเคลื่ อ นที่ ข อง
สนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนแปลง และในเช่นเดียวกัน เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของสนามไฟฟ้า ก็จะเหนี่ยวนาให้
เกิดสนามแม่เหล็ก ในระนาบที่ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลง
เฮิร์ตได้ทาการทดลองเพื่อพิสูจน์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็ก ไฟฟ้าตามแนวคิดของแมกว์เวล โดยใช้ขดลวดเหนี่ยวนา
ทาให้ เกิดค่าความต่างศักย์สู งสุดที่ป ลายขดลวด ซึ่งมีลูกกลม B โดยมีช่องว่าง แคบ เมื่อความต่างศักย์สู ง
อากาศจึงแตกตัวเป็นไอออน นาไฟฟ้าได้ ซึ่งจะเห็นเป็นประกายไฟออกมา
จากนั้นใช้จานโลหะรูปพาราบารมีลอยผ่าน วางห่างช่องแคบๆนั้น ปรากฎว่า เมื่อให้เกิดค่าความต่าง
ศักย์สูงสุดที่ปลายขดลวด และเกิดประกายไฟ เครื่องรับที่เป็นวงแหวนก็เกิดประกายไฟด้วย ซึ่งผลการทดลอง
ได้สนับสนุน ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าตามแนวคิดของแมกว์เวล
ตามความคิดของแมกเวลล์ซึ่งกล่าวว่า การเหนี่ยวนาสนามไฟฟ้านั้ นจะเกิดขึ้นได้เสมอโดยไม่ต้อง มี
ตัวนาไฟฟ้าอยู่ด้วย นั่นหมายถึง ณ ที่ว่างรอบๆ ก็สามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นได้
เมื่อสนามไฟฟ้าในที่ว่างใดๆ เกิดการเปลี่ยนแปลงตามเวลา จะเหนี่ยวนาให้ สนามแม่เหล็กเกิดการเปลี่ยนแปลง
ตามเวลา ไปในขณะเดียวกันด้วย และสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนก็จะเหนี่ยวนาให้เกิดการสนานไฟฟ้าอีก
ต่อเนื่องกันไป การเกิดต่อเนื่องกันนี้ทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าขึ้น
เมื่ออิเล็กตรอนในสายอากาศเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิกอย่างง่ายจะทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
แผ่ออกจากสายอากาศ ระนาบของสนามไฟฟ้าจะตั้งฉากกับ สนามแม่เหล็ก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นคลื่นตามขวาง เพราะมีสมบัติการโพราไลซ์เซชัน(Polalization) ทิศของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ามีทุกทิศทุกทาง (3 มิติ) ยกเว้นในแนวเส้นตรงเดียวกับสายอากาศ
คลื่นไฟฟ้าที่มีความถี่ต่อเนื่องเป็นช่วงกว้าง ความถีต่างๆเหล่านี้ เรียกรวมกันว่า สเปกตรัมของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่เดียวกันมีชื่อเรียกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแหล่งกาเนิด

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
2. บอกรายละเอียดของทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ได้
3. อธิบายการทดลองของเฮิรตช์เพื่อพิสูจน์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกเวลล์ได้

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการทดลองด้วยเครื่องมือที่อยู่รอบตัว
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนพิสูจน์ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกเวลล์
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทาแบบทดสอบ
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้พละศึกษาและสุขศึกษาเรื่องความปลอดภัย
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
12. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ขั้นสร้างความสนใจ (แลกเปลี่ยนประสบการณ์)
1. สนทนาทบทวนเกี่ยวกับการเกิดสนามแม่เหล็ก เมื่อเราผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในขดลวด
ธรรมชาติของคลื่น สมบัติต่างๆ ของคลื่น
2. ตั้งคาถามว่า นักเรียนคิดว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเกิดขึ้นได้อย่างไร และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
จะมีคุณสมบัติต่างๆ เหมือนกับคลื่นน้า คลื่นเสียง ที่นักเรียนเรียนผ่านมาหรือไม่ อย่างไร
3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน
2. ขั้นสารวจและค้นหา
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับหลักการการเหนี่ยวนาไฟฟ้า ตามกฎของฟาราเดย์ แล้วอธิบายทฤษฎี
แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกเวลล์
2. ครูแจกใบงานและให้นักเรียนศึกษาจากใบความรู้ เรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ใช้เวลา
15 นาที และช่วยกันวิเคราะห์และอภิปรายเกี่ยวกับการทดลองของเฮิร์ตซ์
3. ครูอธิบายการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และการแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยให้นักเรียนดู
ภาพ เรื่องการแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แล้วให้นักเรียนวิเคราะห์ถึง ลักษณะการแผ่ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4. ครูเปิ ดโอกาสให้นั กเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่

เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น
5. ครูให้นักเรียนเขียน Mine Mapping เกี่ยวกับความรู้เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ส่งใน
คาบเรียนวันนี้
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
ครูสอบถามนักเรียน ด้วยประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นชนิดคลื่นแบบใด (ชนิดคลื่นตามขวาง)
2. สมมติฐานของแมกซ์เวลล์ มีใจความว่าอย่างไร ( ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กจะ
ทาให้เกิดสนามไฟฟ้ารอบๆการเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กนั้น และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้าจะทาให้
เกิดสนามแม่เหล็กรอบๆการเปลี่ยนแปลงสนามไฟฟ้านั้น)
3. การทดลองของเฮริตซ์เป็นการทดลองเพื่อพิสูจน์เรื่องใด (พลังงานสามารถส่งผ่านจากที่
หนึ่งไปยังที่หนึ่งได้โดยอยู่ในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า)
4. การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นอย่างไร
(ทิศของสนามแม่เหล็กและทิศของสนามไฟฟ้าจะตั้งฉากซึ่งกันและกัน และตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น)
4. ขั้นขยายความรู้
ครู ให้ ค วามรู้ เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ ธรรมชาติ ข องคลื่ น แม่ -เหล็ ก ไฟฟ้ า และการค้ น พบคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้า โดยใช้สื่อ power point และสื่อ animation

5. ขั้นประเมิน
1. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย ที่นักเรียนยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
2. สุ่มนักเรียนอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับในการศึกษาในครั้งนี้
3. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรู้ในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้รายชั่วโมง
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน
13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ 2. เครื่องโพรเจกเตอร์
3. ใบงาน 4. แบบประเมินต่างๆ
5. แบบสังเกตต่างๆ 6. สื่อ animation
7. power point 8. ใบความรู้
9. ห้องสมุด 10. หนังสือคู่มือจากสานักพิมพ์ต่างๆ
11. อินเทอร์เน็ต จากเว็บไซต์ต่างๆ
14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบปรนัยก่อนเรียน 10 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบปรนัยก่อนเรียน 10 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบปรนัยก่อนเรียน ได้คะแนนน้อยกว่าร้อยละ 50
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แบบทดสอบก่อนเรียน
จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว
1. ถ้าเรายืนอยู่บนพื้นโลก ณ ประเทศไทย ขณะนั้นมีคลื่นไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านขึ้นไปทางทิศเหนือ หากตรงที่
เรายืนอยู่พบว่ามีสนามไฟฟ้าพุ่งไปทางทิศตะวันออก สนามแม่เหล็กของคลื่นจะพุ่งในทิศใด
1. ทิศตะวันตก 2. ทิศเหนือ
3. แนวดิ่งพุ่งขึ้น 4. แนวดิ่งพุ่งลง
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแตกต่างจากคลื่นน้า คือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นอย่างไร
1. เป็นคลื่นตามขวาง 2. ไม่หักเห
3. ไม่อาศัยตัวกลาง 4. ไม่โพลาไรเซชัน
3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ค่าหนึ่งถูกส่งออกไปกระทบกับแผ่นโลหะตัวนาในลักษณะตั้งฉากกับระนาบ
ของแผ่น ตัวนา การสะท้อนของคลื่นเป็นไปตามกฎการสะท้อนของคลื่น อยากทราบว่ากรณีนี้ คลื่น
สะท้อนจะมีเฟสต่างจากคลื่นเดิมกี่องศา
1. 0 2. 90
3. 180 4. 270
4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวเลือกใดต่อไปนี้ที่ไม่สามารถใช้สื่อสารได้
1. คลื่นวิทยุและไมโครเวฟ 2. ไมโครเวฟและเลเซอร์
3. เลเซอร์และอัลตราไวโอเลต 4. อัตราไวโอเลตและรังสีเอกซ์
5. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวเลือกใดต่อไปนี้ที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์
1. ไมโครเวฟ 2. อินฟราเรด
3. เลเซอร์ 4. คลื่นวิทยุ
6. รังสีอินฟราเรดและคลื่นไมโครเวฟมีสิ่งที่เหมือนกันในตัวเลือกใดต่อไปนี้
ก. เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข. ใช้ประโยชน์ในการสื่อสารดาวเทียม
ค. ตรวจจับได้ด้วยฟิล์มถ่ายรูป
ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค
3. ข้อ ข และ ค 4. คาตอบเป็นอย่างอื่น
7. สนามแม่เหล็กที่มาพร้อมกับการเคลื่อนที่ของแสงนั้น จะมีทิศทางอย่างไร
1. ขนานกับทิศทางของการเคลื่อนที่ของแสง
2. ขนานกับสนามไฟฟ้าแต่เฟสต่างกัน 90 องศา
3. ตั้งฉากกับทั้งสนามไฟฟ้าและทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
4. ตั้งฉากกับสนามไฟฟ้าแต่ขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของแสง
8. พิจารณาคากล่าวต่อไปนี้
ก. คลื่นไมโครเวฟสะท้อนจากผิวโลหะได้ดี
ข. คลื่นโทรทัศน์เลี้ยวเบนอ้อมสิ่งกีดขวาง เช่น รถยนต์ได้
ค. รังสีอัลตราไวโอเลตทะลุผ่านแก้วได้ดี
ง. คลื่นวิทยุเอเอ็ม (50 kHz - 1.6 MHz) สะท้อนได้ดีที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์
ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อ ง เท่านั้น 2. ข้อ ก และ ง
3. ข้อ ก ข และ ค 4. คาตอบเป็นอย่างอื่น
9. ภายในหลอดฟลูออเรสเซนต์บรรจุไอปรอทไว้ ซึ่งจะปล่อยรังสีอัลตราไวโอเลตออกมาเมื่อไอปรอทถูก
กระตุ้นด้วยอิเล็กตรอน รังสีอัลตราไวโอเลตมีหน้าที่อะไรสาหรับกรณีนี้
1. เกิดขึ้นเองจึงไม่มีหน้าที่อะไร
2. กระตุ้นสารวาวแสงให้เรืองแสง
3. กันไม่ให้มีอิเล็กตรอนในหลอดมากไป
4. ทาให้ตามนุษย์เห็นแสงนวลสบายตา
10. ถ้าเราถ่ายภาพฝ่ามือด้วยรังสีเอกซ์ ภาพของฝ่ามือที่ปรากฏบนฟิล์มจะเป็นอย่างไร

แหล่งกำเนิดรังสี เอกซ์

1. กระดูกจะเห็นเป็นสีดา
2. กล้ามเนื้อจะเห็นเป็นสีขาว
3. กระดูกจะเห็นเป็นสีขาว
4. เล็บจะเห็นเป็นสีขาว
เฉลยแบบทดสอบท้ายแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6

1. 4
2. 3
3. 1
4. 4
5. 4
6. 4
7. 3
8. 2
9. 2
10. 3
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 2
ชื่อเรื่อง การแผ่คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ หน่วยที่ 1 เรือ่ ง คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 2 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น สืบค้นข้อมูล และอธิบายสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้ง
ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. ผลการเรียนรู้
1. สารวจตรวจสอบ อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติและการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาสเปกตรัม
คลื่ น แม่เหล็ กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่ องกัน โดยคลื่ นแม่ เหล็ กไฟฟ้าช่วงความถี่ต่างๆ มีลั กษณะเฉพาะตั ว ซึ่ ง
สามารถน าไปใช้ ป ระโยชน์ ได้ แ ตกต่ า งกั น เช่ น การรั บ ส่ ง วิ ท ยุ โทรทั ศ น์ การป้ อ งกั น อั น ตรายจากคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ไม่อยู่ใกล้เตาไมโครเวฟขณะเตาทางาน
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัด ระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
เมื่อต่อแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับเข้ากับสายอากาศที่อยู่ในแนวดิ่ง ประจุไฟฟ้าในสายอากาศจะ
เคลื่อนที่กลับไปมาด้วยความเร่งในแนวดิ่ง ทาให้เกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ากระจายไปทุกทิศทางยกเว้นทิศที่อยู่
แนวเดียวกับสายอากาศ

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายการเกิดเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสายอากาศได้
3. อธิบายนาหลักการเคลื่อนที่ของประจุไฟฟ้าในสายอากาศไปใช้ประโยชน์ได้

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการทดลองด้วยเครื่องมือที่อยู่รอบตัว
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนพิสูจน์การเคลื่อนที่ของประจุในสายอากาศ
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทาแบบทดสอบ
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้พละศึกษาและสุขศึกษาเรื่องความปลอดภัย
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 ให้นักเรียนพูดรับส่งโทรศัพท์มือถือ และดูโทรทัศน์
1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างการส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ร่วมกัน
อภิปรายถึงการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์
คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต และรังสีเอกซ์ รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องทฤษฎีคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขั้นสารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ สเปกตรัม
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต และรังสี
เอกซ์
2.3 นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม อภิ ป รายร่ ว มกั น ถึ ง การแผ่ ค ลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า จากสายอากาศ
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสง รังสี อัลตราไวโอเลต
และรังสีเอกซ์
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นั ก เรีย นแต่ ล ะกลุ่ ม น าเสนอผลการสื บค้ นการแผ่ คลื่ นแม่ เหล็ กไฟฟ้ าจากสายอากาศ
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ คลื่นไมโครเวฟ รังสีอินฟราเรด แสง รังสีอัลตราไวโอเลต
และรังสีเอกซ์
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- จากการทดลองของเฮิรตซ์ ถ้าใช้ไฟฟ้ากระแสสลับแทนการปิดเปิดสวิตซ์ไฟฟ้ากระแสตรงจากแบตเตอรี่
ผลที่เกิดขึ้นจะเป็นอย่างไร
- สมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นอย่างไร
- สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นอย่างไร
- การส่งคลื่นวิทยุระบบเอเอ็มกับเอฟเอ็มแตกต่างกันอย่างไร
- การส่งคลื่นโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมทาอย่างไร
- เรดาร์ทางานอย่างไร
- เส้นใยนาแสงส่งสัญญาณได้อย่างไร
- แสงเลเซอร์เกิดได้อย่างไร และมีโครงสร้างอย่างไร
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์
และการทดลองของเฮิรตซ์
กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของ
แมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ไปใช้ประโยชน์
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเกี่ยวกับทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
ทดลองของเฮิรตซ์
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ
ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทา
อย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก
เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. โทรศัพท์มือถือ
2. แผนภาพเฟสของคลื่น
3. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมฟิสิกส์เล่ม 3 ของกระทรวงศึกษาธิการ
4. ห้องสมุด
5. ชุมชน
6. ฐานข้อมูล Internet http://www. urrac.com/news/onet_anet/anet_sci_phy.psp

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบปรนัย 10 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบปรนัย 10 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบปรนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 3
ชื่อเรื่อง สเปกตรัมคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า หน่วยที่ 1 เรือ่ ง คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 6 เวลา 4 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชัน้ สืบค้นข้อมูล และอธิบายสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้ง
ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. ผลการเรียนรู้
1. สารวจตรวจสอบ อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติและการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. คลื่นวิทยุ
3. คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ
4. รังสีอิฟาเรด
5. แสง
6. รังสีอัลตราไวโอเลต
7. รังสีเอกซ์
8. รังสีแกมมา
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5. สาระสาคัญ
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง เคลื่อนที่ไป
ด้วยความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมกับคลื่น

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
2. อธิบายประโยชน์และสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ในช่วงความถี่ต่างๆกันได้

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกชนิดของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

12. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละ 7 คน คละกันตามความสามารถทางการเรียน คือ
เก่ ง ป าน ก ล าง อ่ อ น แ ล้ ว ให้ นั ก เรี ย น ศึ ก ษ าเรื่ อ ง ค ลื่ น แ ม่ เห ล็ ก ไฟ ฟ้ า จาก เว็ บ ไซ ต์ ส ส วท .
2. ให้ นั ก เรี ย น ค ลิ ก ที่ http://lectureonline.cl.msu.edu/~mmp/applist/Spectrum/s.htm
เพื่อเชื่อมโยงสู่เว็บไซต์ที่แสดงถึงหลักการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ ความยาวคลื่น
และพลังงานของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าโดยทดลองทากิจกรรมเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ชนิดต่าง ๆ
ในสเปกตรัมแล้วร่วมอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันภายในกลุ่ม
3. ให้นักเรียนทา แบบทดสอบ ในเว็บไซต์ สสวท.
ครูให้นักเรียนตามกลุ่มที่แบ่งไว้ แยกกันศึกษาคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคนละ 1 ชนิดให้เชี่ยวชาญ แล้วนามา
อภิปรายให้เพื่อนในกลุ่มฟัง และให้ทุกกลุ่มสรุปสาระสาคัญของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าส่ง
1. สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ขั้นนา
ให้นักเรียนยกตัวอย่างคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่นักเรียนรู้จัก (คลื่นวิทยุ คลื่นโทรทัศน์ แสง รังสอัลตราไวโอ
เลต)
ขั้นกิจกรรม
1. ครูให้ความรู้แก่นักเรียนว่าตัวอย่างคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่นักเรียนช่วยกันตอบนั้น แต่ละชนิด
จะมีความถี่ไม่เท่ากัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเหล่านี้รวมเรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. ครูให้ นั กเรีย นศึกษาสเปกตรัมคลื่ นแม่เหล็ กไฟฟ้าจากหนังสือเรียนฟิ สิกส์ เล่ ม 3 หน้า 182-204
และเอกสารใบความรู้เรื่องคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แล้วให้นักเรียนช่วยกันบอกว่าสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแต่
ละช่วงมีชื่อเรียกว่าอะไร มีความถี่และความยาวคลื่นเท่าใด มีคุณสมบัติการผลิตและการตรวจวัดอย่างไร
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ดังนี้
1. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจะมีความถี่ต่อเนื่องกันเป็นช่วงกว้าง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่างๆเหล่านี้
รวมเรียกว่า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. สเปกตรั ม คลื่ น แม่ เหล็ ก ไฟฟ้ า ได้ แ ก่ กระแสสลั บ คลื่ น วิ ท ยุ ไมโครเวฟ รัง สี อิ น ฟาเรด รั ง สี
อัลตราไวโอเลต รังสีเอกซ์และรังสีแกมมา
3. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแต่ละชนิดจะมีวิธีการผลิตและการตรวจวัดคลื่นไม่เหมือนกัน
4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิดจะมีความเร็วเท่ากับแสงและมีพลังงานส่งผ่านไปพร้อมกับคลื่น
2. คลื่นวิทยุ
ขั้นนา
1. ครูตั้งคาถามนักเรียนว่าเวลาที่นักเรียนเปิดเครื่องรับวิทยุเพื่อรับฟังรายการต่างๆ นักเรียน
จะได้ยินประกาศจากสถานีว่า “ที่นี่สถานีวิทยุกระจายเสียง…………. ทาการกระจายเสียงในระบบ เอ เอ็ม ด้วย
ความถี่……… กิโลเฮิรตซ์ และในระบบ เอฟ เอ็ม ด้วยความถี่ …….. เมกะเฮิรตซ์” นักเรียนรู้หรือไม่ว่า ระบบเอ
เอ็ม และระบบเอฟ เอ็ม แตกต่างกันอย่างไร มีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันอย่างไร
2. ครูให้นักเรียนอภิปรายตามความรู้ที่นักเรียนทราบโดยทั่วไปเกี่ยวกับคลื่นวิยุระบบ AM และ FM
ขั้นกิจกรรม
ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องคลื่นวิทยุรวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้องร่วมกัน
อภิปรายเกี่ยวกับการรวมคลื่นวิทยุในระบบ AM และระบบ FM การส่งและรับคลื่นวิทยุในระบบ AM และ FM
รวมทั้งคุณสมบัติของคลื่นวิทยุในระบบ AM และ FM ความรู้เกี่ยวกับสายอากาศของเครื่องรับวิทยุ การรับ
คลื่นวิทยุของสายอากาศ รวมทั้งการหาความถี่ของคลื่นวิทยุซึ่งขี้นอยู่กับค่าของตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนา
ขัน้ สรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญของคลื่นวิทยุ ดังนี้
1.1 คลื่ นวิทยุ เกิดจากการรวคลื่ นแม่เหล็ กไฟฟ้าซึ่งเป็นคลื่นพาหะกับคลื่ นเสี ยงที่อยู่ในรูปของ
สัญญาณเสียง

1.2 คลื่นวิทยุมีอยู่ 2 ระบบ คือ


ระบบ AM เป็นการรวมโดยนาสัญญาณเสียงรวมกับคลื่ นพาหะ โดยแอมพลิจูดของคลื่น
พาหะเปลี่ยนแปลงไปตามสัญญาณเสียง
ระบบ FM เป็นการรวมโดยนาสัญญาณเสียงรวมกับคลื่นพาหะ โดยรวมความถี่ของคลื่น
พาหะเปลี่ยนแปลงไปตามจังหวะสัญญาณเสียง
1.3 การส่งคลื่นวิทยุระบบ AM จะส่งได้ไกลกว่าระบบ FM เพราะมีทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า ส่วน
ระบบ FM มีแต่คลื่นดินอย่างเดียว แต่ความชัดเจนของระบบ AM น้อยกว่าระบบ FM เพราะจะถูกรบกวนได้
ง่ายกว่า
1.4 สายอากาศที่ ใช้ รั บ คลื่ น วิ ท ยุมี 2 แบบ คื อ แบบเส้ น จะรับ สั ญ ญาณสนามไฟฟ้ าของคลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้า สายอากาศจะรับสั ญญาณวิทยุได้ดีที่สุดเมื่อสายอากาศอยู่ในแนวขนานกับสนามไฟฟ้า ของ
คลื่นวิทยุ ส่วนสายอากาศแบบบ่วงจะรับสัญญาณสนามแม่เหล็กของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า มักจะวางในแนวดิ่ง
เมื่อคลื่ น แม่เหล็ กไฟฟ้ าผ่ านสายอากาศ สนามแม่ เหล็ กที่ เปลี่ ยนแปลงจะเหนี่ยวนาให้ เกิดกระแสไฟฟ้ าใน

สายอากาศเกิดสัญญาณไฟฟ้าขึ้ สายอากาศจะต้องมีความยาวเท่ากับ
2
1.5 เมื่อคลื่นวิทยุมาถึงเคร่องรับจะต้องปรับความถี่ของเครื่องรับให้เท่ากับความถี่คลื่นวิทยุที่ส่งมา
1
จากสถานี โดยการปรับค่าของตัวเก็บประจุ ซึ่งความถี่ของเครื่องรับหาได้จากสูตร f 
2 LC
2. ครูและนักเรียนร่วมกันทาโจทย์
คลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ
ขั้นนา
1. ครูถามนักเรียนว่าในปัจจุบันข่าวสารที่ผ่านสื่อชนิดใดที่ได้รับความสนใจและประชาชนนิยมติดตาม
มากที่สุด (สื่อโทรทัศน์)
2. เหตุผลที่ประชาชนนิยมติดตามสื่อโทรทัศน์มากที่สุด (เพราะได้เห็นภาพและได้ยินเสียงพร้อมๆกัน)
ขั้นกิจกรรม
ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องคลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟรวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนใน
ห้องร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการส่งคลื่นโทรทัศน์ว่าทาอย่างไร แตกต่างจากการส่งคลื่นวิทยุอย่างไร และการ
ส่งคลื่นไมโครเวฟ รวมทั้งประโยชน์จากคลื่นโทรทัศน์และคลื่นไมโครเวฟ
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญของคลื่นโทรทัศน์และไมโครเวฟ ดังนี้
1.1 คลื่นโทรทัศน์เป็นการส่งโดยการผสมสัญญาณภาพแบบ AM และผสมสัญญาณเสียงแบบ FM
กับคลื่นพาหะ
1.2 การส่งคลื่นโทรทัศน์ระยะทางไกลๆ ต้องใช้สถานีถ่ายทอดเป็นระยะๆ เพราะเป็นคลื่นสั้น ไม่
สามารถเลี้ยวอ้อมผ่านสิ่งกีดขวางที่มีขนาดใหญ่ได้
1.3 ไมโครเวฟใช้สื่อสารทางไกล ข้าทวีปโดยใช้ดาวเทียมในวงโคจรที่ปรากฏหยุดนิ่งสัมพัทธ์กับ
โลกเป็นตัวรับสัญญาณขยายให้แรงขึ้นแล้วส่งไปยังสถานีรับที่อยู่ไกลๆ
1.4 ไมโครเวฟสามารถสะท้อนจากผิวโลหะได้ดีจึงนาไปใช้ประโยชน์ในการตรวจหาตาแหน่งของ
อากาศยาน เรียกว่า เรดาห์ โดยการส่งไมโครเวฟออกจากแหล่งกาเนิดเป็นห้วงๆ และรับคลื่นที่สะท้อนกลับ
จากวัตถุนั้นเพื่อหาว่าวีตถุนั้นอยู่ห่างจากแหล่งกาเนิดเป็นระยะทางเท่าไร ในทิศไหน
1.5 ไมโครเวฟนอกจากจะใช้ประโยชน์ในด้านการสื่อสารแล้วยังใช้ประโยชน์ด้าน
การวิเคราะห์ศึกษาโครงสร้างอะตอม นิวเคลียส และโมเลกุลแล้วยังเป็นแหล่งความร้อน
2. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดบทที่ 18 ความรู้พื้นฐานข้อที่ 1-10 ในหนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
3. รังสีอินฟาเรด
ขั้นนา
1. ครูนาโคมไฟที่มีหลอดไฟขนาด 100 วัตต์ มาวางบนโต๊ะสาธิต แล้วให้นักเรียนลองใช้มือมาวางใกล้ๆ
หลอดไฟ แล้วถามนักเรียนว่านักเรียนมีความรู้สึกอย่างไร (นักเรียนตอบว่า รู้สึกว่ามือได้รับความร้อน)
2. ครูบอกให้นักเรียนทราบว่าการที่มือของนักเรียนได้รับความร้อนเพราะมีรังสีอินฟาเรดแผ่ออกมาจาก
หลอดไฟ
ขั้นกิจกรรม
1. ครูให้นั กเรียนที่ศึกษาเรื่องรังสีอิน ฟาเรด รวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้อง
ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับแหล่งกาเนิด คุณสมบัติและประโยชน์ของรังสีอินฟาเรด
2. ครูตั้งคาถามเพิ่มเติม เช่น
- รังสีความร้อนเป็นรังสีอินฟาเรดหรือไม่ (เป็น)
- รังสีที่แผ่ออกจากดวงอาทิตย์มีรังสีอินฟาเรดหรือไม่ (มี)
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญ ดังนี้
1. รังสีอินฟาเรดเกิดจากวัตถุที่มีความร้อน หรือวัตถุที่มีอุณหภูมิสูง
2. ประสาทรับความร้อนที่ผิวหนังไวต่อรังสีนี้
3. สิ่งมีชีวิตจะแผ่รังสีอินฟาเรด
4. รังสีอินฟาเรดสามารถทะลุผ่านเมฆหมอกที่หนาเกินกว่าที่แสงธรรมดาจะผ่านได้จึงใช้ถ่ายภาพจาก
ดาวเทียม
5. รังสีอินฟาเรดใช้ในรีโมทคอนโทรล และใช้ในการควบคุมอาวุธนาวิถี
4. แสง
ขั้นนา
1. ครูให้นักเรียนอภิปรายและยกตัวอย่างการมองเห็นวัตถุต่างๆ โดยให้นักเรียนวิเคราะห์ว่า “เพราะ
เหตุใดเราจึงสามารถมองเห็นวัตถุต่างๆได้”
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปให้ได้ว่า เรามองเห็นวัตถุต่างๆได้เพราะมี แสงจากวัตถุโดยตรงหรือ
อาจจะเป็นแสงที่แสงสะท้อนจากวัตถนั้นก็ได้
ขั้นกิจกรรม
ครู ให้ นั ก เรี ย นที่ ศึ ก ษาเรื่ อ งแสงรวมกลุ่ ม กั น น าเสนอหน้ า ชั้ น เรีย นและให้ นั ก เรี ย นในห้ อ งร่ ว มกั น
อภิปรายเกี่ยวกับที่มาของแสง ประโยชน์และอันตรายของรังสีชนิดนี้
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญดังนี้
แหล่งกาเนิดแสงที่สาคัญ คือดวงอาทิตย์ วัตถุที่มีอุณหภูมิสูงมากๆ จะเปล่งแสงได้ เช่น หลอดไฟ แสง
อาจเกิดได้โดยไม่ขึ้นกับความร้อนโด
5. รังสีอัลตราไวโอเลต
ขั้นนา
ครูถามนักเรียนว่าทาไมเวลาเราอยู่กลางแดดนานๆ เช่น ในช่วงกีฬาสีของโรงเรียน ที่เราอยู่กลางแดดทั้งวัน
ทาให้ผิวหนังดาและลอก อะไรคือสาเหตุที่ทาให้ผิวหนังลอก ในแสงแดดมีรังสีอะไรอยู่ (รังสีอัลตราไวโอเลต)
ขั้นกิจกรรม
ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องรังสีอัลตราไวโอเลตรวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้อง
ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับที่มาของรังสีอัลตราไวโอเลต ประโยชน์และอันตรายของรังสีชนิดนี้
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญ ดังนี้
1. แหล่ ง ก าเนิ ด รั ง สี อั ล ตราไวโอเลตตามธรรมชาติ คื อ ดวงอาทิ ต ย์ แต่ ส ามารถผลิ ต รั ง สี
อัลตราไวโอเลตได้โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในหลอดบรรจุไอปรอท
2. รังสีอัลตราไวดอเลตเป็ นตัวการที่ทาให้เกิดประจุอิสระในบรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ เพราะมี
พลังงานพอเหมาะที่จะไปชนให้อิเล็กตรอนหลุดจากโมเลกุลของอากาศ
3. ในทางการแพทย์ใช้รังสีอัลตราไวโอเลตรักษาโรคเกี่ยวกับผิวหนัง รังสีอัลตราไวโอเลตจานวนมาก
อาจทาให้เกิดอันตรายต่อผิวหนังและนัยน์ตาได้
4. รังสีอัลตราไวโอเลตสามารถผ่านแผ่นควอตซ์ได้ดีและผ่านแก้วได้เล็กน้อย
6. รังสีเอกซ์
ขั้นนา
1. ครูถามนั กเรียนว่า ถ้าเกิดอุบั ติเหตุคนไข้ถูกรถชนขา แพทย์ต้องการจะดูว่ากระดูกขาคนไข้หั ก
หรือไม่ แพทย์จะทาอย่างไร (เอกซ์เรย์ดูกระดูกขาคนไข้)
2. ครูบอกนักเรียนว่าการที่แพทย์เอกซเรย์ขาคนไข้ แพทย์ต้องใช้รังสีเอกซ์ฉายผ่านขาคนไข้ จึงจะทา
ให้เห็นกระดูกว่าขาหักหรือไม่
ขั้นกิจกรรม
ครูให้นักเรียนที่ศึกษาเรื่องรังสีเอกซ์รวมกลุ่มกันนาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้นักเรียนในห้องร่วมกัน
อภิปรายเกี่ยวกับที่มาของรังสีอัลตราไวโอเลต ประโยชน์และอันตรายของรังสีชนิดนี้
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป ดังนี้
1. รังสีเอกซ์ไม่มีแหล่งกาเนิดตามธรรมชาติ การผลิตรังสีเอกซ์ใช้หลักการการเปลี่ยนแปลงความเร็ว
ของอิเล็กตรอนโดยการทาให้อิเล็กตรอนเปลี่ยนทิศทาง หรือหยุดโดยกระทันหันเมื่อกระทบโลหะ
2. รังสีเอกซ์มีอานาจทะลุทะลวงสูง ทาอันตรายต่อเซลล์ในร่างกาย สามารถทะลุผ่านสิ่งกีดขวาง
หนาๆได้ จึงนามาใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบหารอยร้าวในชิ้นส่วนโลหะ ตรวจกระเป๋าเดินทางเพื่อหาอาวุธ
ในทางการแพทย์ใช้ตรวจอวัยวะภายในร่างกายและใช้รักษาโรคมะเร็ง หรือเนื้องอก
3. เนื่องจากรังสีเอกซ์มีความยาวคลื่นประมาณ 10-10 เมตร ซึ่งใกล้เคียงกับขนาดของอะตอม จึงใช้
ในการวิเคราะห์แร่ และหาโครงสร้างของสารใหม่ๆ
7. รังสีแกมมา
ขั้นนา
1. ครูทบทวนความรู้เรื่องรังสีและกัมมันตภพรังสีที่นักเรียนเคยเรียนผ่านมา ว่านักเรียนรู้จักรังสีชนิด
ใดบ้าง (รังสีเบตา รังสีแอลฟา และรังสีแกมมา)
2. ครูให้นักเรียนบอกคุณสมบัติของรังสีแกมมา
ขั้นกิจกรรม
ครูให้ นั กเรี ย นที่ศึกษาเรื่ องรังสี แกมมรวมกลุ่ มกัน นาเสนอหน้าชั้นเรียนและให้ นั กเรียนในห้ องร่วมกัน
อภิปรายเกี่ยวกับที่มาของรังสีแกมมา ประโยชน์และอันตรายของรังสีชนิดนี้
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสาระสาคัญดังนี้
1. รังสีแกมมาเกิดจากการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี เป็นคลื่ นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สู งที่สุด มี
อานาจทะลุทะลวงสูงที่สุด และมีอันตรายมากที่สุด
2. รังสีแกมมาอาจจะมาจากนอกโลก เช่น รังสีคอสมิก หรือเกิดจากการแผ่รังสีของอนุภาคประจุไฟฟ้าที่
ถูกเร่งในเครื่องเร่งอนุภาค
3. รังสีแกมมามีประโยชน์ในด้านการแพทย์และการถนอมอาหาร

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2. เครื่องพิมพ์
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. โคมไฟพร้อมหลอดไฟ 100 วัตต์
6. http://lectureonline.cl.msu.edu/~mmp/applist/Spectrum/s.htm
7. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2543). หนังสือเรียนวิชา
วิทยาศาสตร์กายภาพชีวภาพ เรื่อง รังสีที่เรามองไม่เห็น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพมหานคร:คุรุ
สภาลาดพร้าว.
8. สถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2548). หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3.
กรุงเทพมหานคร:คุรุสภาลาดพร้าว.

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. นักเรียนนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนถึงประโยชน์และสมบัติของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ของ
สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงต่างๆ
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. แบบฝึกหัด
2. การนาเสนอหน้าชั้นเรียน
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. แบบฝึกหัด ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินการนาเสนอหน้าชั้นเรียน ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 4
ชื่อเรื่อง โพลาไรเซชันของคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า หน่วยที่ 1 เรื่อง คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 6 เวลา 2 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชัน้ สืบค้นข้อมูล และอธิบายสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้ง
ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. ผลการเรียนรู้
1. สารวจตรวจสอบ อภิปรายเกี่ยวกับสมบัติและการเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. โพลาไรส์เซชัน
2. โพลารอยด์
3. การกระเจิง
4. การสะท้อน
5. การแทรกสอด
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5. สาระสาคัญ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงทิศกลับไปกลับมาในแนวเดียวเรียกว่าคลื่นโพลาไรส์ ระนาบการ
เปลี่ยนแปลงทิศกลับไปกลับมาเรียกว่าโพลาไรส์เซชันของคลื่น แนวที่ตั้งฉากกับแนวการเรียงตัวของโมเลกุลโพ
ลารอยด์เรียกว่าทิศของโพลาไรซ์ แสงจากดวงอาทิตย์แผ่ไปได้ทุกทิศทางจึงเป็นแสงไม่โพลาไรส์
การสร้างแสงโพลาไรส์
1. ให้แสงผ่านแผ่นโพลารอยด์ สมบัติของแสงโพลาไรส์ที่ได้มีดังนี้
1.1 แสงที่สนามไฟฟ้ามีทิศขนานกับทิศของโพลาไรซ์สามารถผ่านแผ่นโพลารอยด์ได้
1.2 แสงที่สนามไฟฟ้ามิทิศตั้งฉากกับทิศของโพลาไรซ์จะถูกแผ่นโพลารอยด์ดูดกลืน
เมื่อแสงไม่โพลาไรส์ผ่านแผ่นโพลารอยด์จะออกมาเป็นแสงโพลาไรซ์ เป็นการทาแสงโพลาไรซ์โดยการ
ดูดกลืนแสง
2. ใช้วิธีการสะท้อนแสงที่ผิวแก้วน้าหรือกระเบื้องด้วยมุมตกกระทบค่าหนึ่งเรียกว่ามุมบรูสเตอร์
3. ใช้วิธีการผ่านแสงเข้าไปในผลึกแคลไซต์หรือควอตซ์แล้วหักเหออกมาเป็นแสงโพลาไรซ์
4. ให้แสงผ่านอากาศแล้วเกิดการกระเจิงแสง อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ในแนวระดับจะทาให้เกิดแสง
โพลาไรซ์ในแนวระดั บ อิ เล็ ก ตรอนที่ เคลื่ อนที่ ในแนวดิ่ งจะท าให้ เกิ ด แสงโพลาไรซ์ ในแนวดิ่ ง ซึ่ งสามารถ
ตรวจสอบได้จากการมองผ่านแผ่นโพลารอยด์

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้น อภิปราย และสารวจตรวจสอบ เกี่ยวกับโพลาไรเซชั่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. อธิบ ายความหมายของการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คลื่นวิทยุ คลื่น
ไมโครเวฟ โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และโพลาไรเซชันของแสง
3. อธิบายความสัมพันธ์เกี่ยวกับโพลาไรเซชัน
4. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโพลาไรเซชัน
5. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับโพลาไรเซชัน
6. ทดลองเกี่ยวกับโพลาไรเซชัน
7. ออกแบบเครื่องมือเครื่องใช้หรือของเล่นจากหลักการของโพลาไรเซชัน

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกชนิดของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 ให้นักเรียนพูดรับส่งโทรศัพท์มือถือ และดูโทรทัศน์
1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างการส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ร่วมกัน
อภิปรายถึงโพลาไรเซชันของแสง รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องโพลาไรเซชั่น
ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขั้นสารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ และการ
ตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ และ
การตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ และ
การตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- ความสว่างของแสงซึ่งผ่านแผ่นโพลารอยด์ 1 แผ่นต่างจากความสว่างของแสงขณะไม่มีแผ่น
โพลารอยด์กั้นหรือไม่
- เมื่อหมุนแผ่โพลารอยด์ 1 แผ่นไปจนครบ 1 รอบ ความสว่างของแสงที่ผ่านออกมาแต่ละ
ขณะแตกต่างกันหรือไม่
- ความสว่างขแงแสงที่ผ่านแผ่นโพลารอยด์ 2 แผ่น ซึ่งประกบกัน เปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร เมื่อหมุนแผ่นโพลารอยด์แผ่นหนึ่งไปจนครบ 1 รอบ
- มุมระหว่างแผ่นโพลารอยด์ทั้งสองสัมพันธกับความสว่างของแสงที่ผ่านออกมาอย่างไร
- แสงจากวัตถุใดบ้างที่ให้ความสว่างคงตัว เพราะเหตุใด
- แสงจากวัตถุใดบ้างที่ความสว่างเปลี่ยนแปลง เพราะเหตุใด
- ถ้าต้องการทราบว่าแสงมีโพลาไรเซชันหรือไม่ จะมีวิธีตรวจสอบได้อย่างไร
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการศึกษาความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์
และการตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง

กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยายความรู้

4.1 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับโพลาไรเซชั่นของคลื่น


แม่เหล็กไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเกี่ยวกับโพลาไรเซชั่นของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ
ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทา
อย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก
เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1.ชุดการทดลองความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์
2. ชุดการทดลองการตรวจสอบโพลาไรโซซั่นของแสง
3. แผ่นโพลารอยด์
4. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานและเพิ่มเติมฟิสิกส์เล่ม 3 ของกระทรวงศึกษาธิการ
5. ห้องสมุด
6. ชุมชน
7. ฐานข้อมูล Internet
http://www. wt.ac.th/~pui/e_book025/physic025.files/slide0069.htm

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
4. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
5. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
6. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 5
ชื่อเรื่อง อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน หน่วยที่ 2 เรือ่ ง ฟิสิกส์อะตอม
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 6 เวลา 4 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชัน้ สืบค้นข้อมูล และอธิบายอธิบายทฤษฎีอะตอมของดาลตัน การค้นพบ
อิเล็กตรอน แบบจาลองอะตอมของทอมสัน แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด และความไม่สมบูรณ์ของ
แบบจาลองแต่ละแบบได้

3. ผลการเรียนรู้
อธิบายทฤษฎีอะตอมของดาลตัน การค้นพบอิเล็กตรอน แบบจาลองอะตอมของทอมสัน แบบจาลอง
อะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด และความไม่สมบูรณ์ของแบบจาลองแต่ละแบบได้

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ทอมสันพบรังสีแคโทดซึ่งเบี่ยงเบนได้ในสนามแม่เหล็ก ต่อมาทอมสันพบว่าลาของรังสีแคโทด
มีประจุไฟฟ้าลบเรียกว่าอนุภาครังสีแคโทด และสามารถวัดอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลได้ด้วย และนาไป
เปรียบเทียบกับแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก และแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง ต่อมาจึงตั้งชื่อรังสีนี้ว่าอิเล็กตรอนซึ่งเป็น
องค์ป ระกอบของอะตอมทุกชนิ ด มิล ลิ แกนทดลองหาค่าประจุไฟฟ้าจากหยดน้ามันเล็ ก ๆ ในสนามไฟฟ้ า
รัทเทอร์ฟอร์ดยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปในอะตอมทองคา จึงเสนอแบบจาลองอะตอมว่ามีนิวเคลียสมวลมากอยู่
ตรงกลาง โดยมีอิเล็กตรอนมวลน้อยมากเคลื่อนที่อยู่รอบนอก
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
ทอมสันพบรังสีแคโทดซึ่งเบี่ยงเบนได้ในสนามแม่เหล็ก ต่อมาทอมสันพบว่าลาของรังสีแคโทดมีประจุ
ไฟฟ้าลบเรียกว่าอนุภาครังสีแคโทด และสามารถวัดอัตราส่วนระหว่างประจุต่อมวลได้ด้วย นอกจากนี้ยังนาไป
เปรียบเทียบกับแรงเนื่องจากสนามแม่เหล็ก และแรงเข้าสู่ศูนย์กลางดังสมการ
F = qvB = mv2 / R
Q/M = V / BR
v = E/B
ต่อมาจึงตั้งชื่อรังสีนี้ว่าอิเล็กตรอนซึ่งเป็นองค์ประกอบของอะตอมทุกชนิด
มิลลิแกนทดลองหาค่าประจุไฟฟ้าจากหยดน้ามันเล็ก ๆ ในสนามไฟฟ้า ได้ค่าประจุไฟฟ้าเท่ากับ
1.602 x 10-19 คูลอมบ์
อัตราส่วนของ e/m = 1.76 x 1011 คูลอมบ์ต่อกิโลกรัม
มวลอิเล็กตรอน = 9.1 x 10-31 กิโลกรัม
รัทเทอร์ฟอร์ดยิงอนุภาคแอลฟาเข้าไปในอะตอมทองคาพบว่าส่วนใหญ่ทะลุไปได้ ส่วนน้อยเบี่ยงเบน
และน้อยมาก ๆ สะท้อนกลับ จึงเสนอแบบจาลองอะตอมว่ามีนิวเคลียสมวลมากอยู่ตรงกลาง โดยมีอิเล็กตรอน
มวลน้อยมากเคลื่อนที่อยู่รอบนอก

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้น อภิปราย และสารวจตรวจสอบ เกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
2. อธิบายความหมายของแบบจาลองอะตอม
3. อธิบายความสัมพันธ์ของโปรตอน นิวตรอน และอิเลคตรอน ในอะตอม
4. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอนไปใช้ในชีวิตประจาวัน
5. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับอะตอม
6. ทดลองเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
7. ประเมินความสาคัญของอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
8. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอการกาเนิดอะตอมด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบต่างๆ
3. การมีภูมคิ ุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการค้นพบอิเล็กตรอน
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
12. กิจกรรมการเรียนรู้
อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขัน้ สร้างความสนใจ (15 นาที)
1.1 ให้นักเรียนสังเกตปรากฏการณ์ในหลอดรังสีแคโทด

1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างแบบจาลองอะตอมต่าง ๆ ร่วมกันอภิปรายถึงองค์ประกอบ


รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอะตอมและการ
ค้นพบอิเลคตรอน
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขั้นสารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการสืบค้นอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- ในการทดลองเพื่ อ หาอั ต ราส่ ว น q/m ของอนุ ภ าครั ง สี แ คโทดตามแบบของทอมสั น เมื่ อ ใช้
สนามแม่เหล็กขนาด 0.004 เทสลา พบว่ารัศมีความโค้งของลาอนุภาครังสีแคโทดเท่า กับ 4.2 เซนติเมตร
เมื่อต่อความต่างศักย์ 480 โวลต์ เข้ากับ แผ่ นโลหะที่อยู่ห่ างกัน 4.0 เมตร สนามไฟฟ้ าที่ เกิดตั้งฉากกั บ
สนามแม่เหล็กจะทาให้อนุภาครังสีแคโทดเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง จงหาอัตราส่วนประจุต่อมวลของอนุภาค
รังสีแคโทด
- จากการทดลองของมิลลิแกน หยดน้ามันที่เคลื่อนที่ขึ้น มีประจุไฟฟ้าชนิดใด
- ถ้าต้องการให้หยดน้ามันที่กาลังเคลื่อนที่ขึ้นหยุดนิ่งจะต้องทาอย่างไร
- จงแสดงการคานวณหามวลของอิเลคตรอนตามวิธีของมิลลิแกน
- ในการทดลองของมิลลิแกน เมื่อใช้สนามไฟฟ้าทิศขึ้นขนาด 1.96 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ ทาให้
หยดน้ามันมวล 6.5 x 10-16 กิโลกรัมหยุดนิ่ง
ก. หยดน้ามันได้รับหรือเสียอิเลคตรอนไปกี่ตัว
ข. ถ้าแผ่ นโลหะขนาน 2 แผ่น ห่ างกัน 0.05 เมตร ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทั้งสองเป็น
เท่าใด จึงจะได้ค่าสนามไฟฟ้าดังกล่าว
- แบบจาลองอะตอมของทอมสันเป็นอย่างไร
- วิเคราะห์ผลการทดลองของไกเกอร์และมาร์สเดน โดยใช้แบบจาลองของทอมสันได้หรือไม่
- ถ้านิวเคลียสมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร อะตอมจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางกี่กิโลเมตรการส่ง
คลื่นโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมทาอย่างไร
- แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดเป็นอย่างไร
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยายความรู้

4.1 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอนไปใช้


ประโยชน์
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะคนย้ อ นกลั บ ไปอ่ านบั น ทึ ก ประสบการณ์ เดิ ม สิ่ งที่ ต้ อ งการรู้ และขอบเขต
เป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะ
ทาอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้น
เพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้
คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
โครงสร้างอะตอม
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement Phase)
1. ครู น าเข้าสู่ ก ารเรี ย นการสอนโดยกล่ าวคาทั กทายนัก เรียน “วัน นี้ เราจะมาเรียนบทที่ 2 เรื่อ ง
โครงสร้างอะตอมในหัวข้อเรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม”
- จากนั้ นครูตั้งคาถาม ถามนั กเรีย นว่า “นั กเรียนรู้มั้ยเอ่ย สารอะไรเล็ กที่สุ ดในโลกนี้ ” จากนั้นให้ นักเรียน
ช่วยกันตอบ และพยายามชี้แนวทางว่ามันเกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรากาลังเรียน (ครูเฉลย....อะตอม)
- จากนั้นถามนักเรียนต่อว่า แล้วนักเรียนคิดว่าอะตอมที่มีขนาดเล็กนี้ เราจะสามารถมองเห็นมันด้วยตาเปล่า
หรือไม่ (เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น พร้อมทั้งแสดงจิตนาการ)...(ครูเฉลย..เราไม่สามารถมองเห็น
ด้วยตาเปล่า เนื่องจากมันมีขนาดเล็กมาก)
-หลังจากเฉลยคาถามแล้ว ครูอธิบายคาตอบอีกครั้งโดยอ้างอิงข้อมูลจาก ความเชื่อของนักปราชญ์ชาวกรีก ดิ
โมคริตุส “เชื่อว่าสิ่งของต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก และถ้าแบ่งอนุภาคให้มีขนาดเล็กลงเรื่อย
ๆ จนไม่สามารถแบ่งต่อไปได้อีกก็จะได้อนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม ซึ่งไม่สามารถมองเห็นด้วยตา
เปล่าได้”
2. ครูเริ่มนาเข้าสู่บทเรียนโดยการวาดรูปวงกลม และถามนักเรียนว่า “จากที่นักเรียนเคยเรียน
ผ่านมาแล้ว ภาพที่ครูวาดน่าจะเป็นแบบจาลองอะตอมของใคร ?”
แนวการตอบคาถามของนักเรียน : “ดอลตันเพราะเป็นทรงกลมตัน ไม่มีประจุใดๆ”
- นาเข้าสู่บทเรียนโดยการถามคาถามว่า “นักเรียนทราบหรือไม่ว่าในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม มีผู้ทาการ
พัฒนาแบบจาลองอะตอมที่คน และมีใครบ้าง”
3. เข้าสู่ บ ทเรีย นโดยการศึก ษาสื่ อ การสอน Powerpoint เรื่อ งแนวคิดในการพั ฒ นาแบบจาลอง
อะตอม พร้อมกับที่ครูบรรยายตามไปกับสื่อการสอน
ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration Phase)
1. ครูให้นักเรียนดูแบบจาลองของนักวิทยาศาสตร์จนครบทั้ง 5 คนคือดอลทัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด
นีลส์ โบร์และแบบกลุ่มหมอก จากนั้น
- ครูแจกใบงาน เรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม
- ครูให้นักเรียนค้นหาความรู้จากใบความรู้เรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม จากนั้นให้นักเรียนทุก
คนช่วยกันตอบคาถามว่าแบบจาลองอะตอมของของนักวิทยาศาสตร์แต่ละคนนั้นเกิดขึ้นมาจากสิ่งใด และถ้า
นักเรียนเป็นนั กวิทยาศาสตร์นักเรียนจะใช้ทฤษฎี หรือหลักการใดมาสร้างแบบจาลองอะตอม (จากคาถาม
เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ความคิด และจินตนาการในการหาคาตอบ และเกิดความคิดสร้างสรรค์ขึ้น)
- จากนั้ น ให้ นั ก เรี ย นจั บ คู่ เ พื่ อ นคู่ คิ ด (จั บ คู่ 2 คน) สื บ ค้ น ข้ อ มู ล การพั ฒ นาแบบจ าลองอะตอมของ
นักวิทยาศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน ด้วยการสลับกันอภิปรายวิธีการสร้างแบบจาลองและผลสรุปที่ได้ของ
นักวิทยาศาสตร์จนครบทุกคน
- นักเรียนเขียนลาดับขั้นตอนพร้อมกับวาดรูปแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน พร้อมทั้งร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ใน
การหาข้อมูล เกี่ย วกับ อะตอมเพื่ อน ามาใช้สร้างแบบจาลองอะตอม รวมทั้งอภิ ปรายว่าแบบจาลองอะตอม
สามารถปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูลใหม่ที่ใช้แบบจาลองเดิมอภิปรายไม่ได้
2. ครูชี้ให้เห็นจุดบกพร่องในการคิดแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาสตร์แต่ละคน และให้นักเรียน
ช่วยกันร่วมอภิปรายถึงความบกพร่องว่าแตกต่างจากแบบจาลองอะตอมในปัจจุบันอย่างไร
(แนวทางการอภิปราย เช่น แบบจาลองของดอลตันกล่าวว่า อะตอมมีขนาดเล็ก เป็นทรงกลม ไม่สามารถ
แบ่งแยกได้อีก ทาให้สูญหายหรือเกิดใหม่ไม่ได้ ซึ่งขัดแย้งกับแบบจาลองในปัจจุบัน เนื่องจากพบว่าอะตอม
ประกอบด้วยอนุ ภ าคย่ อยๆ และอะตอมของธาตุช นิดเดียวกันก็มี มวลต่างกันได้ และอะตอมในปัจจุบันยัง
สามารถทาอะตอมของธาตุชนิดหนึ่งเปลี่ยนไปเป็นอะตอมของธาตุอีกชนิดหนึ่งได้ ซึ่งขัดแย้งกับทฤษฎีของดอล
ตัน)
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Expansion Phase)
1. ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นดู แ ละศึ ก ษาเรื่ อ ง แนวคิ ด ในการพั ฒ นาแบบจ าลองอะตอม จากสื่ อ
Powerpoint พร้อมกับที่ครูบรรยายตามไปกับสื่อการสอน เพื่อให้นักเรียนเกิดมโนทัศน์ในสิ่งที่นักเรียนได้ทา
กิจกรรมมาแล้ว
2. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับหลอดรังสีแคโทด พร้อมทั้งอธิบายส่วนประกอบและจุดกาเนิดของการ
เกิดหลอดรังสีแคโทด ซึ่งมีความสาคัญต่อการค้นพบอิเล็กตรอน
3. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเรื่องแนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม อีกครั้ง
4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง แบบจาลองอะตอมขอของนักวิทยาศาสตร์แต่
ละคน ว่ามีส่วนไหนที่ไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase)
1. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด
13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องโครงสร้างอะตอม
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. ชุดการทดลองการเปรียบเทียบลักษณะและการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 6
ชื่อเรื่อง การทดลองด้านสเปกตรัมและปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก หน่วยที่ 2 เรื่อง ฟิสกิ ส์อะตอม
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 6 เวลา 6 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรูช้ ว่ งชัน้ สืบค้น อภิปราย และสารวจตรวจสอบเกี่ยวกับสเปกตรัมของแก๊สและ
ปรากฎการณ์ โฟโตอิเลคตริก

3. ผลการเรียนรู้
1. สืบค้น อภิปราย และสารวจตรวจสอบเกี่ยวกับสเปกตรัมของแก๊สและปรากฎการณ์ โฟโตอิเลคตริก
2. อธิบายความหมายของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เส้นสว่างที่มีความยาวคลื่นเรียงกันอยู่กันเป็นกลุ่มอย่างมีระเบียบเรียกว่าอนุกรมบัลเมอร์ ริ
ดเบิ ร์กหาค่าคงตัวได้ ต่อมาพลังค์ตั้งสมมติฐานว่าพลั งงานที่อิเล็กตรอนรับเข้าไปหรือปล่ อยออกมามีค่าได้
เฉพาะบางค่าเท่านั้ น ทอมสั น เรีย กอนุ ภ าคที่ห ลุ ดออกจากแคโทดในปรากฏการณ์ โฟโตอิเลกทริกว่าโฟโต
อิเล็กตรอนและพบว่า พลังงานสูงสุดของโฟโตอิเล็กตรอนจึงไม่ขึ้นกับความเข้มแสงแต่ขึ้นกับความถี่แสงที่ตก
กระทบโลหะ โฟโตอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นเมื่อแสงตกกระทบโลหะมีความถี่อย่างน้อยเท่า กับความถี่ขีดเริ่ม และ
จานวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้น ถ้าแสงที่ใช้มีความเข้มแสงมากขึ้น พลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนไม่
ขึ้นกับความเข้มของแสง แต่ขึ้นกับความถี่ของแสง ไอสไตน์เรียกแสงว่าโฟตอน อิเล็กตรอนต้องเสียพลังงาน
จานวนหนึ่งเท่ากับพลังงานที่ยึดอิเล็กตรอนไว้เรียกว่าฟังก์ชันงาน เราสามารถนาหลักการของโฟโตอิเล็กทริกไป
ควบคุมการทางานของวงจรต่าง ๆ ได้

4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5. สาระสาคัญ
จากการวิเคราะห์สเปกตรัมของไฮโดรเจน จะเห็นเส้นสว่างที่มีความยาวคลื่นเรียงกัน อยู่กันเป็นกลุ่ม
อย่างมีระเบียบเรียกว่าอนุกรม บัลเมอร์จึงอธิบายด้วยสูตรทางคณิตศาสตร์
 = b[n2 / n2-22]
ต่อมาริดเบิร์กหาค่าคงตัวได้ RH = 1.09737 x 107 m-1
สมการที่ใช้อธิบายคือ 1/ = RH [1/22 – 1/n2]
ต่อมาพลังค์ตั้งสมมติฐานว่า พลังงานที่วัตถุดารับเข้าไปหรือปล่อยออกมามีค่าได้เฉพาะบางค่าเท่านั้น
จึงเป็นค่าไม่ต่อเนื่อง
ทอมสั น เรี ย กอนุ ภ าคที่ ห ลุ ด ออกจากแคโทดในปรากฏการณ์ โฟโตอิ เลกทริ ก ว่ าโฟโตอิ เล็ ก ตรอน
กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเรียกว่ากระแสอิเล็กตรอน และพบว่ากระแสอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้นตามความเข้มแสง
พลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนจะเท่ากับผลต่างระหว่างศักย์ไฟฟ้า ดังสมการ
Ekmax = eVs
ความต่ า งศั ก ย์ นี้ เรี ย กว่ า ความต่ า งศั ก ย์ ห ยุ ด ยั้ ง ซึ่ ง จะเป็ น ค่ า ที่ แ สดงถึ งพลั ง งานสู ง สุ ด ของโฟโต
อิเล็ กตรอน ดังนั้ น พลั ง งานสู งสุ ดของโฟโตอิเล็ กตรอนจึงไม่ขึ้นกับความเข้มแสงแต่ขึ้น กับความถี่แสงที่ ตก
กระทบโลหะ สรุปได้ว่า
1. โฟโตอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นเมื่อแสงตกกระทบโลหะมีความถี่อย่างน้อยเท่ากับความถี่ขีดเริ่ม และโฟ
โตอิเล็กตรอนจะเกิดขึ้นทันทีที่แสงตกกระทบผิวของโลหะ
2. จานวนโฟโตอิเล็กตรอนจะเพิ่มขึ้นถ้าแสงที่ใช้มีความเข้มแสงมากขึ้น
3. พลังงานจลน์สูงสุดของอิเล็กตรอนไม่ขึ้นกับความเข้มของแสง แต่ขึ้นกับความถี่ของแสง
ไอน์สไตน์อธิบายปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก โดยอาศัยสมมติฐานของพลังค์ซึ่งมองว่าแสงเป็นก้อน
พลังงาน แต่ไอน์สไตน์เรียกแสงว่าโฟตอน โดยโฟตอนจะถ่ายโอนพลังงานให้อิเล็กตรอน 1 ตัว อิเล็กตรอนต้อง
เสียพลังงานจานวนหนึ่งเท่ากับพลังงานที่ยึดอิเล็กตรอนไว้เรียกว่าฟังก์ชันงาน ซึ่งเป็นค่าเฉพาะของโลหะแต่ละ
ชนิด พลังงานจลน์สูงสุดจะเท่ากับ
Ekmax = hf – W
ดังนั้น hf – W = eVs
เมื่อเริ่มจากค่าความถี่ขีดเริ่มจะได้ W = hf0
เราสามารถนาหลักการของโฟโตอิเล็กทริกไปสร้างวงจรตาอิเล็กทรอนิกส์สาหรับควบคุมการทางาน
ของระบบต่าง ๆ ได้

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของสเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
2. อธิ บ ายความสั ม พั น ธ์ ข อง ประจุ ไ ฟฟ้ า สนามไฟฟ้ า สนามแม่ เ หล็ ก และแรงกระท าใน
ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
3. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโฟโตอิเล็กทริกไปใช้ในชีวิตประจาวัน
4. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับโฟโตอิเล็กทริก
5. ทดลองเกี่ยวกับโฟโตอิเล็กทริก
6. ประเมินความสาคัญของโฟโตอิเล็กทริก
7. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ
10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการทดลองปรากฎการณ์โฟโตอิเลกทริกด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนอธิบายการทดลองด้านสเปกตรัมและปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงือ่ นไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการทดลองด้านสเปกตรัมและปรากฏการณ์โฟ
โตอิเล็กทริก
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
- กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
- กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
- กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
- กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 ให้นักเรียนสังเกตสเปกตรัมของแก๊สร้อน
1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้แก๊สร้อนเป็ นส่วนประกอบร่วมกันอภิปรายถึง
สเปกตรัมของแก๊สและปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องสเปกตรัมของ
แก๊สและปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขัน้ สารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาสเปกตรัมของแก๊สและปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงสเปกตรัมของแก๊สและปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาสเปกตรัมของแก๊สและปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- จงบันทึกผลการศึกษาสเปกตรัมของแก๊สและปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก
- ความยาวคลื่นของสเปกตรัมเส้นสว่างของบัลเมอร์หาได้อย่างไร
- จากการทดลองการแผ่รังสีของวัตถุดา พลังงานในการแผ่รังสีตามแนวคิดของพลังค์เป็นอย่างไร และ
หาได้อย่างไร
- ความต่างศักย์หยุดยั้งหาได้อนย่างไร
- ถ้าให้แสงความถี่ f0 ตกกระทบแผ่นโลหะ พลังงานจลน์สูงสุดของโฟโตอิเลคตรอนจะมีค่าเท่าใด
- ถ้าใช้แสงความถี่ต่ากว่า f0 แต่เพิ่มเพิ่มความเข้มแสง จะทาให้ อิเลคตรอนหลุดออกจากผิวโลหะ
หรือไม่ เพราะเหตุใด
- จากผลการศึกษาปรากฎการณ์โฟโตอิเลคตริก สรุปได้อย่างไร
- ควอนตัมของพลังงานหรือโฟตอนคืออะไร
- พลังงานจลน์สูงสุดของอิเลคตรอนหาได้อย่างไร
- ความถี่ขีดเริ่มคืออะไร และหาได้อย่างไร
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการศึกษาอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาโจทย์เรื่องอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
4.2 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอนไปใช้
ประโยชน์
4.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะคนย้ อ นกลั บ ไปอ่ านบั น ทึ ก ประสบการณ์ เดิ ม สิ่ งที่ ต้ อ งการรู้ และขอบเขต
เป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทาอย่างไร
ต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนทาการทดลองปฏิบัติการที่ 5 ปรากฎการณ์โฟโตอิเลกทริก
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก
เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2. เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องการทดลองด้านสเปกตรัมและปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. ปฏิบัติการที่ 5 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
6. ชุดการทดลองปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ใบงานปฏิบัติการที่ 5 ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ใบงานปฏิบัติการที่ 5 ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 7
ชื่อเรื่อง ทฤษฎีอะตอมของโบร์และความไม่สมบูรณ์ของทฤษฎีอะตอมของโบร์ หน่วยที่ 2
เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 6 เวลา 6 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน
2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
3. ผลการเรียนรู้
อธิบายทฤษฎีอะตอมของดาลตัน การค้นพบอิเล็กตรอน แบบจาลองอะตอมของทอมสัน แบบจาลอง
อะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด และความไม่สมบูรณ์ของแบบจาลองแต่ละแบบได้
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
นีล โบร์ เสนอแบบจาลองอะตอม ให้ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสไม่ได้ปล่อยคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าออกมา อิเล็กตรอนมีโมเมนตัมเชิงมุมคงตัวเป็นจานวนเท่าของค่า คงตัวมูลฐาน และอิเล็กตรอน
จะคายหรือรับพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อเปลี่ยนวงโคจร สภาวะของอะตอมที่พลังงานต่าสุดเรียกว่า
สถานะพื้น ที่พลังงานสูงสุดเรียกว่าสถานะกระตุ้น 4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้ องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
นีล โบร์ เสนอสมมติฐานใหม่ของแบบจาลองอะตอม
1. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสไม่ได้ปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา อิเล็กตรอนมีโมเมนตัม
เชิงมุมคงตัวเป็นจานวนเท่าของค่าคงตัวมูลฐานเอชบาร์ ซึ่ง
เอชบาร์ = nh/2 โดย n เป็นเลขควอนตัม
2. อิเล็กตรอนจะคายหรือรับพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อเปลี่ยนวงโคจร ดังสมการ
E = Eni - Enif
hf = hc/
lEl = l Eni - Enifl
รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนหาได้จากค่า En และ En ได้ ke2/rn2 = mvn2/rn
rn = [hด2/mke2]n2
โบร์ถือว่านิวเคลียสไม่เคลื่อนที่ ดังนั้นพลังงานรวมของอิเล็กตรอนคือพลังงานรวมของอิเล็กตรอนในวง
โคจรรอบนิวเคลียส ดังสมการ
½ mvn2 = ½ ke2/rn
สภาวะของอะตอมที่พลังงานต่าสุดเรียกว่าสถานะพื้น ที่พลังงานสูงสุดเรียกว่าสถานะกระตุ้น
6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้น อภิปราย และสารวจตรวจสอบ เกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
2. อธิบายความหมายของแบบจาลองอะตอม
3. อธิบายความสัมพันธ์ของโปรตอน นิวตรอน และอิเลคตรอน ในอะตอม
4. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอนไปใช้ในชีวิตประจาวัน
5. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับอะตอม
6. ทดลองเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
7. ประเมินความสาคัญของอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
8. มีจิตวิทยาศาสตร์
7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ
10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอการกาเนิดอะตอมด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบต่างๆ
3. การมีภูมิคมุ้ กันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการค้นพบอิเล็กตรอน
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ
11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
12. กิจกรรมการเรียนรู้
อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขัน้ สร้างความสนใจ (15 นาที)
1.3 ให้นักเรียนสังเกตปรากฏการณ์ในหลอดรังสีแคโทด
นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างแบบจาลองอะตอมต่าง ๆ ร่วมกันอภิปรายถึงองค์ประกอบ รวมทั้ง
การนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอะตอมและการ
ค้นพบอิเลคตรอน
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขั้นสารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการสืบค้นอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- ในการทดลองเพื่ อ หาอั ต ราส่ ว น q/m ของอนุ ภ าครั ง สี แ คโทดตามแบบของทอมสั น เมื่ อ ใช้
สนามแม่เหล็กขนาด 0.004 เทสลา พบว่ารัศมีความโค้งของลาอนุภาครังสีแคโทดเท่ากับ 4.2 เซนติเมตร
เมื่อต่อความต่างศักย์ 480 โวลต์ เข้ากับ แผ่ นโลหะที่อยู่ห่ างกัน 4.0 เมตร สนามไฟฟ้ าที่ เกิดตั้งฉากกั บ
สนามแม่เหล็กจะทาให้อนุภาครังสีแคโทดเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง จงหาอัตราส่วนประจุต่อมวลของอนุภาค
รังสีแคโทด
- จากการทดลองของมิลลิแกน หยดน้ามันที่เคลื่อนที่ขึ้น มีประจุไฟฟ้าชนิดใด
- ถ้าต้องการให้หยดน้ามันที่กาลังเคลื่อนที่ขึ้นหยุดนิ่งจะต้องทาอย่างไร
- จงแสดงการคานวณหามวลของอิเลคตรอนตามวิธีของมิลลิแกน
- ในการทดลองของมิลลิแกน เมื่อใช้สนามไฟฟ้าทิศขึ้นขนาด 1.96 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ ทาให้
หยดน้ามันมวล 6.5 x 10-16 กิโลกรัมหยุดนิ่ง
ก. หยดน้ามันได้รับหรือเสียอิเลคตรอนไปกี่ตัว
ข. ถ้าแผ่ นโลหะขนาน 2 แผ่น ห่ างกัน 0.05 เมตร ความต่างศักย์ระหว่างแผ่นทั้งสองเป็น
เท่าใด จึงจะได้ค่าสนามไฟฟ้าดังกล่าว
- แบบจาลองอะตอมของทอมสันเป็นอย่างไร
- วิเคราะห์ผลการทดลองของไกเกอร์และมาร์สเดน โดยใช้แบบจาลองของทอมสันได้หรือไม่
- ถ้านิวเคลียสมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร อะตอมจะมีเส้นผ่านศูนย์กลางกี่กิโลเมตรการส่ง
คลื่นโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมทาอย่างไร
- แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดเป็นอย่างไร
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอนไปใช้
ประโยชน์
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะคนย้ อ นกลั บ ไปอ่ านบั น ทึ ก ประสบการณ์ เดิ ม สิ่ งที่ ต้ อ งการรู้ และขอบเขต
เป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะ
ทาอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้น
เพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้
คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
โครงสร้างอะตอม
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement Phase)
1. ครู น าเข้ าสู่ ก ารเรี ย นการสอนโดยกล่ าวค าทั ก ทายนั ก เรีย น “วัน นี้ เราจะมาเรีย นบทที่ 2 เรื่ อ ง
โครงสร้างอะตอมในหัวข้อเรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม”
- จากนั้ นครูตั้งคาถาม ถามนั กเรีย นว่า “นั กเรียนรู้มั้ยเอ่ย สารอะไรเล็ กที่สุ ดในโลกนี้ ” จากนั้นให้ นักเรียน
ช่วยกันตอบ และพยายามชี้แนวทางว่ามันเกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรากาลังเรียน (ครูเฉลย....อะตอม)
- จากนั้นถามนักเรียนต่อว่า แล้วนักเรียนคิดว่าอะตอมที่มีขนาดเล็กนี้ เราจะสามารถมองเห็นมันด้วยตาเปล่า
หรือไม่ (เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น พร้อมทั้งแสดงจิตนาการ)...(ครูเฉลย..เราไม่สามารถมองเห็น
ด้วยตาเปล่า เนื่องจากมันมีขนาดเล็กมาก)
-หลังจากเฉลยคาถามแล้ว ครูอธิบายคาตอบอีกครั้งโดยอ้างอิงข้อมูลจาก ความเชื่อของนักปราชญ์ชาวกรีก ดิ
โมคริตุส “เชื่อว่าสิ่งของต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก และถ้าแบ่งอนุภาคให้มีขนาดเล็กลงเรื่อย
ๆ จนไม่สามารถแบ่งต่อไปได้อีกก็จะได้อนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม ซึ่งไม่สามารถมองเห็นด้วยตา
เปล่าได้”
2. ครูเริ่มนาเข้าสู่บทเรียนโดยการวาดรูปวงกลม และถามนักเรียนว่า “จากที่นักเรียนเคยเรียนผ่าน
มาแล้ว ภาพที่ครูวาดน่าจะเป็นแบบจาลองอะตอมของใคร ?”
แนวการตอบคาถามของนักเรียน : “ดอลตันเพราะเป็นทรงกลมตัน ไม่มีประจุใดๆ”
- นาเข้าสู่บทเรียนโดยการถามคาถามว่า “นักเรียนทราบหรือไม่ว่าในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม มีผู้ทาการ
พัฒนาแบบจาลองอะตอมที่คน และมีใครบ้าง”
3. เข้าสู่ บ ทเรีย นโดยการศึก ษาสื่ อ การสอน Powerpoint เรื่อ งแนวคิดในการพั ฒ นาแบบจาลอง
อะตอม พร้อมกับที่ครูบรรยายตามไปกับสื่อการสอน
ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration Phase)
1. ครูให้นักเรียนดูแบบจาลองของนักวิทยาศาสตร์จนครบทั้ง 5 คนคือดอลทัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด
นีลส์ โบร์และแบบกลุ่มหมอก จากนั้น
- ครูแจกใบงาน เรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม
- ครูให้นักเรียนค้นหาความรู้จากใบความรู้เรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม จากนั้นให้นักเรียนทุก
คนช่วยกันตอบคาถามว่าแบบจาลองอะตอมของของนักวิทยาศาสตร์แต่ละคนนั้นเกิดขึ้นมาจากสิ่งใด และถ้า
นักเรียนเป็นนั กวิทยาศาสตร์นักเรียนจะใช้ทฤษฎี หรือหลักการใดมาสร้างแบบจาลองอะตอม (จากคาถาม
เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ความคิด และจินตนาการในการหาคาตอบ และเกิดความคิดสร้างสรรค์ขึ้น)
- จากนั้ น ให้ นั ก เรี ย นจั บ คู่ เ พื่ อ นคู่ คิ ด (จั บ คู่ 2 คน) สื บ ค้ น ข้ อ มู ล การพั ฒ นาแบบจ าลองอะตอมของ
นักวิทยาศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน ด้วยการสลับกันอภิปรายวิธีการสร้างแบบจาลองและผลสรุปที่ได้ของ
นักวิทยาศาสตร์จนครบทุกคน
- นักเรียนเขียนลาดับขั้นตอนพร้อมกับวาดรูปแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน พร้อมทั้งร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ใน
การหาข้อมูล เกี่ย วกับ อะตอมเพื่ อน ามาใช้สร้างแบบจาลองอะตอม รวมทั้ งอภิ ปรายว่าแบบจาลองอะตอม
สามารถปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูลใหม่ที่ใช้แบบจาลองเดิมอภิปรายไม่ได้
2. ครูชี้ให้เห็นจุดบกพร่องในการคิดแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาสตร์แต่ละคน และให้นักเรียน
ช่วยกันร่วมอภิปรายถึงความบกพร่องว่าแตกต่างจากแบบจาลองอะตอมในปัจจุบันอย่างไร
(แนวทางการอภิปราย เช่น แบบจาลองของดอลตันกล่าวว่า อะตอมมีขนาดเล็ก เป็นทรงกลม ไม่สามารถ
แบ่งแยกได้อีก ทาให้สูญหายหรือเกิดใหม่ไม่ได้ ซึ่งขัดแย้งกับแบบจาลองในปัจจุบัน เนื่องจากพบว่าอะตอม
ประกอบด้วยอนุ ภ าคย่ อยๆ และอะตอมของธาตุช นิดเดียวกันก็มีมวลต่างกั นได้ และอะตอมในปัจจุบันยัง
สามารถทาอะตอมของธาตุชนิดหนึ่งเปลี่ยนไปเป็นอะตอมของธาตุอีกชนิดหนึ่งได้ ซึ่งขัดแย้งกับทฤษฎีของดอล
ตัน)
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Expansion Phase)
1. ครูให้ นั กเรียนดูและศึกษาเรื่อง แนวคิดในการพัฒ นาแบบจาลองอะตอม จากสื่อ Powerpoint
พร้อมกับที่ครูบรรยายตามไปกับสื่อการสอน เพื่อให้นักเรียนเกิดมโนทัศน์ในสิ่งที่นักเรียนได้ทากิจกรรมมาแล้ว
2. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับหลอดรังสีแคโทด พร้อมทั้งอธิบายส่วนประกอบและจุดกาเนิดของการเกิด
หลอดรังสีแคโทด ซึ่งมีความสาคัญต่อการค้นพบอิเล็กตรอน
3. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเรื่องแนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม อีกครั้ง
4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง แบบจาลองอะตอมขอของนักวิทยาศาสตร์แต่ละคน
ว่ามีส่วนไหนที่ไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase)
1. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด
13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องโครงสร้างอะตอม
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. ชุดการทดลองการเปรียบเทียบลักษณะและการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา
14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 9
ชื่อเรื่อง รังสีเอ็กซ์ หน่วยที่ 2 เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 2 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิ ต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
อธิบายทฤษฎีอะตอมของดาลตัน การค้นพบอิเล็กตรอน แบบจาลองอะตอมของทอมสัน แบบจาลอง
อะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ด และความไม่สมบูรณ์ของแบบจาลองแต่ละแบบได้

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
นีล โบร์ เสนอแบบจาลองอะตอม ให้ อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสไม่ได้ปล่อยคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้าออกมา อิเล็กตรอนมีโมเมนตัมเชิงมุมคงตัวเป็นจานวนเท่าของค่าคงตัวมูลฐาน และอิเล็กตรอน
จะคายหรือรับพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อเปลี่ยนวงโคจร สภาวะของอะตอมที่พลังงานต่าสุดเรียกว่า
สถานะพื้น ที่พลังงานสูงสุดเรียกว่าสถานะกระตุ้น 4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
นีล โบร์ เสนอสมมติฐานใหม่ของแบบจาลองอะตอม
1. อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่รอบนิวเคลียสไม่ได้ปล่อยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมา อิเล็กตรอนมีโมเมนตัม
เชิงมุมคงตัวเป็นจานวนเท่าของค่าคงตัวมูลฐานเอชบาร์ ซึ่ง
เอชบาร์ = nh/2 โดย n เป็นเลขควอนตัม
2. อิเล็กตรอนจะคายหรือรับพลังงานในรูปคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อเปลี่ยนวงโคจร ดังสมการ
E = Eni - Enif
hf = hc/
lEl = l Eni - Enifl
รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนหาได้จากค่า En และ En ได้ ke2/rn2 = mvn2/rn
rn = [hด2/mke2]n2
โบร์ถือว่านิวเคลียสไม่เคลื่อนที่ ดังนั้นพลังงานรวมของอิเล็กตรอนคือพลังงานรวมของอิเล็กตรอนในวง
โคจรรอบนิวเคลียส ดังสมการ
½ mvn2 = ½ ke2/rn
สภาวะของอะตอมที่พลังงานต่าสุดเรียกว่าสถานะพื้น ที่พลังงานสูงสุดเรียกว่าสถานะกระตุ้น

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร์
2. อธิบายความหมายของสถานะพื้นและสถานะกระตุ้น
3. อธิบายความสัมพันธ์ของรัศมีวงโคจรของอิเลคตรอนกับแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง
4. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
5. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร์
6. ประเมินความสาคัญของทฤษฎีอะตอมของโบร์
7. มีจิตวิทยาศาสตร์
7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอการกาเนิดอะตอมด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบต่างๆ
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการค้นพบอิเล็กตรอน
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
12. กิจกรรมการเรียนรู้
อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขัน้ สร้างความสนใจ (15 นาที)
1.4 ให้นักเรียนสังเกตปรากฏการณ์ในหลอดรังสีแคโทด

1.5 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างแบบจาลองอะตอมต่าง ๆ ร่วมกันอภิปรายถึงองค์ประกอบ


รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องอะตอมและการ
ค้นพบอิเลคตรอน
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขั้นสารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการสืบค้นอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการสืบค้นเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- ในการทดลองเพื่ อ หาอั ต ราส่ ว น q/m ของอนุ ภ าครั ง สี แ คโทดตามแบบของทอมสั น เมื่ อ ใช้
สนามแม่เหล็กขนาด 0.004 เทสลา พบว่ารัศมีความโค้งของลาอนุภาครังสีแคโทดเท่ากับ 4.2 เซนติเมตร
เมื่อต่อความต่างศักย์ 480 โวลต์ เข้ากับ แผ่ นโลหะที่อยู่ห่ างกัน 4.0 เมตร สนามไฟฟ้ าที่ เกิดตั้งฉากกั บ
สนามแม่เหล็กจะทาให้ อนุภาครังสีแคโทดเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง จงหาอัตราส่วนประจุต่อมวลของอนุภาค
รังสีแคโทด
- จากการทดลองของมิลลิแกน หยดน้ามันที่เคลื่อนที่ขึ้น มีประจุไฟฟ้าชนิดใด
- ถ้าต้องการให้หยดน้ามันที่กาลังเคลื่อนที่ขึ้นหยุดนิ่งจะต้องทาอย่างไร
- จงแสดงการคานวณหามวลของอิเลคตรอนตามวิธีของมิลลิแกน
- ในการทดลองของมิลลิแกน เมื่อใช้สนามไฟฟ้าทิศขึ้นขนาด 1.96 x 104 นิวตัน/คูลอมบ์ ทาให้
หยดน้ามันมวล 6.5 x 10-16 กิโลกรัมหยุดนิ่ง
ก. หยดน้ามันได้รับหรือเสียอิเลคตรอนไปกี่ตัว
ข. ถ้าแผ่ นโลหะขนาน 2 แผ่น ห่ างกัน 0.05 เมตร ความต่ างศักย์ระหว่างแผ่นทั้งสองเป็น
เท่าใด จึงจะได้ค่าสนามไฟฟ้าดังกล่าว
- แบบจาลองอะตอมของทอมสันเป็นอย่างไร
- วิเคราะห์ผลการทดลองของไกเกอร์และมาร์สเดน โดยใช้แบบจาลองของทอมสันได้หรือไม่
- ถ้านิวเคลียสมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร อะตอมจะมีเส้ นผ่านศูนย์กลางกี่กิโลเมตรการส่ง
คลื่นโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมทาอย่างไร
- แบบจาลองอะตอมของรัทเทอร์ฟอร์ดเป็นอย่างไร
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการสืบค้นอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยายความรู้

4.1 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอนไปใช้


ประโยชน์
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับอะตอมและการค้นพบอิเลคตรอน
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะคนย้ อ นกลั บ ไปอ่ านบั น ทึ ก ประสบการณ์ เดิ ม สิ่ งที่ ต้ อ งการรู้ และขอบเขต
เป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะ
ทาอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้น
เพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้
คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม

โครงสร้างอะตอม
ขั้นที่ 1 ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement Phase)
1. ครู น าเข้ าสู่ ก ารเรี ย นการสอนโดยกล่ าวคาทั กทายนัก เรียน “วัน นี้ เราจะมาเรียนบทที่ 2 เรื่อ ง
โครงสร้างอะตอมในหัวข้อเรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม”
- จากนั้ นครูตั้งคาถาม ถามนั กเรีย นว่า “นั กเรียนรู้มั้ยเอ่ย สารอะไรเล็ กที่สุ ดในโลกนี้ ” จากนั้นให้ นักเรียน
ช่วยกันตอบ และพยายามชี้แนวทางว่ามันเกี่ยวข้องกับเรื่องที่เรากาลังเรียน (ครูเฉลย....อะตอม)
- จากนั้นถามนักเรียนต่อว่า แล้วนักเรียนคิดว่าอะตอมที่มีขนาดเล็กนี้ เราจะสามารถมองเห็นมันด้วยตาเปล่า
หรือไม่ (เปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น พร้อมทั้งแสดงจิตนาการ)...(ครูเฉลย..เราไม่สามารถมองเห็น
ด้วยตาเปล่า เนื่องจากมันมีขนาดเล็กมาก)
-หลังจากเฉลยคาถามแล้ว ครูอธิบายคาตอบอีกครั้งโดยอ้างอิงข้อมูลจาก ความเชื่อของนักปราชญ์ชาวกรีก ดิ
โมคริตุส “เชื่อว่าสิ่งของต่างๆ ประกอบด้วยอนุภาคที่มีขนาดเล็กมาก และถ้าแบ่งอนุภาคให้มีขนาดเล็กลงเรื่อย
ๆ จนไม่สามารถแบ่งต่อไปได้อีกก็จะได้อนุภาคที่มีขนาดเล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม ซึ่งไม่สามารถมองเห็นด้วยตา
เปล่าได้”
2. ครูเริ่มนาเข้าสู่บทเรียนโดยการวาดรูปวงกลม และถามนักเรียนว่า “จากที่นักเรียนเคยเรียน
ผ่านมาแล้ว ภาพที่ครูวาดน่าจะเป็นแบบจาลองอะตอมของใคร ?”
แนวการตอบคาถามของนักเรียน : “ดอลตันเพราะเป็นทรงกลมตัน ไม่มีประจุใดๆ”
- นาเข้าสู่บทเรียนโดยการถามคาถามว่า “นักเรียนทราบหรือไม่ว่าในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม มีผู้ทาการ
พัฒนาแบบจาลองอะตอมที่คน และมีใครบ้าง”
3. เข้าสู่ บ ทเรีย นโดยการศึก ษาสื่ อ การสอน Powerpoint เรื่อ งแนวคิ ดในการพั ฒ นาแบบจาลอง
อะตอม พร้อมกับที่ครูบรรยายตามไปกับสื่อการสอน
ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration Phase)
1. ครูให้นักเรียนดูแบบจาลองของนักวิทยาศาสตร์จนครบทั้ง 5 คนคือดอลทัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด
นีลส์ โบร์และแบบกลุ่มหมอก จากนั้น
- ครูแจกใบงาน เรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม
- ครูให้นักเรียนค้นหาความรู้จากใบความรู้เรื่อง แนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม จากนั้นให้นักเรียนทุก
คนช่วยกันตอบคาถามว่าแบบจาลองอะตอมของของนักวิทยาศาสตร์แต่ละคนนั้นเกิดขึ้นมาจากสิ่งใด และถ้า
นักเรียนเป็นนั กวิทยาศาสตร์นักเรียนจะใช้ทฤษฎี หรือหลักการใดมาสร้างแบบจาลองอะตอม (จากคาถาม
เพื่อให้นักเรียนได้ใช้ความคิด และจินตนาการในการหาคาตอบ และเกิดความคิดสร้างสรรค์ขึ้น)
- จากนั้ น ให้ นั ก เรี ย นจั บ คู่ เ พื่ อ นคู่ คิ ด (จั บ คู่ 2 คน) สื บ ค้ น ข้ อ มู ล การพั ฒ นาแบบจ าลองอะตอมของ
นักวิทยาศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบั น ด้วยการสลับกันอภิปรายวิธีการสร้างแบบจาลองและผลสรุปที่ได้ของ
นักวิทยาศาสตร์จนครบทุกคน
- นักเรียนเขียนลาดับขั้นตอนพร้อมกับวาดรูปแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาศาสตร์จากอดีตถึงปัจจุบัน
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงาน พร้อมทั้งร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธีการที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ใน
การหาข้อมูล เกี่ย วกับ อะตอมเพื่ อน ามาใช้สร้างแบบจาลองอะตอม รวมทั้งอภิ ปรายว่าแบบจาลองอะตอม
สามารถปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีข้อมูลใหม่ที่ใช้แบบจาลองเดิมอภิปรายไม่ได้
2. ครูชี้ให้เห็นจุ ดบกพร่องในการคิดแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาสตร์แต่ละคน และให้นักเรียน
ช่วยกันร่วมอภิปรายถึงความบกพร่องว่าแตกต่างจากแบบจาลองอะตอมในปัจจุบันอย่างไร
(แนวทางการอภิปราย เช่น แบบจาลองของดอลตันกล่าวว่า อะตอมมีขนาดเล็ก เป็นทรงกลม ไม่สามารถ
แบ่งแยกได้อีก ทาให้สูญหายหรื อเกิดใหม่ไม่ได้ ซึ่งขัดแย้งกับแบบจาลองในปัจจุบัน เนื่องจากพบว่าอะตอม
ประกอบด้วยอนุ ภ าคย่ อยๆ และอะตอมของธาตุช นิดเดียวกันก็มีมวลต่างกันได้ และอะตอมในปัจจุบันยัง
สามารถทาอะตอมของธาตุชนิดหนึ่งเปลี่ยนไปเป็นอะตอมของธาตุอีกชนิดหนึ่งได้ ซึ่งขัดแย้งกับทฤษฎีของดอล
ตัน)
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Expansion Phase)
1. ครู ใ ห้ นั ก เรี ย นดู แ ละศึ ก ษาเรื่ อ ง แนวคิ ด ในการพั ฒ นาแบบจ าลองอะตอม จากสื่ อ
Powerpoint พร้อมกับที่ครูบรรยายตามไปกับสื่อการสอน เพื่อให้นักเรียนเกิดมโนทัศน์ในสิ่งที่นักเรียนได้ทา
กิจกรรมมาแล้ว
2. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับหลอดรังสีแคโทด พร้อมทั้งอธิบายส่วนประกอบและจุดกาเนิดของการ
เกิดหลอดรังสีแคโทด ซึ่งมีความสาคัญต่อการค้นพบอิเล็กตรอน
3. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปเรื่องแนวคิดในการพัฒนาแบบจาลองอะตอม อีกครั้ง
4. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหา เรื่อง แบบจาลองอะตอมขอของนักวิทยาศาสตร์แต่
ละคน ว่ามีส่วนไหนที่ไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล (Evaluation Phase)
1. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด
13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องโครงสร้างอะตอม
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. ชุดการทดลองการเปรียบเทียบลักษณะและการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 10
ชื่อเรื่อง ทวิภาพของคลืน่ และอนุภาค หน่วยที่ 2 เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 4 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นและอธิบายทวิภาพของคลื่นและอนุภาค

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
คอมป์ ตั น ฉายรั งสี เอกซ์ ค วามยาวคลื่ น ค่ า เดี ย วกระทบอิ เล็ ก ตรอนในแท่ งแกรไฟต์ จะมี
อิเล็กตรอนและรังสีเอกซ์กระเจิงออกมาทั้งความยาวคลื่นค่าเดิมและมากกว่าเดิม ซึ่งค่าที่มากกว่าเดิมจะแปร
ผันกับมุมที่กระเจิง เขาจึงเสนอว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแสดงสมบัติการเป็นอนุภาคได้ การที่คลื่นแสดงสมบัติเป็น
อนุภาคได้ และอนุภาคก็แสดงสมบัติเป็นคลื่นได้ เรียกว่าทวิภาพของคลื่นและอนุภาค และอิเล็กตรอนจะแผ่
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเมื่อความยาวของเส้นรอบวงมีค่าเป็นจานวนเต็มเท่าของความยาวคลื่นของอิเล็กตรอน
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
คอมป์ตันฉายรังสีเอกซ์ความยาวคลื่นค่าเดียวกระทบอิเล็กตรอนในแท่งแกรไฟต์ จะมีอิเล็กตรอนและ
รังสีเอกซ์กระเจิงออกมาทั้งความยาวคลื่นค่าเดิมและมากกว่าเดิม ซึ่งค่าที่มากกว่าเดิมจะแปรผันกับมุมที่
กระเจิง เขาจึงเสนอว่าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าแสดงสมบัติการเป็นอนุภาคได้
เดอบรอยล์สนับสนุนความคิดนี้และเสนอการหาความยาวคลื่นตามสมการ
 = /mv
การทีค่ ลื่นแสดงสมบัติเป็นอนุภาคได้ และอนุภาคก็แสดงสมบัติเป็นคลื่นได้ เรียกว่าทวิภาพของคลื่น
และอนุภาค
การที่อิเล็กตรอนในอะตอมไม่มีการแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เนื่องจากอิเล็กตรอนโคจรรอบนิวเคลียส
แสดงสมบัติคลื่นนิ่ง ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อความยาวของเส้นรอบวงมีค่าเป็นจานวนเต็มเท่าของความยาวคลื่นของ
อิเล็กตรอน ดังสมการ
2rn = n

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร์
2. อธิบายความหมายของสถานะพื้นและสถานะกระตุ้น
3. อธิบายความสัมพันธ์ของรัศมีวงโคจรของอิเลคตรอนกับแรงเข้าสู่ศูนย์กลาง
4. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
5. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับทฤษฎีอะตอมของโบร์
6. ประเมินความสาคัญของทฤษฎีอะตอมของโบร์
7. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอการกาเนิดอะตอมด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบต่างๆ
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการค้นพบอิเล็กตรอน
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ขัน้ สร้างความสนใจ
1.1 ให้นักเรียนสังเกตภาพการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของรังสีเอกซ์
1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างการเลี้ยวเบนและการแทรกสอดของรังสีเอกซ์ร่วมกันอภิปราย
ถึงสมบัติของรังสีเอกซ์ รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องทวิภาพของคลื่น
และอนุภาค
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขัน้ สารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
3. ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- ถ้ารังสีเอกซ์มีความยาวคลื่น  โฟตอนของรังสีเอกซ์มีพลังงานเท่าใด
- จากกฎการอนุรักษ์พลังงานและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม เป็นไปได้หรือไม่ที่
การทดลองของคอมป์ตันจะพบว่าความยาวคลื่นของโฟตอนของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมามีค่าน้อยกว่าความ
ยาวของคลื่นรังสีเอกซ์ที่พุ่งกระทบ
- ความยาวคลื่นเดอบรอยด์หาได้อย่างไร
- ทวิภาพของคลื่นและอนุภาคเป็นอย่างไร
- จงหาความยาวเดอบรอยล์ของ
ก. วัตถุมวล 1 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 1 m/s
ข. อิเลคตรอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2.0 x 106 m/s
- ถ้าอนุภาคอิเลคตรอน โปรตอน นิวตรอน และ แอลฟา มีพลังงานเท่ากัน อนุภาค
ใดมีความยาวคลื่นสั้นที่สุด เพราะเหตุใด
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการศึกษาทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
กิจกรรมรวบยอด
4. ขัน้ ขยายความรู้
4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการแก้ปญ ั หาโจทย์เรื่องทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
4.2 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับทวิภาพของคลืน
่ และอนุภาคไปใช้
ประโยชน์
4.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเกี่ยวกับทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ
ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทา
อย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก
เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. ชุดการทดลองการเปรียบเทียบลักษณะและการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ใบงานที่ทวิภาพของคลื่นและอนุภาค ชื่อ....................................................................................................
1. ขอบเขตและเป้าหมายของประเด็นที่จะเรียนรู้ ที่นักเรียนและครูกาหนดร่วมกัน
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
2. แต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………..……………………………………………………
3. ถ้ารังสีเอกซ์มีความยาวคลื่น  โฟตอนของรังสีเอกซ์มีพลังงานเท่าใด
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
…………………………………………………….……………………………………………..………………………………………………….....
4. จากกฎการอนุรักษ์พลังงานและกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม เป็นไปได้หรือไม่ที่
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………..……………………………………………………
5. การทดลองของคอมป์ตันจะพบว่าความยาวคลื่นของโฟตอนของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมามี
ค่าน้อยกว่าความยาวของคลื่นรังสีเอกซ์ที่พุ่งกระทบ
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………
6. ความยาวคลื่นเดอบรอยด์หาได้อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………
7. ทวิภาพของคลื่นและอนุภาคเป็นอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………

8. จงหาความยาวเดอบรอยล์ของ
ก. วัตถุมวล 1 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 1 m/s
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
ข. อิเลคตรอนเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2.0 x 106 m/s
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
9. ถ้าอนุภาคอิเลคตรอน โปรตอน นิวตรอน และ แอลฟา มีพลังงานเท่ากัน อนุภาคใดมี
ความยาวคลื่นสั้นที่สุด เพราะเหตุใด
10. จงคานวณหาความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของ
ก. อนุภาคมวล 1 g เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2.0 x 103 m/s
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
ข. อิเลคตรอนมวล 9.1 x 10-31 kg มีพลังงานจลน์ 3 eV
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
ค. วัตถุมวล 1 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 10-3 m/s
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
11. จงหาความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของลูกบอลมวล 0.40 kg เคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 10 m/s
และความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของลูกบอลจะวัดในห้องทดลองได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..

12. จงเปรียบเทียบความยาวคลื่นเดอบรอยล์ของอิเลคตรอนและนิวเคลียสไฮโดรเจนที่ถูกเร่ง
ด้วยความต่างศักย์ 300 V เท่ากัน กาหนดมวลไฮโดรเจน 1.67 x 10-27 kg
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
13. จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับทวิภาพของคลื่นและอนุภาคไปใช้ประโยชน์
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
14. สรุปเกี่ยวกับทวิภาพของคลื่นและอนุภาค
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 11
ชื่อเรื่อง กลศาสตร์ควอนตัม หน่วยที่ 2 เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 2 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูลและอภิปรายเกี่ยวกับกลศาสตร์ควอนตัม

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
โครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัด ระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5. สาระสาคัญ
เนื่องจากทฤษฎีอะตอมของโบร์ ไม่สามารถอธิบายโครงสร้างของอะตอม
ได้ทุกธาตุ , โดยอธิบายได้ดีเฉพาะธาตุไฮโดรเจน หรือธาตุเล็ก ๆ เช่น
He , Li , ซึ่ งถูก อิอ อนไนซ์จ นเหลื อ อิเล็ ก ตรอนตั ว เดี ยว เมื่ อเดอบรอยล์
เสนอสมมติฐานว่า อนุภาคสามารถแสดงสมบัติเป็นคลื่น และทดลองได้ด้วย
ว่าอิเล็กตรอนสามารถเลี้ยวเบนได้จริง
นักฟิสิกส์หลายคนจึงพยายามสร้างทฤษฎีขึ้นมาเรียกว่า กลศาสตร์ควอนตัม
(Quantum Mechanics) ซึ่งเป็นหัวใจ
ของฟิสิกส์สมัยใหม่ (Modern Physics) นักฟิสิกส์ในกลศาสตร์ที่สาคัญคือ ชเร
อดิงเจอร์ (Schro”dinger และ Heisenberg)
ชเรอดิงเจอร์ ได้วิเคราะห์ตามรากฐานของคลื่นสสารของเดอบรอยล์ ว่า
ถ้าอิเล็กตรอนเป็นอนุภาค แต่ประพฤติตัวแบบคลื่นได้ ก็ควรจะมีสมการการ
เคลื่อนที่เช่นเดียวกับคลื่น เขาจึงสร้างสมการของอะตอมทุกธาตุในลักษณะของสมการคลื่น จากการสร้าง
สมการคลื่นของอิเล็กตรอนขึ้นมา ปรากฏว่าอธิบายทุกธาตุได้ดี เช่นกรณีธาตุไฮโดรเจน 1) แสดงให้เห็นการ
ขาดห้วงของพลังงาน 2) โมเมนตัมเชิงมุมของอิเล็กตรอน ตรงกับทฤษฎีอะตอมของโบร์
ในกรณีอะตอมที่มีอิเล็กตรอนมากกว่า 1 ตัว กลศาสตร์ควอนตัม บอกถึงระดับพลังงานในชั้นต่าง ๆ
ได้หมดอย่างชัดเจน และไม่ขัดแย้งกับวิชาเคมี
ชเรอดิงเงอร์ (Schrodinger) สร้างสมการคลื่นของอิเล็กตรอนขึ้น โดยแทนอิเล็กตรอนด้วยกลุ่มคลื่น
(wave packet) ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วกลุ่ม (group velocity) ที่เท่ากับความเร็วอนุภาค

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกได้ว่า วิชากลศาสตร์ควอนตัมสามารถอธิบายปรากฎการณ์ในระดับจุล ภาคได้ดีกว่าทฤษฎี
อะตอมของโบร์
2. บอกหลักความไม่แน่นนอนของไฮเซนเบิร์กเกี่ยวกับความไม่แน่นอนทางตาแหน่งและทางโมเมนตัม
ได้
3. บอกได้ว่า ภาพอิเล็กตรอนในอะตอมเสมือนกลุ่มหมอกห่อหุ้มนิวเคลียส ถ้ามีโอกาสพบอิเล็กตรอน
ณ ที่ใดมากก็จะมีหมอกหนาแน่น ณ ที่นั้น

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอการกาเนิดอะตอมด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบต่างๆ
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการค้นพบอิเล็กตรอน
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ขั้นสร้างความสนใจ
ครูกล่าวนากับนักเรียนว่า ทฤษฎีอะตอมของโบร์ที่ได้ศึกษามานั้น ยังอาศัยความรู้จาก
ฟิสิกส์แผนเดิม ซึ่งอธิบายปรากฏการณ์ในระดับจุลภาคของอะตอมได้ยังไม่ดีนัก
การเรียนในคาบวัน นี้ จะเป็น การน าเอาหลักฟิสิกส์แผนใหม่ ที่เรียกว่า กลศาสตร์ควอนตัมมาช่วย
พิจารณาซึ่งจะทาให้สามารถอธิบายปรากฏการณ์ในระดับจุลภาคของอะตอมได้ดีกว่าทฤษฎีอะตอมของโบร์
และได้แบบจาลองอะตอมซึ่งเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน
2. ขั้นสารวจและค้นหา
1. ครูนาอภิปรายและให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างทฤษฎี กลศาสตร์ควอนตัม โดยนักวิทยาศาสตร์ ที่
ชื่อ ชเรอดิงเงอร์ ตามรายละเอียดในใบความรู้
2. ครูทบทวนเกี่ยวกับการวัดปริมาณต่างๆทางฟิสิกส์ที่นักเรียนได้เคยศึกษามาแล้วว่า ความคลาด
เคลื่อนจากการวัดปริมาณเหล่านั้นเกิดขึ้นได้จากบุคคลผู้วัด และเครื่องมือที่จะใช้ในการวัด อย่างไรก็ตามไฮเซน
เบริ์กได้เสนอว่า นอกจากความคลาดเคลื่อนซึ่งเกิดโดยทางปฏิบัติแล้ว ยังมีกฎเกณฑ์ตามธรรมชาติบางประการ
ที่ทาให้เราไม่สามารถวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้อง หลักดังกล่าวเรียกว่า หลักความไม่แน่น อนของไฮเซน
เบริ์ก
3. ครูนาอภิปรายต่อไปว่า ตาม หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบริ์ก ถ้าในขณะใดขณะหนึ่ง เราทา
การวัดตาแหน่ง X และโมเมนตัม PX ของอนุภาคซึ่งเคลื่อนที่ไปทางแกน X จะเกิดความไม่แน่นอนในการวัด
ตาแหน่งX และความไม่แน่นอนในการวัดโมเมนตัมPX ซึ่งเป็นไปตามสมการที่ (1) (X)(PX ) h
4. ครูยกตัวอย่างเพื่อให้นักเรียนได้เห็นจริงถึงค่า X และ PX จากการใช้สมการดังกล่าวกับคลื่น
อนุภาค ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาความไม่แน่นอนในการวัดตาแหน่งของวัตถุมวล 50 กรัม เคลื่อนที่ใน
แนวตรงด้วยความเร็ว 50 เมตร/วินาที ถ้าความไม่แน่นอนในการวัดความเร็วเป็น 0.01เมตร/วินาที

วิธีทา จากสูตร (X)(PX ) h


X(mvx)  h
X  h / mvx
จากโจทย์ m = 50 x 10-3 kg
vx= 0.01 m/s
h
h  1.05 x10 34 Js
2
1.05 x10 34
ดังนั้น X  3
 2.1x10 31 เมตร
50 x10 x0.01
คาตอบ ความไม่แน่นอนในการวัดตาแหน่งเท่ากับ 2.1 x 10-31 เมตร
5. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่า หลักความไม่แน่นอนจะมีผลต่อการศึกษาอนุภาคระดับจุลภาค
เท่านั้น โดยการศึกษาฟิสิกส์ในตอนแรกๆ ก่อน พ.ศ. 2443 เป็นการศึกษาอนุภาคในระดับมหภาค
ทั้งหมด ดังนั้น ในระยะนั้นแม้ว่านักฟิสิกส์จะไม่ทราบหลักความไม่แน่นอนก็สามารถศึกษา
ปรากฏการณ์ธรรมชาติอย่างถูกต้องได้ แต่การศึกษาก้าวลึกลงไปในระดับอะตอม การไม่ทราบหลัก
ความไม่แน่นอน ทาให้ นักฟิสิกส์ไม่สามารถเข้าใจธรรมชาติระดับนี้ได้ ทั้งนี้ เนื่องจากหลักดังกล่าวเป็นส่วน
สาคัญในวิชากลศาสตร์ควอนตัม ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการศึกษาธรรมชาติในระดับจุลภาคนั่นเอง
6. ครูและนักเรียนสรุปร่วมกันว่า หลักความไม่แน่นอนของไฮเซนเบริ์ก คือ เราไม่สามารถรู้ตาแหน่ง
และความเร็วที่แน่นอนของวัตถุเล็กๆ เช่น อิเล็กตรอนได้ อย่างดีที่สุด คือ เราอาจรู้เพียงโอกาสที่จะเป็นไปได้
เกี่ยวกับอิเล็กตรอนในแง่ต่างๆเท่านั้น
7. ครูให้ความรู้ว่า จากกลศาสตร์ควอนตัมทาให้ เราได้ภ าพอะตอมที่มีลักษณะเป็นกลุ่มหมอกของ
อิเล็กตรอน ดังรูปที่ 2 แทนวงโคจรที่แน่นอนตามที่โบร์คิดไว้ ทั้งนี้เนื่องจากเราไม่สามารถบอกตาแหน่งที่
แน่นอนว่า อิเล็กตรอนอยู่ที่ไหนในขณะใดขณะหนึ่ง ดั งที่กล่าวมาแล้ว การที่จะบอกว่าอิเล็กตรอนวิ่งอยู่ในวง
ใดๆจึงไม่มีความหมายอะไร บอกได้แต่เพียงว่า ที่ใดที่หนึ่งรอบๆนิวเคลียสมีโอกาสจะพบอิเล็กตรอนได้มาก
หรือน้ อยเท่านั้ น ที่ ใดมีโอกาสพบอิเล็ กตรอนมากก็แทนด้วยกลุ่ มหมอกที่ ห นาแน่นมาก ที่ ใดมีโอกาสพบ
อิเล็กตรอนน้อย กลุ่มหมอกก็จะเบาบาง
8. ครูให้ความรู้เพิ่มเติมว่า นอกจากที่กล่าวมาแล้วนั้น กลศาสตร์ควอนตัมยังช่วยให้ได้รับ
ความสาเร็จในการศึกษาสมบัติของผลึก หรือวัตถุซึ่งเกิดจากการเรียงตัวของอะตอมอย่างเป็นระเบียบ อาจบอก
ได้ว่าผลึกใดเป็นตัวนาไฟฟ้าหรือฉนวน หรืออื่นๆ ความรู้ทางกลศาสตร์ควอนตัมช่วยให้เกิดการพัฒนาเกี่ยวกับ
ทรานซิส เตอร์และอุป กรณ์ ท างไฟฟ้าอื่น ๆและยังใช้ในการศึกษานิ ว เคลี ยสอีกด้ว ย จึงนั บได้ว่า กลศาสตร์
ควอนตัมเป็นหัวใจของฟิสิกส์ในปัจจุบันนี้
9. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง กลศาสตร์ควอนตัมว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่เข้าใจและให้
ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น
3. ขั้นลงข้อสรุป
ครูสอบถามนักเรียนด้วยประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. ภาพอะตอมตามหลักกลศาสตร์ควอนตัม เป็นอย่างไร (อิเล็กตรอนในอะตอมเสมือนกลุ่มหมอก
ห่อหุ้มนิวเคลียส ถ้ามีโอกาสพบอิเล็กตรอน ณ ที่ใดมากก็จะมีหมอกหนาแน่น ณ ที่นั้น)
2. นิวเคลียสไม่มีอิเล็กตรอนอยู่ แนวคิดนี้ใช้หลักการใดอธิบายพิสูจน์ (หลักความไม่แน่นนอนของไฮ
เซนเบิร์ก)
3. หลักความไม่แน่นนอนของไฮเซนเบิร์ก เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร (ความไม่แน่นอนทางตาแหน่งและ
ทางโมเมนตัม)
4. สมการหลักความไม่แน่นนอนของไฮเซนเบิร์ก มีความสัมพันธ์อย่างไร
[(X)(PX ) h ]
ครูมอบหมายให้นักเรียนไปทบทวนเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ฟิสิกส์อะตอม เพื่อเตรียมตัวสอบ
เก็บคะแนนประจาหน่วย ซึ่งจะแจ้งให้ทราบอีกครั้ง และไปศึกษาเนื้อหาเรื่อง การค้นพบกัมมันตภาพรังสี ซึ่งจะ
เรียนในคาบต่อไปมาล่วงหน้า
13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องกลศาสตร์ควอนตัม
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 12
ชื่อเรื่อง เลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน หน่วยที่ 2 เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 2 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
อธิบายทฤษฎีเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวนได้
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การทาให้เกิดแสงเลเซอร์อาจใช้ของแข็งที่เป็นผลึก ของเหลว สารกึ่งตัวนา หรือ แก๊ส มาทา
ให้ เกิดแสงความเข้ม สูงมาก ในช่วงเวลาสั้ น มาก และมีความถี่เดียว โดยกระตุ้น ด้วยแสง หรือไฟฟ้ า เมื่ อ
อิเล็กตรอนกลับจากระดับพลังงานมาสู่ระดับพลังงานต่าจะมาอยู่ที่ระดับกึ่งกลางชั่วขณะหนึ่งจึงเกิดเลเซอร์ขึ้น
ปัจจุบันเลเซอร์ใช้เป็นคลื่นพาในการสื่อสาร
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5. สาระสาคัญ
การทาให้เกิดแสงเลเซอร์อาจใช้ของแข็งที่เป็นผลึก ของเหลว สารกึ่งตัวนา หรือ แก๊ส มาทาให้เกิดแสง
ความเข้มสูงมาก ในช่วงเวลาสั้นมาก และมีความถี่เดียว โดยกระตุ้นด้วยแสง หรือไฟฟ้า เมื่ออิเล็กตรอนกลับ
จากระดับพลังงานมาสู่ระดับพลังงานต่าจะมาอยู่ที่ระดับกึ่งกลางชั่วขณะหนึ่งจึงเกิดเลเซอร์ขึ้น ปัจจุบันเลเซอร์
ใช้เป็นคลื่นพาในการสื่อสาร
การมีอิเล็กตรอนเต็มในแถบวาเลนซ์และมีอิเล็กตรอนอยู่บ้างในแถบนาไฟฟ้า เมื่อให้สนามไฟฟ้าจะเกิด
การนาไฟฟ้าขึ้นในตัวนาไฟฟ้า
การมีอิเล็กตรอนเต็มในแถบวาเลนซ์แต่ไม่มีอิเล็กตรอนอยู่ในแถบนาไฟฟ้า ทาให้มีช่องว่างกว้างมาก
ระหว่างแถบ เมื่อให้สนามไฟฟ้าจะไม่เกิดการนาไฟฟ้าขึ้นในฉนวนไฟฟ้า
การมีอิเล็กตรอนเต็มในแถบวาเลนซ์แต่ไม่มีอิเล็กตรอนอยู่ในแถบนาไฟฟ้า และมีช่องว่างแคบระหว่าง
แถบ เมื่อให้สนามไฟฟ้าจะเกิดการนาไฟฟ้าขึ้นได้บ้างในสารกึ่งตัวนาไฟฟ้า

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับเลเซอร์
2. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเลเซอร์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
3. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับเลเซอร์
4. ประเมินความสาคัญของเลเซอร์
5. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวนด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขั้นสร้างความสนใจ
1.1 ให้นักเรียนสังเกตลาแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
1.2 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
ร่วมกันอภิปรายถึงสมบัติ รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่องแสง
เลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขั้นสารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม น าเสนอผลการศึ ก ษาแสงเลเซอร์ ตั ว น า กึ่ ง ตั ว น า และฉนวน
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- หลักการทางานของเลเซอร์เป็นอย่างไร
- ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน แตกต่างกันอย่างไร
- โครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการศึกษาแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยาย
4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา
และฉนวนไปใช้ประโยชน์
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ
ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทา
อย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก
เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ชื่อ...........................................………................................................... เลขที่....... ชั้น...............
1. ขอบเขตและเป้าหมายของประเด็นที่จะเรียนรู้ ที่นักเรียนและครูกาหนดร่วมกัน
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
2. แต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………..…………………………………………………
3. หลักการทางานของเลเซอร์เป็นอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………..…………………………………………………
4. ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน แตกต่างกันอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………..…………………………………………………
5. โครงสร้างอะตอมตามแนวคิดกลศาสตร์ควอนตัม
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………..…………………………………………………
6. เครื่องผลิตเลเซอร์ที่ใช้ในห้องทดลองวิทยาศาสตร์ให้เลเซอร์ความยาวคลื่น 632.8 nm ถ้า
เลเซอร์ที่ปล่อยออกมามีกาลัง 1 mW จงหา
ก. พลังงานของแต่ละโฟตอนของเลเซอร์
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
ข. จานวนโฟตอนของเลเซอร์ที่ผลิตได้ใน 1 วินาที
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
ค. โมเมนตัมของแต่ละโฟตอน
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
7. แนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวนไปใช้ประโยชน์
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
8. สรุปเกี่ยวกับแสงเลเซอร์ ตัวนา กึ่งตัวนา และฉนวน
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 13
ชื่อเรื่อง การค้นพบกัมมันตภาพรังสีและการเปลีย่ นสภาพนิวเคลียส หน่วยที่ 3 เรือ่ ง ฟิสิกส์นวิ เคลียร์
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 4 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล สารวจตรวจสอบและอภิปรายเกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การค้นพบกัมมันตภาพรังสี
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ

1. กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) หมายถึง รังสีที่แผ่ออกมาได้เองจากธาตุบางชนิด

2.ธาตุกมั มันตรังสี หมายถึง ธาตุที่มีในธรรมชาติที่แผ่รงั สีออกมาได้เอง


3. เฮนรี่ เบคเคอเรล นักฟิสกิ ส์ชาวฝรั่งเศส เป็นผู้ค้นพบกัมมันตภาพรังสีโดยบังเอิญ
ในขณะที่ทาการวิเคราะห์เกี่ยวกับรังสีเอ็กซ์ กัมมันตภาพรังสีมีสมบัติแตกต่างจากรังสีเอ็กซ์ คือ มี
ความเข้มน้อยกว่ารังสีเอ็กซ์ การแผ่รังสีเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา
4. รังสี เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ บางชนิดเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น รังสีเอ็กซ์ รังสี
อุลตราไวโอเลต รังสีอินฟราเรด บางอย่างเป็นอนุภาค เช่นรังสีที่เกิดจากอนุภาคอิเล็กตรอน รังสีที่
ได้จากธาตุกัมมันตรังสีมี 3 ชนิด คือ รังสีแอลฟา รังสีเบตา และรังสีแกมมา
ชนิดของกัมมันตภาพรังสี
กัมมันตภาพรังสีมี 3 ชนิด คือ
1) รังสีแอลฟา (alpha, ) คือ นิวเคลียสของอะตอมธาตุฮีเลียม 4He2 มีประจุไฟฟ้า +2 มีมวลมาก
ความเร็วต่า อานาจทะลุทะลวงน้อย มีพลังงานสูงมากทาให้เกิดการแตกตัวเป็นอิออนได้ดีที่สุด
2) รังสีเบต้า (Beta, ) มี 2 ชนิด คือ อิเล็กตรอน 0e-1 (ประจุลบ) และ โฟซิตรอน 0e+1 (ประจุบวก)
มีความเร็วสูงมากใกล้เคียงกับความเร็วแสง
3) รังสีแกมมา (gamma, ) คือ รังสีที่ไม่มีประจุไฟฟ้า หมายถึง โฟตอนหรือควอนตัมของแสง มี
อานาจในการทะลุทะลวงได้สูงมาก ไม่เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มี
ความถี่สูงกว่ารังสีเอ็กซ์

การวิเคราะห์ชนิดของประจุของสารกัมมันตภาพรังสีโดยใช้สนามแม่เหล็ก
ฟิล์ม
จะเห็นว่า
   เบนเหมือนกับประจุบวก
  เบนเหมือนกับประจุลบ
 ไม่เบนเลยเหมือนไม่มีประจุ
สนามแม่เหล็ก
แผ่นตะกั่วหนา

ธาตุกัมมันตรังสี

การเกิดกัมมันตภาพรังสี
1. เกิดจากนิวเคลียสในสภาวะพื้นฐานได้รับพลังงาน ทาให้นิวเคลียสกระโดดไปสู่ระดับพลังงานสูงขึ้น
ก่อนกลับสู่สภาวะพื้นฐาน นิวเคลียสจะคายพลังงานออกมาในรูปรังสีแกมมา
2. เกิดจากนิวเคลียสที่อยู่ในสภาพเสถียร แต่มีอนุภาคไม่สมดุล นิวเคลียสจะปรับตัวแล้วคาย
อนุภาคที่ไม่สมดุลออกมาเป็นอนุภาคแอลฟาหรือเบตา
คุณสมบัตขิ องกัมมันตภาพรังสี
1. เดินทางเป็นเส้นตรง
2. บางชนิดเกิดการเลี้ยวเบนเมื่อผ่านสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้า เช่น , 
3. มีอานาจในการทะลุสารต่างๆ ได้ดี
4. เมื่อผ่านสารต่างๆจะสูญเสียพลังงานไปโดยการทาให้สารนั้นแตกตัวเป็นอิออน ซึ่งอิออนเหล่านั้น
จะก่อให้เกิดปรากฏการณ์อื่นๆ เช่น ปฏิกิริยาเคมี เกิดรอยดาบนฟิล์มถ่ายรูป
6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายของกัมมันตภาพรังสีและธาตุกัมมันตรังสีได้
2. บอกสมบัติที่สาคัญของรังสีแอลฟา รังสีบีตา และรังสีแกมมาได้
3. อธิบายวิธีการทดลองของเบ็กเคอเรล ที่นาไปสู่การค้นพบกัมมันตภาพรังสี
4. อธิบายวิธีการทดลองที่แสดงให้เห็นว่าธาตุกัมมันตรังสีนั้นแผ่รังสีออกมา 3 ชนิด

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ
10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นั ก เรี ย นออกแบบการน าเสนอการการค้ น พบกั ม มั น ตภาพรัง สี แ ละการเปลี่ ย นสภาพ
นิวเคลียสด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนอธิบายการค้นพบกัมมันตภาพรังสีและการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการค้นพบกัมมันตภาพรังสีและการเปลี่ยน
สภาพนิวเคลียส
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขั้นสร้างความสนใจ
ครูทบทวนเกี่ยวกับองค์ประกอบที่สาคัญของอะตอม ที่เคยศึกษามาแล้ว เช่น อะตอมประกอบด้วย
นิวเคลียสและอิเล็กตรอน นิวเคลียสมีประจุไฟฟ้าบวกและมีมวลเกือบเท่ากับมวลอะตอม อิเล็กตรอนมีประจุ
ไฟฟ้าลบ เป็นต้น จากนั้น ครูตั้งคาถามว่า นักวิทยาศาสตร์มีวิธีศึกษาหาองค์ประกอบของนิวเคลียสอย่างไร ซึ่ง
จะได้ศึกษาต่อไป
2. ขั้นสารวจและค้นหา
1. จากการที่ครูให้นักเรียนไปศึกษาล่วงหน้ามาแล้ว ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายโดยใช้คาถาม
ต่อไปนี้
- การทดลองของเบ็กเคอเรลมีวัตถุประสงค์อย่างไร (เพื่อศึกษาว่า สารที่กาลังเรืองแสงทุกชนิดมีการ
ปล่อยรังสีเอ็กซ์ออกมาหรือไม่ โดยทดลองกับสารเรืองแสงต่างๆ หลายชนิด โดยการใช้แสงอาทิตย์เป็น
ตัวกระตุ้นให้เกิดสารเรืองแสงขึ้น เพื่อทดสอบว่ามีการปล่อยรังสีเอ็กซ์ออกมาหรือไม่)
- เบ็กเคอเรลมีเหตุผลอย่างไรที่สรุปว่า ในการทดลองกับสารประกอบยูเรเนียมนั้น รอยดาบนฟิล์ม
ไม่ได้เกิดจากรังสีเอ็กซ์ (เนื่องจากรังสีเอ็กซ์เกิดขึ้นเองไม่ได้ จะต้องกระตุ้นด้วยด้วยอนุภาคหรือรังสีบางชนิด แต่
รังสีที่ทาให้เกิดรอยดาบนฟิล์มในการทดลองกับสารประกอบยูเรเนียมนั้นเกิดขึ้นเอง)
-ทาไมรอยดาบนฟิล์มที่เกิดจากการวางสารประกอบยูเรเนียมบนซองฟิล์มที่เก็บไว้ในลิ้นชักจึงเข้ม
กว่ารอยดาบนฟิล์มที่เกิดจากการวางสารประกอบยูเรเนียมบนซองฟิล์มที่วางไว้กลางแดด (การวาง
สารประกอบยูเรเนียมทับฟิล์มไว้หลายวันในลิ้นชัก จะมีรังสีออกจากสารประกอบยูเรเนียมตลอดเวลา ซึ่งเป็น
การยืนยันว่ารังสีที่ทาให้เกิดรอยดาบนฟิล์มเกิดจากสารประกอบยูเรเนียมอย่างแน่นอน จึงทาให้รอยดาบนฟิล์ม
เข้มกว่า ถ้าหากว่ารังสีที่แผ่ออกจากสารประกอบยูเรเนียมเนื่องจากการกระตุ้นจากแสงอาทิตย์แล้ว รอยดาบน
ฟิล์มที่อยู่ใต้สารประกอบยูเรเนียมที่วางไว้กลางแสงแดดน่าจะมีความเข้มมากกว่า)
2. ครูชี้ให้นักเรียนเห็นว่าการค้นพบของเบ็กเคอเรลนี้ แม้จะเป็นการค้นพบโดยบังเอิญแต่แสดงให้เห็น
ถึงความเป็นบุคคลช่างสังเกตและมีไหวพริบของเบกเคอเรล ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สาคัญของนักวิทยาศาสตร์ที่
นักเรียนควรจะถือเป็นตัวอย่างด้วย
3. ครูให้นักเรียนศึกษาความหมายของกัมมันตภาพรังสี ธาตุกัมมันตรังสี และคุณสมบัติของ
กัมมันตภาพรังสี ตามรายละเอียดในใบความรู้
4. ครูทบทวนเกี่ยวกับการเบนของรังสีแคโทดในสนามแม่เหล็ก จากนั้นจึงให้นักเรียนได้ศึกษาแนวการ
เคลื่อนที่ของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสีในสนามแม่เหล็ก ตามรายละเอียดในใบความรู้
5. ครูชี้ให้เห็นว่าการที่รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมีแนวการเคลื่อนที่เป็นสามประเภทนี้ ทาให้มีการ
จาแนกรังสีจากธาตุกัมมันตรังสีเป็น 3 ชนิด คือ แอลฟา บีตา แกมมา โดยทราบว่า รังสีแอลฟามีประจุไฟฟ้า
เป็นบวก บีตามีประจุไฟฟ้าเป็นลบ และแกมมาไม่มีประจุไฟฟ้า จากนั้นครูให้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติของรังสีทั้ง
3 ชนิด
6. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความสามารถในการทาให้อากาศแตกตัวเป็นไอออน โดยชี้ให้เห็นว่า
ความสามารถในการทาให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนนั้นจะขึ้นกับจานวนประจุไฟฟ้าของรังสีนั้น ส่วนอานาจ
ทะลุผ่านของรังสีจะขึ้นอยู่กับมวล รังสีที่มีมวลมากย่อมมีอานาจทะลุผ่านต่ากว่ารังสีที่มีมวลน้อย การศึกษา
เกี่ยวกับความสามารถในการทาให้อากาศแตกตัวเป็นไอออนและอานาจทะลุผ่าน ช่วยให้นักวิทยาศาสตร์วัด
พลังงานของรังสีชนิดต่างๆได้
7. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การค้นพบกัมมันตภาพรังสี ว่ามีส่วนไหนที่ยังไม่
เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น
3. ขั้นลงข้อสรุป
ครูสอบถามนักเรียนด้วยประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. การศึกษาของเบ็กเคอเรล มีวัตถุประสงค์อย่างไร (ศึกษาว่า สารประกอบบางชนิด เมื่อรับแสงแดด
แล้วจะแผ่รังสีเอ็กซ์หรือไม่)
2. ทาไมเราจึงทราบว่า รังสีแอลฟา บีตา แกมมา มีประจุไฟฟ้าบวก ลบและไม่มีประจุไฟฟ้าตามลาดับ
(ทราบโดยให้รังสีผ่านสนามแม่เหล็ก แล้วสังเกตทิศการเบนของแอลฟา และบีตาเป็นทิศเดียวกับการเบนไป
ของประจุบวกและประจุลบตามลาดับ ส่วนแกมมา ไม่เบนในสนามแม่เหล็ก แสดงว่า ไม่มีประจุไฟฟ้า)
3. รังสีใด มีอานาจทะลุผ่านสูงที่สุด (รังสีแกมมา)
4. รังสีใดมีความสามารถในการทาให้แก๊สแตกตัวได้ดี (รังสีแอลฟา)
5. รังสีใดต้องใช้วัสดุที่มีความหนาแน่นมากในการกั้นรังสีชนิดนั้น (รังสีแกมมา)
6. รังสีใดไม่เบี่ยงเบนเมื่อเข้าไปในสนามแม่เหล็ก (รังสีแกมมา)
7. รังสีใดเมื่อเคลื่อนที่ผ่านในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กแนวการเคลื่อนที่เป็นแนวโค้ง (รังสีแอลฟาและ
รังสีบีตา)
ครูมอบหมายให้นักเรียนไปทาแบบฝึกเสริมประสบการณ์ในใบงานให้เรียบร้อยและศึกษาเนื้อหา เรื่อง การ
เปลี่ยนสภาพนิวเคลียส ซึ่งจะเรียนในคาบต่อไปมาล่วงหน้า

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องการค้นพบกัมมันตภาพรังสีและการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. ชุดการทดลองการค้นพบกัมมันตภาพรังสีและการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 14
ชื่อเรื่อง เสถียรภาพของนิวเคลียส หน่วยที่ 3 เรื่อง ฟิสิกส์นวิ เคลียร์
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 1 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
อธิบายและสืบค้นการเสถียรภาพของนิวเคลียสได้
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เสถียรภาพของนิวเคลียส
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
ขนาดของนิวเคลียสขึ้นอยู่กับจานวนนิวคลีออนในนิวเคลียส แรงที่ช่วยดึงดูดโปรตอนเข้าไว้ด้วยกันใน
นิวเคลียสจะมากกว่าแรงผลักของโปรตอนเรียกว่าแรงนิวเคลียร์ พลังงานที่ทาให้นิวคลีออนแยกออกจากกัน
เรียกว่าพลังงานยึดเหนี่ยว พลังงานยึดเหนี่ยวแปรผันตรงกับจานวนนงคลีออน เมื่อโปรตอนกับนิวตรอนรวมกัน
เป็นดิวเทอรอน มวลจะหายไปส่วนหนึ่งเรียกว่ามวลพร่อง
ขนาดของนิวเคลียสขึ้นอยู่กับจานวนนิวคลีออนในนิวเคลียส ดังนี้
R = r0A1/3
แรงที่ช่วยดึงดูดโปรตอนเข้าไว้ด้วยกันในนิวเคลียสจะมากกว่าแรงผลักของโปรตอนเรียกว่าแรง
นิวเคลียร์
พลังงานที่ทาให้นิวคลีออนแยกออกจากกันเรียกว่าพลังงานยึดเหนี่ยว
พลังงานยึดเหนี่ยวแปรผันตรงกับจานวนนงคลีออน
พลังงาน 1U = 931.44 MeV
ต้องใช้พลังงานจากรังสีแกมมาอย่างน้อย 2.22 MeV จึงจะทาให้ดิวเทอรอนแยกออกเป็นโปรตอนและ
นิวตรอน นั่นคือพลังงานยึดเหนี่ยวของดิวเทอรอนเท่ากับ 2.22 MeV
เมื่อโปรตอนกับนิวตรอนรวมกันเป็นดิวเทอรอน มวลจะหายไป 0.002388 U มวลที่หายไปนี้เรียกว่า
มวลพร่อง แสดงว่ามวลที่หายไปนี้มีค่า 2.22 MeV ด้วย

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับเสถียรภาพของนิวเคลียส
2. อธิบายความหมายของแรงนิวเคลียร์ และพลังงานยึดเหนี่ยว
3. อธิบายความสัมพันธ์เกี่ยวกับแรงนิวเคลียร์และพลังงานยึดเหนี่ยว
4. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเสถียรภาพของนิวเคลียสไปใช้ประโยชน์
5. จาแนกประเภทหรือสร้างเกณฑ์เกี่ยวกับเสถียรภาพของนิวเคลียส
6. ประเมินความสาคัญของ
7. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอเสถียรภาพของนิวเคลียสด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนอธิบายเสถียรภาพของนิวเคลียส
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องเสถียรภาพของนิวเคลียส
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขัน้ สร้างความสนใจ
1.1 ให้นักเรียนสังเกตภาพการะเบิดของระเบิดปรมณู

1.2 นักเรียนทัง้ หมดร่วมกันยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่มีใช้หลักการการสลายตัวของกัมมันตภาพรังสี


ร่วมกันอภิปรายถึงกระบวนการสลายและผลที่เกิดขึ้น รวมทั้งการนาไปใช้ประโยชน์
1.3 ให้นักเรียนร่วมกันตั้งคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการรู้ จากเนื้อหาที่เกี่ยวกับเรื่อง
เสถียรภาพของนิวเคลียส
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้
2. ขัน้ สารวจและค้นหา
2.1 แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มละ 4 คน
2.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาเสถียรภาพของนิวเคลียส
2.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มอภิปรายร่วมกันถึงเสถียรภาพของนิวเคลียส
3. ขัน้ อธิบายและลงข้อสรุป
3.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการศึกษาการค้นพบเสถียรภาพของนิวเคลียส
3.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
3.3 ครูตั้งคาถามว่า
- แรงนิวเคลียร์คืออะไร
- พลังงานยึดเหนี่ยวคืออะไร
- การแตกตัวของดิวเทอรอนเป็นโปรตอนและนิวตรอน มวลของดิวเทอรอนก่อนการ
แตกตัวเท่ากับมวลรวมหลังการแตกตัวหรือไม่ อย่างไร
- จากตาราง 20.3 จงหามวลดิวเทอรอน
- จงหามวลที่หายไปเมื่อโปรตอนและนิวตรอนรวมตัวกันเป็นดิวเทอรอน
- จงหามวลพร่องหรือพลังงานยึดเหนี่ยวเมื่ออะตอมของคาร์บอนรวมตัวกันเป็นคาร์บอน-12
- จงหามวลพร่องและพลังงานยึดเหนี่ยวของ 3Li7 กับ 2He4
- จงหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของ 1H2 2He4 3Li7 6C12 เมือ่ เลขมวลเพิ่มขึ้น พลังงานยึดเหนี่ยว
เปลี่ยนแปลงอย่างไร
3.4 นักเรียนทั้งหมดร่วมกันสรุปผลจากการศึกษาเสถียรภาพของนิวเคลียส
กิจกรรมรวบยอด
4. ขัน้ ขยายความรู้
4.1 นักเรียนแต่ละกลุ่มเสนอแนวคิดในการแก้ปัญหาโจทย์เรื่องเสถียรภาพของนิวเคลียส
4.2 นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเชื่อมโยงความคิดเกี่ยวกับการค้นพบเสถียรภาพของนิวเคลียส
5. ขัน้ ประเมินผล
5.1 ให้นักเรียนแต่ละคนย้อนกลับไปอ่านบันทึกประสบการณ์เดิม สิ่งที่ต้องการรู้ และ
ขอบเขตเป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะทา
อย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้นเพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จาก
เกณฑ์การให้คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องเสถียรภาพของนิวเคลียส
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ชื่อ...........................................………………………………………… เลขที.่ ...... ชั้น...............
1. ขอบเขตและเป้าหมายของประเด็นที่จะเรียนรู้ ที่นักเรียนและครูกาหนดร่วมกัน
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
2. แต่ละกลุ่มได้ผลการศึกษาเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใด
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..…………………………………………..…………………………………………………
3. แรงนิวเคลียร์คืออะไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..…………………………………………..…………………………………………………
4. พลังงานยึดเหนี่ยวคืออะไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..…………………………………………..…………………………………………………
5. การแตกตัวของดิวเทอรอนเป็นโปรตอนและนิวตรอน มวลของดิวเทอรอนก่อนการ
แตกตัวเท่ากับมวลรวมหลังการแตกตัวหรือไม่ อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..…………………………………………..…………………………………………………
6. จากตาราง 20.3 จงหามวลดิวเทอรอน
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
…………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………..
7. จงหามวลที่หายไปเมื่อโปรตอนและนิวตรอนรวมตัวกันเป็นดิวเทอรอน
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………..
8. จงหามวลพร่องหรือพลังงานยึดเหนี่ยวเมื่ออะตอมของคาร์บอนรวมตัวกันเป็นคาร์บอน-12
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
9. จงหามวลพร่องและพลังงานยึดเหนี่ยวของ 3Li7 กับ 2He4
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
………..………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
10. จงหาค่าพลังงานยึดเหนี่ยวของ 1H2 2He4 3Li7 6C12 เมื่อเลขมวลเพิ่มขึ้น พลังงานยึด
เหนี่ยวเปลี่ยนแปลงอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
…………………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
………..………………………………………………………………………………………………………..………………………………………
………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………
……………..………………………………………………………………………………………………………..…………………………………
……………………………………………………………………..……………………………………………………………………………………
…………………..………………………………………………………………………………………………………..……………………………
…………………………………………………………………………..………………………………………………………………………………
11. ถ้ามวลอะตอมของ 20Ca40 เท่ากับ 39.9751 u จงหา
ก. พลังงานยึดเหนี่ยวของ 20Ca40
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………
ข. พลังงานยึดเหนี่ยวต่อนิวคลีออน 20Ca40
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..………………………………………………………………………………………………
12. จงคานวณความหนาแน่นของนิวเคลียส 13Al27 ให้มลอะตอม Al = 27.0 u แล้วเปรียบเทียบ
ผลที่ได้กับความหนาแน่นอะลูมิเนียมซึ่งเท่ากับ 2.7 g/cm3
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
13. สรุปเกี่ยวกับการค้นพบเสถียรภาพของนิวเคลียส
………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………
……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………………………………………..
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 15
ชื่อเรื่อง การสลายตัวของกัมมันตภาพรังสีและไอโซโทป หน่วยที่ 3 เรือ่ ง ฟิสิกส์นวิ เคลียร์
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 4 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล อภิปรายเกี่ยวกับการเปลี่ยนสภาพนิวเคลียส การสลายกัมมันตภาพรังสี

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
อนุกรมการสลาย
การสลายของนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีอย่างต่อเนื่อง ให้รังสีแอลฟา บีตา และแกมมา จนได้
ตะกั่ว -206 ซึ่งเป็นธาตุสุดท้ายและเป็นธาตุเสถียร (stable element) ซึ่งไม่มีการสลายต่อไป เราอาจเขียน
ลาดับการสลาย เรียก อนุกรม
กฎการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี
1. สมมติฐานการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี ของรัทเทอร์ฟอร์ดและซอดดี (Soddy) กล่าวว่า
1.1 การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเป็นการสลายตัวที่เกิดขึ้นเอง โดยไม่ขึ้นกับสภาวะแวดล้อมของ
นิวเคลียส (เช่น การจัดตัวของอิเล็กตรอน ความดัน อุณหภูมิ)
1.2 การสลายตัวเป็นกระบวนการสุ่ม (Random Process) ในช่วงเวลาใดๆ ทุกๆ นิวเคลียสมีโอกาสที่
จะสลายตัวเท่ากัน ดังนั้น ในช่วงเวลาหนึ่งๆ ปริมาณนิวเคลียสที่สลายตัวจึงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณ
นิวเคลียสที่เหลืออยู่
กฎการสลายมีสูตร N/t = - N ……….(1)
เมื่อ N คือ จานวนนิวเคลียสที่สลายในช่วงเวลาt
 เป็นค่าสลายตัวคงที่ (decay constant)
ปริมาณ – dN/dt = N , ปริมาณ dN/dt เป็นปริมาณที่บอกอัตราการลดลงของจานวน
นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ซึ่งก็คืออัตราการแผ่รังสีออกมาในขณะหนึ่งนั่นเอง เรียกปริมาณนี้ว่า
กัมมันตภาพ (activity) ของธาตุกัมมันตรังสี นิยมแทนด้วยสัญลักษณ์ A
A = N ……….(2)
2. อัตราการสลายตัวของนิวเคลียส หมายถึง ในช่วงเวลาใดๆ เป็น 1 หน่วยเวลา ปริมาณนิวเคลียสที่
สลายตัวใน 1 หน่วยเวลา ดังนั้น อัตราการสลายตัวของนิวเคลียสจึงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณนิวเคลียสที่
มีอยู่ (พร้อมจะสลายตัว)
 เป็นค่าสลายตัวคงที่ ซึ่งมีค่าเฉพาะของนิวเคลียสแต่ละชนิด เครื่องหมายลบแสดงว่าจานวน
นิวเคลียสลดลงเมื่อเวลาผ่านไป
3. กัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสี หมายถึง ความสามารถของธาตุกัมมันตรังสีในการแผ่รังสีออกมา
ได้มากน้อยเพียงใด ณ เวลาขณะหนึ่งขณะใด กัมมันตภาพมีหน่วยเป็น sec-1 หรือจานวนนิวเคลียสที่สลายตัว
ต่อวินาที นิยมวัดเป็นคูรี่ กัมมันตภาพ 1 คูรี่ เท่ากับ 3.7 x 1010 sec-1
4. การหาค่า N ในรูป function ของเวลา
N = N0e-t ………..(3)
5. ช่วงเวลาครึ่งชีวิต (Half life) ของธาตุกัมมันตภาพรังสี หมายถึงช่วงเวลาที่ธาตุนั้นๆ สลายตัว เหลือ
นิวเคลียสเป็นครึ่งหนึ่งของจานวนที่มีอยู่ก่อนสลายตัว มีสูตร ดังนี้
N=N0/2n ……….(4)
หรือ =0.693/ T½ ………..(5)
6. เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นปริมาณนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีจะลดลงเรื่อยๆ แต่ปริมาณนิวเคลียสจะไม่ลดลง
เป็นศูนย์ ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าใดก็ตาม การพูดถึงเวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวหมดจึงไม่มีความหมาย
ในทางทฤษฎีจึงพูดถึงเวลาที่ธาตุสลายตัวเหลือเป็นครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม]
N
N0

N/ N0 = e-t
N0/2

N0/4
t
T½ 2T½
กราฟแสดงการลดจานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ณ เวลาต่างๆ
สภาพสมดุลของธาตุกัมมันตรังสี หมายถึง ในธรรมชาติมีธาตุกัมมันตรังสีที่สลายตัวแล้วกลายเป็นนิวเคลียส
ของธาตุใหม่ แต่ธาตุใหม่ที่ได้นี้ยังไม่เสถียรภาพทีเดียว จึงเกิดการสลายต่อไป จะพิจารณากรณีธาตุ A
สลายตัวให้ธาตุ B สลายตัวให้ธาตุ C
สูตรคือ ดังนั้น ANA = BNB
1 Number

daughter nuclide (B)

¼
1/8 Parent nuclides (A)
1/16
T 2T 3T 4T time
กราฟแสดงอัตราการสลายของธาตุ A จะเท่ากับอัตราการเกิดของธาตุ B
เมื่อเวลาเพิ่มขึ้นปริมาณนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีจะลดลงเรื่อยๆ แต่ปริมาณนิวเคลียสจะไม่
ลดลงเป็นศูนย์ ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปเท่าใด การพูดถึงเวลาที่ธาตุกัมมันตรังสีสลายตัวหมดจึงไม่มีความหมาย
ในทางทฤษฎีจึงพูดถึงเวลาที่ธาตุสลายตัวเหลือเป็นครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม
6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายอนุกรมการสลายของธาตุกัมมันตรังสีในธรรมชาติได้
2. บอกสมมติฐานเพื่อใช้อธิบายการสลายของธาตุกัมมันตรังสีได้
3. บอกความหมายของค่าคงตัวการสลาย กัมมันตภาพ ครึ่งชีวิตได้
4. บอกความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งจ านวนนิ ว เคลี ย สของธาตุ กั ม มั น ตรั งสี เริ่ ม ต้ น ที่ เวลา t=0,จ านวน
นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีที่เหลือ ค่าคงตัวการสลาย และค่ากัมมันตภาพ A ได้และใช้ความสัมพันธ์ดัง
กล่าวหาปริมาณที่เกี่ยวข้องได้
5. บอกความสัมพันธ์ระหว่างครึ่งชีวิตกับค่าคงตัวการสลายและหาปริมาณดังกล่าวได้

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ
10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นั กเรีย นออกแบบการทดลองการสลายตั วของกัมมันตภาพรังสีและไอโซโทปด้วยความ
ประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนอธิบายการสลายตัวของกัมมันตภาพรังสีและไอโซโทป
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการสลายตัวของกัมมันตภาพรังสีและ
ไอโซโทป
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
1. ขัน้ สร้างความสนใจ
1. ครูทบทวนเกี่ยวกับการสลายตัวของนิวเคลียสให้ รังสีแอลฟา บีตาและแกมมา
2. ครูอธิบายเกี่ยวกับการสลายของยูเรเนียม-238 โดยเน้นให้นักเรียนทราบว่า การสลายของธาตุ
กัมมันตรังสีในธรรมชาตินั้นจะเป็นการเปลี่ยนจากธาตุหนึ่งไปเป็นอีกธาตุหนึ่งเป็นลาดับ ซึ่งเรียกว่าอนุกรม เช่น
อนุกรมของธาตุยูเรเนียม-238 อนุกรมของธาตุยูเรเนียม-235 และธาตุสุดท้ายคือ ตะกั่ว-207 เป็นต้น
2. ขัน้ สารวจและค้นหา
1. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับอนุกรมการสลายของธาตุกัมมันตรังสี ทั้ง 4 อนุกรม ได้แก่ อนุกรมยูเรเนียม
อนุกรมแอกทิเนียม อนุกรมทอเรียม และอนุกรมเนปจูเนียม ตามรายละเอียดในหนังสือเรียน
2. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ ความหมายของคาว่า ครึ่งชีวิต คือ ช่วงเวลาที่นิวเคลียสของธาตุนั้นสลายจน
จานวนลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของจานวนเริ่มต้น จากนั้นจึงชี้ให้นักเรียนเห็นว่า การที่ธาตุแต่ละชนิดมีค่าครึ่งชีวิต
แตกต่างกันนี้ แสดงว่า อัตราการสลายของธาตุแต่ละชนิดย่อมแตกต่างกัน เพื่อนาไปสู่การศึกษาเกี่ยวกับกฎ
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีต่อไป
3. ครูนาอภิปรายเกี่ยวกับการตั้งสมมติฐานการสลายของธาตุกัมมันตรังสี ความหมายของกัมมันตภาพ
และหน่วยของกัมมันตภาพ ตามรายละเอียดในใบความรู้ เพื่อนาไปสู่สมการที่ (2),(3),(4) จากนั้น ครูชี้ให้
นักเรียนศึกษาหน่วยของ  โดยใช้สมการที่ (5) ซึ่งจะได้ว่า  มีหน่วย ต่อเวลา
4. ครูให้ความรู้เกี่ยวกับ กราฟแสดงการลดจานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี ณ เวลาต่างๆ และ
กราฟแสดงอัตราการสลายของธาตุ A จะเท่ากับอัตราการเกิดของธาตุ B ตามรายละเอียดในใบความรู้
5. เพื่อเสริมความเข้าในการใช้สมการคานวณที่เรียนมา ครูยกตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 กาหนด Half life ของธอเรียม เป็น 20 วัน , โปรแตกติเนียม เป็น 2 นาที , ยูเรเนียม
เป็น 25,000 ปี เดิมธอเรียมมีจานวน 2.4 x 1012 อะตอม
ก. ค่าสลายคงที่  ขอธอเรียมเป็นเท่าใด
 = 0.693/ T½ = 0.693/20 = 0.03465 /วัน  9.625x10-6 /วินาที ตอบ
ข. กัมมันตภาพของธอเรียมเป็นเท่าใด
dN/dt = N = 9.625x10-6 (2.4x1012 ) = 2.31 x 107 นิวเคลียส/วินาที ตอบ

ตัวอย่างที่ 2 จงหาค่าคงตัวของการสลายของพอโลเนียม-218 ซึ่งมีค่าครึ่งชีวิต 3.05 นาที


วิธที า  = 0.693/ T½
0.693
แทนค่า T½ ในสมการจะได้  = 3.78 x 10-3 ต่อนาที
3.05 x60
ดังนั้น ค่าคงตัวของการสลายของพอโลเนียม-218 เท่ากับ 3.78 x 10-3 ต่อนาที ตอบ
ตัวอย่างที่ 3 ถ้ามีเรเดียม-226 ซึ่งมีค่าครึ่งชีวิต 1,600 ปีอยู่ 2.66 x 1021 อะตอม จงคานวณหา
จานวนอะตอมของเรเดียมที่เหลืออยู่เมื่อเวลาผ่านไป 8,000 ปี
วิธที า เรเดียม-226 มีครึ่งชีวิต 1,600 ปี เวลาที่ผ่านไป 8,000 ปี
ดังนั้นเวลาที่ผ่านไป = 8,000/1,600 = 5 เท่าของค่าครึ่งชีวิต
เนื่องจากจานวนอะตอมของเรเดียม-226 ที่มีอยู่เดิม = N 0 = 2.66 x 1021 อะตอม
N0 2.66 x10 21
จากสมการ  2 ดังนั้น
n
 2 5 = 32
N N
2.66 x10 21
N = 8.3 x 1019 อะตอม
32
คาตอบ จานวนอะตอมที่เหลือเท่ากับ 8.3 x 1019 อะตอม
8. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนสอบถามเนื้อหาเรื่อง การสลายของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ว่ามีส่วนไหนที่
ยังไม่เข้าใจและให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนนั้น
3. ขัน้ ลงข้อสรุป
ครูสอบถามนักเรียนด้วยประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. กัมมันตภาพของธาตุกัมมันตรังสี หมายถึงอะไร (ความสามารถของธาตุกัมมันตรังสีในการแผ่รังสี
ออกมาได้มากน้อยเพียงใด ณ เวลาขณะหนึ่งขณะใด)
2. สมมติฐานเพื่อใช้อธิบายการสลายของธาตุกัมมันตรังสี กล่าวว่าอย่างไร
1. การสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีเป็นการสลายตัวที่เกิดขึ้นเอง ไม่ขึ้นกับสภาวะแวดล้อมของ
นิวเคลียส (เช่น การจัดตัวของอิเล็กตรอน ความดัน อุณหภูมิ)
2. การสลายตัวเป็นกระบวนการสุ่ม ในช่วงเวลาใดๆ ทุกๆ นิวเคลียสมีโอกาสที่จะสลายตัว
เท่ากัน)
3. ช่วงเวลาครึ่งชีวิต (Half life) ของธาตุกัมมันตภาพรังสี หมายถึงอะไร (ช่วงเวลาที่ธาตุนั้นๆ
สลายตัว เหลือนิวเคลียสเป็นครึ่งหนึ่งของจานวนที่มีอยู่ก่อนสลายตัว)
4. ความสัมพันธ์ระหว่างจานวนนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีเริ่มต้นที่เวลา t=0,จานวนนิวเคลียสของ
ธาตุกัมมันตรังสีที่เหลือ ค่าคงตัวการสลาย  และค่ากัมมันตภาพ A เขียนเป็นสมการได้ว่าอย่างไร (ปริมาณ –
dN/dt = A = N )
5. ความสัมพันธ์ระหว่างครึ่งชีวิตกับค่าคงตัวการสลาย เป็นอย่างไร ( = 0.693/ T½ )
ครูมอบหมายให้นักเรียนไปทาแบบฝึกเสริมประสบการณ์ในใบงานให้เรียบร้อยและศึกษาเนื้อหา เรื่อง
ไอโซโทป ซึ่งจะเรียนในคาบต่อไปมาล่วงหน้า
13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องการสลายตัวของกัมมันตรังสี
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 16
ชื่อเรื่อง ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์ หน่วยที่ 3 เรือ่ ง ฟิสิกส์นวิ เคลียร์
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 4 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นและอธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
พลังงานนิวเคลียร์
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์ (ฟิวชัน, ฟิชชัน)
- คานวณหาพลังงานนิวเคลียร์จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้
- การใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ
- แหล่งพลังงานนิวเคลียร์ในอาเซียน
- ประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์
- ผลกระทบจากการใช้พลังงานนิวเคลียร์
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
การแตกตัวของนิวเคลียสใหม่แต่ละครั้ง จะมีพลังงานถูกปล่อยออกมาด้วย เรียกว่า พลังงานนิวเคลียร์
มนุษย์นาพลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ประโยชน์หลายด้าน ที่สาคัญที่สุด คือ การนาไปใช้ผลิตกระแสไฟฟ้า ใช้
ขับเคลื่อนเรือเดินสมุทร เป็นต้น
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ คือ กระบวนการที่นิวเคลียร์เกิดการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบ หรือระดับพลังงาน
จากการชนระหว่างนิวเคลียสกับนิวเคลียส หรือนิวเคลียสกับอนุภาค แบ่งออกเป็นปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชัน
และปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สืบค้น อภิปราย สารวจตรวจสอบเกี่ยวกับปฏิกิริยานิวเคลียร์
2. คานวณหาพลังงานนิวเคลียร์จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ได้
3. นาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
4. ประเมินความสาคัญของพลังงานนิวเคลียร์ ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานทดแทน พร้อมทั้งบอกข้อดี /
ข้อเสียรวมถึงการใช้พลังงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
5. สืบค้นแหล่งพลังงานนิวเคลียร์ในอาเซียนที่สาคัญ
6. มีจิตวิทยาศาสตร์

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอการกาเนิดอะตอมด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนจาแนกทฤษฎีอะตอมแบบต่างๆ
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงือ่ นไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องการค้นพบอิเล็กตรอน
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (Engagement Phase)
1. ครูนาข่าวโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่นนักเรียนได้ชม
2. นาวีดิทัศน์เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ ระเบิดปรมาณู ฉายให้นักเรียนชม
3. นักเรียนอภิปรายและบอกได้ว่าพลังงานนิวเคลียร์มีประโยชน์และโทษอย่างไรใน
ชีวิตประจาวัน (อาจแบ่งนักเรียนออกเป็นสองกลุ่ม และนาอภิปรายเป็นกลุ่มประโยชน์ /และกลุ่มโทษของ
พลังงานนิวเคลียร์ โดยให้เหตุผลประกอบแข่งขันกัน)
4. ครูถามกระตุ้นว่า พลังงานนิวเคลียร์เกิดขึ้นได้อย่างไร สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
อย่างไรในชีวิตประจาวัน
ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นพบ (Exploration Phase)
1. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ จากเอกสารต่างๆ เช่น วารสาร,
หนังสือเรียน, อินเตอร์เน็ต, หนังสือประกอบ เป็นต้น
2. ให้นักเรียนเข้ากลุ่มเพื่อทากิจกรรม การสืบค้นข้อมูลตามหัวข้อที่สนใจเกี่ยวกับพลังงาน
นิวเคลียร์ แหล่งพลังงานนิวเคลียร์ในอาเซียน และการใช้พลังงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้าในห้องสมุดแหล่งเรียนรู้อื่นๆ นักเรียนแต่ละกลุ่มน าเสนอ
ผลการสืบค้น และการท ากิจกรรมท ากิจกรรมหน้าชั้นเรียน
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase)
1. ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ ความหมายของปฏิกิริยาฟิวชัน ฟิชชัน
คานวณหาพลังงานนิวเคลียร์จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ การเขียนสมการของการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความสาคัญของพลังงานนิวเคลียร์ในชีวิตประจาวัน แหล่ง
พลังงานนิวเคลียร์ในอาเซียน การใช้ประโยชน์และการใช้พลังงานตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Expansion Phase)
1. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มทาใบงานการใช้พลังงานนิวเคลียร์ในทางสันติ
2. ผู้เรียนส่งตัวแทนนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
3. ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation)
1. เฉลยแบบฝึกหัด พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง ความเข้าใจของการทาแบบฝึกหัด
2. ตรวจสอบจากการตอบคาถาม การอภิปราย หน้าชั้นเรียน
3. สังเกตความสนใจ ความกระตือรือร้นในการเรียนรู้

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องโครงสร้างอะตอม
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3
5. ข่าวโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นในประเทศญี่ปุ่น
6. วีดิทัศน์เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ ระเบิดปรมณู

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 17
ชื่อเรื่อง ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ หน่วยที่ 3 เรือ่ ง ฟิสิกส์นวิ เคลียร์
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 4 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูลและอธิบายประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. การคนพบกัมมันตภาพรังสีของเบ็คเคอเรล ชนิดและสมบัติของกัมมันตภาพรังสี
2. โครงสรางของนิวเคลียส และความหมายของไอโซโทป
3. เวลาครึ่งชีวิตของกัมมันตภาพรังสี และกิจกรรมสถานการณจาลองของการสลายตัวของ
กัมมันตภาพรังสี
4. ประโยชนและโทษของกัมมันตภาพรังสี
5. แรงนิวเคลียร การแตกตัวของนิวเคลียร (ฟชชัน) พลังงานนิวเคลียรจากปฏิกิริยาลูกโซ
และโรงไฟฟานิวเคลียร
6. ปฏิกิริยาฟวชัน และพลังงานที่ไดจากดวงอาทิตย
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
5. สาระสาคัญ
พลังงานนิวเคลียร์เป็นพลังงานซึ่งเกิดจากการปลดปล่อยออกมาเมื่อมีการแยกรวมหรือแปลงนิวเคลียส
(หรือแกน) ของอะตอมปรมาณู ซึ่งพลังงานเหล่านั้นอาจเป็นพลังงานความร้อนและพลังงานจากการแผ่รังสี
อันมีผลโดยตรงจากการที่มวลสารเปลี่ยนสภาพเป็นพลังงานตามทฤษฎีสัมพัทธภาพแห่งสสารและพลังงาน (E
= mc2) ของไอน์สไตน์ นักวิทยา-ศาสตร์ชาวผรั่งเศสชื่อ อองรี แบ็ กเกอแรล ได้ค้นพบโดยบังเอิญ เมื่อ พ.ศ.
2439 แต่คนทั่วไปเริ่มรู้จักพลังงานนิวเคลียร์หลังจากที่มีการทิ้งระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิมาและนางาซากิ
ประเทศญี่ปุ่น เมื่อ พ.ศ. 2488 ในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ผลของระเบิดปรมาณูในครั้งนั้นได้ทาลายชีวิต
มนุษย์ไปเป็นจานวนมาก รวมทั้งอาคารบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างอื่นๆ นอกจากนี้ กัมมันตภาพรังสีที่เกิดขึ้น
จากการระเบิดยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมและมีผลต่อผู้รอดชีวิตในระยะยาวอีกด้วย หลังจาก
ที่มนุษย์ได้รู้ถึงอานาจทาลายของระเบิดปรมาณูแล้ว จึงได้ค้นคว้าวิจัยเพื่อนาพลังงานนิวเคลียร์ มาใช้ประโยชน์
ในทางสร้างสรรค์ จนในปัจจุบันมีหลายประเทศนาพลังงานนิวเคลียร์ไปใช้ในการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ
โดยเฉพาะทางด้ า นการแพทย์ เกษตร และอุ ต สาหกรรม จนปั จ จุ บั น นิ ว เคลี ย ร์ ไ ด้ เข้ า ไปมี บ ทบาทใน
ชีวิตประจาวันมากขึ้น ทุกที แต่ส่วนใหญ่อาจจะยังไม่รู้สินค้าบางชนิด เช่น กระดาษ ปูนซีเมนต์ กระเบื้อง ยา
สีฟัน อาจผลิตโดยใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์ในการควบคุมคุณภาพ สาลี ผ้าก๊อซ พลาสเตอร์ปิดแผล เข็ม หลอด
ฉีดยา เหล่านี้เป็นเวชภัณฑ์ที่ทาให้ปลอดเชื้อ โดยใช้รังสี ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของพลังงานนิวเคลียร์

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. การใชกัมมันตภาพรังสีทางการแพทย เกษตร อุตสาหกรรม และธรณีวิทยา
2. เครื่องวัดและหนวยวัดรังสี
3. อันตรายของรังสีที่มีตอมนุษย และ background radiation (รังสีพื้นฐาน)
4. การกาจัดกากกัมมันตรังสี
5. เครื่องหมายเตือนภัยจากรังสี

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน
8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนอธิบายและบอกประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่ องประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงาน
นิวเคลียร์
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ

11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
1. ขั้นสรางความสนใจ ( Engagement : E1)
ผูสอนใหนักเรียนชมวิดีทัศนเกี่ยวกับเรื่องการคนพบกัมมันตภาพรังสี ปฏิกิริยานิวเคลียร โรงไฟฟานิว
เคลียร การรักษาผูปวยโดยใชกัมมันตภาพรังสีแบบตาง ๆ ในโรงพยาบาล เครื่องจับกัมมั นตภาพรังสี และวิธี
ปองกัน อัน ตรายจากกั มมั น ตภาพรั งสี และ/หรือ ผู ส อนใหนัก เรียนอภิ ปรายถึงขาวหรือเรื่องราวเกี่ยวกั บ
พลังงานนิวเคลียรและกัมมันตภาพรังสี ซึ่งนักเรียนทราบมากอนในอดีต

2. ขั้นสารวจและค้นหา
ผูสอนจะใหผูเรียนสืบคนหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องกัมมันตภาพรังสี และพลังงานนิวเคลียร ประ
โยชนของกัมมันตภาพในชีวิตประจาวันและอันตรายจากเรื่องเหลานี้ เขียนรายงานยอและรวบรวมรายงาน
เหลานี้
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
การสอนในคาบนี้มีเนื้อหาโดยประมาณครอบคลุมเรื่องตาง ๆ ดังนี้
1. การคนพบกัมมันตภาพรังสี
2. ชนิดและสมบัติของกัมมันตภาพรังสีชนิดตาง ๆ
3. สาเหตุการเกิดของกัมมันตภาพรังสี
4. โครงสรางของนิวเคลียส ไอโซโทป โครงสรางอะตอม นิวเคลียสชนิดตาง ๆ
อนึ่ง ในการเรียนเนื้อหานี้ นักเรียนควรมีความรู พื้นฐานเกี่ยวกับอะตอมและนิวเคลียสความรู นี้ไดมา
จากบทที่ 5 (โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ) ในหนังสือสาระการเรียนรู พื้นฐานเรื่อง“สารและสมบัติของ
สาร” ซึ่งนักเรียนควรเรียนรูมากอนแลว ในกรณีที่นักเรียนไมไดเรียนเนื้อหาเหลานี้มากอน ผูสอนจะตองสอน
เรื่องเหลานี้กอนอยางยนยอกอนที่จะดาเนินเรื่องในหั วขอขางบน ในตอนทายใหนักเรียนซอมเขียนสัญลักษณ
ของนิ ว เคลี ย สตาง ๆ เพื่ อ เสริ ม ความเขาใจอาจใหจานวนโปรตอนและนิ ว ตรอนในนิ ว เคลี ยสที่ กาหนดให
เปนแบบฝกหัด
กิจกรรมรวบยอด
4. ขั้นขยายความรู้
4.1 ครูถามว่า จงเสนอแนวคิดในการนาความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและ
พลังงานนิวเคลียร์
4.2 นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม ร่ ว มกั น สรุ ป เชื่ อ มโยงความคิ ด เกี่ ย วกั บ การน าพลั งงานนิ ว เคลี ย ร์ ไปใช้ ใน
ชีวิตประจาวัน
5. ขั้นประเมินผล
5.1 ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะคนย้ อ นกลั บ ไปอ่ านบั น ทึ ก ประสบการณ์ เดิ ม สิ่ งที่ ต้ อ งการรู้ และขอบเขต
เป้าหมาย แล้วตรวจสอบว่าได้เรียนรู้ตามที่ตั้งเป้าหมายครบถ้วนหรือไม่เพียงใด ถ้ายังไม่ครบถ้วนจะ
ทาอย่างไรต่อไป (อาจสอบถามให้ครูอธิบายเพิ่มเติม สอบถามให้เพื่อนอธิบาย หรือวางแผนสืบค้น
เพิ่มเติม)
5.2 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านพุทธิพิสัย
5.3 ให้นักเรียนบันทึกหลังเรียน
5.4 ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์การให้
คะแนน สมุดบันทึก รายงานการทดลอง และผลงาน หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบอัตนัย 1 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบอัตนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 18
ชื่อเรื่อง กัมมันตภาพรังสีในธรรมชาติ อันตรายจากกัมมันตภาพรังสีและการป้องกัน หน่วยที่ 3
เรื่อง ฟิสกิ ส์นวิ เคลียร์ รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสกิ ส์ 6 เวลา 2 ชัว่ โมง ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ 5 พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 5.1 เข้าใจความสัมพั นธ์ระหว่างพลั งงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อ ชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น ม.4-6 สารวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสี
การนาไปใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูลและอธิบายประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ กัมมันตภาพรังสีใน
ธรรมชาติ อันตรายจากกัมมันตภาพรังสีและการป้องกันได้

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ประโยชน์และโทษของกัมมันตรังสี
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่าง ๆ ที่มีอยู่อย่างจากัดจาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและไม่ให้
เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

5. สาระสาคัญ
ความสามารถในการปลดปล่อยพลังงาน และรังสีที่มีพลังงานและมีอานาจทะลุทะลวงของธาตุ
กัมมันตรังสีได้ถูกนาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในด้านต่าง ๆ มากมายทั้งในด้านการแพทย์ การเกษตร
อุตสาหกรรม รวมจนถึงด้านธรณีวิทยาการหาอายุของวัตถุต่าง ๆ โดยธาตุกัมมันตรังสีที่มีการใช้ประโยชน์กัน
อย่างกว้างขวาง ได้แก่
1 ยูเรเนียม-235 (U-235) ใช้สาหรับเป็นเชื้อเพลิงในโรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ ใช้ในอุตสาหกรรมการผลิต
เครื่องบินและยานอวกาศ และใช้ในการผลิตรังสีเอ็กซ์ (X-ray) ซึ่งมีพลังงานสูง
2 โคบอลต์-60 (Co-60) เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่สามารถแผ่กัมมันตรังสีชนิดแกมมาซึ่งมีผลในการยับยั้งการ
เจริญเติบโตของเซลล์ได้ จึงมีการนามาใช้ในการยับยั้งการเจริญเติบโตเชื้อจุลินทรีย์ในอาหาร ผักและผลไม้
และนามาใช้ในการรักษาโรคมะเร็ง
3 คาร์บอน-14 (C-14) เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่สามารถพบได้ในวัตถุต่าง ๆ เกือบทุกชนิดบนโลก จึงสามารถ
นาระยะเวลาครึ่งชีวิตของธาตุนี้มาใช้ในการคานวณหาอายุของวัตถุโบราณ อายุของหินและเปลือกโลกและ
อายุของซากฟอสซิลต่าง ๆ ได้ (C-14 มีครึ่งชีวิตประมาณ 5,730 ปี
4 ฟอสฟอรัส-32 (P-32) เป็นสารประกอบกัมมันตรังสีที่สามารถละลายน้าได้ มีระยะเวลาครึ่งชีวิตประมาณ
14.3 วัน ทางการแพทย์นามาใช้ในการรักษาโรคมะเร็งของเม็ดโลหิตขาว (ลิวคีเมีย) โดยให้รับประทานหรือ
ฉีดเข้าในกระแสโลหิต นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในการตรวจหาเซลล์มะเร็ง และตรวจหาปริมาณโลหิตของผู้ที่
จะเข้ารับการผ่าตัด
อันตรายจากธาตุกมั มันตรังสี
อันตรายจากธาตุกัมมันตรังสีเกิดขึ้นได้ เนื่องจากหากร่างกายของสิ่งมีชีวิตได้รับกัมมันตรังสีใน
ปริมาณที่มากเกินไปจะทาให้โมเลกุลของน้า สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ต่าง ๆ ในร่างกายเสียสมดุล ทาให้
เกิดความเสียหายต่อเซลล์ในร่างกาย ซึ่งจะทาให้สิ่งมีชีวิตเกิดความเจ็บป่วย หรือหากได้รับในปริมาณมากก็
อาจทาให้เสียชีวิตได้ ดังนั้นผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับรังสีจึงจะต้องมีอุปกรณ์ที่ช่วยป้องกันอันตรายจากรังสี
และมีการกาหนดระยะเวลาในการทางานเพื่อไม่ให้สัมผัสกับรังสีเป็นเวลานานเกินไป

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายเกี่ยวกับการค้นพบกัมมันตรังสีชนิดต่างๆ ได้
2) บอกสมบัติสาคัญของธาตุที่เป็นสารกัมมันตภาพรังสีได้
3) อธิบายเกี่ยวกับชนิดของกัมมันตภาพรังสีได้
4) อธิบายเกี่ยวกับสมบัติที่สาคัญของกัมมันตภาพรังสีแต่ละชนิดได้
5) บอกประโยชน์และอันตรายของกัมมันตภาพรังสีได้
6) ใช้ ทั ก ษะกระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ในการแก้ ปั ญ หาต่ างได้ อ ย่ างเหมาะสม และด้ ว ยจิ ต
วิทยาศาสตร์

7. จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
7.1 ด้านความสามารถและทักษะ
1) ทักษะกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2) ทักษะกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
3) ทักษะกระบวนการกลุ่ม
4) ทักษะกระบวนการทางาน
5) ทักษะกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
6) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7) ทักษะการวิเคราะห์เชื่อมโยง
7.2 ด้านคุณลักษณะเฉพาะช่วงวัย
มุ่งมั่นในการศึกษาและการทางาน

8. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
8.1 ความสามารถในการสื่อสาร
8.2 ความสามารถในการคิด
8.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
8.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
8.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

9. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.1 อยู่อย่างพอเพียง
9.2 มุ่งมั่นในการทางาน อดทน รอบคอบ
9.3 ใฝ่เรียนรู้
9.4 มีจิตสาธารณะ

10. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
1. ความพอประมาณ
- นักเรียนออกแบบการนาเสนอด้วยความประหยัด
2. ความมีเหตุผล
- นักเรียนบอกประโยชน์และอันตรายของกัมมันตภาพรังสีได้
3. การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- นักเรียนปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ในการทางาน
4. เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องประโยชน์และอันตรายของกัมมันตภาพรังสีได้
5. เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนมีความซื่อสัตย์และความรับผิดชอบ
11. การบูรณาการ
11.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
11.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
11.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

12. กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมนาสู่การเรียน
ขั้นที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน (Engagement Phase)
1. สนทนาทบทวนเกี่ยวกับนิวเคลียสของธาตุกัมมันตภาพรังสี
2. จากการศึกษาเกี่ยวกับการสลายตัวของธาตุกัมมันตภาพรังสี นักเรียนคิดว่า เราจะสามารถ
นาสิ่ง เหล่านี้ไปใช้ประโยชน์ในเรื่องใดได้บ้ าง และสิ่ งเหล่านี้จะทาให้ เกิดผลต่อสิ่ งมีชีวิตและสิ่ งแวดล้อมได้
หรือไม่ อย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสารวจและค้นพบ (Exploration Phase)
ให้ นั ก เรี ย นแต่ ล ะกลุ่ ม ร่ ว มกั น ศึ ก ษา ค้ น คว้ า เกี่ ย วกั บ การใช้ ป ระโยชน์ แ ละโทษของ
กัมมันตภาพรังสี ตามรายละเอียดในแบบเรียน และแหล่งสืบค้นอื่นๆ เช่นห้ องสมุด อินเทอร์เน็ต รวบรวม
ข้อมูลจากการศึกษา
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation Phase)
1. นาข้อมูลที่นักเรียนรวบรวมได้จากการสืบค้น มาร่วมกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ จัดระบบ
ข้อมูล ปรับปรุงแก้ไของค์ความรู้ที่ได้ให้สมบูรณ์ที่สุด แล้วคิดสร้างสรรค์ในการจัดทาสื่อการเรียนรู้เพื่อนาเสนอ
เกี่ ย วกั บ ข้ อ มู ล ที่ ได้ ให้ น่ า สนใจ ตามมติ ข องกลุ่ ม โดยอาจอยู่ ในรู ป ของเกม ป้ า ยนิ เทศ ละคร นั ก ข่ า ว
หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ power point หรืออื่นๆ ตามความสนใจ
2. ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอสื่อการเรียนรู้ของกลุ่มตนเอง พร้อมผลักเปลี่ยนกันให้คะแนน (ครู
เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันตามความเหมาะสม)
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู้ (Expansion Phase)
ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของพลังงานนิวเคลียร์ โดยใช้สื่อ power point และ
สื่อ animation
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมิน (Evaluation)
1. เปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย ที่นักเรียนยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
2. สุ่มนักเรียนอภิปรายสรุปเกี่ยวกับความรู้ที่ได้รับในการศึกษาในครั้งนี้
3. นักเรียนบันทึกผลการเรียนรู้ในสมุดบันทึกผลการเรียนรู้รายชั่วโมง
4. ติชม/เสนอแนะเกี่ยวกับข้อค้นพบต่างๆ จากทางานของนักเรียน

13. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
1. คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
2.เพาเวอร์พ้อยน์เรื่องกัมมันตภาพรังสีในธรรมชาติ อันตรายจากกัมมันตภาพรังสีและการป้องกัน
3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
4. หนังสือเรียนวิชาฟิสิกส์ เล่ม 3

14. การวัดและประเมินผล
14.1 วิธีการวัดผล
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ 10 ข้อ
2. ครูให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคะแนนจิตวิทยาศาสตร์ จากเกณฑ์
การให้คะแนน ใบงาน และรายงานการทดลอง หากข้อมูลไม่เพียงพอใช้วิธีสัมภาษณ์เพิ่มเติม
14.2 เครื่องมือการวัดผล
1. ข้อสอบปรนัย 10 ข้อ
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์
14.3 เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล
1. ข้อสอบปรนัย ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
3. แบบประเมินจิตวิทยาศาสตร์ ได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

แบบทดสอบท้ายบท
จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องทีส่ ุดเพียงคาตอบเดียว
1. รังสีแกมมาคืออะไร
1. อิเล็กตรอน 2. โปรตอน
3. นิวตรอน 4. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
2. จากการทดลองหากัมมันตรังสีของสาร A โดยวิธีของแบ็กเกอแรล ปรากฏว่าไม่มีรอยดาบนแผ่นฟิล์มเมื่อ
นาฟิล์มนั้นไปล้าง แสดงว่า A เป็นสารอย่างไร
1. เสถียร 2. เสถียรหรือแผ่รังสีแอลฟา
3. ไม่เสถียรหรือแผ่รังสีบีตา 4. แผ่รังสีแอลฟาและรังสีบีตา
3.รังสีแอลฟามีอานาจในการทะลุผ่านน้อยกว่ารังสีชนิดอื่นที่ออกมาจากธาตุกัมมันตรังสี เนื่องจากอะไร
1. รังสีแอลฟามีพลังงานน้อยกว่ารังสีชนิดอื่น
2. รังสีแอลฟามีสมบัติในการทาให้สารที่รังสีผ่านแตกตัวเป็นไอออนได้ดี
3. รังสีแอลฟาไม่มีประจุไฟฟ้า
4. ถูกต้องทั้งข้อ 1 และ 2
4. จานวนนิวตรอนในนิวเคลียส 2713 Al เป็นเท่าใด
1. 13 2. 14
3. 27 4. 40
5. ผลบวกของเลขมวลและเลขอะตอมของธาตุกัมมันตรังสี X มีค่าเท่ากับ 3.5 เท่าของเลขอะตอมของมัน
และเมื่อธาตุนี้สลายกลายเป็นธาตุ Y และอนุภาคแอลฟา ปรากฏว่าผลต่างของเลขมวลและเลขอะตอม
ของธาตุ Y มีค่าเท่ากับ 127 จงหาว่าธาตุ X คือธาตุอะไร
1. 21084 Po 2. 21586 Rn
3. 22088 Ra 4. 22590 Th
6. สารกัมมันตรังสีชนิดหนึ่งสลายและมีจานวนลดลง 10 เปอร์เซ็นต์ในเวลา 5 ปี อยากทราบว่าในช่วงเวลา
อีก 5 ปีถัดไป จะมีสารกัมมันตรังสีเหลืออยู่กี่เปอร์เซ็นต์จากปริมาณเดิม
1. 81 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณเดิม 2. 85 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณเดิม
3. 90 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณเดิม 4. 95 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณเดิม
7. ไอโซโทปของโซเดียม (Na) มีครึ่งชีวิต 15 ชั่วโมง จงหาว่าเวลาผ่านไป 75 ชั่วโมง นิวเคลียสของ
ไอโซโทปนี้จะสลายไปแล้วประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ของจานวนที่ตั้งต้น ถ้าตอนเริ่มแรกนิวเคลียสของ
ไอโซโทปนี้มีค่า 5 คูรี
1. 75.0 เปอร์เซ็นต์ 2. 87.5 เปอร์เซ็นต์
3. 94.0 เปอร์เซ็นต์ 4. 97.0 เปอร์เซ็นต์

8. เมื่อนาซากไม้โบราณ 6 กรัมมาวัดปริมาณรังสี ปรากฏว่า กัมมันตภาพเท่ากับไม้ที่มีชีวิต 2 กรัม ถ้าครึ่ง


ชีวิตของคาร์บอน–14 เป็น 5,600 ปี แสดงว่าซากไม้มีอายุเท่าไร
1. ไม่เกิน 5,600 ปี 2. ระหว่าง 5,600 – 11,200 ปี
3. ระหว่าง 11,200 – 16,800 ปี 4. เกิน 16,800 ปี
9. ไอโอดีน–131 มีค่าคงตัวการสลายเท่ากับ 0.087 ต่อวัน ถ้ามีไอโอดีน–131 อยู่ 10 กรัมตอนเริ่มต้น เมื่อ
เวลาผ่านไป 24 วัน จะมีไอโอดีน –131 เหลืออยู่เท่าไร (กาหนดให้ 1n 2 = 0.693)
1. 0.63 กรัม 2. 1.25 กรัม
3. 2.50 กรัม 4. 5.00 กรัม
10. ค่าคงตัวการสลาย (decay constant) ของ 23290 Th เท่ากับ 1.6  10-18 (วินาที)-1 ถ้ามี 23290 Th อยู่ 1
กิโลกรัม จงหาอัตราการสลายเป็นอะตอมต่อวินาที (NA = 6  1023 ต่อโมล)
1. 4.1  103 2. 4.1  106
3. 9.6  105 4. 9.6  108

เฉลยแบบทดสอบท้ายแผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 8

1. 4 2. 2 3. 2 4. 2 5. 2 6.1 7. 4 8. 2 9. 2 10. 2
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 8
ชื่อเรื่อง การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ หน่วยที่ 2 เรื่อง ฟิสิกส์อะตอม
รหัสวิชา ว 30206 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 เวลา 2 ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1. สาระที่ ๕ พลังงาน

2. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวน การสืบเสาะ
หาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น สืบค้นข้อมูล และอธิบายสเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทั้ง
ประโยชน์และอันตรายของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

3. ผลการเรียนรู้
สืบค้นข้อมูล สารวจ ตรวจสอบ และอภิปรายเกี่ยวกับการทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์

4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ในเวลาต่อมาได้มีการทดลองและพบปรากฏการณ์ ต่างๆ อีก ที่สนับสนุนทฤษฎีอะตอมของโบร์ว่า
อะตอมมีระดับพลังงานเป็นขั้นๆ เช่น การทดลองของฟรังก์และเฮิรตซ์ โดยให้อิเล็กตรอนวิ่งด้วยพลังงานจลน์
เข้าชนกับอะตอมของปรอท เขาสังเกตพบว่า ถ้าพลังงานน้อยกว่า 4.9 eV อิเล็กตรอนจะไม่เสียพลังงานจลน์
เลย และถ้าเพิ่มพลังงานจลน์ไปถึงประมาณ 5 eV อิเล็กตรอนจะถ่ายเทพลังงานประมาณ 4.9 eV ถ้าเพิ่ม
พลังงานจลน์ขึ้นไปอีก การถ่ายเทพลังงานก็ยังเป็น 4.9 eV จึงสรุปได้ว่าอะตอมพลังงานของอะตอมปรอท มี
ลั กษณะเป็ น ระดับ ชั้น ที่ไม่ต่อเนื่ อง และจากทฤษฎีของโบร์ เมื่ ออิเล็ กตรอนในอะตอมของปรอทลดระดั บ
พลังงานมายังระดับพื้นจะต้องให้โฟตอนที่มีพลังงานเท่ากับ 4.9 eV ซึ่งจากการทดลองปรากฏว่าวัดความยาว
คลื่นแสงที่เปล่งออกมาจากไอปรอทได้แสงมีความยาวคลื่น 253.5 นาโนเมตร ตรงกับพลังงาน 4.9 eV พอดี
อะตอมที่พลังงานต่าสุดเรียกว่าสถานะพื้น ที่พลังงานสูงสุดเรียกว่าสถานะกระตุ้น
โรงเรียนสระแก้ว
ตาบลสระแก้ว อาเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว
สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 7

You might also like