W 011 65 Contant

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 368

หนังสือสวดมนต

วัดปาสบายใจ
ต.ทาลาด อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา
อนุโมทนากถา

การสวดมนตภาวนาเปนการบําเพ็ญบุญอยางหนึ่ง และเปนอุบายฝกใจใหมี
สติสัมปชัญญะ ดวยการทองบนและการฟง หากทานทั้งหลายไดสวดมนตเปนกิจวัตร
ประจําวันเบื้องตนในการดําเนินชีวิตโดยการสวดเปลงออกมาทางวาจา พรอมออกมา
ทางใจ สติกําหนดรูอยูกับบทสวดมนตแลวพิจารณาตามความหมายของบทนั้นๆ
เมือ่ สวดเปนประจําแลว อานิสงสของการสวดมนตกจ็ ะเกิดขึน้ ทําใหจติ ใจสงบ เปนสุข
และเปนพื้นฐานแหงการภาวนาและปฏิบัติธรรมขั้นตอไป
ครั้งนี้นับวาเปนกุศลเจตนาอยางยิ่งที่ญาติโยมทุกทานไดรวมกันจัดพิมพหนังสือ
สวดมนตทําวัตรเชา-เย็น เพื่อใหพระภิกษุ สามเณร อุบาสก อุบาสิกา ผูเขามาปฏิบัติ
ธรรม ไดสวดมนตทาํ วัตรเปนอนุสสติคอื ระลึกถึงคุณของพระรัตนตรัยเกือ้ หนุนการเจริญ
จิตตภาวนา รักษาหลักธรรมคําสั่งสอนที่สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา
ไดตรัสไวโดยชอบแลว อันยังประโยชนใหเกิดแกจิตใจที่จะไดรับความสุขรมเย็น
เปนที่พึ่งทั้งในปจจุบันตลอดจนสัมปรายภพ (ภพเบื้องหนา) อันเปนไปเพื่อความ
สิ้นสุดแหงทุกขได
อาตมภาพในนามคณะสงฆ ขออนุโมทนาบุญตอทานผูมีจิตศรัทธารวมพิมพ
หนังสือสวดมนตฉบับนี้ขึ้น ดวยอํานาจแหงคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ดวย
บุญญานุภาพแหงการให “ธรรมะเปนธรรมทานนี้” จงดลบันดาลใหทานทั้งหลาย
จงประสบแตสงิ่ อันเปนมหามงคล ใหถงึ พระนิพพานโดยเร็วพลัน ถายังไมถงึ พระนิพพาน
อยูตราบใด “ขอคําวาไมมี จงอยาไดปรากฏแกทานตลอดไป” และขออํานวยพร
ใหทกุ ทานจงถึงความรูแ จงในธรรมอันเปนไปดวยความพนทุกข จงเจริญดวยอายุ วัณณะ
สุขะ พละ ปฏิภาณธนสารสมบัติ ธรรมสารสมบัติประสบความเจริญในหนาที่การงาน
สมความปรารถนาทุกประการเทอญฯ

พระอาจารยมหาคมกริช สิริจันโท
เจาอาวาสวัดปาสบายใจ เลขที่ ๙๙
บานหนองตานา หมู ๑๓ ต.ทาลาด อ.ชุมพวง จ.นครราชสีมา
อานิสงสของการสวดมนต

๑. ไลความขี้เกียจ ขณะสวดมนต อารมณเบื่อ เซื่องซึมงวงนอนเกียจคราน


จะหมดไปเกิดความแชมชื่นกระฉับกระเฉงขึ้น
๒. ตัดความเห็นแกตัว เพราะขณะนั้นอารมณของเราไปหนวงอยูที่การสวด
ไมไดคิดถึง ตัวเอง ความโลภ โกรธ หลงจึงมิไดกลํ้ากรายเขาสูวาระจิต
๓. ไดปญญา การสวดมนตโดยรูคําแปล รูความหมายยอมทําใหผูสวดไดปญญา
ความรู
๔. จิตเปนสมาธิ เพราะขณะนั้นผูสวดตองสํารวมใจแนวแน มิฉะนั้นจะสวดผิด
ไดหนา ลืมหลัง เมื่อจิตเปนสมาธิความสงบเยือกเย็นในจิตจะเกิดขึ้น
๕. ไดเฝาพระพุทธเจา เพราะขณะนัน้ ผูส วดมีกายวาจาปกติ (มีศลี ) มีใจแนวแน
(มีสมาธิ) มีความรูระลึกถึงคุณความดีของพระพุทธเจา (มีปญญา) เทากับ
ไดเฝา พระองคดวยการปฏิบัติบูชาครบไตรสิกขาอยางแทจริง
มาถึงวัด เห็นดิน และตนไม
ยังมิใช เห็นวัด ดังความหมาย
รูจักวัด ตองฝกหัด ทั้งใจกาย
ถึงจะได บงชัด เห็นวัดจริงฯ
หลวงปูมั่น ภูริทัตโต
หลวงปูสิงห ขันตะยาคะโม หลวงปูชอบ ฐานสะโม หลวงปูแหวน สุจิณโณ

หลวงปูขาว อนาลโย หลวงปูฝน อาจาโร หลวงปูเหรียญ วรลาโภ

หลวงปูสิม พุทธาจาโร หลวงปูหลอด ปโมทิโต หลวงปูเทสก เทสรังสี


หลวงปูแวน ธนปาโล หลวงตามหาบัว ญาณสัมปนโน หลวงปูชา สุภัทโท

หลวงปูศรี มหาวีโร หลวงหลา เขมปตโต หลวงปูหลวง กตปุญโญ

หลวงปูขาน ฐานวโร หลวงปูทองสุก อุตตรปญโญ หลวงปูไม อินทสิริ


หลวงปูจันทา ถาวโร
วัดปาเขานอย อ.วังทรายพูน จ.พิจิตร
พระพรหมวชิรคุณ
(หลวงพอไพบูลย สุมังคโล)
วัดเทพนิมิตสุดเขตสยาม อ.เชียงของ จ.เชียงราย
สารบัญ
คําไตนํามัน .......................................... ๑๓ วัฏฏะกะปะริตตัง .................................... ๕๕
บทสวดมนตทําวัตรเชา ........................... ๑๕ ธะชัคคะสุตตัง ....................................... ๕๕
คําบูชาพระรัตนตรัย ................................ ๑๕ อาฏานาฏิยะปะริตตัง ............................... ๕๖
ปุพพะภาคะนะมะการะ ........................... ๑๖ บทสัจจะกิริยะคาถา ................................. ๕๘
๑. พุทธาภิถุติง ...................................... ๑๗ บทยังกิญจิ ............................................ ๕๙
๒. ธัมมาภิถุติง ..................................... ๑๙ บทสักกัต๎วา ........................................... ๕๙
๓. สังฆาภิถุติง ..................................... ๑๙ อังคุลิมาละปะริตตัง ................................ ๕๙
๔. ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา .............. ๒๑ โพชฌังคะปะริตตัง ................................. ๕๙
๕. สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ ................. ๒๒ อะภะยะปะริตตัง .................................... ๖๐
บทสวดมนตทําวัตรเย็น .......................... ๒๗ อุณหิสสะวิชะยะคาถา .............................. ๖๑
คําบูชาพระรัตนตรัย ............................... ๒๗ เทวะตาอุยโยชะนะคาถา .......................... ๖๒
คําสวดมนตไหวพระ .............................. ๒๘ สัพพะมังคะละคาถา ................................ ๖๓
ปุพพะภาคะนะมะการะ .......................... ๒๙ ปริตตานุภาวะคาถา ................................. ๖๓
๑. พุทธานุสสะติ ................................... ๒๙ สุมังคะละคาถา ...................................... ๖๓
พุทธาภิคีติง .......................................... ๓๐ บทสวดมนตถวายพรพระ ......................... ๖๔
ธัมมานุสสะติ ........................................ ๓๒ พุทธะชะยะมังคะละคาถา (อิติปโส - พาหุง) ๖๔
ธัมมาภิคีติง .......................................... ๓๓ ชะยะปะริตตัง ........................................ ๖๖
สังฆานุสสะติ ....................................... ๓๔ บท สุโข พุทธานัง .................................. ๖๖
สังฆาภิคีติง .......................................... ๓๖ จุลลชัยยปกรณ ....................................... ๖๗
บทสวดมนตไหวพระ (แบบโบราณ) ......... ๓๘ มงคลจักกวาฬใหญ ................................ ๗๐
บทสวดมนตพระปริตร ............................ ๔๐ บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร .................... ๗๐
ชุมนุมเทวดา ........................................ ๔๐ ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง ................... ๗๑
ตนสวดมนต ......................................... ๔๑ อนัตตะลักขะณะสูตร ............................... ๗๖
สัจจะกิริยาคาถา .................................... ๔๒ อาทิตตะปริยายะสูตร ............................... ๗๙
มะหาการุณิโกนาโถติ อาทิกาคาถา ............ ๔๒ มะหาสะมะยะสุตตัง (มหาสมัยสูตร) ......... ๘๒
เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะริทีปกาคาถา ๔๒ สาราณียะธัมมะสุตตัง .............................. ๙๐
ปพพะโตปะมะคาถา .............................. ๔๓ ภิกขุอะปะริหานิยะธัมมะสุตตัง .................. ๙๑
ภัทเทกะรัตตะคาถา ................................ ๔๓ สะติปฏฐานะสุตตัง ................................. ๙๒
อะริยะธะนะคาถา .................................. ๔๔ มะหากัสสะปะโพชฌังคะสุตตะปาโฐ .......... ๙๔
ติอุทานะคาถา ....................................... ๔๔ มะหาโมคคัลลานะโพชฌังคะสุตตะปาโฐ ..... ๙๖
นะมะการะสิทธิคาถา ............................. ๔๕ มะหาจุนทะโพชฌังคะสุตตะปาโฐ .............. ๙๗
บทสัมพุทเธ ......................................... ๔๖ คิริมานันทะสุตตะปาโฐ ............................ ๙๘
นะโมการะอัฏฐะกะคาถา ......................... ๔๖ อิสิคิลิสุตตะปาโฐ ................................... ๑๐๓
มังคะละสุตตัง ....................................... ๔๗ บทสวด จันทะปริตปาฐะ ......................... ๑๐๕
ระตะนะสุตตัง ...................................... ๔๙ บทสวด สุริยะปริตตะปาฐะ ...................... ๑๐๖
กะระณียะเมตตะสุตตัง ........................... ๕๒ สามเณระปญหะปาโฐ .............................. ๑๐๖
ขันธะปะริตตัง ...................................... ๕๓ นิธิกัณฑะสุตตะคาถา .............................. ๑๐๗
ฉัททันตะปะริตตัง ................................. ๕๓ โมกขุปายะคาถา .................................... ๑๐๘
โมระปะริตตัง ....................................... ๕๔ บทระตะนัตตะยัปปะภาวาภิยาจะนะคาถา ... ๑๐๙
สารบัญ (ตอ)
บทสุขาภิยาจะนะคาถา ............................ ๑๑๐ คําขอขมาพระรัตนตรัย ............................ ๑๕๙
พระวินัย ............................................... ๑๑๑ คําเจริญกรรมฐานภาวนา ......................... ๑๖๐
พระสูตร ............................................... ๑๑๒ พรหมวิหารภาวนา ................................. ๑๖๑
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร ............................ ๑๑๓ บทแผเมตตาตนเอง ............................... ๑๖๑
มาติกา ................................................. ๑๑๔ บทแผเมตตา ........................................ ๑๖๒
ธัมมะสังคะณีมาติกาปาฐะ ........................ ๑๑๔ เมตตายังกิญจิ ....................................... ๑๖๓
วิปสสะนาภูมิปาฐะ ................................. ๑๑๖ ปตติทานะคาถา ..................................... ๑๖๔
ปะฏิจจะสะมุปปาทะปาฐะ ....................... ๑๑๖ อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถา ....................... ๑๖๖
อภิธัมมะนิทาน ...................................... ๑๑๗ กลอนสรภัญญะแผเมตตาหลวง ................ ๑๖๗
ธัมมะนิยามะสุตตัง ................................. ๑๑๘ คําประกาศสวนบุญแผสวนกุศล ................ ๑๖๘
ติลักขะณาทิคาถา ................................... ๑๑๙ คําไหวพระพุทธเจา ๕ พระองค ................ ๑๖๘
เทวะตาภิสัมมันตะนะคาถา ...................... ๑๑๙ บทปลงสังขาร ....................................... ๑๖๙
พระสะหัสสะนัย .................................... ๑๒๐ พระคาถาชินบัญชร ................................. ๑๗๐
สุทธิกะปะฏิปะทา .................................. ๑๒๐ วิหาระทานะคาถา ................................... ๑๗๒
สุญญะตะมูละกะปะฏิปะทา ..................... ๑๒๑ คาถาพระฉิมพลีใหญ .............................. ๑๗๓
อัปปะณิหิตะปะฏิปะทา ........................... ๑๒๑ คาถาแกวสารพัดนึก ............................... ๑๗๔
อะธิปะติ................................................ ๑๒๒ คาถาเมตตามหานิยม .............................. ๑๗๕
บังสุกุลตาย ........................................... ๑๒๓ คาถามงกุฎพระพุทธเจา ........................... ๑๗๕
บังสุกุลเปน ........................................... ๑๒๓ พระคาถามหาจักรพรรดิ์ ........................... ๑๗๕
บทสวดเมตตาพรหมวิหาร ........................ ๑๒๔ พระคาถาเงินลาน ................................... ๑๗๖
พระคาถาเมตตาหลวง .............................. ๑๒๔ คาถาพระฉิมพลี หรือพระสีวลีเรียกลาภ ...... ๑๗๖
สูตรยอความ .......................................... ๑๓๗ คาถาเงินลนหีบ ..................................... ๑๗๖
ประวัติความเปนมา ................................. ๑๓๘ คาถาพระปุณณะพระสีวลี ........................ ๑๗๖
จะตุรัปปะมัญญาปาฐะ ............................. ๑๔๐ คาถาพระเศรษฐีนวโกฏิเศรษฐีทั้ง ๙
ธัมมปริยายะคาถา ................................... ๑๔๑ หรือเรียกไทเศรษฐี ................................. ๑๗๗
อานาปานสติสูตร .................................... ๑๔๓ คาถาหัวใจพระสีวลีผูมีลาภมาก ................ ๑๗๗
คาถาบูชาพระพุทธสิหิงค .......................... ๑๔๘ วันทาหลวง .......................................... ๑๗๗
นมัสการพระอรหันต ๘ ทิศ ...................... ๑๔๘ บทวันทา ............................................. ๑๗๘
คําไหวบารมี ๓๐ ทัศ .............................. ๑๔๙ อนุโมทนาวิธี ........................................ ๑๗๙
มงคลจักรวาล ๑๐ ทิศ (คาถาโพธิบาท) ...... ๑๔๙ อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา ....................... ๑๗๙
มงคลจักรวาลสะเดาะเคราะห ๑๐ ทิศ ......... ๑๕๐ เกณิยานุโมทะนาคาถา ............................ ๑๘๐
มงคลจักรวาล ๘ ทิศ .............................. ๑๕๐ กาละทานะสุตตะคาถา ............................ ๑๘๐
ตังขะณิกะปจจะเวกขะณะวิธี .................... ๑๕๑ วิหาระทานะคาถา .................................. ๑๘๐
ธาตุปะฏิกูละปจจะเวกขะณะวิธี ................. ๑๕๒ เทวะตาทิสสะทักขิณานุโมทะนาคาถา ........ ๑๘๑
อะตีตะปจจะเวกขะณะวิธี ........................ ๑๕๓ โภชะนะทานานุโมทะนาคาถา .................. ๑๘๑
ปตติทานะคาถา ..................................... ๑๕๔ อาทิยะสุตตะคาถา ................................. ๑๘๑
อภิณหะปจจะเวกขณ .............................. ๑๕๕ ติโรกุฑฑะกัณฑะปจฉิมะภาค .................. ๑๘๒
กายะคะตาสะติ ...................................... ๑๕๖ มงคลจักรวาฬนอย ................................ ๑๘๓
นมัสการรอยพระพุทธบาท ....................... ๑๕๘ พิธีรักษาอุโบสถศีล ................................ ๑๘๔
สารบัญ (ตอ)
คําอาราธนาอุโบสถศีล ............................ ๑๘๕ คําเสนออนุโมทนากฐิน ........................... ๓๑๘
วิธีบวชชี ............................................. ๑๘๘ วิธีเปลี่ยนบุพพกิจพระปาติโมกข (๑) ........ ๓๑๙
คําอาราธนาศีล ๘ .................................. ๑๘๘ บุพพกิจแหงปวารณา .............................. ๓๒๒
นะมะการะคาถา .................................... ๑๘๙ บทสวดทายพระปาติโมกข ...................... ๓๒๘
ไตรสรณคมน ........................................ ๑๘๙ สัจจะกิริยากะถา .................................... ๓๒๘
คําสมาทานศีล ....................................... ๑๘๙ สีลุทเทสะปาฐัง ...................................... ๓๒๘
คําขอขมาเตรียมตัวกลับบาน .................... ๑๙๑ ตายะนะคาถา .........................................๓๒๙
คําลากลับบาน ...................................... ๑๙๑ โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาฐะ ....................... ๓๒๙
พิธีไหวพระรับศีล ................................... ๑๙๒ สามเณรสิกขา ........................................ ๓๓๒
บทสวดมนตพิเศษ ................................. ๑๙๕ วิธีขอบรรพชาอุปสมบท แบบเอสาหัง ...... ๓๓๔
พระคาถาพุทธาภิเษก .............................. ๒๐๐ วิธีลาสิกขา ........................................... ๓๔๐
พุทธะรูปาภิเสกวิธี สะมัตตา .................... ๒๑๒ คําบูชาในวันสําคัญตางๆ .......................... ๓๔๑
คาถาปฐยาวัตร ...................................... ๒๑๒ หมวดคําถวายทานตางๆ .......................... ๓๔๘
คาถาอินทรวิเชียร .................................. ๒๑๖ คําถวายสังฆทาน (สามัญ) ...................... ๓๔๘
พระคาถาดับเทียนชัย .............................. ๒๒๘ คําถวายภัตตาหาร ................................... ๓๔๙
คาถาเบิกพระเนตร ................................. ๒๓๑ คําถวายสังฆะแทน - สังฆะทาน
บททิพยมนต (สวดธาตุ) ......................... ๒๓๑ แบบลาวโบราณ ..................................... ๓๔๙
คาถาอาการวัตตาสูตร .............................. ๒๔๑ คําอุทิศสวนบุญกุศล (ภาษาลาว) .............. ๓๕๐
บทสวดพระคาถาอุปปาตะสันติ ................. ๒๔๙ คําประกาศวัตถุทานอันบริสุทธิ์ ................. ๓๕๐
บทสวดคาถารัตนมาลา ............................ ๒๗๓ คําถวายผาบังสุกุลจีวร (ผาปา) ................. ๓๕๑
อิติปโสรัตนมาลา ๑๐๘ ........................... ๒๗๓ คําถวายสลากภัตต .................................. ๓๕๑
คาถาสรรเสริญคุณพระเจา ๕ พระองค ....... ๒๗๔ คําบูชาขาวประดับดิน ............................. ๓๕๑
คาถานมัสการบูชาสระ ............................ ๒๗๕ คําถวายสถานที่สรางวัด ........................... ๓๕๒
หองพระพุทธคุณ ๕๖ ............................. ๒๗๘ คําถวายผาจํานําพรรษา ............................ ๓๕๒
หองพระธรรมคุณ ๓๘ ............................ ๒๘๓ คําถวายผาอาบนํ้าฝน .............................. ๓๕๒
หองพระสังฆคุณ ๑๔ ............................. ๒๘๖ คําถวายพระเจดียทรายเปนพระพุทธบูชา .... ๓๕๓
ยันทุน ๙ ชั้น (สูตรเสียเคราะหหลวง) ... ๒๘๘ คําถวายพระเจดียขาวเปลือกเปนพุทธบูชา .. ๓๕๓
คาถายันทุนเกาชั้น ................................. ๒๙๐ คําถวายพระพุทธรูป .............................. ๓๕๓
หมวดวินัยกรรม .................................... ๒๙๑ คําถวายผาหมพระพุทธรูป - พระเจดีย ..... ๓๕๔
คําเสียสละ ........................................... ๒๙๔ คําถวายเทียนพรรษา .............................. ๓๕๔
คําแสดงอาบัติ ....................................... ๒๙๖ คําอาราธนาเทวดา ................................. ๓๕๔
คําอธิษฐานพรรษา ................................. ๓๐๐ ปาวเทวดากอนทําบุญใสบาตร ................. ๓๕๕
คําขอขมา ............................................ ๓๐๑ คําเวรหอขาวนอย .................................. ๓๕๕
ทํากัปปยะ (๑)(๒) ............................... ๓๐๓ คําหยาดนํ้า (กรวดนํ้า) ........................... ๓๕๖
กาลิก ๔ ............................................... ๓๐๔ วิธีนั่งสมาธิ - เดินจงกรม ....................... ๓๕๖
กาลิกระคนกัน ....................................... ๓๐๖ ตามรูจิต ตามรูความคิด ........................... ๓๕๘
คําชักผาบังสุกุล (ผาปา) ......................... ๓๐๗ อิทัปปจจยตาและปฏิจจสมุปบาท .............. ๓๖๓
คําอปโลกนสังฆทาน .............................. ๓๐๗ รายนามผูบริจาคสรางหนังสือ .................... ๓๖๕
ญัตติทุติยกรรมวาจา ................................ ๓๑๗
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 13
คําไตนํามัน
(จุดผางประทีปบูชาพระ)
พุทธะปูชา มหาเตชะวันโต ธัมมะปูชา มหาปญญะวันโต
สังฆะปูชา มหาโภคะวะโห ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ
อิมัง อัคคิพะหุปุปผัง อะหัง ชิเน ทัต๎วา อะภิรูโป มหาปญโญ ธาเรนโต
ปฏะกัตตะยัง นิพพานัง ปะระมัง สุขัง นิพพานะปจจะโย โหตุ
นะโม ตัสสะ แกว อูอาเปนที่เพิ่ง
ภันเต หมายเซิ่งเจา คุณแกวหนวยสาม
ขอใหเวราฮาย หายเสียหนีหลีก
อยาได เนาอยูคาง คีงขาสิ่งใด
เกสาผมเกศเกลา ตางดอกมาลา
ทสะมือทั้งสิบ ดั่งเทียนตามไต
อันวาตนตัวขา เปนผางดวงประทีป
จิตใจเปนดั่งนํ้า มันไตฮุงเฮือง
กับทั้งจักขุแกว ตาเฮียมทั้งคู ก็ดี
เปนประธูปไต บูชาแกวยอดคุณ
อันวาหูทั้งสองกํ้า บูชาพุทธบาท
เปนดั่งขาวตอกเจา นางฟาหวานถวาย
อันวาโทโสพรอม โลโภปตุฆาต ก็ดี
ขออยาไดเกี่ยวของ ใจเนื้อแหงเฮียม
โจรังพรอม กัมมังหลายสิ่ง
อยาไดมาเบียดขา ประสงคตั้งตอบุญ
สิทธิเดชพรอม ชัยโยดวงประเสริฐ
ศรีสุมังคเลิศลํ้า ตัวขาอยูกระเกษม
สุขะวัทฒะโกพรอม ไชโยดวงยิ่ง
ใหมาแนมแนบขา เสถียรลํ้าอยูยืนแดถอนฯ
14 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

แสงเทียนสอง สองพันป ที่พอจุด


ใกลจะดับ สิ้นสุด ลงแลวหนา
หากสูเจา ยังโงเขลา เบาปญญา
อีกไมชา เทียนคงดับ ทับคัมภีร
แสงธรรมสอง สองพันป ที่พอจุด
จะไมดับ สิ้นสุด ลงหรอกหนา
หากพวกเรา มีทานศีล ภาวนา
ทั้งโลกา คงแจมแจง ดวยแสงธรรม
แสงธรรมสอง สองพันป คัมภีรเปด
ตื่นเสียเถิด ฟงพระธรรม คําสั่งสอน
พุทธองคตรัส สรรพสิ่ง ไมแนนอน
ละนิวรณ ภาวนา วา “พุทโธ”
พุทโธ สัพพัญ\ุ ตะญาโณ ธัมโม โลกุตตะโร วะโร
สังโฆ มัคคะผะลัฏโฐ จะ อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
เอตัสสะ อานุภาเวนะ สัพพะทุกขา อุปททะวา
อันตะรายา จะ นัสสันตุ สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 15
๏บทสวดมนตทําวัตรเชา๏
คําบูชาพระรัตนตรัย
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
พระผูมีพระภาคเจานั้น พระองคใด, เปนพระอรหันต,
ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรมเปนธรรมอันพระผูมีพระภาคเจา พระองคใด, ตรัสไวดีแลว;
สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา พระองคใด, ปฏิบัติดีแลว;
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง อิเมหิ สักกาเรหิ
ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ
ขาพเจาทั้งหลาย ขอบูชาอยางยิ่ง , ซึ่งพระผูมีพระภาคเจา
พระองคนั้น, พรอมทั้งพระธรรมและพระสงฆ, ดวยเครื่อง
สักการะทั้งหลายเหลานี้, อันยกขึ้นตามสมควรแลวอยางไร;
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป
ขาแตพระองคผูเจริญ,พระผูมีพระภาคเจาแมปรินิพพานนานแลว,
ทรงสรางคุณอันสําเร็จประโยชนไวแกขาพเจาทั้งหลาย;
ปจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะหแกพวกขาพเจา อันเปนชนรุนหลัง;
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
ขอพระผูมีพระภาคเจาจงรับเครื่องสักการะ
อันเปนบรรณาการของคนยากทั้งหลายเหลานี้;
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
เพื่อประโยชนและความสุขแกขาพเจาทั้งหลาย
ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ
16 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา


พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน
(กราบ)

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,


พระธรรมเปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว
ธัมมัง นะมัสสามิ
ขาพเจานมัสการ พระธรรม
(กราบ)

สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,


พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว
สังฆัง นะมามิ
ขาพเจานอบนอมพระสงฆ
(กราบ)

ปุพพะภาคะนะมะการะ
(นํา) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบนอมแดพระผูม พี ระภาคเจา, พระองคนนั้ ,
อะระหะโต ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส,
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง.
(วา ๓ ครั้ง)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 17
๑. พุทธาภิถุติง
(นํา) หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส
โย โส ตะถาคะโต,
พระตถาคตเจานั้นพระองคใด;
อะระหัง,
เปนผูไกลจากกิเลส;
สัมมาสัมพุทโธ,
เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
วิชชาจะระณะสัมปนโน,
เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ;
สุคะโต,
เปนผูไปแลวดวยดี;
โลกะวิทู,
เปนผูรูโลกอยางแจมแจง;
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกไดอยางไมมีใครยิ่งกวา;
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,
เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย;
พุทโธ,
เปนผูรู ผูต่นื ผูเบิกบานดวยธรรม;
ภะคะวา,
เปนผูมีความจําเริญจําแนกธรรมสั่งสอนสัตว;
โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง,
สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง
อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ,
18 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ไดทรงทําความดับทุกข
ใหแจงดวยพระปญญาอันยิ่งเองแลว,ทรงสอนโลกนี้,พรอมทั้ง
เทวดา, มาร, พรหม, และหมูสัตว, พรอมทั้งสมณพราหมณ,
พรอมทั้งเทวดาและมนุษยใหรูตาม;
โย ธัมมัง เทเสสิ,
พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ทรงแสดงธรรมแลว;
อาทิกัล๎ยาณัง,
ไพเราะในเบื้องตน;
มัชเฌกัล๎ยาณัง,
ไพเราะในทามกลาง;
ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง,
ไพเราะในที่สุด;
สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง
พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ,
ทรงประกาศพรหมจรรย, คือแบบแหงการปฏิบัตอิ ัน
ประเสริฐ, บริสุทธิ์บริบูรณสิ้นเชิง, พรอมทั้งอรรถะ,
พรอมทั้งพยัญชนะ;
ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ,
ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง,เฉพาะพระผูมีพระภาคเจา,พระองคนั้น;
ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ,
ขาพเจานอบนอมพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น,
ดวยเศียรเกลา;
(กราบระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจา)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 19
๒. ธัมมาภิถุติง
(นํา) หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส
โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมนั้นใด, เปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว;
สันทิฏฐิโก,
เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นไดดวยตนเอง;
อะกาลิโก,
เปนสิ่งที่ปฏิบัติไดและใหผลได, ไมจํากัดกาล;
เอหิปสสิโก,
เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา, ทานจงมาดูเถิด;
โอปะนะยิโก,
เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว;
ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ<ู หิ,
เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน;
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปชู ะยามิ,
ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง, เฉพาะพระธรรมนั้น;
ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระธรรมนั้น, ดวยเศียรเกลา;
(กราบระลึกถึงคุณของพระธรรม)

๓. สังฆาภิถุติง
(นํา) หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส
โย โส สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจานั้นหมูใด, ปฏิบัติดีแลว;
อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติตรงแลว;
20 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด; ปฏิบัติเพื่อรูธรรม
เปนเครื่องออกจากทุกขแลว,
สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจาหมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว;
ยะทิทัง,
ไดแกบุคคลเหลานี้คือ;
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คูแหงบุรุษสี่คู, นับเรียงตัวบุรุษไดแปดบุรุษ ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นั่นแหละสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา;
อาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา;
ปาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ;
ทักขิเณยโย,
เปนผูควรรับซึ่งทักษิณาทาน;
อัญชะลิกะระณีโย,
เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี;
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ,
เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา;
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ,
ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง, เฉพาะพระสงฆหมูนั้น ;
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระสงฆหมูนั้น, ดวยเศียรเกลา;
(กราบระลึกถึงคุณของพระสงฆ)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 21
๔.ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถา
(นํา) หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ,
สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส
พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว,
พระพุทธเจาผูบริสุทธิ์, มีพระกรุณาดุจหวงมหรรณพ ;
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน,
พระองคใด, มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด ;
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,
เปนผูฆาเสียซึ่งบาปและอุปกิเลสของโลก ;
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น, โดยใจเคารพเอื้อเฟอ ;
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน,
พระธรรมของพระศาสดา, สวางรุงเรืองเปรียบดวงประทีป;
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก,
จําแนกประเภท คือมรรค ผล นิพพานสวนใด ;
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,
ซึ่งเปนตัวโลกุตตระ, และสวนใดที่ชี้แนวแหงโลกุตตระนั้น ;
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น, โดยใจเคารพเอื้อเฟอ;
สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต,
พระสงฆเปนนาบุญอันยิ่งใหญกวานาบุญอันดีทั้งหลาย;
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก,
เปนผูเห็นพระนิพพาน ตรัสรูตามพระสุคตหมูใด ;
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,
เปนผูละกิเลสเครื่องโลเล เปนพระอริยเจามีปญญาดี ;
22 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ;
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง,วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสัง-
ขะตัง,ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปททะวา, มา โหนตุ เว
ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.
บุญใดที่ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งวัตถุสาม คือพระรัตนตรัย
อันควรบูชายิ่งโดยสวนเดียว ไดกระทําแลวเปนอยางยิ่งเชนนี้นี้,
ขออุปทวะทั้งหลายจงอยาไดมีแกขาพเจาเลย,
ดวยอํานาจความสําเร็จอันเกิดจากบุญนั้น;

๕. สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปนโน
พระตถาคตเจาเกิดขึ้นแลว ในโลกนี้;
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
เปนผูไกลจากกิเลส ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก
และพระธรรมที่ทรงแสดง เปนธรรมเครื่องออกจากทุกข ;
อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก
เปนเครื่องสงบกิเลส เปนไปเพื่อปรินิพพาน;
สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต
เปนไปเพื่อความรูพรอม, เปนธรรมที่พระสุคตประกาศ;
มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ:-
พวกเราเมื่อไดฟงธรรมนั้นแลว จึงไดรูอยางนี้วา:-
ชาติป ทุกขา,
แมความเกิดก็เปนทุกข;
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 23
ชะราป ทุกขา,
แมความแกก็เปนทุกข;
มะระณัมป ทุกขัง,
แมความตายก็เปนทุกข;
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา,
แมความโศก ความรํ่าไรรําพัน, ความไมสบายกาย
ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข ;
อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข,
ความประสบกับสิ่งไมเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข ;
ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข,
ความพลัดพรากจากสิ่งเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข ;
ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง,
มีความปรารถนาสิ่งใด ไมไดสิ่งนั้น นั่นก็เปนทุกข ;
สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา,
วาโดยยอ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกข ;
เสยยะถีทัง,
ไดแกสิ่งเหลานี้คือ:-
รูปูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือรูป;
เวทะนูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือเวทนา;
สัญ<ู ปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสัญญา;
สังขารูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสังขาร;
24 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
วิญญาณูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือวิญญาณ;
เยสัง ปะริญญายะ,
เพื่อใหสาวกกําหนดรอบรูอุปาทานขันธ เหลานี้เอง,
ธะระมาโน โส ภะคะวา,
จึงพระผูมีพระภาคเจานั้น เมื่อยังทรงพระชนมอยู,
เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ,
ยอมทรงแนะนําสาวกทั้งหลาย เชนนี้เปนสวนมาก
เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี
พะหุลา ปะวัตตะติ,
อนึ่ง คําสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น, ยอมเปนไปใน
สาวกทั้งหลาย สวนมาก มีสวนคือการจําแนกอยางนี้วา :-
รูปง อะนิจจัง, รูปไมเที่ยง;
เวทะนา อะนิจจา, เวทนาไมเที่ยง;
สัญญา อะนิจจา สัญญาไมเที่ยง;
สังขารา อะนิจจา, สังขารไมเที่ยง;
วิญญาณัง อะนิจจัง, วิญญาณไมเที่ยง;
รูปง อะนัตตา, รูปไมใชตัวตน;
เวทะนา อะนัตตา, เวทนาไมใชตัวตน;
สัญญา อะนัตตา, สัญญาไมใชตัวตน;
สังขารา อะนัตตา, สังขารไมใชตัวตน;
วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญาณไมใชตัวตน;
สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขารทั้งหลายทั้งปวงไมเที่ยง;
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ. ธรรมทั้งหลายทั้งปวงไมใชตัวตน ดังนี้.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 25
เต (หญิงวา ตา ) มะยัง โอติณณาม๎หะ,
พวกเราทั้งหลายเปนผูถูกครอบงําแลว;
ชาติยา, โดยความเกิด;
ชะรามะระเณนะ, โดยความแก และความตาย;
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ,
โดยความโศก ความรํ่าไรรําพัน
ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ
ความคับแคนใจทั้งหลาย,
ทุกโขติณ๎ณา, เปนผูมีความทุกข หยั่งเอาแลว;
ทุกขะปะเรตา, เปนผูมีความทุกข เปนเบื้องหนาแลว;
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
อันตะกิริยา ปญญาเยถาติ,
ทําไฉน การทําที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้,
จะพึงปรากฏชัดแกเราได,

( สําหรับพระภิกษุ-สามเณรสวด )
จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง
เราทั้งหลาย อุทิศเฉพาะพระผูมีพระภาคเจา ผูไกลจากกิเลส,
ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, แมปรินิพพานนานแลว, พระองคนั้น
สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปพพะชิตา,
เปนผูมีศรัทธา ออกบวชจากเรือน ไมเกี่ยวของดวยเรือนแลว,
ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รัห๎มะจะริยัง จะรามะ,
ประพฤติอยูซึ่งพรหมจรรยในพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น,
ภิกขูนัง (สามเณรวา สามเณรานัง) สิกขาสาชีวะสะมาปนนา,
ถึงพรอมดวยสิกขาและธรรมเปนเครื่องเลี้ยงชีวิตของภิกษุ(สามเณร)ทั้ง
หลาย,
26 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ตัง โน พ๎รัห๎มะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ
สังวัตตะตุ.
ขอใหพรหมจรรยของเราทั้งหลายนั้นจงเปนไปเพื่อการทําที่สุด
แหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้เทอญ.

(สําหรับฆราวาสสวดตอ)
จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา,
เราทั้งหลายผูถึงแลวซึ่งพระผูมีพระภาคเจา แมปรินิพพาน
นานแลว พระองคนั้นเปนสรณะ,
ธัมมัญจะ สังฆัญจะ,
ถึงพระธรรมดวย ถึงพระสงฆดวย;
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิ
กะโรมะ, อะนุปะฏิปชชามะ,
จักทําในใจอยู ปฏิบัติตามอยู ซึ่งคําสั่งสอนของพระผูมี
พระภาคเจานั้น ตามสติกําลัง,
สา สา โน ปะฏิปตติ,
ขอใหความปฏิบัตินั้น ๆ ของเราทั้งหลาย,
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.
จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ เทอญ.
( จบคําทําวัตรเชา )
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 27
๏บทสวดมนตทําวัตรเย็น๏
คําบูชาพระรัตนตรัย
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
พระผูมีพระภาคเจานั้น พระองคใด, เปนพระอรหันต,
ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรมเปนธรรมอันพระผูมีพระภาคเจา พระองคใด, ตรัสไวดีแลว;
สุปะฏิปนโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา พระองคใด, ปฏิบัติดีแลว;
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง อิเมหิ สักกาเรหิ
ยะถาระหัง อาโรปเตหิ อะภิปูชะยามะ
ขาพเจาทั้งหลาย ขอบูชาอยางยิ่ง , ซึ่งพระผูมีพระภาคเจา
พระองคนั้น, พรอมทั้งพระธรรมและพระสงฆ, ดวยเครื่อง
สักการะทั้งหลายเหลานี้, อันยกขึ้นตามสมควรแลวอยางไร;
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตป
ขาแตพระองคผูเจริญ,พระผูมีพระภาคเจาแมปรินิพพานนานแลว,
ทรงสรางคุณอันสําเร็จประโยชนไวแกขาพเจาทั้งหลาย;
ปจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะหแกพวกขาพเจา อันเปนชนรุนหลัง;
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
ขอพระผูมีพระภาคเจาจงรับเครื่องสักการะ
อันเปนบรรณาการของคนยากทั้งหลายเหลานี้;
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
เพื่อประโยชนและความสุขแกขาพเจาทั้งหลาย
ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ
28 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พระผูมีพระภาคเจา,เปนพระอรหันต,ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน
(กราบ)

ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,


พระธรรมเปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว
ธัมมัง นะมัสสามิ
ขาพเจานมัสการ พระธรรม
(กราบ)

สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,


พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว
สังฆัง นะมามิ
ขาพเจานอบนอมพระสงฆ
(กราบ)

คําสวดมนตไหวพระ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผูมีพระภาคซึ่งเปนที่พึ่ง ที่นับถือของเราทั้งหลาย พระองคเปนพระ
อรหันตตรัสรูช อบเองแลว, ละกิเลสขาดจากสันดานกับทัง้ วาสนา, เปนผูไ มหลง
มีความไมหลงเปนธรรมดา, ตรัสรูอริยสัจ ๔ แจงประจักษโดยลําพังพระองค,
ตรัสรูช อบไมวปิ ริตสอนผูอ นื่ ใหตรัสรูไ ดดว ย, เราทัง้ หลาย ขอนมัสการกราบไหว
พระผูมีพระภาคพุทธเจาพระองคนั้น, มีพระสถูปและพระพุทธรูปนี้เปนพยาน,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
(กราบ)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 29
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธรรมอันพระผูมีพระภาคเจา ตรัสดีแลวแสดงหนทางอันดับกิเลสและกอง
ทุกข ใหผูปฏิบัติตามถึงความสิ้นทุกขไดโดยชอบ เราทั้งหลายขอนมัสการธรรม
ที่พระผูมีพระภาคเจาตรัสดีแลว ธัมมัง นะมัสสามิ.
(กราบ)
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
หมูสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา สอนใหปฏิบัติดีแลว ไดปญญาตรัสรู
อริยสัจ ๔ ทํากิเลสในสันดานใหสิ้นไป ตามกําลังอริยมรรค ที่ไดเกิดขึ้นแลวใน
สันดานตน ความละกิเลสไดจริงเปนการปฏิบัติชอบแท เราทั้งหลาย ขอนอบ
นอมหมูสงฆสาวก ที่พระผูมีพระภาคเจาสอนใหปฏิบัติดีแลว สังฆัง นะมามิ.
(กราบ)

ปุพพะภาคะนะมะการะ
(นํา) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา,พระองคนั้น,
อะระหะโต ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส,
สัมมาสัมพุทธัสสะ ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง.
(กลาว ๓ จบ)

๑.พุทธานุสสะติ
(นํา) หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต,
ก็กิตติศัพทอันงามของพระผูมีพระภาคเจานั้น, ไดฟุงไปแลว อยางนี้วา:-
อิติป โส ภะคะวา,
เพราะเหตุอยางนี้ ๆ พระผูมีพระภาคเจานั้น;
30 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะระหัง,
เปนผูไกลจากกิเลส;
สัมมาสัมพุทโธ,
เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
วิชชาจะระณะสัมปนโน,
เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ;
สุคะโต,
เปนผูไปแลวดวยดี;
โลกะวิทู,
เปนผูรูโลกอยางแจมแจง;
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกไดอยางไมมีใครยิ่งกวา ;
สัตถา เทวะมะนุสสานัง,
เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย;
พุทโธ,
เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม;
ภะคะวาติ.
เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรมสั่งสอนสัตว ดังนี้.

พุทธาภิคีติง
(นํา) หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.
พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต,
พระพุทธเจาประกอบดวยพระคุณ, มีความประเสริฐ
แหงอรหันตคุณเปนตน ;
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต,
มีพระองคอันประกอบดวยพระญาณ และพระกรุณาอันบริสุทธิ์ ;
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 31
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร,
พระองคใดทรงกระทําชนที่ดีใหเบิกบาน, ดุจอาทิตยทําบัวใหบาน;
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง.
ขาพเจาไหวพระชินสีห, ผูไมมีกิเลสพระองคนั้น, ดวยเศียรเกลา.
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระพุทธเจาพระองคใด, เปนสรณะอันเกษมสูงสุดของสัตวทั้งหลาย;
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น, อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก,
องคที่หนึ่ง ดวยเศียรเกลา ;
พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา, พระพุทธเจาเปนนาย
มีอิสระเหนือขาพเจา ;
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระพุทธเจาเปนเครื่องกําจัดทุกขและทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้แดพระพุทธเจา ;
วันทันโตหัง (หญิงวา วันทันตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง,
ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม,ซึ่งความตรัสรูดีของพระพุทธเจา ;
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของขาพเจาไมมี,พระพุทธเจาเปนสรณะอันประเสริฐ
ของขาพเจา ;
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
ดวยการกลาวคําสัจจนี้ ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนา
ของพระศาสดา ;
32 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา วันทะมานายะ) ยัง ปุญญัง
ปะสุตัง อิธะ,
ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระพุทธเจา ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี้;
สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.

(หมอบกราบลง กลาวคําพรอมกัน)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระพุทธเจา;
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระพุทธเจา จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น;
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระพุทธเจา ในกาลตอไป.

ธัมมานุสสะติ
(นํา) หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว ;
สันทิฏฐิโก,
เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติพึงเห็นไดดวยตนเอง;
อะกาลิโก,
เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลไดไมจํากัดกาล;
เอหิปสสิโก,
เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา, ทานจงมาดูเถิด;
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 33
โอปะนะยิโก,
เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว;
ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ<ู หีติ.
เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน ดังนี้.

ธัมมาภิคีติง
(นํา) หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.
ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
พระธรรม เปนสิ่งที่ประเสริฐ เพราะประกอบดวยคุณ,
คือ ความที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว เปนตน;
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
เปนธรรมอันจําแนกเปน มรรค ผล ปริยัติ และนิพพาน;
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
เปนธรรมทรงไวซึ่งผูทรงธรรม, จากการตกไปสูโลกที่ชั่ว;
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง,
ขาพเจาไหวพระธรรมอันประเสริฐนั้น,อันเปนเครื่องขจัดเสียซึ่งความมืด,
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระธรรมใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย;
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น, อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก,
องคที่สอง ดวยเศียรเกลา;
ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม,พระธรรมเปนนายมีอิสระเหนือขาพเจา;
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระธรรมเปนเครื่องกําจัดทุกข,และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;
34 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง ,
ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระธรรม;
วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง,
ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม,ซึ่งความเปนธรรมดีของพระธรรม;
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของขาพเจาไมมี,พระธรรมเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
ดวยการกลาวคําสัจจนี้,ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;
ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระธรรม, ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี้;
สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.
(หมอบกราบลง กลาวคําพรอมกัน)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลวในพระธรรม;
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น;
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลตอไป.

สังฆานุสสะติ
(นํา) หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว;
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 35
อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว;
ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรม
เปนเครื่องออกจากทุกขแลว;
สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว;
ยะทิทัง,
ไดแกบุคคลเหลานี้คือ:-
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คูแหงบุรุษ ๔ คู , นับเรียงตัวบุรุษ ได ๘ บุรุษ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นั่นแหละสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา
อาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา;
ปาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ;
ทักขิเณยโย,
เปนผูควรรับทักษิณาทาน;
อัญชะลีกะระณีโย,
เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี;
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ดังนี้.
36 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

สังฆาภิคีติง
(นํา) หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.
สัทธัมมะโช สุปะฏิปตติคุณาทิยุตโต,
พระสงฆที่เกิดโดยพระสัทธรรม, ประกอบดวยคุณ
มีความปฏิบัติดีเปนตน ;
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,
เปนหมูแหงพระอริยบุคคลอันประเสริฐ, แปดจําพวก;
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,
มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีลเปนตน, อันบวร;
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง,
ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยะเจาเหลานั้น, อันบริสุทธิ์ดวยดี,
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระสงฆหมูใด, เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย;
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น, อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก,
องคที่สามดวยเศียรเกลา ;
สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ,พระสงฆเปนนายมีอิสระเหนือขาพเจา;
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระสงฆเปนเครื่องกําจัดทุกข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระสงฆ;
วันทันโตหัง (หญิงวา วันทันตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปนนะตัง,
ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ;
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของขาพเจาไมมี,พระสงฆเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 37
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
ดวยการกลาวคําสัจจนี้,ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระสงฆ, ไดขวนขวายบุญใด ในบัดนี้ ;
สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.

(หมอบกราบลง กลาวคําพรอมกัน)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,
ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี ;
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระสงฆ ;
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระสงฆ จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น ;
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระสงฆ ในกาลตอไป.
(นั่งพับเพียบลง)
38 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
บทสวดมนตไหวพระ (แบบโบราณ)

โย สันนิสินโน วะระโพธิมูเล
มารัง สะเสนัง มะหะติง วิเชยโย (สุชิตัง วิเชยยะ)
สัมโพธิมาคัจฉิ อะนันตะญาโณ
โลกุตตะโม ตัง ปะณะมามิ พุทธัง
เย จะ พุทธา อะตีตา จะ เย จะ พุทธา อะนาคะตา
ปจจุปปนนา จะ เย พุทธา อะหัง วันทามิ สัพพะทา
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทธโธ, วิชชาจะระณะสัมปนโน
สุคะโต โลกะวิทู,อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวาติ
พุทธัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลัง
อุตตะมังเคนะ วันเทหัง ปาทะปงสุง วะรุตตะมัง
พุทเธ โย ขะลิโต โทโส พุทโธ ขะมะตุ ตัง มะมัง
(กราบ)

อัฏฐังคิโก อะริยะปะโถ ชะนานัง


โมกขัปปะเวสายะ อุชู จะ มัคโค
ธัมโม อะยัง สันติกะโร ปะณีโต
นิยยานิโก ตัง ปะณะมามิ ธัมมัง
เย จะ ธัมมา อะตีตา จะ เย จะ ธัมมา อะนาคะตา
ปจจุปปนนา จะ เย ธัมมา อะหัง วันทามิ สัพพะทา
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก
โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ\ูหีติ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 39
ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลัง
อุตตะมังเคนะ วันเทหัง ธัมมัญจะ ทุวิธัง วะรัง
ธัมเม โย ขะลิโต โทโส ธัมโม ขะมะตุ ตัง มะมัง
(กราบ)

สังโฆ วิสุทโธ วะระทักขิเณยโย


สันตินท๎ริโย สัพพะมะลัปปะหีโน
คุเณหิ เนเกหิ สะมิทธิปตโต
อะนาสะโว ตัง ปะณะมามิ สังฆัง
เย จะ สังฆา อะตีตา จะ เย จะ สังฆา อะนาคะตา
ปจจุปปนนา จะ เย สังฆา อะหัง วันทามิ สัพพะทา
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ
สังฆัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เม ชะยะมังคะลัง
อุตตะมังเคนะ วันเทหัง สังฆัญจะ ทุวิธุตตะมัง
สังเฆ โย ขะลิโต โทโส สังโฆ ขะมะตุ ตัง มะมัง
(กราบ)
40 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

บทสวดมนตพระปริตร
ชุมนุมเทวดา
สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง
ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ
(สําหรับใชในงานราชพิธี)
ผะริต๎วานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา
อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ
(สําหรับสวดเจ็ดตํานานหรือทั่วไป)
สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัต๎รา คัจฉันตุ เทวะตา
สัทธัมมัง มุนิราชัสสะ สุณันตุ สัคคะโมกขะทัง ฯ
(สําหรับสวดสิบสองตํานาน)
สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน
ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต
ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา
ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ ฯ
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา ฯ

พุทธัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
สังฆะปะยิรุปาสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตาฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 41
ตนสวดมนต
(นํา) หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( ๓ หน )
สะระณะคะมะนะปาฐะ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ถาสวดในงานทําบุญอายุหรือสวดสืบชะตาวา
พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตงั ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ
42 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
สัจจะกิริยาคาถา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทาฯ
(ถาสวดใหตัวเองเปลี่ยนจาก เต เปน เม)

มะหาการุณิโกนาโถติ อาทิกาคาถา
มะหาการุณิโก นาโถ อัตถายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตdวา ปารมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ มา โหนตุ สัพพุปททะวา.
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตdวา ปารมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ มา โหนตุ สัพพุปททะวา.
มะหาการุณิโก นาโถ สุขายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตdวา ปารมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ มา โหนตุ สัพพุปททะวา.

เขมาเขมะสะระณะคะมะนะปะริทีปกาคาถา
พะหุง เว สะระณัง ยันติ ปพพะเตนิ วะนานิ จะ
อารามะรุกขะเจตะยานิ มะนุสสา ภะยะตัชชิตา
เนตัง โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมุตตะมัง
เนตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 43
โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต
จัตตาริ อะริยะสัจจานิ สัมมัปปญญายะ ปสสะติ
ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง
อะริยัญจัฏฐังคิกัง มัคคัง ทุกขูปะสะมะคามินัง
เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง
เอตัง สะระณะมะคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะตีติ.

ปพพะโตปะมะคาถา
ยะถาป เสลา วิปุลา นะภัง อาหัจจะ ปพพะตา
สะมันตา อะนุปะริเยยยุง นิปโปเถนตา จะตุททิสา
เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ อะธิวัตตันติ ปาณิโน
ขัตติเย พdราหdมะเณ เวสเส สุทเท จัณฑาละปุกกุเส
นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ สัพเมวาภิมัททะติ
นะ ตัตถะ หัตถีนัง ภูมิ นะ ระถานัง นะ ปตติยา
นะ จาป มันตะยุทเธนะ สักกา เชตุง ธะเนนะ วา
ตัส๎มา หิ ปณฑิโต โปโส สัมปสสัง อัตถะมัตตะโน
พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ธีโร สัทธัง นิเวสะเย
โย ธัมมะจารี กาเยนะ วาจายะ อุทะ เจตะสา
อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะติ

ภัทเทกะรัตตะคาถา
อะตีตัง นาน๎วาคะเมยยะ นัปปะฏิกังเข อะนาคะตัง
ยะทะตีตัมปะหีนันตัง อัปปตตัญจะ อะนาคะตัง
ปจจุปปนนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปสสะติ
อะสังหิรัง อะสังกุปปง ตัง วิทธา มะนุพ๎รูหะเย
อัชเชวะ กิจจะมาตัปปง โก ชัญญา มะระณัง สุเว
44 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา


เอวัง วิหาริมาตาปง อะโหรัตตะมะตันทิตัง
ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุนีติฯ

อะริยะธะนะคาถา
ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา
สีลัญจะ ยัสสะ กัล๎ยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง
สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง
อะทะลิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตัสสะ ชีวิตัง
ตัส๎มา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง
อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะ สาสะนันติ

ติอุทานะคาถา
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา
อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา
ยะโต ปะชานาติ สะเหตุธัมมัง.
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา
อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา
ยะโต ขะยัง ปจจะยานัง อะเวทิ.
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา
อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง
สูโรวะ โอภาสะยะมันตะลิกขันติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 45
นะมะการะสิทธิคาถา
(สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงนิพนธ)
โย จักขุมา โมหะมะลาปะกัฏโฐ
สามัง วะ พุทโธ สุคะโต วิมุตโต
มารัสสะ ปาสา วินิโมจะยันโต
ปาเปสิ เขมัง ชะนะตัง วิเนยยัง ฯ
พุทธัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ
โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ
ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ
ทัสเสสิ โลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง
นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะธารี
สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ ฯ
ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ
โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ
สัมพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ
สัทธัมมะเสนา สุคะตานุโค โย
โลกัสสะ ปาปูปะกิเล สะเชตา
สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ
ส๎วากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ ฯ
สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ
พุทธานุพุทธัง สะมะสีละทิฏฐิง
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ ฯ
46 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

บทสัมพุทเธ
สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ท๎วาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปททะเว
อะเนกา อันตะรายาป วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ
สัมพุทเธ ปญจะปญญาสัญจะ จะตุวีสะติ สะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปททะเว
อะเนกา อันตะรายาป วินัสสันตุ อะเสสะโตฯ
สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง
นะมะการานุภาเวนะ หันต๎วา สัพเพ อุปททะเว
อะเนกา อันตะรายาป วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ

นะโมการะอัฏฐะกะคาถา
(พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว)
นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มะเหสิโน
นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ ส๎วากขาตัสเสวะ เตนิธะ
นะโม มะหาสังฆัสสาป วิสุทธะสีละทิฏฐิโน
นะโม โอมาต๎ยารัทธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง
นะโม โอมะกาตี ตัสสะ ตัสสะวัตถุตตะยัสสะป
นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปททะวา
นะโม การานุภาเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา
นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธิม๎หิ โหมิ เตชะวา ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 47
มังคะละสุตตัง
เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา , สาวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเม ฯ อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา, อะภิกกันตายะ
รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปง เชตะวะนัง โอภาเสต๎วา, เยนะ
ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ, อุปปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา
เอกะมันตัง อัฏฐาสิ, เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ
อัชฌะภาสิ ฯ
พะหู เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง
อากังขะมานา โสต๎ถานัง พ๎รูหิ มังคะละมุตตะมัง
อะเสวะนา จะ พาลานัง ปณฑิตานัญจะ เสวะนา
ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง
ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง
พาหุสัจจัญจะ สิปปญ จะ วินะโย จะ สุสิกขิโต
สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง
มาตาปตุอุปฏฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห
อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง
ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห
อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง
อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง
คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กะตัญ\ุ ตา
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง
ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง
ตะโป จะ พ๎รัห๎มะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะทัสสะนัง
48 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง
ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง
เอตาทิสานิ กัต๎วานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ ฯ

บทขัดระตะนะสุตตัง
ราชะโต วา โจระโต วา มะนุสสะโต วา อะมะนุสสะโต วา อัคคิโต วา
อุทะกะโต วา ปสาจะโต วา ขาณุกะโต วา กัณฏะกะโต วา นักขัตตะโต วา
ชะนะปะทะโรคะโต วา อะสัทธัมมะโต วา อะสันทิฏฐิโต วา อะสัปปุรสิ ะโต วา
จัณฑะหัตถิอสั สะมิคะโคณะกุกกุระอะหิวจิ ฉิกะมะนิสปั ปะทีปะอัจฉะตะรัจฉะ -
สุกะระมะหิสะยักขะรักขะสาทีหิ นานาภะยะโต วา นานาโรคะโต วา นานา-
อุปททะวะโต วา อารักขัง คัณหันตุ ฯ
ปะณิธานะโต ปฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะปาระมิโย ทะสะอุปะ-
ปาระมิโย ทะสะปะระมัตถะปาระมิโย ปญจะมะหาปะริจจาเค ติสโส จะริยา
ปจฉิมัพภะเว คัพภาวักกันติง ชาติง อะภินิกขะมะนัง ปะธานะจะริยัง โพธิ-
ปลลังเก มาระวิชะยัง สัพพัญ\ุ ตะญาณัปปะฏิเวธัง นะวะโลกุตตะระธัมเมติ
สัพเพปเม พุทธะคุเณ อาวัชชิตว๎ า เวสาลิยา ตีสุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง
ปะริตตัง กะโรนโต อายัสม๎ า อานันทัตเถโร วิยะ การุญญะจิตตัง อุปฏ ฐะเปต๎วา
โกฏิสะตะสะหัสเสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา
ยัสสาณัมปะฏิคคัณหันติ ยัญจะ เวสาลิยัมปุเร
โรคามะนุสสะทุพภิกขะ- สัมภูตันติวิธัมภะยัง
ขิปปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 49
ระตะนะสุตตัง
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
สัพเพวะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ
อะโถป สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง
ตัส๎มา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง
ตัส๎มา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมป พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สัก๎ยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทัมป ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง
สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทัมป ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
50 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา


เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬ๎เหนะ
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปตติปตตา อะมะตัง วิคัยหะ
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยะถินทะขีโล ปะถะวิง สิโต สิยา
จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปโย
ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ
โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปสสะติ
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ
คัมภีระปญเญนะ สุเทสิตานิ
กิญจาป เต โหติ ภุสัปปะมัตตา
นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ
ตะยัสสุ ธัมมาชะหิตา ภะวันติ
สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ
สีลัพพะตัง วาป ยะทัตถิกิญจิ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 51
จะตูหะปาเยหิ จะวิปปะมุตโต
ฉะจาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
กิญจาป โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง
กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภัพโพ โสตัสสะ ปะฏิฐฉะทายะ
อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค
คิมหานะมาเส ปะฐะมัส๎มิง คิมเห
ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ
อิทัมป พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
วะโร วะรัญ\ู วะระโท วะราหะโร
อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
อิทัมป พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬ๎หิฉันทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
52 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะ ปูชิตัง
พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมา คะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะ ปูชิตัง
ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง
สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ

กะระณียะเมตตะสุตตัง
กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินท๎ริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญ\ู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
ทิฏฐา วาเย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร
ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ
พ๎ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 53
มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข
เอวัมป สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
เมตตัญจะ สัพพะโลกัส๎มิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปตตัง
ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พ๎รัห๎มะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปนโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ฯ

ขันธะปะริตตัง
วิรูปกเขหิ เม เมตตัง เมตตัง เอราปะเถหิ เม
ฉัพ๎ยาปุตเตหิ เม เมตตัง เมตตัง กัณ๎หาโคตะมะเกหิ จะ
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัท๎รานิ ปสสันตุ มา กิญจิ ปาปะมาคะมา
อัปปะมาโณ พุทโธ, อัปปะมาโณ ธัมโม, อัปปะมาโณ สังโฆ,
ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ , อะหิวิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี
สะระพู มูสิกา , กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา , ปะฏิกกะมันตุ
ภูตานิ , โสหัง นะโม ภะคะวะโต, นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง ฯ

ฉัททันตะปะริตตัง
วะธิสสะเมนันติ ปะรามะสันโต
กาสาวะมัททักขิ ธะชัง อิสีนัง
54 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

ทุกเขนะ ผุฏฐัสสุทะปาทิ สัญญา


อะระหัทธะโช สัพภิ อะวัชฌะรูโป
สัลเลนะ วิทโธ พ๎ยะถิโตป สันโต
กาสาวะวัตถัมหิ มะนัง นะ ทุสสะยิ
สะเจ อิมัง นาคะวะเรนะ สัจจัง
มา มัง วะเน พาละมิคา อะคัญฉุนติ ฯ

โมระปะริตตัง
อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะมัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร จะระติ เอสะนาฯ
อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา
หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง
เย พ๎ราห๎มะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะมัง ปาละยันตุ
นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัต๎วา โมโร วา สะมะกัปปะยีติ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 55
วัฏฏะกะปะริตตัง
อัตถิ โลเก สีละคุโณ สัจจัง โสเจยยะนุททะยา
เตนะ สัจเจนะ กาหามิ สัจจะกิริยะมะนุตตะรัง
อาวัชชิต๎วา ธัมมะพะลัง สะริต๎วา ปุพพะเก ชิเน
สัจจะพะละมะวัสสายะ สัจจะกิริยะมะกาสะหัง
สันติ ปกขา อะปตตะนา สันติ ปาทา อะวัญจะนา
มาตา ปตา จะ นิกขันตา ชาตะเวทะ ปะฏิกกะมะ
สะหะ สัจเจ กะเต มัยหัง มะหาปชชะลิโต สิขี
วัชเชสิ โสฬะสะ กะรีสานิ อุทะกัง ปต๎วา ยะถา สิขี
สัจเจนะ เม สะโม นัตถิ เอสา เม สัจจะปาระมีติ ฯ

ธะชัคคะสุตตัง
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปนโน
สุคะโต โลกะวิท,ู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวาติ,
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก,
โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ\ู หีติ,
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจปิ ะฏิปน โน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ,
เอวัมพุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ ภิกขะโว
ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส นะ เหสสะตีติ ฯ
56 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

อาฏานาฏิยะปะริตตัง
วิปสสิสสะ นะมัตถุ จักขุมันตัสสะ สิรีมะโต
สิขิสสะป นะมัตถุ สัพพะภูตานุกัมปโน
เวสสะภุสสะ นะมัตถุ น๎หาตะกัสสะ ตะปสสิโน
นะมัตถุ กะกุสันธัสสะ มาระเสนัปปะมัททิโน
โกนาคะมะนัสสะ นะมัตถุ พ๎ราห๎มะณัสสะ วุสีมะโต
กัสสะปสสะ นะมัตถุ วิปปะมุตตัสสะ สัพพะธิ
อังคีระสัสสะ นะมัตถุ สัก๎ยะปุตตัสสะ สิรีมะโต
โย อิมัง ธัมมะมะเทเสสิ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
เย จาป นิพพุตา โลเก ยะถาภูตัง วิปสสิสุง
เต ชะนา อะปสุณา มะหันตา วีตะสาระทา
หิตัง เทวะมะนุสสานัง ยัง นะมัสสันติ โคตะมัง
วิชชาจะระณะสัมปนนัง มะหันตัง วีตะสาระทัง ฯ
(วิชชาจะระณะสัมปนนัง พุทธัง วันทามะ โคตะมันติ)
นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปนนานัง มะเหสินัง
ตัณหังกะโร มะหาวีโร เมธังกะโร มะหายะโส
สะระณังกะโร โลกะหิโต ทีปงกะโร ชุตินธะโร
โกณฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ
สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน
โสภีโต คุณะสัมปนโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม
ปะทุโม โลกะปชโชโต นาระโท วะระสาระถี
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล
สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปยะทัสสี นะราสะโภ
อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท
สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 57
ปุสโส จะ วะระโท พุทโธ วิปสสี จะ อะนูปะโม
สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก
กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
กัสสะโป สิริสัมปนโน โคตะโม สัก๎ยะปุงคะโว ฯ
เอเต จัญเญ จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏะโย
สัพเพ พุทธา อะสะมะสะมา สัพเพ พุทธา มะหิทธิกา
สัพเพ ทะสะพะลูเปตา เวสารัชเชหุปาคะตา
สัพเพ เต ปะฏิชานันติ อาสะภัณฐานะมุตตะมัง
สีหะนาทัง นะทันเต เต ปะริสาสุ วิสาระทา
พ๎รัห๎มะจักกัง ปะวัตเตนติ โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
อุเปตา พุทธะธัมเมหิ อัฏฐาระสะหิ นายะกา
ท๎วัตติงสะลักขะณูเปตา- สีต๎ยานุพ๎ยัญชะนาธะรา
พ๎ยามัปปะภายะ สุปปะภา สัพเพ เต มุนิกุญชะรา
พุทธา สัพพัญ\ุ โน เอเต สัพเพ ขีณาสะวา ชินา
มะหัปปะภา มะหาเตชา มะหาปญญา มะหัพพะลา
มะหาการุณิกา ธีรา สัพเพสานัง สุขาวะหา
ทีปา นาถา ปะติฏฐา จะ ตาณา เลณา จะ ปาณินัง
คะตี พันธู มะหัสสาสา สะระณา จะ หิเตสิโน
สะเทวะกัสสะ โลกัสสะ สัพเพ เอเต ปะรายะนา
เตสาหัง สิระสา ปาเท วันทามิ ปุริสุตตะเม
วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต
สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาป สัพพะทา
สะทา สุเขนะ รักขันตุ พุทธา สันติกะรา ตุวัง
เตหิ ต๎วัง รักขิโต สันโต มุตโต สัพพะภะเยนะ จะ
สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตาปะวัชชิโต
สัพพะเวระมะติกกันโต นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ ฯ
58 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติเมตตาพะเลนะ จะ
เตป ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะฯ
ปุรัตถิมัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ ภูตา มะหิทธิกา
เตป ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ
ทักขิณัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ เทวา มะหิทธิกา
เตป ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ
ปจฉิมัส๎มิง ทิสาภาเค สันติ นาคา มะหิทธิกา
เตหิ ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ
อุตตะรัส๎มิง ทิสา ภาเค สันติ ยักขา มะหิทธิกา
เตป ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ
ปุรมิ ะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
ปจฉิเมนะ วิรูปกโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
จัตตาโร เต มะหาราชา โลกะปาลา ยะสัสสิโน
เตป ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะ
อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวา นาคา มะหิทธิกา
เตป ตุมเห อะนุรักขันตุ อาโรค๎เยนะ สุเขนะ จะฯ
(อัมเห สําหรับสวดใหตนเอง แตถาสวดใหคนอื่นเปลี่ยนจาก อัมเห เปน ตุมเห)

บทสัจจะกิริยะคาถา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 59
บทยังกิญจิ
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง พุทธะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง ธัมมะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต
ยังกิญจิ ระตะนัง โลเก วิชชะติ วิวิธัง ปุถุ
ระตะนัง สังฆะสะมัง นัตถิ ตัส๎มา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
บทสักกัต๎วา
สักกัต๎วา พุทธะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
หิตัง เทวะมะนุสสานัง พุทธะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปททะวา สัพเพ ทุกขา วูปะสะเมนตุ เต
สักกัต๎วา ธัมมะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
ปะริฬาหูปะสะมะนัง ธัมมะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปททะวา สัพเพ ภะยา วูปะสะเมนตุ เต
สักกัต๎วา สังฆะระตะนัง โอสะถัง อุตตะมังวะรัง
อาหุเนยยัง ปาหุเนยยัง สังฆะเตเชนะ โสตถินา
นัสสันตุปททะวา สัพเพ โรคา วูปะสะเมนตุ เต ฯ
อังคุลิมาละปะริตตัง
ยะโตหัง ภะคินิ อะริยายะ ชาติยา ชาโต, นาภิชานามิ
สัญจิจจะ ปาณัง ชีวิตา โวโรเปตาฯ เตนะ สัจเจนะ โสตถิ เต โหตุ
โสตถิ คัพภัสสะ ฯ
โพชฌังคะปะริตตัง
โพชฌังโค สะติสังขาโต ธัมมานัง วิจะโย ตะถา
วิริยัมปติ ปสสัทธิ- โพชฌังคา จะ ตะถาปะเร
สะมาธุเปกขะโพชฌังคา สัตเตเต สัพพะทัสสินา
(ถาสวดใหตัวเองเปลี่ยนจาก เต เปน เม)
60 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

มุนินา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลีกะตา


สังวัตตันติ อะภิญญายะ นิพพานายะ จะ โพธิยา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
เอกัส๎มิง สะมะเย นาโถ โมคคัลลานัญจะ กัสสะปง
คิลาเน ทุกขิเต ทิส๎วา โพชฌังเค สัตตะ เทสะยิ
เต จะ ตัง อะภินันทิต๎วา โรคา มุจจิงสุ ตังขะเณ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทาฯ
เอกะทา ธัมมะราชาป เคลัญเญนาภิปฬโต
จุนทัตเถเรนะ ตัญเญวะ ภะณาเปต๎วานะ สาทะรัง
สัมโมทิต๎วา จะ อาพาธา ตัมหา วุฏฐาสิ ฐานะโส
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ
ปะหีนา เต จะ อาพาธา ติณณันนัมป มะเหสินัง
มัคคาหะตะกิเลสา วะ ปตตานุปปตติธัมมะตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา ฯ

อะภะยะปะริตตัง
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปคคะโห ทุสสุปนัง อะกันตัง
พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมัง คะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปคคะโห ทุสสุปนัง อะกันตัง
ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ

(ถาสวดใหตัวเองเปลี่ยนจาก เต เปน เม)


หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 61
ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
ปาปคคะโห ทุสสุปนัง อะกันตัง
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ

อุณหิสสะวิชะยะคาถา
อัตถิ อุณหิสสะ วิชะโย ธัมโม โลเก อะนุตตะโร
สัพพะสัตตะหิตัตถายะ ตัง ต๎วัง คัณหาหิ เทวะเต
ปะริวัชเช ราชะทัณเฑ อะมะนุสเสหิ ปาวะเก
พะยัคเฆ นาเค วิเส ภูเต อะกาละมะระเณนะ วา
สัพพัส๎มา มะระณา มุตโต ฐะเปต๎วา กาละมาริตัง
ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา
สุทธะสีลัง สะมาทายะ ธัมมัง สุจะริตัง จะเร
ตัสเสวะ อานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา
ลิกขิตัง จินติตัง ปูชัง ธาระณัง วาจะนัง คะรุง
ปะเรสัง เทสะนัง สุต๎วา ตัสสะ อายุ ปะวัฑฒะตีติ๚
เภสัชชัง เทวะมะนุสสานัง กะฏะกัง ติตติการะสัง
อัมพิลัง ละวะณัญเจวะ สัพพะพ๎ยาธิง วินัสสะติ
เอกะท๎วิติทินัง วาป ปญจะสัตตะทินัง ตะถา
ยาวะ ทุกขา นะ สะเมนติ ชีวะทานัง กะโรตุ เต (เม)
ชีวะทานัง ทะทันตัสสะ อายุ วัณณัง สุขัง พะลัง
ชีวะทานานุภาเวนะ โหตุ เทโว สุขี สะทา
ชีวะทานังป ทัต๎วานะ โอสะถัง อุตตะมัง วะรัง
สะรีระทุกขัง นาเสติ เภสัชชัง ทานะมุตตะมัง
ตัส๎มา กะเรยยะ กัล๎ยาณัง นิจะยัง สัมปะรายิกัง
ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินัง.
62 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิมินา ชีวะทาเนนะ ตุมหากัง กิง ภะวิสสะติ
ทีฆายุนา สะทา โหนติ สุขิตา โหนติ สัพพะทา
ชีวะทานัง ทะทันตัสสะ อายุวัณณัง สุขัง พะลัง
ทีฆายุกา สะทา โหนตุ ชีวะทานัง มะหัปผะลัง
โย โส ทะทาติ สักกัจจัง สีละวันเตสุ ตาทิสุ
ปาณะทานัง วะรัง ทัต๎วา ชีวะทานัง มะหัปผะลัง
เอวัง มะหิทธิกา เอสา ยะทิทัง ปุญญะสัมปะทา
ตัส๎มา ธีรา ปะสังสันติ ปณฑิตา กะตะปุญญะตัง
สุโข วิปาโก ปุญญานัง อะธิปปาโย สะมิชฌะติ
ขิปปญจะ ปะริโยสาเน นิพพานัง อะธิคัจฉะติ
โย ภาชนะสะหัสเสหิ ปุระณัง วะระโภชะนัง
ทะเทยยะ เจ ปะริมาณัญเจ เอกะ ปตตัมป นาละเภ
พุทธุปปาเท สารีปุตโต เย จัญเญ อัคคะสาวะกา
ปตตะปูรานุภาเวนะ มาตาปตา ปะมุจจะตีติ ฯ

เทวะตาอุยโยชะนะคาถา
ทุกขัปปตตา จะ นิททุกขา ภะยัปปตตา จะ นิพภะยา
โสกัปปตตา จะ นิสโสกา โหนตุ สัพเพป ปาณิโน
เอตตาวะตา จะ อัม๎เหหิ สัมภะตัง ปุญญะสัมปะทัง
สัพเพ เทวานุโมทันตุ สัพพะสัมปตติสิทธิยา
ทานัง ทะทันตุ สัทธายะ สีลัง รักขันตุ สัพพะทา
ภาวะนาภิระตา โหนตุ คัจฉันตุ เทวะตาคะตา
สัพเพ พุทธา พะลัปปตตา ปจเจกานัญจะ ยัง พะลัง
อะระหันตานัญจะ เตเชนะ รักขัง พันธามิ สัพพะโส ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 63
สัพพะมังคะละคาถา
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ
ปริตตานุภาวะคาถา
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปททะเว ฯ
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปททะเว ฯ
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปททะเว ฯ
สุมังคะละคาถา
โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง
โหตุ สัพพัง สุมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี โหนตุ นิรันตะรัง ฯ
64 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

บทสวดมนตถวายพรพระ
พุทธะชะยะมังคะละคาถา ( อิติปโส - พาหุง)
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปนโน
สุคะโต โลกะวิท,ู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวาติ.
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก,
โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ\ู หีติ.
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปฏิปนโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลิกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง,
ค๎รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง,
ทานาทิธัมมะวิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.
มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง,
โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง,
ขันตี สุทันตะวิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.
นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง,
ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง,
เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตว๎ า มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.

*ถาสวดมคธ ใหเปลี่ยนเปน ชะยะมังคะลัคคัง คําที่ขีดเสนใตนั้นถาสวดใหตัวเองเปลี่ยนจาก เต เปน เม


หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 65
อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง,
ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง,
อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิต๎วา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.
กัต๎วานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา,
จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ,
สันเตนะ โสมะวิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.
สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง,
วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอันธะภูตัง,
ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิต๎วา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.
นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง,
ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต,
อิทธูปะเทสะวิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.
ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง,
พ๎รัมมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง,
ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิต๎วา มุนินโท,
ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ*.
เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา,
โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที,
หิต๎วานะเนกะวิวิธานิ จุปท๎วานิ,
โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญ
66 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

ชะยะปะริตตัง
มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรต๎วา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ
ชะยันโต โพธิยา มูเล สัก๎ยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ต๎วัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พ๎รัห๎มะจารีสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ

บท สุโข พุทธานัง
สุโข พุทธานัง อุปปาโท สุขา สัทธัมมะเทสะนา
สุขา สังฆัสสะ สามัคคี สะมัคคานัง ตะโป สุโข
ทิวา ตะปะติ อาทิจโจ รัตติง อาภาติ จันทิมา
สันนัทโธ ขัตติโย ตะปะติ ฌายี ตะปะติ พ๎ราห๎มะโณ
อะถะ สัพพะมะโหรัตติง พุทโธ ตะปะติ เตชะสา
หิริโอตตัปปะสัมปนนา สุกกะธัมมะสะมาหิตา
สันโต สัปปุริสา โลเก เทวะธัมมาติ วุจจะเร
สันติปกขา อะปตตะนา สันติปาทา อะวัญจะนา
มาตาปตา จะ นิกขันตา ชาตะเวทะปะติกกะมะ
สุวัณณะภูมิง คันต๎วานะ โสนุตตะรา มะหิทธิกา
ปสาเจ นิททะมิต๎วานะ พ๎รัห๎มะชาลัง อาเทเสยยุง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 67
เอเต สัพเพ ยักขา ปะลายันตุ,
อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน
อะนุโมทันตุ, จิรัง รักขันตุ “สาสะนัง”
อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน
อะนุโมทันตุ, จิรัง รักขันตุ “ปาณิโน”
อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน
อะนุโมทันตุ, จิรัง รักขันตุ “โน สะทา”
อากาสัฏฐา จะ ภุมมัฏฐา เทวะนาคา มะหิทธิกา ปุญญัง โน
อะนุโมทันตุ, โสตถิง คัจฉันตุ เทวะตาคะตา.
จุลลชัยยปกรณ ( ชัยนอย, )
นะโม เม พุทธะเตชัสสา ระตะนัตตะยะธัมมิกา
เตชะปะสิทธิ ปะสีเทวา นารายะปะระเมสุรา
สิทธิ พ๎รห๎มา จะ อินทา จะ จะตุโลกา คัมภีรักขะกา
สะมุททา ภูตุงคังคา จะ สะห๎รัมพะชัยะปะสิทธิ ภะวันตุเต
ชัยะ ชัยะ ธะระณิ ธะระณี อุทะธิ อุทะธี นะทิ นะที
ชัยะ ชัยะ คะคนละตนละนิสัย นิรัยสัยเสนนะเมรุราชชะพลนระชี
ชัยะ ชัยะ คัมภีระโสมภี นาเคนทะนาคี ปสาจจะ ภูตะกาลี
ชัยะ ชัยะ ทุนนิมิตตะโรคี ชัยะ ชัยะ สิงคีสุทาทานะมุขะชา
ชัยะ ชัยะ วะรุณณะมุขะสาตรา ชัยะ ชัยะ จัมปาทินาคะกุละคันถก
ชัยะ ชัยะ คัชชะคนนะตุรง สุกระภุชงสีหะ เพียคฆะทีปา
ชัยะ ชัยะ วะรุณณะมุขะยาตรา ชิตะ ชิตะ เสนนารีปุนะสุทธินระดี
ชัยะ ชัยะ สุขาสุขาชีวี ชัยะ ชัยะ ธระณีตะเลสะทาสุชัยยา
ชัยะ ชัยะ ธระณีสานตินสะทา ชัยะ ชัยะ มังกะราชรัญญาภะวัคเค
ชัยะ ชัยะ วะรุณณะยักเข ชัยะ ชัยะ รักขะเส สุระภูชะเตชา
ชัยะ ชัยะ พ๎รห๎มเมนทะคะณา ชัยะ ชัยะ ราชาธิราชสาชชัย
ชัยะ ชัยะ ปะฐะวิงสัพพัง ชัยะ ชัยะ อระหันตาปจเจกะพุทธะสาวัง
68 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ชัยะ ชัยะ มะเหสุโร หะโรหะรินเทวา ชัยะ ชัยะ พ๎รห๎มมาสุรักโข
ชัยะ ชัยะ นาโค วิรุฬหะโก วิรูปกโข จันทิมา ระวิ
อินโท จะ เวนะ เตยโย จะ กุเวโร วะรุโณ ป จะ
อัคคิ วาโย จะ ปาชุณโห กุมาโร ธะตะรัฏฐะโก
อัฏฐาระสะ มะหาเทวา สิทธิตาปะสะอาทะโย
อิสิโน สาวะกา สัพพา ชัยะ ราโม ภะวันตุ เต
ชัยะ ธัมโม จะ สังโฆ จะ ทะสะปาโล จะ ชัยะกัง
เอเตนะ ชัยะ เตเชนะ ชัยะโสตถี ภะวันตุ เต
เอเตนะ พุทธะ เตเชนะ โหตุ เต ชัยะมังคะลัง
ชัยโยป พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาป มะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยะตะทา พ๎รห๎มะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยป พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาป มะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยะตะทา อินทะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยป พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาป มะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยะตะทา เทวาคะณา มะเหสิโน
ชัยโยป พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาป มะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มันเฑ ปะโมทิตา ชัยะตะทา สุปณณะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยป พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาป มะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยะตะทา นาคะคะณา มะเหสิโน
ชัยโยป พุทธัสสะ สิริมะโต อะยัง มารัสสะ จะ ปาป มะโต ปะราชะโย
อุคโฆ สะยัมโพธิ มัณเฑ ปะโมทิตา ชัยะตะทา สะห๎รัมพะคะณา มะเหสิโน
ชะยันโต โพธิยา มูเล สักกะยานัง นันทิวัฑฒะโน
เอวัง ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล
อะปะราชิตะปลลังเก สีเส ปะถะวิ โปกขะเร
อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติ
สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 69
สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พ๎รัห๎มะจาริสุ
ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง
ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะนิธี เต ปะทักขิณา
ปะทักขิณานิ กัต๎วานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ
เต อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬ๎หา พุทธะสาสะเน
อะโรคา สุขิตา โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
สุณันตุ โภนโต เย เทวา อัสมิง ฐาเน อะธิคะตา
ทีฆายุกา สะทา โหนตุ สุขิตา โหนตุ สัพพะทา
รักขันตุ สัพพะสัตตานัง รักขันตุ ชินะสาสะนัง
ยา กาจิ ปตถะนา เตสัง สัพเพ ปูเรนตุ มะโนระถา
ยุตตะกาเล ปะวัสสันตุ วัสสัง วัสสาวะลาหะกา
โรคาจุปททะวา เตสัง นิวาเรนตุ จะ สัพพะทา
กายะสุขัง จิตติสุขัง อาระหันตุ ยะถาระหัง.
( อิติ จุลละชะยะปะกะระณัง สะมัตตัง )
70 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
มงคลจักกวาฬใหญ
สิริธิมะติเตโชชะยะสิทธิมะหิทธิมะหาคุณาปะริมิตะปุญญาธิการัสสะ
สัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
ท๎วัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณานุภาเวนะ อะสีตะยานุพะยัญชะนานุภาเวนะ
อัฏgุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ เกตุมาลานุภาเวนะ
ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะปะระมัตถะปาระมิ-
ตานุภาเวนะ สีละสมาธิปญ ญานุภาเวนะ พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุ-
ภาเวนะ เตชานุภาเวนะ อิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ
จะตุราสีตสิ ะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐัง-
คิกะมัคคานุภาเวนะ อัฏฐะสะมาปตติยานุภาเวนะ ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ จะตุ-
สัจจะญาณานุภาเวนะ ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ สัพพัญ\ุ ตะญาณานุภาเวนะ
เมตตากรุณามุทติ าอุเปกขานุภาเวนะ สัพพะปริตตานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะ-
สะระณานุภาเวนะ ตุยหัง สัพพะโรคะโสกุปททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา
วินสั สันตุ สัพพะอันตะรายาป วินสั สันตุ สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ
ทีฆายุกา ตุยหัง โหตุ สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา
อากาสะปพพะตะวะนะภูมิคังคา มะหาสะมุททา อารักขะกา เทวะตา สะทา
ตุมเห อะนุรักขันตุ ฯ
บทขัดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
อะนุตตะรัง อะภิสัมโพธิง สัมพุชฌิต๎วา ตะถาคะโต
ปะฐะมัง ยัง อะเทเสสิ ธัมมะจักกัง อะนุตตะรัง
สัมมะเทวะ ปะวัตเตนโต โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
ยัตถากขาตา อุโภ อันตา ปะฏิปตติ จะ มัชฌิมา
จะตูส๎วาริยะสัจเจสุ วิสุทธัง ญาณะทัสสะนัง
เทสิตัง ธัมมะราเชนะ สัมมาสัมโพธิกิตตะนัง
นาเมนะ วิสสุตัง สุตตัง ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง
เวยยากะระณะปาเฐนะ สังคีตันตัมภะณามะ เส ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 71
ธัมมะจักกัปปะวัตตะนะสุตตัง
เอวัมเม สุตัง . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, พาราณะสิยัง วิหะระติ,
อิสิปะตะเน มิคะทาเย, ตัต๎ระ โข ภะคะวา ปญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิ.
เท๎วเม ภิกขะเว อันตา ปพพะชิเตนะ นะ เสวิตัพพา,โย จายัง กาเมสุ
กามะสุขัลลิกานุโยโค, หีโน คัมโม โปถุชชะนิโก อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต,
โย จายัง อัตตะกิละมะถานุโยโค ,ทุกโข อะนะริโย อะนัตถะสัญหิโต. เอเต
เต ภิกขะเว อุโภ อันเต อะนุปะคัมมะ, มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ
อะภิสัมพุทธา, จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ
สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
กะตะมา จะ สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสมั พุทธา,
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ
สังวัตตะติ.
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค. เสยยะถีทัง. สัมมาทิฏฐิ สัมมา-
สังกัปโป, สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว, สัมมาวายาโม สัมมา-
สะติ สัมมาสะมาธิ.
อะยัง โข สา ภิกขะเว มัชฌิมา ปะฏิปะทา ตะถาคะเตนะ อะภิสมั พุทธา,
จักขุกะระณี ญาณะกะระณี อุปะสะมายะ อะภิญญายะ สัมโพธายะ
นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขัง อะริยะสัจจัง.
ชาติป ทุกขา ชะราป ทุกขา มะระณัมป ทุกขัง, โสกะปะริเทวะทุกขะ-
โทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา, อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปเยหิ วิปปะโยโค
ทุกโข ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง, สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา
ทุกขา.
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง.
ยายัง ตัณ๎หา โปโนพภะวิกา นันทิราคะสะหะคะตา ตัต๎ระ ตัต๎ราภินันทินี.
เสยยะถีทัง. กามะตัณ๎หา ภะวะตัณ๎หา วิภะวะตัณ๎หา.
72 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง.
โย ตัสสาเยวะ ตัณ๎หายะ อะเสสะวิราคะนิโรโธ จาโค ปะฏินิสสัคโค มุตติ
อะนาละโย.
อิทัง โข ปะนะ ภิกขะเว ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง.
อะยะเมวะ อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค.เสยยะถีทัง. สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปโป,
สัมมาวาจา สัมมากัมมันโต สัมมาอาชีโว, สัมมาวายาโม สัมมาสะติ สัมมา-
สะมาธิ.
อิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา
อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญเญยยันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขัง อะริยะสัจจัง ปะริญญาตันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
อิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว , ปุพเพ
อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ
วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหาตัพพันติ
เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง
อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ .
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง ปะหีนันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 73
อิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ
ธัมเมสุ,จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ
อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกาตัพพันติ เม
ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ
ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง สัจฉิกะตันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
อิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจันติ เม ภิกขะเว,
ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา
อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง
ภาเวตัพพันติ เม ภิกขะเว,ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ
ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ตัง โข ปะนิทัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง
ภาวิตันติ เม ภิกขะเว, ปุพเพ อะนะนุสสุเตสุ ธัมเมสุ, จักขุง อุทะปาทิ
ญาณัง อุทะปาทิ ปญญา อุทะปาทิ วิชชา อุทะปาทิ อาโลโก อุทะปาทิ.
ยาวะกีวัญจะ เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติ ปะริ-
วัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง นะ สุวิสุทธัง อะโหสิ.
เนวะ ตาวาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก,
สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง
สัมมาสัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปจจัญญาสิง.
ยะโต จะ โข เม ภิกขะเว อิเมสุ จะตูสุ อะริยะสัจเจสุ, เอวันติ
ปะริวัฏฏัง ท๎วาทะสาการัง ยะถาภูตัง ญาณะทัสสะนัง สุวิสุทธัง อะโหสิ.
อะถาหัง ภิกขะเว สะเทวะเก โลเก สะมาระเก สะพ๎รัห๎มะเก, สัสสะ-
74 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
มะณะพ๎ราห๎มะณิยา ปะชายะ สะเทวะมะนุสสายะ, อะนุตตะรัง สัมมา-
สัมโพธิง อะภิสัมพุทโธ ปจจัญญาสิง.
ญาณัญจะ ปะนะ เม ทัสสะนัง อุทะปาทิ, อะกุปปา เม วิมุตติ,
อะยะมันติมา ชาติ, นัตถิทานิ ปุนัพภะโวติ.
อิทะมะโวจะ ภะคะวา ฯ อัตตะมะนา ปญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต
ภาสิตัง อะภินันทุง ฯ อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน,
อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง อุทะปาทิ,
ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ.
ปะวัตติเต จะ ภะคะวะตา ธัมมะจักเก,ภุมมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง,
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง
ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา
เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ.
ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
ยามานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .

(เมื่อจะสวดยอเพียงสวรรค ๖ ชั้น ครั้นสวดมาถึงตรงนี้แลว สวด พ๎รัห๎มะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสา-


เวสุง แลวลง เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย ฯล เหมือนกันไปจนจบ)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 75
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
พ๎รัห๎มะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
พ๎รัห๎มะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
พ๎รัห๎มะปะโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
พ๎รัห๎มะปะโรหิตานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
มะหาพ๎รัห๎มา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
มะหาพ๎รัห๎มานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสา เวสุง .
อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
อาภัสสะรา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
สุภะกิณ๎หะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
สุภะกิณ๎หะกานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง .
76 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุต๎วา
อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง.
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง
ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง, อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พ๎ราห๎มะเณนะ วา
เทเวนะ วา มาเรนะ วา พ๎รัห๎มุนา วา เกนะจิ วา โลกัส๎มินติ.
อิติหะ เตนะ ขะเณนะ เตนะ มุหุตเตนะ, ยาวะ พ๎รัห๎มะโลกา สัทโท
อัพภุคคัจฉิ . อะยัญจะ ทะสะสะหัสสี โลกะธาตุ, สังกัมป สัมปะกัมป
สัมปะเวธิ. อัปปะมาโณ จะ โอฬาโร โอภาโส โลเก ปาตุระโหสิ, อะติกกัม
เมวะ เทวานัง เทวานุภาวัง . อะถะโข ภะคะวา อุทานัง อุทาเนสิ,
อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญ, อัญญาสิ วะตะ โภ โกณฑัญโญติ. อิติหิทัง
อายัส๎มะโต โกณฑัญญัสสะ อัญญาโกณฑัญโญเต๎ววะ นามัง อะโหสีติ.

อนัตตะลักขะณะสูตร
เอวัมเม สุตัง . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, พาราณะสิยัง วิหะระติ,
อิสิปะตะเน มิคะทาเย . ตัต๎ระ โข ภะคะวา ปญจะวัคคิเย ภิกขู อามันเตสิฯ
รูปง ภิกขะเว อะนัตตา . รูปญจะหิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ,
นะยิทัง รูปง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ รูเป, เอวัง เม รูปง โหตุ
เอวัง เม รูปง มา อะโหสีติ . ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว รูปง อะนัตตา, ตัส๎มา
รูปง อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ รูเป, เอวัง เม รูปง โหตุ เอวัง
เม รูปง มา อะโหสีติ.
เวทะนา อะนัตตา . เวทะนา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ,
นะยิทัง เวทะนา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ เวทะนายะ, เอวัง
เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติ. ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว
เวทะนา อะนัตตา, ตัส๎มา เวทะนา อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 77
เวทะนายะ, เอวัง เม เวทะนา โหตุ เอวัง เม เวทะนา มา อะโหสีติ.
สัญญา อะนัตตา. สัญญา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ, นะยิทัง
สัญญา อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ สัญญายะ, เอวัง เม สัญญา โหตุ
เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ. ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว สัญญา อะนัตตา,
ตัสม๎ า สัญญา อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ จะ ลัพภะติ สัญญายะ, เอวัง เม
สัญญา โหตุ เอวัง เม สัญญา มา อะโหสีติ.
สังขารา อะนัตตา. สังขารา จะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสังสุ,
นะยิทงั สังขารา อาพาธายะ สังวัตเตยยุง, ลัพเภถะ จะ สังขาเรสุ, เอวัง เม
สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติ. ยัส๎มา จะ โข ภิกขะเว
สังขารา อะนัตตา, ตัสม๎ า สังขารา อาพาธายะ สังวัตตันติ, นะ จะ ลัพภะติ
สังขาเรสุ, เอวัง เม สังขารา โหนตุ เอวัง เม สังขารา มา อะเหสุนติ.
วิญญาณัง อะนัตตา. วิญญาณัญจะ หิทัง ภิกขะเว อัตตา อะภะวิสสะ,
นะยิทัง วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตเตยยะ, ลัพเภถะ จะ วิญญาเณ, เอวัง
เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา อะโหสีติ. ยัส๎มา จะ โข
ภิกขะเว วิญญาณัง อะนัตตา, ตัส๎มา วิญญาณัง อาพาธายะ สังวัตตะติ, นะ
จะ ลัพภะติ วิญญาเณ, เอวัง เม วิญญาณัง โหตุ เอวัง เม วิญญาณัง มา
อะโหสีติ.
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว รูปง นิจจัง วา อะนิจจัง วาติ.
อะนิจจัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต.
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปสสิตุง,
เอตัง มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว เวทะนา นิจจา วา อะนิจจา วาติ. อะนิจจา
ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตังสุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง
ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปสสิตุง, เอตัง มะมะ
เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สัญญา นิจจา วา อะนิจจา วาติ.
78 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะนิจจา ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต.
ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปสสิตุง, เอตัง
มะมะ เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว สังขารา นิจจา วา อะนิจจา วาติ. อะนิจจา
ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง
ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปสสิตุง , เอตัง มะมะ
เอโสหะมัสม๎ ิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต.
ตัง กิง มัญญะถะ ภิกขะเว วิญญานัง นิจจัง วา อะนิจจัง วาติฯ อะนิจจัง
ภันเต. ยัมปะนานิจจัง ทุกขัง วา ตัง สุขัง วาติ. ทุกขัง ภันเต. ยัมปะนานิจจัง
ทุกขัง วิปะริณามะธัมมัง, กัลลัง นุ ตัง สะมะนุปสสิตุง, เอตัง มะมะ
เอโสหะมัส๎มิ เอโส เม อัตตาติ. โน เหตัง ภันเต. ตัส๎มาติหะ ภิกขะเว,
ยังกิญจิ รูปง อะตีตานาคะตะปจจุปปนนัง,อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา,
โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา, หีนัง วา ปะณีตัง วา, ยันทูเร สันติเก วา, สัพพัง
รูปง, เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตาติ . เอวะเมตัง ยะถาภูตัง
สัมมัปปญญายะ ทัฏฐัพพัง.
ยา กาจิ เวทะนา อะตีตานาคะตะปจจุปปนนา,อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา,
โอฬาริกา วา สุขุมา วา, หีนา วา ปะณีตา วา, ยา ทูเร สันติเก วา,
สัพพา เวทะนา, เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตาติฯ เอวะเมตัง
ยะถาภูตัง สัมมัปปญญายะ ทัฏฐัพพัง.
ยา กาจิ สัญญา อะตีตานาคะตะปจจุปปนนา, อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา,
โอฬาริกา วา สุขุมา วา, หีนา วา ปะณีตา วา, ยา ทูเร สันติเก วา ,
สัพพา สัญญา, เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง
ยะถาภูตัง สัมมัปปญญายะ ทัฏฐัพพัง.
79
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

เย เกจิ สังขารา อะตีตานาคะตะปจจุปปนนา, อัชฌัตตา วา พะหิทธา วา,


โอฬาริกา วา สุขุมา วา, หีนา วา ปะณีตา วา, เย ทูเร สันติเก วา, สัพเพ
สังขารา ,เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง ยะถาภูตัง
สัมมัปปญญายะ ทัฏฐัพพัง.
ยังกิญจิ วิญญาณัง อะตีตานาคะตะปจจุปปนนัง , อัชฌัตตัง วา พะหิทธา
วา, โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา, หีนัง วา ปะณีตัง วา, ยันทูเร สันติเก วา, สัพพัง
วิญญาณัง, เนตัง มะมะ เนโสหะมัส๎มิ นะ เมโส อัตตาติ. เอวะเมตัง
ยะถาภูตัง สัมมัปปญญายะ ทัฏฐัพพัง .
เอวัง ปสสัง ภิกขะเว สุต๎วา อะริยะสาวะโก, รูปสม๎ ิงป นิพพินทะติ,
เวทะนายะป นิพพินทะติ, สัญญายะป นิพพินทะติ, สังขาเรสุป นิพพินทะติ,
วิญญาณัส๎มิงป นิพพินทะติ. นิพพินทัง วิรัชชะติ. วิราคา วิมุจจะติ .
วิมุตตัส๎มิง วิมุตตะมีติ ญาณัง โหติ, ขีณา ชาติ, วุสิตัง พ๎รัห๎มะจะริยัง,
กะตัง กะระณียัง, นาปะรัง อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ.
อิทะมะโวจะ ภะคะวา. อัตตะมะนา ปญจะวัคคิยา ภิกขู ภะคะวะโต
ภาสิตัง อะภินันทุง. อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน,
ปญจะวัคคิยานัง ภิกขูนัง อะนุปาทายะ, อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ.

อาทิตตะปริยายะสูตร
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, คะยายัง วิหะระติ คะยาสีเส,
สัทธิง ภิกขุสะหัสเสนะ. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ.
สัพพัง ภิกขะเว อาทิตตัง. กิญจะ ภิกขะเว สัพพัง อาทิตตัง.
จักขุง ภิกขะเว อาทิตตัง, รูปา อาทิตตา, จักขุวิญญานัง อาทิตตัง,
จักขุสัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปทัง จักขุสัมผัสสะปจจะยา อุปปชชะติ เวทะยิตัง,
สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัมป อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง.
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ,
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ.
80 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
โสตัง อาทิตตัง , สัททา อาทิตตา , โสตะวิญญานัง อาทิตตัง , โสตะ-
สัมผัสโส อาทิตโต , ยัมปทัง โสตะสัมผัสสะปจจะยา อุปปชชะติ เวทะยิตัง,
สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัมป อาทิตตัง. เกนะ
อาทิตตังฯ อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา
ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ
อาทิตตันติ วะทามิ.
ฆานัง อาทิตตัง, คันธา อาทิตตา, ฆานะวิญญานัง อาทิตตัง , ฆานะ-
สัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปทัง ฆานะสัมผัสสะปจจะยา อุปปชชะติ เวทะยิตัง,
สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัมป อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง.
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ,
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ
วะทามิ.
ชิวหา อาทิตตา, ระสา อาทิตตา, ชิวหาวิญญานัง อาทิตตัง, ชิวหา
สัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปทัง ชิวหาสัมผัสสะปจจะยา อุปปชชะติ เวทะยิตัง,
สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัมป อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง.
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ,
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ.
กาโย อาทิตโต, โผฏฐัพพา อาทิตตา, กายะวิญญานัง อาทิตตัง. กายะ-
สัมผัสโส อาทิตโต, ยัมปทงั กายะสัมผัสสะปจจะยา อุปปชชะติ เวทะยิตงั ,
สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัมป อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง.
อาทิตตัง ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ.
มะโน อาทิตโต, ธัมมา อาทิตตา, มะโนวิญญาณัง อาทิตตัง, มะโนสัมผัสโส
อาทิตโต, ยัมปทงั มะโนสัมผัสสะปจจะยา อุปปชชะติ เวทะยิตงั , สุขัง วา
ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัมป อาทิตตัง. เกนะ อาทิตตัง. อาทิตตัง
ราคัคคินา โทสัคคินา โมหัคคินา, อาทิตตัง ชาติยา ชะรามะระเณนะ,
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ อาทิตตันติ วะทามิ.
81
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

เอวัง ปสสัง ภิกขะเว สุตว๎ า อะริยะสาวะโก, จักขุสม๎ งิ ป นิพพินทะติ,


รูเปสุป นิพพินทะติ, จักขุวญ
ิ ญาเณป นิพพินทะติ, จักขุสมั ผัสเสป นิพพินทะติ,
ยัมปทัง จักขุสัมผัสสะปจจะยา อุปปชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา
อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัส๎มงิ ป นิพพินทะติ.
โสตัส๎มิงป นิพพินทะติ, สัทเทสุป นิพพินทะติ, โสตะวิญญาเณป
นิพพินทะติ, โสตะสัมผัสเสป นิพพินทะติ, ยัมปทัง โสตะสัมผัสสะปจจะยา
อุปปชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัส๎มิงป
นิพพินทะติ.
ฆานัส๎มิงป นิพพินทะติ, คันเธสุป นิพพินทะติ , ฆานะวิญญาเณป
นิพพินทะติ , ฆานะสัมผัสเสป นิพพินทะติ, ยัมปทัง ฆานะสัมผัสสะปจจะยา
อุปปชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัส๎มิงป
นิพพินทะติ.
ชิวหายะป นิพพินทะติ, ระเสสุป นิพพินทะติ, ชิวหาวิญญาเณป
นิพพินทะติ, ชิวหาสัมผัสเสป นิพพินทะติ, ยัมปทัง ชิวหาสัมผัสสะปจจะยา
อุปปชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัส๎มิงป
นิพพินทะติ.
กายัส๎มิงป นิพพินทะติ, โผฏฐัพเพสุป นิพพินทะติ, กายวิญญาเณป
นิพพินทะติ, กายะสัมผัสเสป นิพพินทะติ, ยัมปทัง กายะสัมผัสสะปจจะยา
อุปปชชะติ เวทะยิตัง, สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัส๎มิงป
นิพพินทะติ.
มะนัส๎มิงป นิพพินทะติ, ธัมเมสุป นิพพินทะติ, มะโนวิญญาเณป
นิพพินทะติ, มะโนสัมผัสเสป นิพพินทะติ, ยัมปทัง มะโนสัมผัสสะปจจะยา
อุปปชชะติ เวทะยิตงั , สุขัง วา ทุกขัง วา อะทุกขะมะสุขัง วา, ตัส๎มิงป
นิพพินทะติ. นิพพินทัง วิรัชชะติ. วิราคา วิมุจจะติ. วิมุตตัส๎มิง วิมุตตะมีติ
ญาณัง โหติ, ขีณา ชาติ วุสติ งั พ๎รหั ม๎ ะจะริยงั , กะตัง กะระณียงั , นาปะรัง
อิตถัตตายาติ ปะชานาตีติ.
82 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิทะมะโวจะ ภะคะวา. อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง
อะภินันทุง. อิมัส๎มิญจะ ปะนะ เวยยากะระณัส๎มิง ภัญญะมาเน, ตัสสะ
ภิกขุสะหัสสัสสะ อะนุปาทายะ, อาสะเวหิ จิตตานิ วิมุจจิงสูติ.

มะหาสะมะยะสุตตัง (มหาสมัยสูตร)
เอวัมเม สุตงั . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สักเกสุ วิหะระติ กะปละวัตถุสม๎ งิ
มะหาวะเน มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ สัทธิง ปญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ
สัพเพเหวะ อะระหันเตหิ. ทะสะหิ จะ โลกะธาตูหิ เทวะตา เยภุยเยนะ
สันนิปะติตา โหนติ ภะคะวันตัง ทัสสะนายะ ภิกขุสังฆัญจะ. อะถะโข
จะตุนนัง สุทธาวาสะกายิกานัง เทวานัง เอตะทะโหสิ.อะยัง โข ภะคะวา
สักเกสุ วิหะระติ กะปละวัตถุส๎มิง มะหาวะเน มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ
สัทธิง ปญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ สัพเพเหวะ อะระหันเตหิ ทะสะหิ จะ
โลกะธาตูหิ เทวะตา เยภุยเยนะ สันนิปะติตา โหนติ ภะคะวันตัง
ทัสสะนายะ ภิกขุสังฆัญจะ ยันนูนะ มะยัมป เยนะ ภะคะวา เตนุปะ สังกะ-
เมยยามะ อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวะโตสันติเก ปจเจกะคาถา ภาเสยยามาติ.
อะถะโข ตา เทวะตา เสยยะถาป นามะ พะละวา ปุริโส สัมมิญชิตัง วา
พาหัง ปะสาเรยยะ ปาสาริตัง วา พาหัง สัมมิญเชยยะ เอวะเมวะ สุทธาวาเสสุ
เทเวสุ อันตะระหิตา ภะคะวะโต ปุระโต ปาตุระหังสุ. อะถะโข ตา เทวะตา
ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง อัฏฐังสุ. เอกะมันตัง ฐิตา โข เอกา
เทวะตา ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คาถัง อะภาสิ
มะหาสะมะโย ปะวะนัส๎มิง เทวะกายา สะมาคะตา
อาคะตัมหะ อิมัง ธัมมะสะมะยัง
ทักขิตาเยวะ อะปะราชิตะสังฆันติ.
อะถะโข อะปะรา เทวะตา ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คาถัง อะภาสิ.
ตัต๎ระ ภิกขะโว สะมาทะหังสุ
จิตตัง อัตตะโน อุชุกะมะกังสุ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 83
สาระถีวะ เนตตานิ คะเหต๎วา
อินท๎ริยานิ รักขันติ ปณฑิตาติ.
อะถะโข อะปะรา เทวะตา ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คาถัง อะภาสิ.
เฉต๎วา ขีลัง เฉต๎วา ปะลีฆัง
อินทะขีลัง โอหัจจะมะเนชา
เต จะรันติ สุทธา วิมะลา
จักขุมะตา สุทันตา สุสู นาคาติ
อะถะโข อะปะรา เทวะตา ภะคะวะโต สันติเก อิมัง คาถัง อะภาสิ.
เย เกจิ พุทธัง สะระณังคะตา เส
นะ เต คะมิสสันติ อะปายะภูมิง
ปะหายะ มานุสัง เทหัง
เทวะกายัง ปะริปูเรสสันตีติ.
อะถะโข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ, เยภุยเยนะ ภิกขะเว ทะสะสุ
โลกะธาตูสุเทวะตา สันนิปะติตา โหนติ ตะถาคะตัง ทัสสะนายะ ภิกขุสังฆัญจะ
เยป เต ภิกขะเว อะเหสุง อะตีตะมัทธานัง อะระหันโต สัมมาสัมพุทธาเตสัมป
ภะคะวันตานัง เอตะปะระมาเยวะ เทวะตา สันนิปะติตา อะเหสุง. เสยยะถาป
มัยหัง เอตะระหิ เยป เต ภิกขะเว ภะวิสสันติ.อะนาคะตะมัทธานัง อะระหันโต
สัมมาสัมพุทธา,เตสัมป ภะคะวันตานัง เอตะปะระมาเยวะ เทวะตา สันนิปะติตา
ภะวิสสันติ.เสยยะถาป มัยหัง เอตะระหิ อาจิกขิสสามิ ภิกขะเว เทวะกายานัง
นามานิ. กิตตะยิสสามิ ภิกขะเว เทวะกายานัง นามานิเทสิสสามิ ภิกขะเว เทวะ
กายานัง นามานิ. ตัง สุณาถะ สาธุกงั มะนะสิกะโรถะ ภาสิสสามีต.ิ เอวัมภันเตติ
โข เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ.
สิโลกะมะนุสกัสสามิ ยัตถะ ภุมมา ตะทัสสิตา
เย สิตา คิริคัพภะรัง ปะหิตัตตา สะมาหิตา
ปุถู สีหาวะ สัลลีนา โลมะหังสา ภิสัมภุโน
โอทาตะมะนะสา สุทธา วิปปะสันนะมะนาวิลา
84 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ภิยโย ปญจะสะเต ญัต๎วา วะเน กาปละวัตถะเว
ตะโต อามันตะยิ สัตถา สาวะเก สาสะเน ระเต
เทวะกายา อะภิกกันตา เต วิชานาถะ ภิกขะโว
เต จะ อาตัปปะมะกะรุง สุต๎วา พุทธัสสะ สาสะนัง
เตสัมปาตุระหุ ญาณัง อะมะนุสสานะ ทัสสะนัง
อัปเปเก สะตะมัททักขุง สะหัสสัง อะถะ สัตตะริง
สะตัง เอเก สะหัสสานัง อะมะนุสสานะมัททะสุง
อัปเปเกนันตะมัททักขุง ทิสา สัพพา ผุฏา อะหุง
ตัญจะ สัพพัง อะภิญญายะ วะวักขิต๎วานะ จักขุมา
ตะโต อามันตะยิ สัตถา สาวะเก สาสะเน ระเต
เทวะกายา อะภิกกันตา เต วิชานาถะ ภิกขะโว
เย โวหัง กิตตะยิสสามิ คิราหิ อะนุปุพพะโส
สัตตะสะหัสสาวะ ยักขา ภุมมา กาปละวัตถะวา
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
ฉะสะหัสสา เหมะวะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
สาตาคิรา ติสะหัสสา ยักขา นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
อิจเจเต โสฬะสะสะหัสสา ยักขา นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
เวสสามิตตา ปญจะสะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 85
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
กุมภิโร ราชะคะหิโก เวปุลลัสสะ นิเวสะยัง
ภิยโย นัง สะตะสะหัสสัง ยักขานัง ปะยิรุปาสะติ
กุมภิโร ราชะคะหิโก โสปาคะ สะมิติง วะนัง.
*ปุริมัญจะ ทิสัง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ
คันธัพพานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
ทักขิณัญจะ ทิสัง ราชา วิรุฬ๎โห ตัปปะสาสะติ
กุมภัณฑานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
ปจฉิมัญจะ ทิสัง ราชา วิรูปกโข ปะสาสะติ
นาคานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
อุตตะรัญจะ ทิสัง ราชา กุเวโร ตัปปะสาสะติ
ยักขานัง อาธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนงั สะมิติง วะนัง.
ปุริมะทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
ปจฉิเมนะ วิรูปกโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง.
86 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
ทัททัลละมานา อัฏฐังสุ วะเน กาปละวัตถะเว.
เตสัง มายาวิโน ทาสา อาคู วัญจะนิกา สะฐา
มายา กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ วิฏh จะ วิฏiโต สะหะ
จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ
ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ
จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ นะโฬราชา ชะโนสะโภ
อาคู ปญจะสิโข เจวะ ติมพะรู สุริยะวัจฉะสา
เอเต จัญเญ จะ ราชาโน คันธัพพา สะหะ ราชุภิ
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
อะถาคู นาภะสา นาคา เวสาลา สะหะตัจฉะกา
กัมพะลัสสะตะรา อาคู ปายาคา สะหะ ญาติภิ.
ยามูนา ธะตะรัฏฐา จะ อาคู นาคา ยะสัสสิโน
เอราวัณโณ มะหานาโค โสปาคะ สะมิติง วะนัง.
เย นาคะราเช สะหะสา หะรันติ
ทิพพา ทิชา ปกขิ วิสุทธะจักขู
เวหายะสา เต วะนะมัชฌะปตตา
จิต๎รา สุปณณา อิติ เตสะ นามัง
อะภะยันตะทา นาคะราชานะมาสิ
สุปณณะโต เขมะมะกาสิ พุทโธ
สัณหาหิ วาจาหิ อุปะวะหะยันตา
นาคา สุปณณา สะระณะมะกังสุ พุทธัง.
ชิตา วะชิระหัตเถนะ สะมุททัง อะสุรา สิตา
ภาตะโร วาสะวัสเสเต อิทธิมันโต ยะสัสสิโน
กาละกัญชา มะหาภิส๎มา อะสุรา ทานะเวฆะสา
เวปะจิตติ สุจิตติ จะ ปะหาราโท นะมุจี สะหะ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 87
สะตัญจะ พะลิปุตตานัง สัพเพ เวโรจะนามะกา
สันนัยหิต๎วา พะลิง เสนัง ราหุภัททะมุปาคะมุง
สะมะโยทานิ ภัททันเต ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
อาโป จะ เทวา ปะฐะวี จะ เตโช วาโย ตะทาคะมุง
วะรุณา วารุณา เทวา โสโม จะ ยะสะสา สะหะ
เมตตากะรุณากายิกา อาคู เทวา ยะสัสสิโน
ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
เวณฑู จะ เทวา สะหะลี จะ อะสะมา จะ ทุเว ยะมา
จันทัสสูปะนิสา เทวา จันทะมาคู ปุรักขิตา
สุริยัสสูปะนิสา เทวา สุริยะมาคู ปุรักขิตา
นักขัตตานิ ปุรักขิต๎วา อาคู มันทะวะลาหะกา
วะสูนัง วาสะโว เสฏโฐ สักโกปาคะ ปุรินทะโท
ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
อะถาคู สะหะภู เทวา ชะละมัคคิสิขาริวะ
อะริฏฐะกา จะ โรชา จะ อุมมาปุปผะนิภาสิโน
วะรุณา สะหะธัมมา จะ อัจจุตา จะ อะเนชะกา
สุเลยยะรุจิรา อาคู อาคู วาสะวะเนสิโน
ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
สะมานา มะหาสะมานา มานุสา มานุสุตตะมา
ขิฑฑาปะทูสิกา อาคู อาคู มะโนปะทูสิกา
88 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะถาคู หะระโย เทวา เย จะ โลหิตะวาสิโน
ปาระคา มะหาปาระคา อาคู เทวา ยะสัสสิโน
ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
สุกกา กะรุมหา อะรุณา อาคู เวฆะนะสา สะหะ
โอทาตะคัยหา ปาโมกขา อาคู เทวา วิจักขะณา
สะทามัตตา หาระคะชา มิสสะกา จะ ยะสัสสิโน
ถะนะยัง อาคา ปะชุนโน โย ทิสา อะภิวัสสะติ
ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
เขมิยา ตุสิตา ยามา กัฏฐะกา จะ ยะสัสสิโน
ลัมพิตะกา ลามะเสฏฐา โชตินามา จะ อาสะวา
นิมมานะระติโน อาคู อะถาคู ปะระนิมมิตา
ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง ภิกขูนัง สะมิติง วะนัง.
สัฏเฐเต เทวะนิกายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
นามันวะเยนะ อาคัญฉุง เย จัญเญ สะทิสา สะหะ
ปะวุตถะชาติมักขีลัง โอฆะติณณะมะนาสะวัง
ทักเขโมฆะตะรัง นาคัง จันทังวะ อะสิตาสิตัง
สุพ๎รัห๎มา ปะระมัตโต จะ ปุตตา อิทธิมะโต สะหะ
สันนังกุมาโร ติสโส จะ โสปาคะ สะมิติง วะนัง.
สะหัสสะพ๎รัห๎มะโลกานัง มะหาพ๎รัห๎มาภิติฏฐะติ
อุปะปนโน ชุติมันโต ภิส๎มากาโย ยะสัสสิ โส.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 89
อะเสตถะ อิสสะรา อาคู ปจเจกะวะสะวัตติโน
เตสัญจะ มัชฌะโต อาคา หาริโต ปะริวาริโต.
เต จะ สัพเพ อะภิกกันเต สินเท เทเว สะพ๎รัห๎มะเก
มาระเสนา อะภิกกามิ ปสสะ กัณหัสสะ มันทิยัง
เอถะ คัณหะถะ พันธะถะ ราเคนะ พันธมัตถุ โว
สะมันตา ปะริวาเรถะ มา โว มุญจิตถะ โกจิ นัง.
อิติ ตัตถะ มะหาเสโน กัณหะเสนัง อะเปสะยิ
ปาณินา ตะละมาหัจจะ สะรัง กัต๎วานะ เภระวัง.
ยะถา ปาวุสสะโก เมโฆ ถะนะยันโต สะวิชชุโก
ตะทา โส ปจจุทาวัตติ สังกุทโธ อะสะยังวะเส.
ตัญจะ สัพพัง อะภิญญายะ วะวักขิต๎วานะ จักขุมา
ตะโต อามันตะยิ สัตถา สาวะเก สาสะเน ระเต
มาระเสนา อะภิกกันตา เต วิชานาถะ ภิกขะโว.
เต จะ อาตัปปะมะกะรุง สุต๎วา พุทธัสสะ สาสะนัง
วีตะราเคหิ ปกกามุง เนสัง โลมัมป อิญชะยุง.
สัพเพ วิชิตะสังคามา ภะยาตีตา ยะสัสสิโน
โมทันติ สะหะ ภูเตหิ สาวะกา เต ชะเนสุตาติ.

มหาสะมะยะสุตตัง นิฎฐิตัง ฯ
90 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
สาราณียะธัมมะสุตตัง
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สาวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกัสสะ, อาราเม. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ.
ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ,
ฉะยิเม ภิกขะเว ธัมมา สาราณียา ปยะกะระณา คะรุกะระณา, สังคะหายะ
อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ สังวัตตันติ. กะตะเม ฉะ.
๑. อิธะ ภิกขะเว ภิกขุโน, เมตตัง กายะกัมมัง ปจจุปฏฐิตัง โหติ,
สะพ๎รัห๎มะจารีสุ อาวิเจวะ ระโห จะ. อะยัมป ธัมโม สาราณีโย ปยะกะระโณ
คะรุกะระโณ, สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.
๒. ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุโน, เมตตัง วะจีกัมมัง ปจจุปฏฐิตัง โหติ,
สะพ๎รหั ม๎ ะจารีสุ อาวิเจวะ ระโห จะ. อะยัมป ธัมโม สาราณีโย ปยะกะระโณ
คะรุกะระโณ, สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.
๓. ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุโน, เมตตัง มะโนกัมมัง ปจจุปฏ ฐิตงั โหติ,
สะพdรัหdมะจารีสุ อาวิเจวะ ระโห จะ. อะยัมป ธัมโม สาราณีโย ปยะกะระโณ
คะรุ กะระโณ, สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.
๔. ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ, เย เต ลาภา ธัมมิกา ธัมมะลัทธา. อันตะมะโส
ปตตะปะริยาปนนะมัตตัมป, ตะถารูเปหิ ลาเภหิ อัปปะฏิวิภัตตะโภคี โหติ,
สีละวันเตหิ สะพ๎รหั ม๎ ะจารีหิ สาธาระณะโภคี.อะยัมป ธัมโม สาราณีโย ปยะกะระโณ
คะรุกะระโณ, สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.
๕. ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ, ยานิ ตานิ สีลานิ อะขัณฑานิ อะฉิททานิ
อะสะพะลานิ อะกัมมาสานิ, ภุชสิ สานิ วิญ\ูปะสัตถานิ อะปะรามัตถานิ สะมาธิ
สังวัตตะนิกานิ, ตะถารูเปสุ สีเลสุ สีละสามัญญะคะโต วิหะระติ, สะพ๎รหั ม๎ ะจารีหิ
อาวิ เจวะ ระโห จะ. อะยัมป ธัมโม สาราณีโย ปยะกะระโณ คะรุกะระโณ,
สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ สังวัตตะติ.
91
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

๖. ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ, ยายัง ทิฏฐิ อะริยา นิยยานิกา. นิยยาติ


ตักกะรัสสะ สัมมาทุกขักขะยายะ, ตะถารูปายะ ทิฏฐิยา ทิฏฐิสามัญญะคะโต
วิหะระติ, สะพ๎รหั ม๎ ะจารีหิ อาวิ เจวะ ระโหจะ. อะยัมป ธัมโม สาราณีโย
ปยะกะระโณ คะรุกะระโณ, สังคะหายะ อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ
สังวัตตะติ.
อิเม โข ภิกขะเว ฉะ ธัมมา สาราณียา ปยะกะระณา คะรุกะระณา, สังคะหายะ
อะวิวาทายะ สามัคคิยา เอกีภาวายะ สังวัตตันตีต.ิ อิทะมะโวจะ ภะคะวา. อัตตะ-
มะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง, อะภินันทุนติ.

ภิกขุอะปะริหานิยะธัมมะสุตตัง
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, ราชะคะเห วิหะระติ,
คิชฌะกูเฏ ปพพะเต, ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ. สัตตะ โว
ภิกขะเว อะปะริหาริเย ธัมเม เทเสสสามิ, ตัง สุณาถะ สาธุกัง มะนะสิกะ
โรถะ ภาสิสสามีติ. เอวัมภันเตติ โข เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง.
ภะคะวา เอตะทะโวจะ. กะตะเม จะ ภิกขะเว สัตตะ อะปะริหานิยา ธัมมา.
๑. ยาวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, อะภิณ๎หะสันนิปาตา ภะวิสสันติ สันนิ-
ปาตะพะหุลา, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนัง ปาฏิกังขา โน ปะริหานิ.
๒. ยาวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, สะมัคคา สันนิปะติสสันติ, สะมัคคา
วุฏฐะหิสสันติ, สะมัคคา สังฆะกะระณียานิ กะริสสันติ. วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว
ภิกขูนัง ปาฏิกังขา โน ปะริหานิ.
๓. ยาวะกีวญั จะ ภิกขะเว ภิกขู, อะปญญัตตัง นะ ปญญะเปสสันติ,ปญญัตตัง
นะ สะมุจฉินทิสสันติ, ยะถาปญญัตเตสุ สิกขาปะเทสุ สะมาทายะ วัตติสสันติ,
วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนัง ปาฏิกังขา โน ปะริหานิ.
๔. ยาวะกีวญั จะ ภิกขะเว ภิกขู, เย เต ภิกขู เถรา รัตตัญ\ู จิระปพพะชิตา,
สังฆะปตะโร สังฆะปะริณายะกา, เต สักกะริสสันติ คะรุกะริสสันติ มาเนสสันติ
ปูเชสสันติ, เตสัญจะ โส ตัพพัง มัญญิสสันติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนงั
ปาฏิกังขา โน ปะริหานิ.
92 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๕. ยาวะกีวญ ั จะ ภิกขะเว ภิกขู,อุปปนนายะ ตัณหายะ โปโนพภะวิกายะโน
วะสัง คัจฉินสันติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิภขูนัง ปาฏิกังขา โน ปะริหานิ.
๖. ยาวะกีวัญจะ ภิกขะเว ภิกขู, อารัญญะเกสุ เสนาสะเนสุ สาเปกขา
ภะวิสสันติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนัง ปาฏิกังขา โน ปะริหานิ.
๗. ยาวะกีวญั จะ ภิกขะเว ภิกขู, ปจจัตตัญเญวะ สะติงอุปฏ ฐะเปสสันติ, กินติ
อะนาคะตา จะ เปสะลา สะพ๎รัห๎มะจารี อาคัจเฉยยุง, อาคะตา จะ เปสะลา
สะพ๎รัห๎มะจารี ผาสุง วิหะเรยยุนติ, วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนัง ปาฏิกังขา
โน ปะริหานิ.
ยาวะกีวัญจะ ภิกขะเว อิเม สัตตะ อะปะริหานิยา ธัมมา ภิกขูสุ
ฐัสสันติ, อิเมสุ จะ สัตตะสุ อะปะริหานิเยสุ ธัมเมสุ ภิกขู สันทิสสิสสันติ,
วุฑฒิเยวะ ภิกขะเว ภิกขูนงั ปาฏิกงั ขา โน ปะริหานีต.ิ อิทะมะโวจะ ภะคะวา.
อัตตะมะนา เต ภิกขู ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติ.

สะติปฏฐานะสุตตัง
อัตถิ โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา สัมมา-
สัมพุทเธนะ. เอกายะโน อะยัง มัคโค สัมมะทักขาโต, สัตตานัง วิสทุ ธิยา,
โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ, ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ,
ญายัสสะ อะธิคะมายะ, นิพพานัสสะ สัจฉิกริ ยิ ายะ. ยะทิทงั จัตตาโร สะติปฏ ฐานา,
กะตะเม จัตตาโร.
อิธะ ภิกขุ กาเย กายานุปส สี วิหะระติ, อาตาป สัมปะชาโน สะติมา
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. เวทะนาสุ เวทะนานุปส สี วิหะระติ,
อาตาป สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โลเก อะภิชฌาโทมะนัสสัง. จิตเต
จิตตานุปส สี วิหะระติ, อาตาป สัมปะชาโน สะติมา วิเนยยะ โลเก อะภิชฌา-
โทมะนัสสัง.ธัมเมสุ ธัมมานุปสสี วิหะระติ, อาตาป สัมปะชาโน สะติมา
วิเนยยะ โลเก อะภิชฌา โทมะนัสสัง.
93
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

๑. กะถัญจะ ภิกขุ กาเย กายานุปส สี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง


วา กาเย กายานุปส สี วิหะระติ, พะหิทธา วา กาเย กายานุปส สี วิหะระติ.
อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปส สี วิหะระติ, สะมุทะยะธัมมานุปส สี วา
กายัสม๎ งิ วิหะระติ, วะยะธัมมานุปส สี วา กายัสม๎ งิ วิหะระติ. สะมุทะยะวะยะ-
ธัมมานุปสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ, อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ
ปจจุปฏ ฐิตา โหติ, ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมตั ตายะ. อะนิสสิโต
จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ กาเย
กายานุปสสี วิหะระติ.
๒. กะถัญจะ ภิกขุ เวทะนาสุ เวทะนานุปสสี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ
อัชฌัตตัง วา เวทะนาสุ เวทะนานุปส สี วิหะระติ, พะหิทธา วา เวทะนาสุ
เวทะนานุปส สี วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธา วา เวทะนาสุ เวทะนานุปส สี
วิหะระติ, สะมุทะยะธัมมานุปส สี วา เวทะนาสุ วิหะระติ, วะยะธัมมานุปส สี
วา เวทะนาสุ วิหะระติ. สะมุทะยะวะยะธัมมานุปส สี วา เวทะนาสุ วิหะระติ,
อัตถิ เวทะนาติ วา ปะนัสสะสะติ ปจจุปฏ ฐิตา โหติ, ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ
ปะติสสะติมตั ตายะ. อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ.
เอวัง โข ภิกขุ เวทะนาสุ เวทะนานุปสสี วิหะระติ.
๓. กะถัญจะ ภิกขุ จิตเต จิตตานุปส สี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง วา
จิตเต จิตตานุปส สี วิหะระติ, พะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปส สี วิหะระติ.
อัชฌัตตะพะหิทธา วา จิตเต จิตตานุปส สี วิหะระติ, สะมุทะยะธัมมานุปส สี
วา จิตตัสะมิง วิหะระติ, วะยะธัมมานุปสสี วา จิตตัส๎มิง วิหะระติ.
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปส สี วา จิตตัสม๎ งิ วิหะระติ, อัตถิ จิตตันติ วา ปะนัสสะ
สะติปจ จุปฏ ฐิตา โหติ, ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติ มัตตายะ. อะนิสสิโต จะ
วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ จิตเต จิตตานุปส สี
วิหะระติ.
๔. กะถัญจะ ภิกขุ ธัมเมสุ ธัมมานุปส สี วิหะระติ. อิธะ ภิกขุ อัชฌัตตัง
วา ธัมเมสุ ธัมมานุปส สี วิหะระติ, พะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปส สี
94 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
วิหะระติ. อัชฌัตตะพะหิทธา วา ธัมเมสุ ธัมมานุปส สี วิหะระติ, สะมุทะยะ-
ธัมมานุปส สี วา ธัมเมสุ วิหะระติ, วะยะธัมมานุปส สี วา ธัมเมสุ วิหะระติ.
สะมุทะยะวะยะธัมมานุปส สี วา ธัมเมสุ วิหะระติ, อัตถิ ธัมมาติ วา ปะนัสสะ
สะติ ปจจุปฏฐิตา โหติ, ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ.
อะนิสสิโต จะ วิหะระติ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ. เอวัง โข ภิกขุ
ธัมเมสุ ธัมมานุปสสี วิหะระติ.
อะยัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา สัมมา-
สัมพุทเธนะ, เอกายะโน มัคโค สัมมะทักขาโต, สัตตานัง วิสุทธิยา,
โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมาย, ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมาย,
ญายัสสะ อะธิคะมายะ, นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ. ยะทิทัง จัตตาโร
สะติปฏฐานาติ.
เอกายะนัง ชาติขะยันตะทัสสี
มัคคัง ปะชานาติ หิตานุกัมป
เอเตนะ มัคเคนะ ตะริงสุ ปุพเพ
ตะริสสะเร เจวะ ตะรันติ โจฆันติ.

มะหากัสสะปะโพชฌังคะสุตตะปาโฐ
เอวัมเม สุตัง . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ
เวฬุวะเน กะลันทะกะนิวาเป ฯ เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ อายัส๎มา
มะหากัสสะโป ปปผะลิคุหายัง วิหะระติ อาพาธิโก ทุกขิโต พาฬ๎หะคิลาโน.
อะถะโข ภะคะวา สายัญหะสะมะยัง ปะฏิสัลลานา วุฏฐิโต
เยนายัส๎มา มะหากัสสะโป เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วา ปญญัตเต
อาสะเน นิสีทิ . นิสัชชะ โข ภะคะวา อายัส๎มันตัง มะหากัสสะปง
เอตะทะโวจะ
กัจจิ เต กัสสะปะ ขะมะนียัง กัจจิ ยาปะนียัง กัจจิ ทุกขา
เวทะนา ปะฏิกกะมันติ โน อะภิกกะมันติ ปะฏิกกะโมสานัง ปญญายะติ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 95
โน อะภิกกะโมติ. นะ เม ภันเต ขะมะนียัง นะ ยาปะนียัง พาฬ๎หา
เม ทุกขา เวทะนา อะภิกกะมันติ โน ปะฏิกกะมันติ อะภิกกะโมสานัง
ปญญายะติ โน ปะฏิกกะโมติ.
สัตติเม กัสสะปะ โพชฌังคา มะยา สัมมะทักขาตา ภาวิตา
พะหุลีกะตา อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตันติ.
กะตะเม สัตตะ.
สะติสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
วิริยะสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ปติสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ปสสัทธิสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
สะมาธิสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อุเปกขาสัมโพชฌังโค โข กัสสะปะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อิเม โข กัสสะปะ สัตตะ โพชฌังคา มะยา สัมมะทักขาตา
ภาวิตา พะหุลีกะตา อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตันตีติ.
ตัคฆะ ภะคะวา โพชฌังคา ตัคฆะ สุคะตะ โพชฌังคาติ.
อิทะมะโวจะ ภะคะวา . อัตตะมะโน อายัส๎มา มะหากัสสะโป
ภะคะวะโต ภาสิตงั อะภินนั ทิ. วุฏฐะหิ จายัสม๎ า มะหากัสสะโป ตัมห๎ า อาพาธา
ตะถาปะหีโน จายัส๎มะโต มะหากัสสะปสสะ โส อาพาโธ อะโหสีติ.
96 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
มะหาโมคคัลลานะโพชฌังคะสุตตะปาโฐ
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ เวฬุวะเน
กะลันทะกะนิวาเป. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ อายัส๎มา มะหาโมคคัลลาโน
คิชฌะกูเฏ ปพพะเต วิหะระติ อาพาธิโก ทุกขิโต พาฬ๎หะคิลาโน.
อะถะโข ภะคะวา สายัณหะสะมะยัง ปะฏิสัลลานา วุฏฐิโต
เยนายัส๎มา มะหาโมคคัลลาโน เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วา ปญญัตเต
อาสะเน นิสีทิ. นิสัชชะ โข ภะคะวา อายัส๎มันตัง มะหาโมคคัลลานัง
เอตะทะโวจะ
กัจจิ เต โมคคัลลานะ ขะมะนียัง กัจจิ ยาปะนียัง กัจจิ ทุกขา
เวทะนา ปะฏิกกะมันติ โน อะภิกกะมันติ ปะฏิกกะโมสานัง ปญญายะติ โน
อะภิกกะโมติ. นะ เม ภันเต ขะมะนียงั นะ ยาปะนียงั พาฬ๎หา เม ทุกขา
เวทะนา อะภิกกะมันติ โน ปะฏิกกะมันติ อะภิกกะโมสานัง ปญญายะติ โน
ปะฏิกกะโมติ.
สัตติเม โมคคัลลานะ โพชฌังคา มะยา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลกี ะตา
อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตันติ. กะตะเม สัตตะ.
สะติสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
วิริยะสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ปติสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ปสสัทธิสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 97
สะมาธิสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อุเปกขาสัมโพชฌังโค โข โมคคัลลานะ มะยา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อิเม โข โมคคัลลานะ สัตตะ โพชฌังคา มะยา สัมมะทักขาตา
ภาวิตา พะหุลีกะตา อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตันตีติ.
ตัคฆะ ภะคะวา โพชฌังคา ตัคฆะ สุคะตะ โพชฌังคาติ.
อิทะมะโวจะ ภะคะวา. อัตตะมะโน อายัส๎มา มะหาโมคคัลลาโน
ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทิ. วุฏฐะหิ จายัส๎มา มะหาโมคคัลลาโน ตัม๎หา
อาพาธา ตะถาปะหีโน จายัส๎มะโต มะหาโมคคัลลานัสสะ โส อาพาธ อะโหสีติ.

มะหาจุนทะโพชฌังคะสุตตะปาโฐ
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ เวฬุวะเน
กะลันทะกะนิวาเป. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ ภะคะวา อาพาธิโก โหติ
ทุกขิโต พาฬ๎หะคิลาโน.
อะถะโข อายัส๎มา มะหาจุนโท สายัณหะสะมะยัง ปะฏิสัลลานา
วุฏฐิโต เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง
อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิ. เอกะมันตัง นิสินนัง โข อายัส๎มันตัง
มะหาจุนทัง ภะคะวา เอตะทะโวจะ ปะฏิภันตุ ตัง จุนทะ โพชฌังคาติ.
สัตติเม ภันเต โพชฌังคา ภะคะวะตา สัมมะทักขาตา ภาวิตา พะหุลี
กะตา อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตันติ. กะตะเม สัตตะ.
สะติสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
98 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
วิริยะสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ปติสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
ปสสัทธิสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทุกขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
สะมาธิสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อุเปกขาสัมโพชฌังโค โข ภันเต ภะคะวะตา สัมมะทักขาโต
ภาวิโต พะหุลีกะโต อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตะติ.
อิเม โข ภันเต สัตตะ โพชฌังคา ภะคะวะตา สัมมะทักขาตา ภาวิตา
พะหุลีกะตา อะภิญญายะ สัมโพธายะ นิพพานายะ สังวัตตันตีติ.
ตัคฆะ จุนทะ โพชฌังคา ตัคฆะ จุนทะ โพชฌังคาติ. อิทะมะโวจายัส๎มา
มะหาจุนโท . สะมะนุญโญ สัตถา อะโหสิ. วุฏฐะหิ จะ ภะคะวา ตัมห๎ า อาพาธา
ตะถาปะหีโน จะ ภะคะวะโต โส อาพาโธ อะโหสีติ.

คิริมานันทะสุตตะปาโฐ
เอวัมเม สุตัง . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกสั สะ อาราเม เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ อายัสม๎ า คิรมิ านันโท
อาพาธิโก โหติ ทุกขิโต พาฬหะคิลาโน อะถะโข อายัสม๎ า อานันโท เยนะ ภะคะวา
เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วา ภะคะวันตัง อะภิวาเทต๎วา เอกะมันตัง นิสีทิ
เอกะมันตัง นิสินโน โข อายัส๎มา อานันโท ภะคะวันตัง เอตะทะโวจะ.
อายัสม๎ า ภันเต คิรมิ านันโท อาพาธิโก ทุกขิโต พาฬ๎หะคิลาโน สาธุ ภันเต
ภะคะวา เยนายัส๎มา คิริมานันโท เตนุปะสังกะมะตุ อะนุกัมปง อุปาทายาติ.
สะเจ โข ต๎วงั อานันทะ คิรมิ านันทัสสะ ภิกขุโน อุปะสังกะมิตว๎ า ทะสะ สัญญา
ภาเสยยาสิ ฐานัง โข ปะเนตัง วิชชะติ ยัง คิรมิ านันทัสสะ ภิกขุโน ทะสะ สัญญา
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 99
สุต๎วา โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปปสสัมเภยยะ. กะตะมา ทะสะ.
อะนิจจะสัญญา อะนัตตะสัญญา อะสุภะสัญญา อาทีนะวะสัญญา ปะหานะสัญญา
วิราคะสัญญา นิโรธะสัญญา สัพพะโลเก อะนะภิระตะสัญญา สัพพะสังขาเรสุ
อะนิจจะสัญญา อานาปานัสสะติ.
กะตะมา จานันทะ อะนิจจะสัญญา ฯ อิธานันทะ ภิกขุ อะรัญญะคะโต วา
รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสัญจิกขะติ รูปง อะนิจจัง
เวทะนา อะนิจจา สัญญา อะนิจจา สังขารา อะนิจจา วิญญาณัง อะนิจจันติ.
อิติ อิเมสุ ปญจะสุ อุปาทานักขันเธสุ อะนิจจานุปสสี วิหะระติ . อะยัง วุจจะตา
นันทะ อะนิจจะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ อะนัตตะสัญญา . อิธานันทะ ภิกขุ อะรัญญะคะโต วา
รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสญั จิกขะติ จักขุง อะนัตตา รูปา
อะนัตตา โสตัง อะนัตตา สัททา อะนัตตา ฆานัง อะนัตตา คันธา อะนัตตา ชิวหา
อะนัตตา ระสา อะนัตตา กาโย อะนัตตา โผฏฐัพพา อะนัตตา มะโน อะนัตตา
ธัมมา อะนัตตาติ. อิติ อิเมสุ ฉะสุ อัชฌัตติกะพาหิเรสุ อายะตะเนสุ อะนัตตา-
นุปสสี วิหะระติ. อะยัง วุจจะตานันทะ อะนัตตะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ อะสุภะสัญญา. อิธานันทะ ภิกขุ อิมะเมวะ กายัง
อุทธัง ปาทะตะลา อะโธ เกสะมัตถะกา ตะจะปะริยนั ตัง ปูรนั นานัปปะการัสสะ
อะสุจโิ น ปจจะเวกขะติ อัตถิ อิมสั ม๎ งิ กาเย เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ มังสัง
นะหารู อัฏฐี อัฏฐิมญิ ชัง วักกัง หะทะยัง ยะกะนัง กิโลมะกัง ปหะกัง ปปผาสัง
อันตัง อันตะคุณงั อุทะริยงั กะรีสงั ปตตัง เสมหัง ปุพโพ โลหิตงั เสโท เมโท อัสสุ
วะสา เขโฬ สิงฆาณิกา ละสิกา มุตตันติ. อิติ อิมัส๎มิง กาเย อะสุภานุปสสี
วิหะระติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ อะสุภะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ อาทีนะวะสัญญา. อิธานันทะ ภิกขุ อะรัญญะคะโต วา
รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสญั จิกขะติ พะหุทกุ โข โข อะยัง
กาโย พะหุอาทีนะโวติ ฯ อิติ อิมสั ม๎ งิ กาเย วิวธิ า อาพาธา อุปปชชันติ.
เสยยะถีทงั . จักขุโรโค โสตะโรโค ฆานะโรโค ชิวหาโรโค กายะโรโค สีสะโรโค
100 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
กัณณะโรโค มุขะโรโค ทันตะโรโค กาโส สาโส ปนาโส ฑะโห ชะโร กุจฉิโรโค
มุจฉา ปกขันทิกา สุลา วิสจู กิ า กุฏฐัง คัณโฑ กิลาโส โสโส อะปะมาโร ทันทุ กัณฑุ
กัจฉุ ระขะสา วิตจั ฉิกา โลหิตงั ปตตัง มะธุเมโห อังสา ปฬะกา ภะคัณฑะลา.
ปตตะสะมุฏฐานา อาพาธา เสมหะสะมุฏฐานา อาพาธา วาตะสะมุฏฐานา อาพาธา
สันนิปาติกา อาพาธา อุตปุ ะริณามะชา อาพาธา วิสะมะปะระหาระชา อาพาธา
โอปกกะมิกา อาพาธา กัมมะวิปากะชา อาพาธา สีตงั อุณห๎ งั ชิฆจั ฉา ปปาสา
อุจจาโร ปสสาโวติ. อิติ อิมสั ม๎ งิ กาเย อาทีนะวานุปส สี วิหะระติ. อะยัง
วุจจะตานันทะ อาทีนะวะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ ปะหานะสัญญา . อิธานันทะ ภิกขุ อุปปนนัง
กามะวิตกั กัง นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ พ๎ยนั ตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ
อุปปนนัง พ๎ยาปาทะวิตกั กัง นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ พ๎ยนั ตีกะโรติ
อะนะภาวัง คะเมติ อุปปนนัง วิหิงสาวิตักกัง นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ
พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ อุปปนนุปปนเน ปาปะเก อะกุสะเล ธัมเม
นาธิวาเสติ ปะชะหะติ วิโนเทติ พ๎ยันตีกะโรติ อะนะภาวัง คะเมติ. อะยัง
วุจจะตานันทะ ปะหานะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ วิราคะสัญญา อิธานันทะ ภิกขุ อะรัญญะคะโต วา
รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสญ ั จิกขะติ เอตัง สันตัง เอตัง
ปะณีตงั ยะทิทงั สัพพะสังขาระสะมะโก สัพพูปะธิปะฏินสิ สัคโค ตัณหักขะโย
วิราโค นิพพานันติ. อะยัง วุจจะตานันทะ วิาคะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ นิโรธะสัญญา. อิธานันทะ ภิกขุ อะรัญญะคะโต วา
รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา อิติ ปะฏิสญ ั จิกขะติ เอตัง สันตัง เอตัง
ปะณีตัง ยะทิทัง สัพพะสังขาระสะมาโถ สัพพูปะธิปะฏินิสสัคโค ตัณหักขะโย
นิโรโธ นิพพานันติ. อะยัง วุจจะตานันทะ นิโรธะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ สัพพะโลเก อะนะภิระตะสัญญา. อิธานันทะ ภิกขุ
เย โลเก อุปายุปาทานา เจตะโส อะธิฏฐานาภินเิ วสานุสะยา เต ปะชะหันโต
วิระมะติ นะ อุปาทิยนั โต อะยัง วุจจะตานันทะ สัพพะโลเก อะนะภิะระตะสัญญา.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 101

กะตะมา จานันทะ สัพพะสังขาเรสุ อะนิจจะสัญญา. อิธานันทะ ภิกขุ


สัพพะสังขาเรหิ อัฏฏิยะติ หะรายะติ ชิคจุ ฉะติ ฯ อะยัง วุจจะตานันทะ สัพพะ-
สังขาเรสุ อะนิจจะสัญญา.
กะตะมา จานันทะ อานาปานัสสติ อิธานันทะ ภิกขุ อะรัญญะคะโต วา
รุกขะมูละคะโต วา สุญญาคาระคะโต วา นิสที ะติ ปลลังกัง อาภุชติ ว๎ า อุชงุ กายัง
ปะณิธายะ ปะริมุขัง สะติง อุปฏฐะเปต๎วา . โส สะโต วะ อัสสะสะติ สะโต
ปสสะสะติ.
ทีฆัง วา อัสสะสันโต ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ
ทีฆัง วา ปสสะสันโต ทีฆัง ปสสะสามีติ ปะชานาติ
รัสสัง วา อัสสะสันโต รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ
รัสสัง วา ปสสะสันโต รัสสัง ปสสะสามีติ ปะชานาติ
สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปติปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปติปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สุขะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สุขะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
จิตตะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
จิตตะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
102 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง ปสสะสิสสามิติ สิกขะติ
สะมาทะหัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
สะมาทะหัง จิตตัง ปสสะลิสสามีติ สิกขะติ
วิโมจะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
วิโมจะยัง จิตตัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะนิจจานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะนิจจานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
วิราคานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
วิราคานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
นิโรธานุปส สี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
นิโรธานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปะฏินิสสัคคานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ปะฏินิสสัคคานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
อะยัง วุจจะตานันทะ อานาปานัสสะติ.
สะเจ โข ต๎วัง อานันทะ คิริมานันทัสสะ ภิกขุโน อุปะสังกะมิต๎วา อิมา
ทะสะ สัญญา ภาเสยยาสิ ฐานัง โข ปะเนตัง วิชชะติ ยัง คิรมิ านันทัสสะ ภิกขุโน
อิมา ทะสะ สัญญา สุต๎วา โส อาพาโธ ฐานะโส ปะฏิปปสสัมเภยยาติ.
อะถะโข อายัส๎มา อานันโท ภะคะวะโต สันติเก อิมา ทะสะ สัญญา
อุคคะเหต๎วา เยนายัสมา คิริมานันโท เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วา
อายัส๎มะโต คิริมานันทัสสะ อิมา ทะสะ สัญญา อะภาสิ.
อะถะโข อายัส๎มะโต คิริมานันทัสสะ อิมา ทะสะ สัญญา สุต๎วา โส อา
พาโธ ฐานะโส ปะฏิปสสัมภิ. วุฏฐะหิ จายัส๎มา คิริมานันโท ตัม๎หา อาพาธา
ตะถาปะหีโน จะ ปะนายัส๎มะโต คิริมานันทัสสะ โส อาพาโธ อะโหสีติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 103

อิสิคิลิสุตตะปาโฐ
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ อิสิคิลิส๎มิง
ปพพะเต. ตัตร๎ ะ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ. ภะทันเตติ เต ภิกขู
ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ ปสสะถะ โน ตุมเห ภิกขะเว
เอตัง เวภาวัง ปพพะตันติ. เอวัมภันเต. เอตัสสะ โข ภิกขะเว เวภารัสสะ
ปพพะตัสสะ อัญญา วะ สะมัญญา อะโหสิ อัญญา ปญญัตติ. ปสสะถะ โน ตุมเห
ภิกขะเว เอตัง ปณฑะวัง ปพพะตันติ. เอวัมภันเต. เอตัสสะป โข ภิกขะเว
ปณฑะวัสสะ ปพพะตัสสะ อัญญา วะ สะมัญญา อะโหสิ อัญญา ปญญัตติ.
ปสสะถะ โน ตุมเห ภิกขะเว เอตัง เวปุลลัง ปพพะตันติ. เอวัมภันเต.
เอตัสสะป โข ภิกขะเว เวปุลลัสสะ ปพพะตัสสะ อัญญา วะ สะมัญญา อะโหสิ
อัญญา ปญญัตติ. ปสสะถะ โน ตุมเห ภิกขะเว เอตัง คิชฌะกูฏัง ปพพะตันติ.
เอวัมภันเต. เอตัสสะป โข ภิกขะเว คิชฌะกูฏสั สะ ปพพะตัสสะ อัญญา วะ
สะมัญญา อะโหสิ อัญญา ปญญัตติ. ปสสะถะ โน ตุมเห ภิกขะเว อิมงั อิสคิ ลิ งิ
ปพพะตันติ. เอวัมภันเต. อิมสั สะ โข ปะนะ ภิกขะเว อิสคิ ลิ สิ สะ ปพพะตัสสะ
เอสา วะ สะมัญญา อะโหสิ เอสา ปญญัตติ. ภูตะปุพพัง ภิกขะเว ปญจะ
ปจเจกะพุทธะสะตานิ อิมสั ม๎ งิ อิสคิ ลิ สิ ม๎ งิ ปพพะเต จิระนิวาสิโน อะเหสุง เต อิมงั
ปพพะตัง ปะวิสนั ตา ทิสสันติ ปะวิฏฐา นะทิสนั ติ. ตะเมนัง มะนุสสา ทิสว๎ า
เอวะมาหังสุ อะยัง ปพพะโต อิเม อิสีคิละตีติ. อิสิคิลิ อิสิคิลิเต๎ววะ สะมัญญา
อุทะปาทิ. อาจิกขิสสามิ ภิกขะเว ปจเจกะพุทธานัง นามานิ กิตตะยิสสามิ
ภิกขะเว ปจเจกะพุทธานัง นามานิ เทสิสสามิ ภิกขะเว ปจเจกะพุทธานัง นามานิ
ตัง สุณาถะ สาธุกัง มะนะสิกะโรถะ ภาสิสสามีติ. เอวัมภันเตติ โข เต ภิกขู
ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ
อะริฏโฐ นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต
จิระนิวาสี อะโหสิ. อุปะริฏโฐ นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง
อิสคิ ลิ สิ ม๎ งิ ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ. ตะคะระสิขี นามะ ภิกขะเว ปจเจกะ-
สัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ. ยะสัสสี นามะ
104 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ.
สุทัสสะโน นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต
จิระนิวาสี อะโหสิ. ปยะทัสสี นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง
อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ. คันธาโร นามะ ภิกขะเว ปจเจกะ-
สัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ. ปณโฑโล นามะ
ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ.
อุปาสะโภ นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง ปพพะเต
จิระนิวาสี อะโหสิ. นิโถ นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มงิ
ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ. ตะโถ นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมสั ม๎ งิ อิสิ
คิลิส๎มิง ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ. สุต๎วา นามะ ภิกขะเว จิระนิวาสี
อะโหสิ. ภาวิตัตโต นามะ ภิกขะเว ปจเจกะสัมพุทโธ อิมัส๎มิง อิสิคิลิส๎มิง
ปพพะเต จิระนิวาสี อะโหสิ.
เย สัตตะสารา อะนีฆา นิราสา ปจเจกะเมวัชฌะคะมุง สุโพธิง เตสัง วิสลั ลานะ
นะรุตตะมานัง นามามิเม กิตตะยะโต สุณาถะ. อะริฏโฐ อุปะริฏโฐ ตะคะระสิขี
ยะสัสสี สุทัสสะโน ปยะทัสสี จะ พุทโธ คันธาโร ปณโฑโล อุปาสะโภ จะ นิโถ
ตะโถ สุตว๎ า ภาวิตตั โต สุมะโภ สุโภ เมถุโล อัฏฐะโม จะ อะถัสสุเมโฆ อะนีโฆ
สุทาโฐ ปจเจกะพุทธา ภะวะเนตติขีณา หิงคู จะ หิงโค จะ มะหานุภาวา. เท๎ว
ชาลิโน มุนิโน อัฏฐะโก จะ อะถะ โกสัลโล พุทโธ อะโถ สุพาหุ อุปะเนมิโส
เนมิโส สันตะจิตโต สัจโจ ตะโถ วิระโช ปณฐิโต จะ. กาฬูปะกาฬา วิชโิ ต ชิโต จะ
อังโค จะ ปงโค จะ คุติจฉิโต จะ ปสสี ชะหิ อุปะธิง ทุกขะมูลัง อะปะราชิโต
มาระพะลัง อะเชสิ. สัตถา ปะวัตตา สะระภังโค โลมะหังโส อุจจัง คะมาโย
อะสิโต อะนาสะโว มะโนมะโย มานัจฉิโท จะ พันธุมา ตะทาธิมตุ โต วิมะโล จะ
เกตุมา. เกตุมพะราโค จะ มะตังโค อะริโย อะถัจจุโต อัจจุตะคามัพ๎ยามะโถ
สุมังคะโล ทัพพิโล สุปะติฏฐิโต อะสัย๎โห เขมาภิระโต จะ โสระโต ทุรันนะโย
สังโฆ อะโถป อุชชะโย อะปะโร มุนิสัย๎โห อะโนมะนิกกะโม อานันทะนันโท
อุปะนันโท ท๎วาทะสะภารัท๎วาโช อันติมะเทหะธารี โพธิ มะหานาโม อะโถป
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 105

อุตตะโร เกสี สิขี สุนทะโร ภารัท๎วาโช ติสสูปะติสสา ภะวะพันธะนัจฉิทา


อุปะสีทะรี ตัณหัจฉิโท จะ สีทะรีฯ พุทโธ อะหุ มังคะโล วีตะราโค อุสะภัจฉิทา
ชาลินงิ ทุกขะมูลงั สันตัง ปะทัง อัชฌะคะมูปะณีโต อุโปสะโถ สุนทะโร สัจจะ-
นาโม. เชโต ชะยันโต ปะทุโม อุปปะโล จะ ปะทุมตุ ตะโร รักขิโต ปพพะโต จะ
มานัตถัทโท โสภิโต วีตะราโค กัณโ๎ ห จะ พุทโธ สุวมิ ตุ ตะจิตโต. เอเต จะ อัญญา
จะ มะหานุภาวา ปจเจกะพุทธาภะวะเนตติขณ ี า เต สัพพะสังคาธิคะเต มะเหสี.
ปะรินิพพุเต วันทะถะ อัปปะเมยเยติ.
บทสวด จันทะปริตปาฐะ
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปณทิกสั สะ อาราเม. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ จันทิมา เทวะปุตโต
ราหุนา อะสุรนิ เทนะ คะหิโต โหติ. อะถะโข จันทิมา เทวะปุตโต ภะคะวันตัง
อะนุสสะระมาโน ตายัง เวลายัง อิมัง คาถัง อะภาสิ
นะโม เต พุทธะวีรัตถุ วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ
สัมพาธะปะฏิปนโนส๎มิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวาติ.
อะถะโข ภะคะวา จันทิมงั เทวะปุตตัง อารัพภะ ราหุง อะสุรนิ ทัง คาถายะ
อัชฌะภาสิ
ตะถาคะตัง อะระหันตัง จันทิมา สะระณัง คะโต
ราหุ จันทัง ปะมุญจัสสุ พุทธา โลกานุกัมปะกาติฯ
อะถะโข ราหุ อะสุรนิ โท จันทิมงั เทวะปุตตัง มุญจิตว๎ า ตะระมานะรูโป เยนะ
เวปะจิตติ อะสุรนิ โท เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิตว๎ า สังวิคโค โลมะหัฏฐะชาโต
เอกะมันตัง อัฏฐาสิ. เอกะมันตัง ฐิตัง ราหุง อะสุรินทัง เวปะจิตติ อะสุรินโท
คาถา อัชฌะภาสิ
กินนุ สันตะระมาโน วะ ราหุ จันทัง ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภีโต วะ ติฏฐะสีติ.
สัตตะธา เม ผะเล มุทธา ชีวันโต นะ สุขัง ละเภ
พุทธะคาถาภิคีโตม๎หิ โน จะ มุญเจยยะ จันทิมันติฯ
106 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
บทสวด สุริยะปริตตะปาฐะ
เอวัมเม สุตงั . เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยงั วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกสั สะ อาราเม. เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ สุรโิ ย เทวะปุตโต
ราหุนา อะสุรนิ เทนะ คะหิโต โหติ. อะถะโข สุรโิ ย เทวะปุตโต ภะคะวันตัง
อะนุสสะระมาโน ตายัง เวลายัง อิมัง คาถัง อะภาสิ
นะโม เต พุทธะวีรัตถุ วิปปะมุตโตสิ สัพพะธิ
สัมพาธะปะฏิปนโนส๎มิ ตัสสะ เม สะระณัง ภะวาติ.
อะถะโข ภะคะวา สุรยิ งั เทวะปุตตัง อารัพภะ ราหุง อะสุรนิ ทัง คาถายะ อัชฌะภาสิ
ตะถาคะตัง อะระหันตัง สุริโย สะระณัง คะโต
ราหุ สุริยัง ปะมุญจัสสุ พุทธา โลกานุกัมปะกา ฯ
โย อันธะกาเร ตะมะสี ปะภังกะโร
เวโรจะโน มัณฑะลิ อุคคะเตโช
มา ราหุ คิลี จะระมันตะลิกเข
ปะชัง มะมะ ราหุ ปะมุญจะ สุริยันติฯ
อะถะโข ราหุ อะสุรินโท สุริยัง เทวะปุตตัง มุญจิต๎วา ตะระมานะรูโป
เยนะ เวปะจิตติ อะสุรินโท เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิต๎วา สังวิคโค
โลมะหัฏฐะชาโต เอกะมันตัง อัฏฐาสิ. เอกะมันตัง ฐิตงั โข ราหุง อะสุรนิ ทัง
เวปะจิตติ อะสุรินโท คาถายะ อัชฌะภาสิ
กินนุ สันตะระมาโน วะ ราหุ สุริยัง ปะมุญจะสิ
สังวิคคะรูโป อาคัมมะ กินนุ ภีโต วะ ติฏฐะสีติ.
สัตตะธา เม ผะเล มุทธา ชีวันโต นะ สุขัง ละเภ
พุทธะคาถาภิคีโตม๎หิ โน เจ มุญเจยยะ สุริยันติฯ
สามเณระปญหะปาโฐ
เอกันนามะ กิง สัพเพ สัตตา อาหารัฏฐิติกา.
เท๎ว นามะ กิง นามัญจะ รูปญจะ.
ตีณิ นามะ กิง ติสโส เวทะนา.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 107

จัตตาริ นามะ กิง จัตตาริ อะริยะสัจจานิ.


ปญจะ นามะ กิง ปญจุปาทานักขันธา.
ฉะ นามะ กิง ฉะ อัชฌัตติกานิ อายะตะนานิ.
สัตตะ นามะ กิง สัตตะ โพชฌังคา.
อัฏฐะ นามะ กิง อะริโย อัฏฐังคิโก มัคโค.
นะวะ นามะ กิง นะวะ สัตตาวาสา.
ทะสะ นามะ กิง ทะสะหังเคหิ สะมันนาคะโต อะระหาติ วุจจะตีติ.

นิธิกัณฑะสุตตะคาถา
นิธิง นิเธติ ปุริโส คัมภีเร อุทะกันติเก
อัตเถ กิจเจ สะมุปปนเน อัตถายะ เม ภะวิสสะติ
ราชะโต วา ทุรุตตัสสะ โจระโต ปฬตัสสะ วา
อิณัสสะ วา ปะโมกขายะ ทุพภิกเข อาปะทาสุ วา
เอตะทัตถายะ โลกัส๎มิง นิธิ นามะ นิธิยยะติ
ตาวัสสุนิหิโต สันโต คัมภีเร อุทะกันติเก
นะ สัพโพ สัพพะทาเยวะ ตัสสะ ตัง อุปะกัปปะติ
นิธิ วา ฐานา จะวะติ สัญญา วาสสะ วิมุยหะติ
นาคา วา อะปะนาเมนติ ยักขา วาป หะรันติ นัง
อัปปยา วาป ทายาทา อุทธะรันติ อะปสสะโต
ยะทา ปุญญักขะโย โหติ สัพพะเมนะ วินัสสะติ
ยัสสะ ทาเนนะ สีเลนะ สัญญะเมนะ ทะเมนะ จะ
นิธิ สุนิหิโต โหติ อิตถิยา ปุริสัสสะวา
เจติยัมหิ จะ สังเฆ วา ปุคคะเล อะตีถีสุ วา
มาตะริ ปตะริ วาป อะโถ เชฏฐัมหิ ภาตะริ
เอโส นิธิ สุนิหิโต อะเชยโย อะนุคามิโย
ปะหายะ คะมะนีเยสุ เอตัง อาทายะ คัจฉะติ
108 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะสาธาระณะมัญเญสัง อะโจระหะระโร นิธิ
กะยิราถะ ธีโร ปุญญานิ โย นิธิ อะนุคามิโก
เอสะ เทวะมะนุสสานัง สัพพะกามะทะโท นิธิ
ยัง ยัง เทวาภิปตเถนติ สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ
สุวัณณะตา สุสะระตา สุสัณฐานัง สุรูปะตา
อาธิปจจัง ปะริวาโร สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ
ปะเทสะรัชชัง อิสสะริยัง จักกะวัตติสุขัง ปยัง
เทวะรัชชัมป ทิพเพสุ สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ
มานุสสิกา จะ สัมปตติ เทวะโลเก จะ ยา ระติ
ยา จะ นิพพานะสัมปตติ สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ
มิตตะสัมปะทะมาคัมมะ โยนิโส เจ ปะยุญชะโต
วิชชาวิมุตติวะสีภาโว สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ
ปะฏิสมั ภิทา วิโมกขา จะ ยา จะ สาวะกะปาระมี
ปจเจกะโพธิ พุทธะภูมิ สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ
เอวัง มะหัตถิกา เอสา ยะทิทัง ปุญญะสัมปะทา
ตัส๎มา ธีรา ปะสังสันติ ปณฑิตา กะตะปุญญะตันติ.

โมกขุปายะคาถา
สัพพะวัตถุตตะมัง นัต๎วา พุทธะธัมมะคะณัตตะยัง
เชคุจฉะกายะมัจจานัง โมกขุปายัง วะทามิหัง
ปาฏิโมกขัง ปูเรตัพพัง อะโถ อินท๎ริยะสังวะโร
อาชีวัสสะ อะโถ สุทธิ อะโถ ปจจะยะนิสสิตัง
จาตุปาริสุทธิสีลัง กาตัพพัง วะ สุนิมมะลัง
การะณากะระเณเหวะ ภิกขุนา โมกขะเมสินา
พุทธานุสสะติ เมตตา จะ อะสุภัง มะระณัสสะติ
อิจจิมา จะตุรารักขา กาตัพพา จะ วิปสสะนา
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 109

วิสุทธะธัมมะสันตาโน อะนุตตะรายะ โพธิยา


โยคะโต จะ ปะโพธา จะ พุทโธ พุทโธติ ญายะเต
นะรานะระติรัจฉานะ เภทา สัตตา สุเขสิโน
สัพเพป สุขิโน โหนตุ สุขิตัตตา จะ เขมิโน
เกสะโลมาทิฉะวานัง อะยะเมวะ สะมุสสะโย
กาโย สัพโพป เชคุจโฉ วัณณาทิโต ปะฏิกกุโล
ชีวิตินท๎ริยุปจเฉทะ สังขาตะมะระณัง สิยา
สัพเพสังปธะ ปาณีนัง ตัณหิ ธุวัง นะ ชีวิตัง
อะวิชชาทีหี สัมภูตา รูปญจะ เวทะนา ตะถา
อะโถ สัญญา จะ สังขารา วิญญาณัญจาติ ปญจิเม
อุปปชชันติ นิรุชฌันติ เอวัง หุต๎วา อะภาวะโต
เอเต ธัมมา อะนิจจาถะ ตาวะกาลิกะตาทิโต
ปุนัปปุนัง ปฬตัตตา อุปปาเทนะ วะเยนะ จะ
เต ทุกขา วะ อะนิจจา เย อะถะ สันตัตตะตาทิโต
วะเส อะวัตตะนาเยวะ อัตตะวิปกขะภาวะโต
สุญญัตตัสสามิกัตตา จะ เต อะนัตตาติ ญายะเร
เอวัง สันเต จะ เต ธัมมา นิพพินทิตัพพะภาวะโต
ทัฑฒะเคหะสะมาเยวะ อะลัง โมกขัง คะเวสิตุง
ปญจักขันธะมิมัง ทุกขัง ตัณ๎หา สะมุทะโย ภะเว
ตัสสา นิโรโธ นิพพานัง มัคโค อัฏฐังคิการิโย
เอตะกานังป ปาฐานัง อัตถัง ญัต๎วา ยะถาระหัง
ปะฏิปชเชถะ เมธาวี ปตตุง สังขาระนิพพุตินติ.

บทระตะนัตตะยัปปะภาวาภิยาจะนะคาถา
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ อุตตะมัง ธัมมะมัชฌะคา
มะหาสังฆัง ปะโพเธสิ อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
110 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พุทโธ ธัมโม สังโฆ จาติ นานาโหนตัมป วัตถุโต
อัญญะมัญญาวิโยคา วะ เอกีภูตัมปะนัตถะโต
พุทโธ ธัมมัสสะ โพเธตา ธัมโม สังเฆนะ ธาริโต
สังโฆ จะ สาวะโก พุทธัสสะ อิจเจกาพัทธะเมวิทัง
วิสุทธัง อุตตะมัง เสฏฐัง โลกัส๎มิง ระตะนัตตะยัง
สังวัตตะติ ปะสันนานัง อัตตะโน สุทธิกามินัง
สัมมา ปะฏิปชชันตานัง ปะระมายะ วิสุทธิยา
วิสุทธิ สัพพะเก๎ลเสหิ โหติ ทุกเขหิ นิพพุติ
นิพพานัง ปะระมัง สุญญัง นิพพานัง ปะระมัง สุขัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา ฯ
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา
อุปททะวันตะรายา จะ อุปะสัคคา จะ สัพพะโส
มา กะทาจิ สัมผุสิงสุ รัฏฐัง ส๎ยามานะเมวิทัง
อาโรคิยะสุขัญเจวะ ตะโต ทีฆายุตาป จะ
ตัพพัตถูนัญจะ สัมปต๎โย สุขัง สัพพัตถะ โสตถิ จะ
ภะวันตุ สัมปะวัตตันตุ ส๎ยามานัง รัฏฐะปาลินัง
เต จะ รัฏฐัญจะ รักขันตุ ส๎ยามรัฏฐิกะเทวะตา
ส๎ยามานัง รัฏฐะปาลีหิ ธัมมามิเสหิ ปูชิตา
สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ อิทัง ผะลัง
เอตัส๎มิง ระตะนัตต๎ยัส๎มิง สัมปะสาทะนะเจตะโส.
บทสุขาภิยาจะนะคาถา
ยัง ยัง เทวะมะนุสสานัง มังคะลัตถายะ ภาสิตัง
ตัสสะ ตัสสานุภาเวนะ โหตุ ราชะกุเล สุขัง
เย เย อารักขะกา เทวา ตัตถะ ตัตถาธิวาสิโน
อิมินา ธัมมะทาเนนะ สัพเพ อัมเหหิ ปูชิตา
สะทา ภัท๎รานิ ปสสันตุ สุขิตา โหนตุ นิพภะยา
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 111

อัปปะมัตตา จะ อัมเหสุ สัพเพ รักขันตุ โน สะทา


ยัญจะ โน ภาสะมาเนหิ กุสะลัง ปะสุตัง พะหุง
ตันโน เทวานุโมทันตุ จิรัง ติฏฐันตุ สาตะตัง
เย วา ชะลาพุชัณฑะชา สังเสทะโชปะปาติกา
อะเวรา โหนตุ สัพเพ เต อะนีฆา นิรุปททะวา
ปสสันตุ อะนะวัชชานิ มา จะ สาวัชชะมาคะมา
จิรัง ติฏฐะตุ โลกัส๎มิง สัมมาสัมพุทธะสาสะนัง
ทัสเสนตัง โสตะวันตูนัง มัคคัง สัตตะวิสุทธิยา
ยาวะ พุทโธติ นามัมป โลกะเชฏฐัสสะ สัตถุโน
สัมมาเทสิตะธัมมัสสะ ปะวัตตะติ มะเหสิโน
ปะสันนา โหนตุ สัพเพป ปาณิโน พุทธะสาสะเน
สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ
วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง
มาตา ปตา จะ อัตระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง
เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา .

พระวินัย
ยันเตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ,
ปะฐะมัง ปาราชิกงั กัตถะ ปญญัตตันติ. เวสาลิยงั ปญญัตตันติ. กัง อารัพภาติ.
สุทนิ นัง กะลันทะปุตตัง อารัพภาติ. กิสม๎ งิ วัตถุสม๎ นิ ติ. สุทนิ โน กะลันทะปุตโต
ปุราณะทุตยิ กิ ายะ เมถุนงั ธัมมัง ปะฏิเสวิ, ตัสม๎ งิ วัตถุสม๎ นิ ติ.
เตนะ สะมะเยนะ พุทโธ ภะคะวา เวรัญชายัง วิหะระติ นะเฬรุปุจิมัณฑะมูเล
มะหะตา ภิกขุสังเฆนะ, สัทธิง ปญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ. อัสโสสิ โข
เวรัญโช พราหมะโณ สะมะโณ ขะ ลุโภ โคตะโม สัก๎ยะปุตโต สัก๎ยะกุลา
ปพพะชิโต. เวรัญชายัง วิหะระติ นะเฬรุปจุ มิ ณั ฑะมูเล มะหะตา ภิกขุสงั เฆนะ,
สัทธิง ปญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ. ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง โคตะมัง
112 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต, อิติปโส ภะคะวา อะระหัง สัมมา-
สัมพุทโธ, วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโตโลกะวิทู, อะนุตตะโร ปุริสะทัม-
มะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. โส อิมัง โลกัง
สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รหั ม๎ ะกัง สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะ-
มะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทติ, โส ธัมมัง เทเสติ อาทิกัล๎-
ยาณัง มัชเฌกัล๎ยาณัง ปะริโยสานะ กัล๎ยาณัง, สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะ-
ละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสติ. สาธุ โข ปะนะ ตะถารู-
ปานัง อะระหะตัง ทัสสะนัง โหตีติ.

พระสูตร
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, อันตะรา จะ ราชะคะหัง
อันตะรา จะ นาลันทัง อัทธานะมัคคะปะฏิปน โน โหติ มะหะตา ภิกขุสงั เฆนะ,
สัทธิง ปญจะมัตเตหิ ภิกขุสะเตหิ. สุปปโยป โข ปะริพพาชะโก อันตะรา จะ
ราชะคะหัง อันตะรา จะ นาลันทัง อัทธานะมัคคะปะฏิปนโน โหติ, สัทธิง
อันเตวาสินา พ๎รหั ม๎ ะทัตเตนะ มาณะเวนะ. ตัตร๎ ะ สุทงั สุปปโย ปะริพพาชะโก
อะเนกะปะริยาเยนะ, พุทธัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ, ธัมมัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ,
สังฆัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ, สุปปยัสสะ ปะนะ ปะริพพาชะกัสสะ อันเตวาสี
พ๎รหั ม๎ ะทัตโต มาณะโว อะเนกะปะริยาเยนะ, พุทธัสสะ วัณณัง ภาสะติ,ธัมมัสสะ
วัณณัง ภาสะติ, สังฆัสสะ วัณณัง ภาสะติ. อิติหะ เต อุโภ อาจะริยันเตวาสี
อัญญะมัญญัสสะ อุชวุ ปิ จ จะนิกะวาทา, ภะคะวันตัง ปฏฐิโต ปฏฐิโต อะนุพนั ธา
โหนติ ภิกขุสังฆัญจะ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 113

พระอภิธรรม ๗ คัมภีร
พระสังคะณี
กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพย๎ ากะตา ธัมมา, กะตะเม ธัมมา กุสะลา,
ยัสม๎ งิ สะมะเย กามาวะจะรัง กุสะลัง จิตตัง อุปปนนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง
ญาณะสัมปะยุตตัง, รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา, คันธารัมมะณัง วา
ระสารัมมะณัง วา , โผฏฐัพพารัมมะณัง วา ธัมมารัมมะณัง วา, ยัง ยัง วา
ปะนารัพภะ, ตัสม๎ งิ สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ, เย วา ปะนะ ตัสม๎ งิ
สะมะเย อัญเญป อัตถิ ปะฏิจจะสะมุปปนนา อะรูปโ น ธัมมา, อิเม ธัมมา กุสะลา.
พระวิภังค
ปญจักขันธา, รูปกขันโธ, เวทะนากขันโธ, สัญญากขันโธ, สังขารักขันโธ,
วิญญาณักขันโธ, ตัตถะ กะตะโม รูปก ขันโธ, ยังกิญจิ รูปง อะตีตานาคะตะ-
ปจจุปปนนัง, อัชฌัตตัง วา พะหิทธา วา,โอฬาริกงั วา, สุขมุ งั วา หีนงั วา ปะณีตงั
วา, ยัง ทูเร วา สันติเก วา, ตะเทกัชฌัง อะภิสญ ั \ูหติ ว๎ า อะภิสงั ขิปต ว๎ า, อะยัง
วุจจะติ รูปกขันโธ.
พระธาตุกถา
สังคะโห อะสังคะโห, สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง,
อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง, สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง,
อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง, สัมปะโยโค วิปปะโยโค,
สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง, วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง,
อะสังคะหิตัง.
พระปุคคลปญญัตติ
ฉะ ปญญัตติโย. ขันธะปญญัตติ, อายะตะนะปญญัตติ, ธาตุปญญัตติ,
สัจจะปญญัตติ, อินท๎รยิ ะปญญัตติ, ปุคคะละปญญัตติ, กิตตาวะตา ปุคคะลานัง
ปุคคะละปญญัตติ,สะมะยะวิมตุ โต อะสะมะยะวิมตุ โต,กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม,
ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม, เจตะนาภัพโพ อะนุรกั ขะนาภัพโพ,ปุถชุ ชะโน
โคต๎ระภู, ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต, ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน,
นิยะโต อะนิยะโต, ปะฏิปน นะโก ผะเล ฐิโต, อะระหา อะระหัตตายะ ปะฏิปน โน.
114 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พระกถาวัตถุ
ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกตั ถะปะระมัตเถนาติ, อามันตา, โย สัจฉิกตั โถ
ปะระมัตโถ, ตะโต โส ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ,
นะ เหวัง วัตตัพเพ,อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ, ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกตั ถะ-
ปะระมัตเถนะ, เตนะ วะตะ เร วัตตัพเพ, โย สัจฉิกตั โถ ปะระมัตโถ, ตะโต โส
ปุคคะโล อุปะลัพภะติ, สัจฉิกัตถะปะระมัตเถนาติ, มิจฉา.
พระยมก
เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, สัพเพ เต กุสะละมูลา, เย วา ปะนะ กุสะละมูลา,
สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ
เอกะมูลา, เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา.
พระมหาปฏฐาน
เหตุปจ จะโย, อารัมมะณะปจจะโย, อะธิปะติปจ จะโย, อะนันตะระปจจะโย,
สะมะนันตะระปจจะโย, สะหะชาตะปจจะโย, อัญญะมัญญะปจจะโย,
นิสสะยะปจจะโย,อุปะนิสสะยะปจจะโย,ปุเรชาตะปจจะโย,ปจฉาชาตะปจจะโย,
อาเสวะนะปจจะโย,กัมมะปจจะโย, วิปากะปจจะโย,อาหาระปจจะโย, อินท๎รยิ ะ-
ปจจะโย, ฌานะปจจะโย, มัคคะปจจะโย, สัมปะยุตตะปจจะโย,วิปปะยุตตะปจจะโย,
อัตถิปจจะโย, นัตถิปจจะโย,วิคะตะปจจะโย, อะวิคะตะปจจะโย.
มาติกา
ธัมมะสังคะณีมาติกาปาฐะ
กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพ๎ยากะตา ธัมมา.
สุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา ทุกขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตา ธัมมา
อะทุกขะมะสุขายะ เวทะนายะ สัมปะยุตตาธัมมา.
วิปากา ธัมมา วิปากะธัมมะธัมมา เนวะวิปากะนะวิปากะธัมมะธัมมา.
อุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา อะนุปาทินนุปาทานิยา ธัมมา
อะนุปาทินนานุปาทานิยา ธัมมา.
สังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา อะสังกิลิฏฐะสังกิเลสิกา ธัมมา
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 115

อะสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกา ธัมมา.
สะวิตักกะสะวิจารา ธัมมา อะวิตักกะวิจาระมัตตา ธัมมา
อะวิตักกาวิจารา ธัมมา.
ปตสิ ะหะคะตา ธัมมา สุขะสะหะคะตา ธัมมา อุเปกขา สะหะคะตา ธัมมา.
ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพา ธัมมา ภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา
เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตัพพา ธัมมา.
ทัสสะเนนะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา ภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา
เนวะทัสสะเนนะ นะภาวะนายะ ปะหาตัพพะเหตุกา ธัมมา.
อาจะยะคามิโน ธัมมา อะปะจะยะคามิโน ธัมมา เนวาจะยะคามิโน
นาปะจะยะคามิโน ธัมมา.
เสกขา ธัมมา อะเสกขา ธัมมา เนวะเสกขานาเสกขา ธัมมา.
ปะริตตา ธัมมา มะหัคคะตา ธัมมา อัปปะมาณา ธัมมา.
ปะริตตารัมมะณา ธัมมา มะหัคคะตารัมมะณา ธัมมา อัปปะมาณารัมมะณา
ธัมมา.
หีนา ธัมมา มัชฌิมา ธัมมา ปะณีตา ธัมมา.
มิจฉัตตะนิยะตา ธัมมา สัมมัตตะนิยะตา ธัมมา อะนิยะตา ธัมมา.
มัคคารัมมะณา ธัมมา มัคคะเหตุกา ธัมมา มัคคาธิปะติโน ธัมมา.
อุปปนนา ธัมมา อะนุปปนนา ธัมมา อุปปาทิโน ธัมมา.
อะตีตา ธัมมา อะนาคะตา ธัมมา ปจจุปปนนา ธัมมา.
อะตีตารัมมะณา ธัมมา อะนาคะตารัมมะณา ธัมมา ปจจุปปนนารัมมะณา
ธัมมา.
อัชฌัตตา ธัมมา พะหิทธา ธัมมา อัชฌัตตะพะหิทธา ธัมมา.
อัชฌัตตารัมมะณา ธัมมา พะหิทธารัมมะณา ธัมมา
อัชฌัตตะพะหิทธารัมมะณา ธัมมา.
สะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา
อะนิทัสสะนะสัปปะฏิฆา ธัมมา
อะนิทัสสะนาปปะฏิฆา ธัมมา.
116 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
วิปสสะนาภูมิปาฐะ
ปญจักขันธา. รูปกขันโธ, เวทะนากขันโธ, สัญญากขันโธ,
สังขารักขันโธ, วิญญาณักขันโธ.
ท๎วาทะสายะตะนานิ. จักข๎วายะตะนัง รูปายะตะนัง, โสตายะตะนัง
สัททายะตะนัง, ฆานายะตะนัง คันธายะตะนัง, ชิว๎หายะตะนัง ระสายะตะนัง,
กายายะตะนัง โผฏฐัพพายะตะนัง, มะนายะตะนัง ธัมมายะตะนัง.
อัฏฐาระสะ ธาตุโย. จักขุธาตุ รูปะธาตุ จักขุวิญญาณะธาตุ, โสตะธาตุ
สัททะธาตุ โสตะวิญญาณะธาตุ, ฆานะธาตุ คันธะธาตุ ฆานะวิญญาณะธาตุ,
ชิว๎หาธาตุ ระสะธาตุ ชิว๎หาวิญญาณะธาตุ, กายะธาตุ โผฏฐัพพะธาตุ กายะ
วิญญาณะธาตุ, มะโนธาตุ ธัมมะธาตุ มะโนวิญญาณะธาตุ.
พาวีสะตินท๎ริยานิ. จักขุนท๎ริยัง โสตินท๎ริยัง ฆานินท๎ริยัง ชิว๎หินท๎ริยัง
กายินท๎ริยัง มะนินท๎ริยัง, อิตถินท๎ริยัง ปุริสินท๎ริยัง ชีวิตินท๎ริยัง, สุขินท๎ริยัง
ทุกขินท๎ริยัง โสมะนัสสินท๎ริยัง โทมะนัสสินท๎ริยัง อุเปกขินท๎ริยัง, สัทธินท๎ริยัง
วิริยินท๎ริยัง สะตินท๎ริยัง สะมาธินท๎ริยัง ปญญินท๎ริยัง, อะนัญญะตัญญัสสามี-
ตินท๎ริยัง อัญญินท๎รยิ ัง อัญญาตาวินท๎ริยัง.
จัตตาริอะริยะสัจจานิ. ทุกขัง อะริยะสัจจัง, ทุกขะสะมุทะโย อะริยะสัจจัง,
ทุกขะนิโรโธ อะริยะสัจจัง, ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทา อะริยะสัจจัง.

ปะฏิจจะสะมุปปาทะปาฐะ
อะวิชชาปจจะยา สังขารา, สังขาระปจจะยา วิญญาณัง,
วิญญาณะปจจะยา นามะรูปง, นามะรูปะปจจะยา สะฬายะตะนัง,
สะฬายะตะนะปจจะยา ผัสโส, ผัสสะปจจะยา เวทะนา,
เวทะนาปจจะยา ตัณ๎หา, ตัณ๎หาปจจะยา อุปาทานัง,
อุปาทานะปจจะยาภะโว, ภะวะปจจะยา ชาติ,
ชาติปจจะยา ชะรามะระณัง โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา
สัมภะวันติ, เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ, สะมุทะโย โหติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 117

อะวิชชายะเต๎ววะ อะเสสะวิราคะนิโรธา สังขาระนิโรโธ,


สังขาระนิโรธา วิญญาณะนิโรโธ, วิญญาณะนิโรธา นามะรูปะนิโรโธ,
นามะรูปะนิโรธา สะฬายะตะนะนิโรโธ, สะฬายะตะนะนิโรธา ผัสสะนิโรโธ,
ผัสสะนิโรธา เวทะนานิโรโธ, เวทะนานิโรธา ตัณ๎หานิโรโธ,
ตัณ๎หานิโรธา อุปาทานะนิโรโธ, อุปาทานะนิโรธา ภะวะนิโรโธ,
ภะวะนิโรธา ชาตินิโรโธ, ชาตินิโรธา ชะรามะระณัง
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา นิรุชฌันติ,
เอวะเมตัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ, นิโรโธ โหติ.

อภิธัมมะนิทาน
กะรุณา วิยะ สัตเตสุ ปญญายัสสะ มะเหสิโน
เญยยะธัมเมสุ สัพเพสุ ปะวัตติตถะ ยะถารุจิง
ทะยายะ ตายะ สัตเตสุ สะมุสสาหิตะมานะโส
ปาฏิเหราวะสานัมหิ วะสันโต ติทะสาละเย
ปาริจฉัตตะกะมูลัมหิ ปณฑุกัมพะละนามะเก
สิลาสะเน สันนิสินโน อาทิจโจวะ ยุคันธะเร
จักกะวาฬะสะหัสเสหิ ทะสะหาคัมมะ สัพพะโส
สันนิสินเนนะ เทวานัง คะเณนะ ปะริวาริโต
มาตะรัง ปะมุขัง กัต๎วา ตัสสา ปญญายะ เตชะสา
อะภิธัมมะกะถัง มัคคัง เทวานัง สัมปะวัตตะยิ
ตัสสะ ปาเท นะมัสสิต๎วา สัมพุทธัสสะ สิรีมะโต
สัทธัมมัญจัสสะ ปูเชต๎วา กัต๎วา สังฆัสสะ จัญชะลิง
นิปจจะการัสเส ตัสสะ กะตัสสะ ระตะนัตตะเย
อานุภาเวนะ โสเสต๎วา อันตะราเย อะเสสะโต
อิติ เม ภาสะมานัสสะ อะภิธัมมะกะถัง อิมัง
อะวิกขิต๎วา นิสาเมถะ ทุลละภา หิ อะยัง กะถา ฯ
118 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
เอกัง สะมะยัง ภะคะวา เทเวสุ วิหะระติ ตาวะติงเสสุ ปาริจฉัตตะกะ-
มูลัมหิ ปณฑุกัมพะละสิลายัง ตัต๎ระ โข ภะคะเว เทวานัง ตาวะติสานัง
อะภิธัมมะกะถัง กะเถสิ
จิตตะวิภัตติรูปญจะ นิกเขโป อัตถะโชตะนา
คัมภีรัง นิปุณัง ฐานัง ตัมป พุทเธนะ เทสิตัง.

ธัมมะนิยามะสุตตัง
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สาวัตถิยัง วิหะระติ, เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเม. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ.
ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ.
อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง,
ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา, สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ.
ตัง ตะถาคะโต อะภิสมั พุชฌะติ อะภิสะเมติ, อะภิสมั พุชฌิตว๎ า อะภิสะเมต๎วา
อาจิกขะติ เทเสติ, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ,
สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ.
อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง,
ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา, สัพเพ สังขารา ทุกขาติ.
ตัง ตะถาคะโต อะภิสมั พุชฌะติ อะภิสะเมติ, อะภิสมั พุชฌิตว๎ า อะภิสะเมต๎วา
อาจิกขะติ เทเสติ, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ,
สัพเพ สังขารา ทุกขาติ.
อุปปาทา วา ภิกขะเว ตะถาคะตานัง อะนุปปาทา วา ตะถาคะตานัง,
ฐิตา วะ สา ธาตุ ธัมมัฏฐิตะตา ธัมมะนิยามะตา, สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ.
ตัง ตะถาคะโต อะภิสมั พุชฌะติ อะภิสะเมติ, อะภิสมั พุชฌิตว๎ า อะภิสะเมต๎วา
อาจิกขะติ เทเสติ, ปญญะเปติ ปฏฐะเปติ, วิวะระติ วิภะชะติ อุตตานีกะโรติ,
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ. อิทะมะโว จะ ภะคะวา. อัตตะมะนา เต ภิกขู
ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทุนติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 119

ติลักขะณาทิคาถา
สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา
สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา
อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน
อะถายัง อิตะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ
เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธัมเม ธัมมานุวัตติโน
เต ชะนา ปาระเมสสันติ มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง
กัณหัง ธัมมัง วิปปะหายะ สุกกัง ภาเวถะ ปณฑิโต
โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง
ตัต๎ราภิระติมจิ เฉยยะ หิต๎วา กาเม อะกิญจะโน
ปะริโยทะเปยยะ อัตตานัง จิตตัก๎เลเสหิ ปณฑิโต
เยสัง สัมโพธิยังเคสุ สัมมา จิตตัง สุภาวิตัง
อาทานะปะฏินิสสัคเค อะนุปาทายะ เย ระตา
ขีณาสะวา ชุติมันโต เต โลเก ปะรินิพพุตาติ.

เทวะตาภิสัมมันตะนะคาถา
ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ
ภุมมานิ วา ยานิ วะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ
อะโถป สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง
สุภาสิตัง กิญจิป โว ภะเณมุ
ปุญเญ สะตุปปาทะกะรัง อะปาปง
120 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ธัมมูปะเทสัง อะนุการะกานัง
ตัส๎มา หิ ภูตานิ สะเมนตุ สัพเพ
เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ภูเตสุ พาฬ๎หัง กะตะภัตติกายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง
ปจโจปะการัง อะภิกังขะมานา
เต โข มะนุสสา ตะนุกานุภาวา
ภูตา วิเสเสนะ มะหิทธิกา จะ
อะทิสสะมานา มะนุเชหิ ญาตา
ตัส๎มา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา.

พระสะหัสสะนัย
สุทธิกะปะฏิปะทา
( กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา)
กะตะเม ธัมเม กุสะมา ยัส๎มิง สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง ภาเวติ
นิยยานิกัง อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหานายะ ปะฐะมายะ ภูมิยา
ปตติยา วิวิจเจวะ กาเมหิ ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิ-
ปะทัง ทันธาภิญญัง ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง สุขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง
สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง ตัส๎มิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม
ธัมมา กุสะลา กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัสม๎ งิ สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง
ภาเวติ นิยยานิกัง อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหานายะ ปะฐะมายะ
ภูมิยา ปตติยา วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา ทุติยัง ฌานัง ตะติยัง ฌานัง
จะตุตถัง ฌานัง ปะฐะมัง ฌานัง ปญจะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ
ทุกขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง สุขาปะฏิปะทัง
ทันธาภิญญัง สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง ตัส๎มิง สะมะเย ผัสโส โหติ
อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา กุสะลา ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 121

สุญญะตะมูละกะปะฏิปะทา
กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัส๎มิง สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง ภาเวติ
นิยยานิกงั อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหานายะ ปะฐะมายะ ภูมยิ า
ปตติยา วิวจิ เจวะ กาเมหิ ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิ-
ปะทัง ทันธาภิญญัง สุญญะตัง ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง สุญญะตัง
สุขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง สุญญะตัง สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง สุญญะตัง
ตัส๎มิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา กุสะลา กะตะเม
ธัมมา กุสะลา ยัส๎มิง สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง ภาเวติ นิยยานิกัง
อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหานายะ ปะฐะมายะ ภูมิยา ปตติยา
วิตกั กะวิจารานัง วูปะสะมา ทุตยิ งั ฌานัง ตะติยงั ฌานัง จะตุตถัง ฌานัง
ปะฐะมัง ปญจะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขา ปะฏิปะทัง ทันธา-
ภิญญัง สุญญะตัง ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง สุญญะตัง สุขาปะฏิปะทัง
ทันธาภิญญัง สุญญะตัง สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง สุญญะตัง ตัส๎มิง สะมะเย
ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา กุสะลา

อัปปะณิหิตะปะฏิปะทา
กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัสม๎ งิ สะมะเย โลกุตตะรังฌานัง ภาเวติ
นิยยานิกงั อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหานายะ ปะฐะมายะ ภูมยิ า
ปตติยา วิวิจเจวะ กาเมหิ ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิ-
ปะทัง ทันธาภิญญัง อัปปะณิหติ งั ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง อัปปะณิหติ งั
สุขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง อัปปะณิหิตงั สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง
อัปปะณิหิตัง ตัส๎มิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา กุสะลา
กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัสม๎ งิ สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง ภาเวติ นิยยานิกงั
อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหายนายะ ปะฐะมายะ ภูมิยา ปตติยา
วิตกั กะวิจารานัง วูปะสะมา ทุตยิ งั ฌานัง ตะติยงั ฌานัง จะตุตถัง ฌานัง
ปะฐะมัง ฌานัง ปญจะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิปะทัง
122 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ทันธาภิญญัง อัปปะณิหิตัง ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง อัปปะณิหิตัง
สุขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง อัปปะณิหิตัง สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง
อัปปะณิหิตัง ตัส๎มิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา กุสะลา

อะธิปะติ
กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัส๎มิง สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง ภาเวติ
นิยยานิกงั อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหานายะ ปะฐะมายะ ภูมยิ า
ปตติยา วิวจิ เจวะ กาเมหิ ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิ-
ปะทัง ทันธาภิญญัง ฉันทาธิปต เตยยัง วิรยิ าธิปต เตยยัง จิตตาธิปต เตยยัง
วิมงั สาธิปต เตยยัง ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง ฉันทาธิปต เตยยัง วิรยิ าธิ-
ปตเตยยัง จิตตาธิปตเตยยัง วิมังสาธิปตเตยยัง สุขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง
ฉันทาธิปต เตยยัง วิรยิ าธิปต เตยยัง จิตตาธิปต เตยยัง วิมงั สาธิปต เตยยัง
สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง ฉันทาธิปต เตยยัง วิรยิ าธิปต เตยยัง จิตตาธิปต เตยยัง
วิมงั สาธิตเตยยัง ตัสม๎ งิ สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ อิเม ธัมมา
กุสะลา
กะตะเม ธัมมา กุสะลา ยัส๎มิง สะมะเย โลกุตตะรัง ฌานัง ภาเวติ
นิยยานิกงั อะปะจะยะคามิง ทิฏฐิคะตานัง ปะหานายะ ปะฐะมายะ ภูมยิ า
ปตติยา วิตกั กะวิจารนัง วูปะสะมา ทุตยิ งั ฌานัง ตะติยงั ฌานัง จะตุตถัง ฌานัง
ปะฐะมัง ฌานัง ปญจะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ ทุกขาปะฏิปะทัง
ทันธาภิญญัง ฉันทาธิปตเตยยัง วิริยาธิปตเตยยัง จิตตาธิปตเตยยัง
วิมงั สาธิปต เตยยัง ทุกขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง ฉันทาธิปต เตยยัง วิรยิ าธิ-
ปตเตยยัง จิตตาธิปตเตยยัง วิมังสาธิปตเตยยัง สุขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง
ฉันทาธิปตเตยยัง วิริยาธิปตเตยยัง จิตตาธิปตเตยยัง วิมังสาธิปตเตยยัง
สุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง ฉันทาธิปตเตยยัง วิริยาธิปตเตยยัง
จิตตาธิปตเตยยัง วิมังสาธิปตเตยยัง (อะทุกขะมะสุขาปะฏิปะทัง ทันธาภิญญัง
ฉันทาธิปตเตยยัง วิริยาธิปตเตยยัง จิตตาธิปตเตยยัง วิมังสาธิปตเตยยัง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 123

อะทุกขะมะสุขาปะฏิปะทัง ขิปปาภิญญัง ฉันทาธิปต เตยยัง วิรยิ าธิปต เตยยัง


จิตตาธิปตเตยยัง วิมังสาธิปตเตยยัง) ตัส๎มิง สะมะเย ผัสโส โหติ อะวิกเขโป
โหติ อิเม ธัมมา กุสะลา ฯ
บังสุกุลตาย
อะนิจจา วะตะ สังขา อุปปาทะวะยะธัมมิโน
อุปปชชิต๎วา นิรุชฌันติ เตสัง วูปะสะโม สุโข
สัพเพ สัตตา มะรันติจะ มะริงสุ จะ มะริสสะเร
ตะเถวาหัง มะริสสามิ นัตถิ เม เอตถะ สังสะโย.

บังสุกุลเปน
อะจิรัง วะตะยัง กาโย ปะฐะวิง อะธิเสสสะติ
ฉุฑโฑ อะเปตะวิญญาโณ นิรัตถังวะ กะลิงคะรัง.
124 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
บทสวดเมตตาพรหมวิหาร
(พระคาถาเมตตาหลวง)
เอวัมเม สุตัง. เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน
อะนาถะปณฑิกัสสะ อาราเม. ตัต๎ระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ.
ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะวะโต ปจจัสโสสุง. ภะคะวา เอตะทะโวจะ เมตตายะ
ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ ยานีกะตายะ
วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ เอกาทะสานิสังสา
ปาฏิกังขา. กะตะเม เอกาทะสะ.
๑. สุขัง สุปะติ,
๒. สุขัง ปะฏิพุชฌะติ,
๓. ปาปะกัง สุปนัง ปสสะติ,
๔. มะนุสสานัง ปโย โหติ,
๕. อะมะนุสสานัง ปโย โหติ,
๖. เทวะตา รักขันติ,
๗. นาสสะ อัคคิ วา วิสัง วา สัตถัง วา กะมะติ,
๘. ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ,
๙. มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
๑๐. อะสัมมุฬ๎โห กาลัง กะโรติ,
๑๑. อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พ๎รัห๎มะโลกูปะโค โหติ.
เมตตายะ ภิกขะเว เจโตวิมุตติยา,อาเสวิตายะ ภาวิตายะ พะหุลีกะตายะ,
ยานีกะตายะ วัตถุกะตายะ อะนุฏฐิตายะ ปะริจิตายะ สุสะมารัทธายะ, อิเม
เอกาทะสานิสังสา ปาฏิกังขา.
อัตถิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ. อัตถิ โอธิโส ผะระณา
เมตตาเจโตวิมุตติ. อัตถิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
กะตีหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมตุ ติ. กะตีหากาเรหิ โอธิโส
ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ ฯ กะตีหากาเรหิ ทิสาผะระณา เมตตาเจโตวิมตุ ติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 125

ปญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมตุ ติฯ สัตตะหากาเรหิ โอธิโส


ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติฯ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
กะตะเมหิ ปญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
(๑) สัพเพ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๒)สัพเพ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๓) สัพเพ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๔) สัพเพ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๕) สัพเพ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี
อัตตานัง ปะริหะรันตูติ.
อิเมหิ ปญจะหากาเรหิ อะโนธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
กะตะเมหิ สัตติหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
(๑) สัพพา อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๒) สัพเพ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๓) สัพเพ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๔) สัพเพ อะนะริยา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๕) สัพเพ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๖) สัพเพ มะนุสสา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ.
(๗) สัพเพ วินปิ าติกา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูต.ิ

อิเมหิ สัตะหากาเรหิ โอธิโส ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.


กะตะเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณา เมตตาเจโตวิมุตติ.
126 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑. แผเมตตาใหสัตวในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ สัตตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๒. แผเมตตาใหปาณชาติ ในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิยายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 127

(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา


สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขินายะ อะนุทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปาณา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๓. แผเมตตาใหภูตผี ในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
128 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ภูตา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๔. แผเมตตาใหบุคคลในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 129

(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา


สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุคคะลา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๕. แผเมตตาใหผูมีอัตตภาพ ในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
130 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อัตตะภาวะปะริยาปนนา อะเวรา
อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๖. แผเมตตาใหเพศหญิงในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพพา ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพพา ปจฉิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพพา อุตตะรายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพพา ทักขิณายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพพา ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพพา ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพพา อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพพา ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพพา เหฏฐิมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพพา อุปะริมายะ ทิสายะ อิตถิโย อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 131

๗. แผเมตตาใหเพศชายในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ปุริสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๘. แผเมตตาใหผูเปนพระอริยะในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
132 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๙. แผเมตตาใหผูที่ไมใชพระอริยะในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานังปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 133

(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา


สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ อะนะริยา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๑๐. แผเมตตาใหเทวดาในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
134 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ เทวา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๑๑. แผเมตตาใหมนุษยผูมีใจสูงในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรัตถิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 135

(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา


สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ มะนุสสา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
๑๒. แผเมตตาใหสัตวนรกหรือผูตกในอบายภูมิในทิศทั้ง ๑๐
(๑) สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๒) สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๓) สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๔) สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๕) สัพเพ ปุรตั ถิมายะ อะนุทสิ ายะ วินปิ าติกา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๖) สัพเพ ปจฉิมายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๗) สัพเพ อุตตะรายะ อะนุทสิ ายะ วินปิ าติกา อะเวรา อัพย๎ าปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๘) สัพเพ ทักขิณายะ อะนุทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๙) สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ ฯ
(๑๐) สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ วินิปาติกา อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตูติ ฯ
136 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิเมหิ ทะสะหากาเรหิ ทิสา ผะระณาเมตตาเจโตวิมุตติ
สัพเพสัง สัตตานัง ปฬะนัง วัชเชต๎วา อะปฬะนายะ, อุปะฆาตัง วัชเชต๎วา
อะนุปะฆาเตนะ, สันตาปง วัชเชต๎วา อะสันตาเปนะ, ปะริยาทานัง วัชเชต๎วา
อะปะริยาทาเนนะ วิเหสัง วัชเชต๎วา อะวิเหสายะ, สัพเพ สัตตา อะเวริโน
โหนตุ มา เวริโน, สุขโิ น โหนตุ มา ทุกขิโน, สุขติ ตั ตา โหนตุ มา ทุกขิตตั ตาติ
อิเมหิ อัฏฐะหากาเรหิ สัพเพ สัตเต เมตตายะตีติ เมตตา. ตัง ธัมมัง เจตะยะตีติ
เจโต. สัพพะพะยาปาทะปะริยฏุ ฐาเนหิ มุจจะตีติ วิมตุ ติ. เมตตา จะ เจโตวิมตุ ติ
จาติ เมตตา เจโตวิมุตติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 137

สูตรยอความ
๑. จํานวนทิศ ๒. จํานวนสัตว ๓. จํานวนธรรม
๑. สัพเพ ปุรัตถิมายะ ทิสายะ ๑. สัตตา
๑. คําเมตตา
อะเวรา อัพ๎ยาปชฌา อะนีฆา
๒. สัพเพ ปจฉิมายะ ทิสายะ ๒. ปาณา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ

๓. สัพเพ อุตตะรายะ ทิสายะ ๓. ภูตา ๒. คํากรุณา


อะลาภา ปะมุญจันตุ, อะยะสา
๔. สัพเพ ทักขิณายะ ทิสายะ ๔. ปุคคะลา ปะมุญจันตุ,นินทา ปะมุญจันตุ,
๕. สัพเพ ปุรัตถิมายะ ๕. อัตตะภาวะ- สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ
อนุทิสายะ ปะริยาปนนา
๓. คํามุทิตา
๖. สัพเพ ปจฉิมายะ อนุทสิ ายะ ๖. อิตถิโย ลัทธะสัมปตติโต มา วิคจั ฉันตุ,
ลัทธะยะสะโต มา วิคัจฉันตุ
๗. สัพเพ อุตตะรายะ อนุทสิ ายะ ๗. ปุริสา ลัทธะปะสังโต มา วิคัจฉันตุ,
๘. สัพเพ ทักขิณายะ อนุทสิ ายะ ๘. อะริยา ลัทธะสุขา มา วิคัจฉันตุ

๙. สัพเพ เหฏฐิมายะ ทิสายะ ๙. อะนะริยา ๔. คําอุเบกขา


กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา
๑๐.สัพเพ อุปะริมายะ ทิสายะ ๑๐. เทวา กัมมะโยนี กัมมะพันธู
กัมมะปะฏิสะระณา ยัง กัมมัง
๑๑. มะนุสสา กะริสสันติ กัลย๎ านัง วา ปาปะกัง
๑๒. วินิปาติกา วาตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติฯ
เฉพาะ ๖. อิตถิโย ใหเปลี่ยน สัพเพ เปน สัพพา ทั้งหมด
เชน สัพพา ปุรตั ถิมายะ ทิสายะ อิตถิโย เปนตน
138 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
กอนสวด ตั้งนะโม ๓ จบ กลาวไตรสรณาคมณ แลวสวดคําเมตตาตน
๑.
กอน
สวดยอ คือ สวดชองจํานวนสัตวทีละขอ ๆ ไปตอชองจํานวนธรรม
จนครบ ๑๒ ขอ แตทุกขอตองใช “สัพเพ” นําหนา เวนแตขอ
๒.
“อิตถิโย” จึงใช “สัพพา” นําหนา ตัวเลขไมตองสวด หากแตมี
กํากับไวกันสับสน
สวดพิสดาร คือ สวดชองจํานวนทิศทีละขอ ๆ ไปตอกับชองจํานวน
สัตว เตลิดเลยไปชองจํานวนธรรมสิบขอสิบขอจํานวนทิศตอหนึ่งขอ
๓.
จํานวนสัตวดังนั้นเสมอไป จนถึงจํานวนสัตวที่ ๑๒ วินิปาติกา ก็ไดวา
สวด ๑๒๐ ครั้ง เฉพาะที่ตอลงทายดวยคําวา เมตตาอยางเดียว
สวดถึง “อิตถิโย” สัพนามที่เคยสวดเปน สัพเพ มากอน ใหเปลี่ยน
๔.
เปน “สัพพา” ตามอิตถีลิงค ฯ
หมายเหตุ อานิสงสเมตตา พระทานบอกไววา “พระโยคามหานาค เจริญ
เมตตามากยิ่งกวาฝูงคนยอมไดประสพผลเหลานี้ สุข สุปติ หลับตื่น ชื่นตา
เสวยสุขอนันต ไมฝนลามกรายกาจ ปศาจมนุษยชื่นชมหฤหรรษ เทวาทุกชั้น
ชวยชูรักษา หอก ดาบ ยาพิษ ไฟลุก เขามา ครั้นถึงองคพระโยคายอนกลับ
ยับเปนผง ใจรายใจบาปสันดานชั่วหยาบ ระงับดับลงดวยพรหมวิหาร องค
พระโยคาสุกใส ใครเห็นพิศวง เมื่อตายไมหลง เหมือนคนสามานย สงผลถึง
อัครฐานตราบเทาพระนิพพานแล”

ประวัติความเปนมา
พระคาถาเมตตาหลวงบทนี้ หลวงปูมั่น ภูริทัตโต ทานมักจะใชภาวนา
เปนการเจริญเมตตาไปยังสรรพสัตวไมมีประมาณ ใหหมูสัตวและเทวดาไดรับ
ความรมเย็นเปนสุขโดยทั่วกัน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 139

ตอมาหลวงปูขาว อนาลโย แหงวัดถํ้ากลองเพล จ.หนองบัวลําภู ไดรับ


ถายทอดพระคาถาบทนี้ไว และไดมอบใหแก หลวงปูเมตตาหลวง หรือพระ
ญาณสิทธาจารย (สิงห สุนทโร) แหงวัดเทพพิทักษปุณณาราม อ.ปากชอง
จ.นครราชสี ม า เพื่ อ ใช เ ป น บทเจริ ญ เมตตาแก ส รรพสั ต ว ทั่ ว ทุ ก สารทิ ศ
พระคาถาเมตตาหลวงนี้ เปนการเจริญกรรมฐานชนิดที่มีอานิสงส ทําใหจิต
ตั้งมั่นไดถึงระดับ อัปนาสมาธิ คือ เมตตา กรุณาและมุทิตา จิตสามารถตั้งมั่น
ไดในระดับฌาน ๓ สวนอุเบกขานั้น ทําใหจิตมั่นไดถึง ฌาน ๔
ในกรรมฐาน ๔๐ นั้น ทานเรียกการเจริญกรรมฐานแบบนี้วา พรหมวิหาร ๔
หรือ อัปปมัญญา ๔
อนึ่ง การเจริญเมตตาพรหมวิหารนี้ พระพุทธองคไดทรงแสดงอานิสงสไว
วา เอกาทสานิสังสาฯ ปาฏิกังขา ตองหวังไดอานิสงส ๑๑ ประการ คือ
๑. ยอมหลับเปนสุข
๒. ยอมตื่นเปนสุข
๓. ยอมไมฝนลามก
๔. ยอมเปนที่รักแหงมนุษยทั้งหลาย
๕. ยอมเปนที่รักแหงอมนุษยทั้งหลาย
๖. เทวดาทั้งหลายยอมรักษา
๗. ไฟ ยาพิษ หรือศาสตรายอมไมกลํ้ากรายได
๘. จิตยอมตั้งมั่นโดยเร็ว
๙. สีหนายอมผองใส
๑๐. เปนผูไมหลงใหลทํากาละ
๑๑. เมื่อไมบรรลุแทงตลอดคุณอันยิ่ง ยอมเปนผูเขาถึงพรหมโลก
(๘๐.๓๗/๕๑๐-๕๑๑ หรือ ๔๕.๒๔/๓๖๑ เมตตาสูตร)
140 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
จะตุรัปปะมัญญาปาฐะ
(บทเจริญพรหมวิหาร ๔ ทิศ ไมมีที่สุดไมมีประมาณ)
อัตถิ โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา
สัมมาสัมพุทเธนะ, จะ ตัสโส อัปปะมัญญาโย สัมมะทักขาตา.
อิธะ ภิกขุ เมตตาสะหะคะเตนะ เจตะสา เอกัง ทิสัง ผะริต๎วา วิหะระติ,
ตะถา ทุติยัง ตะถา ตะติยัง ตะถา จะตุตถัง, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง
สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตาสะหะคะเตนะ เจตะสา
วิปุเลนะ มะหัคคะเตนะ อัปปะมาเณนะ อะเวเรนะ อัพ๎ยาปชเฌนะ ผะริต๎วา
วิหะระติ.
กะรุณาสะหะคะเตนะ เจตะสา เอกัง ทิสัง ผะริต๎วา วิหะระติ, ตะถา
ทุติยัง ตะถา ตะติยัง ตะถา จะตุตถัง, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ
สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, กะรุณาสะหะคะเตนะ เจตะสา วิปุเลนะ
มะหัคคะเตนะ อัปปะมาเณนะ อะเวเรนะ อัพ๎ยาปชเฌนะ ผะริต๎วา วิหะระติ.
มุทิตาสะหะคะเตนะ เจตะสา เอกัง ทิสัง ผะริต๎วา วิหะระติ, ตะถา
ทุติยัง ตะถา ตะติยัง ตะถา จะตุตถัง, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ
สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, มุทิตาสะหะคะเตนะ เจตะสา วิปุเลนะ
มะหัคคะเตนะ อัปปะมาเณนะ อะเวเรนะ อัพ๎ยาปชเฌนะ ผะริต๎วา วิหะระติ.
อุเปกขาสะหะคะเตนะ เจตะสา เอกัง ทิสัง ผะริต๎วา วิหะระติ, ตะถา
ทุติยัง ตะถา ตะติยัง ตะถา จะตุตถัง, อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ
สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, อุเปกขาสะหะคะเตนะ เจตะสา วิปเุ ลนะ
มะหัคคะเตนะ อัปปะมาเณนะ อะเวเรนะ อัพ๎ยาปชเฌนะ ผะริต๎วา วิหะระติ.
อิมา โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา
สัมมาสัมพุทเธนะ, จะตัสโส อัปปะมัญญาโย สัมมะทักขาตาติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 141

ธัมมปริยายะคาถา
( นํา) หันทะ มะยัง ธัมมะปะริยายะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ
( รับ) สัพเพ สัตตา มะริสสันติ มะระณันตัง หิ ชีวิตัง
สัตวทั้งหลายทั้งสิ้นจักตองตาย, เพราะชีวิตนี้มีความตายเปนที่สุดรอบ
ชะรังป ปต๎วา มะระณัง เอวัง ธัมมา หิ ปาณิโณ
แมจะอยูไ ดถงึ ชราก็ตอ งตาย, เพราะสัตวทงั้ หลาย ยอมเปนอยางนีต้ ามธรรมดา
ยะมะกัง นามะรูปญจะ อุโภ อัญโญญะนิสสิตา
ก็นามและรูปคือกายกับใจ, ยอมอาศัยกันอยูเปนของคูกัน
เอกัส๎มิง ภิชชะมานัส๎มิง อุโภ ภิชชันติ ปจจะยาติ
เมื่อฝายใดฝายหนึ่งแตกสลาย, ทั้งสองฝายก็สลายไปดวยกัน
ยะถาป อัญญะตะรัง พีชัง เขตเต วุตตัง วิรูหะติ
เปรียบเหมือนพืชอยางใดอยางหนึ่ง,ที่หวานลงแลวในพื้นแผนดินยอมงอก
ขึ้นได,
ปะฐะวีระสัญจะ อาคัมมะ สิเนหัญจะ ตะทูภะยัง
เพราะอาศัยรสแหงแผนดิน, และเชื้อในยางแหงพืชนั้นๆ
เอวัง ขันธา จะ ธาตุโย ฉะ จะ อายะตะนา อิเม
ขันธทั้ง ๕ และธาตุทั้งหลาย, พรอมทั้งอายตนะทั้ง ๖ นี้ก็เหมือนกัน
เหตุง ปะฏิจจะ สัมภูตา เหตุภังคา นิรุชฌะเร
อาศัยเหตุจึงเกิดขึ้นได, เมื่อเหตุนั้นแตกสลายก็ยอมดับไป
ยะถา หิ อังคะสัมภารา โหติ สัทโท ระโถ อิติ
เปรียบเหมือนการประกอบชิน้ สวนของรถเขาดวยกัน, คําเรียกวารถก็มขี นึ้ ได
เอวัง ขันเธสุ สันเตสุ โหติ สัตโตติ สัมมะติ
เมื่อขันธทั้ง๕ ยังมีอยูก็เหมือนกัน, คําสมมติวาคนและสัตวก็มีขึ้นได
อุโภ ปุญญัญจะ ปาปญจะ ยัง มัจโจ กุรุเต อิธะ
เมื่อผูที่ตายไป, ทําบุญและบาปใดๆ ในโลกนี้แลว
142 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ตัญหิ ตัสสะ สะกัง โหติ ตัญจะ อาทายะ คัจฉะติ
บุญและบาปนั้นแล, ยอมเปนของๆ เขาผูนั้นโดยแท,
เขายอมไดรับบุญและบาปนั้นแนนอน
ตัญจัสสะ อะนุคัง โหติ ฉายาวะ อะนุปายินี
บุญและบาปนั้นยอมติดตามเขาไป, เหมือนเงาตามตัวเขาไปฉะนั้น
สัทธายะ สีเลนะ จะ โย ปะวัฑฒะติ
ผูใดเจริญดวยศีลและมีศรัทธา
ปญญายะ จาเคนะ สุเตนะ จูภะยัง
เปนผูมีปญญา, สดับศึกษาในการเสียสละ
โส ตาทิโส สัปปุริโส วิจักขะโน
บุคคลผูเปนสัตบุรุษ, เปนผูเฉียบแหลมเชนนั้น
อาทียะติ สาระมิทเธวะ อัตตะโน
ยอมเปนผูถือเอาประโยชนแหงตน, ในโลกนี้ไวไดโดยแท
อัชเชวะ กิจจะมาตัปปง โก ชัญญา มะระณัง สุเว
พึงทําความเพียรเสียในวันนี้แหละ, ใครเลาจะรูความตายในวันพรุง
นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา
เพราะวาความผัดเพีย้ นกับมัจจุราชผูม เี สนาใหญนนั้ , ยอมไมมแี กเราทัง้ หลาย
เอวัมภูเตสุ เปยเตสุ สาธุ ตัตถาชฌุเปกขะนา
เมื่อสังขารเหลานั้นตองเปนอยางนี้แนนอน, การวางเฉยในสังขารเสียได
ยอมเปนการดี,
อะป เตสัง นิโรธายะ ปะฏิปตต๎ยาติสาธุกา
อนึ่ง การปฏิบัติเพื่อดับสังขารเสียได , ยิ่งเปนการดี
สัพพัง สัมปาทะนียัญหิ อัปปะมาเทนะ สัพพะทาติ
กิจทั้งสิ้นนี้จะพึงบําเพ็ญใหบริบูรณได, ดวยความไมประมาท
ทุกเมื่อเทานั้นแล, ดังนี้ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 143

อานาปานสติสูตร
(หันทะ มะยัง อานาปานะสะติปาฐัง ภะณามะ เส)
อานาปานะสะติ ภิกขะเว ภาวิตา พะหุลีกะตา
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติอันบุคคลเจริญทําใหมากแลว
มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา
ยอมมีผลใหญมีอานิสงสใหญ
อานาปานะสะติ ภิกขะเว ภาวิตา พะหุลีกะตา
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, อานาปานสติอันบุคคลเจริญทําใหมากแลว
จัตตาโร สะติปฐฐาเน ปะริปูเรนติ
ยอมทําสติปฏฐานทั้งสี่ใหบริบูรณ
จัตตาโร สะติปฏฐานา ภาวิตา พะหุลีกะตา
สติปฏฐานทั้งสี่อันบุคคลเจริญทําใหมากแลว
สัตตะ โพชฌังเค ปะริปูเรนติ
ยอมทําโพชฌงคทั้งเจ็ดใหบริบูรณ
สัตตะ โพชฌังคา ภาวิตา พะหุลีกะตา
โพชฌงคทั้งเจ็ดอันบุคคลเจริญทําใหมากแลว
วิชชา วิมุตติง ปะริปูเรนติ
ยอมทําวิชชาและวิมุตติใหบริบูรณ
กะถัง ภาวิตา จะ ภิกขะเว อานาปานะสะติ, กะถัง พะหุลีกะตา
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย, ก็อานาปานสติอนั บุคคลเจริญทําใหมากแลวอยางไรเลา
มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา จึงมีผลใหญมีอานิสงสใหญ
อิธะ ภิกขะเว ภิกขุ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, ภิกษุในธรรมวินัยนี้
อะรัญญะคะโต วา ไปแลวสูปาก็ตาม
รุกขะมูละคะโต วา ไปแลวสูโคนไมก็ตาม
สุญญาคาระคะโต วา ไปแลวสูเรือนวางก็ตาม
นิสีทะติ ปลลังกัง อาภุชิต๎วา นั่งคูขาเขามาโดยรอบแลว
144 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อุชุง กายัง ปะณิธายะ, ปะริมุขัง สะติง อุปฏฐะเปต๎วา
ตั้งกายตรงดํารงสติมั่น
โส สะโต วะ อัสสะสะติ, สะโต ปสสะสะติ
ภิกษุนั้นเปนผูมีสติอยูนั้นเทียว, หายใจเขา, มีสติอยู, หายใจออก
(๑) ทีฆัง วา อัสสะสันโต, ทีฆัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ
ภิกษุนั้นเมื่อหายใจเขายาว, ก็รูสึกตัวทั่วถึงวาเราหายใจเขายาว, ดังนี้
ทีฆัง วา ปสสะสันโต, ทีฆัง ปสสะสามีติ ปะชานาติ
เมื่อเราหายใจออกยาว, ก็รูสึกตัวทั่วถึงวาเราหายใจออกยาว, ดังนี้
(๒) รัสสัง วา อัสสะสันโต, รัสสัง อัสสะสามีติ ปะชานาติ
ภิกษุนั้นเมื่อหายใจเขาสั้น, ก็รูสึกตัวทั่วถึงวาเราหายใจเขาสั้น, ดังนี้
รัสสัง วา ปสสะสันโต, รัสสัง ปสสะสามีติ ปะชานาติ
เมื่อเราหายใจออกสั้น, ก็รูสึกตัวทั่วถึงวาเราหายใจออกสั้น, ดังนี้
(๓) สัพพะกายะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง,
จักหายใจเขา, ดังนี้
สัพพะกายะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งกายทั้งปวง, จักหายใจ
ออก, ดังนี้
(๔) ปสสัมภะยัง กายะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูทํากายสังขารใหระงับอยู,
จักหายใจเขา, ดังนี้
ฃปสสัมภะยัง กายะสังขารัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูท าํ กายสังขารใหระงับอยู, จักหายใจออก,
ดังนี้
(จบ จะตุกกะที่หนึ่ง)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 145

(๕) ปติปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ


ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูร พู รอมเฉพาะซึง่ ปต,ิ จักหายใจ
เขา, ดังนี้
ปติปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งปติ, จักหายใจออก,
ดังนี้
(๖) สุขะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา,เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข,จักหายใจ
เขา, ดังนี้
สุขะปะฏิสังเวที ปสสะสิสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งสุข, จักหายใจออก, ดังนี้
(๗) จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร,
จักหายใจเขา, ดังนี้
จิตตะสังขาระปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา,เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิตตสังขาร,จักหายใจ
ออก, ดังนี้
(๘) ปสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา,เราเปนผูทําจิตตสังขารใหระงับอยู,จัก
หายใจเขา, ดังนี้
ปสสัมภะยัง จิตตะสังขารัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูทําจิตตสังขารใหระงับอยู, จักหายใจ
ออก, ดังนี้
(จบจะตุกกะที่สอง)
146 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(๙) จิตตะปะฏิสังเวที อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต, จักหายใจ
เขา, ดังนี้
จิตตะปะฏิสังเวที ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูรูพรอมเฉพาะซึ่งจิต, จักหายใจออก,
ดังนี้
(๑๐) อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา,เราเปนผูท าํ จิตใหปราโมทยยงิ่ อยู, จักหายใจ
เขา, ดังนี้
อะภิปปะโมทะยัง จิตตัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูท าํ จิตใหปราโมทยยงิ่ อยู, จักหายใจออก,
ดังนี้
(๑๑) สะมาทะหัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูทําจิตใหตั้งมั่นอยู, จักหายใจ
เขา, ดังนี้
สะมาทะหัง จิตตัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูท าํ จิตใหตงั้ มัน่ อยู, จักหายใจออก, ดังนี้
(๑๒) วิโมจะยัง จิตตัง อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนั้นยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู, จักหายใจ
เขา, ดังนี้
วิโมจะยัง จิตตัง ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูทําจิตใหปลอยอยู, จักหายใจออก, ดังนี้
(จบ จะตุกกะที่สาม)
(๑๓) อะนิจจานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา,เราเปนผูต ามเห็นซึง่ ความไมเทีย่ งอยูเ ปน
ประจํา, จักหายใจเขา, ดังนี้
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 147

อะนิจจานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ


ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูต ามเห็นซึง่ ความไมเทีย่ งอยูเ ปนประจํา,
จักหายใจออก, ดังนี้
(๑๔) วิราคานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา,เราเปนผูต ามเห็นซึง่ ความจางคลายอยูเ ปน
ประจํา, จักหายใจเขา, ดังนี้
วิราคานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูต ามเห็นซึง่ ความจางคลายอยูเ ปนประจํา,
จักหายใจออก, ดังนี้
(๑๕) นิโรธานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูต ามเห็นซึง่ ความดับไมเหลืออยู
เปน ประจํา, จักหายใจเขา, ดังนี้
นิโรธานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูตามเห็นซึ่งความดับไมเหลืออยูเปน
ประจํา, จักหายใจออก, ดังนี้
(๑๖) ปะฏินิสสัคคานุปสสี อัสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ภิกษุนนั้ ยอมทําในบทศึกษาวา,เราเปนผูต ามเห็นซึง่ ความสลัดคืนอยูเ ปน
ประจํา,จักหายใจเขา, ดังนี้
ปะฏินิสสัคคานุปสสี ปสสะสิสสามีติ สิกขะติ
ยอมทําในบทศึกษาวา, เราเปนผูต ามเห็นซึง่ ความสลัดคืนอยูเ ปนประจํา,
จักหายใจออก, ดังนี้
(จบ จะตุกกะที่สี่)
เอวัง ภาวิตา โข ภิกขะเว อานาปานะสะติ, เอวัง พะหุลีกะตา
ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย,อานาปานสติอนั บุคคลเจริญแลว,ทําใหมากแลว,อยางนีแ้ ล
มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา
ยอมมีผลใหญมีอานิสงสใหญ
อิติ ดวยประการฉะนี้แล ฯ
148 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คาถาบูชาพระพุทธสิหิงค
(นํา) หันทะ มะยัง พุทธะปะสังสาคาถาโย พุทธะสิหิงโค นามะ ภะณามะ เส
(รับ) อิติ ปะวะระสิหิงโค อุตตะมะยะโสป เตโช
ยัตถะ กัตถะ จิตโตโส สักกาโร อุปาโท
สะกาละพุทธะสาสะนัง โชตะยันโตวะ ทีโป
สุระนะเรหิ มะหิโต ธะระมาโนวะ พุทโธติ.
พุทธสิหิงคา อุบัติมา ณ แดนใด
ประเสริฐ ธ เกริกไกร ดุจกายพระศาสดา
เปนที่เคารพนอม มนุษยพรอมทั้งเทวา
เปรียบเชนชวาลา ศาสนาที่ยืนยง
เหมือนหนึ่งพระสัมพุทธ สุวิสุทธิ์พระชนมคง
แดนใดพระดํารง พระศาสนคงก็จํารูญ
ดวยเดชสิทธิศักดิ์ ธ พิทักษอนุกูล
พระศาสนบมีสูญ พระเพิ่มพูนมหิทธา
ขาฯขอเคารพนอม วจีคอมขึ้นบูชา
พิทักษ ธ รักษา พระศาสนมาตลอดกาล
ปวงขาฯจะประกาศ พุทธศาสนใหไพศาล
ขอพระอภิบาล ชินมารนิรันดร เทอญ.

นมัสการพระอรหันต ๘ ทิศ
( หันทะ มะยัง สะระภัญเญนะ พุทธะมังคะละคาถาโย ภะณามะ เส )
สัมพุทโธ ทิปะทัง เสฏโฐ นิสินโน เจวะ มัชฌิเม
โกณฑัญโญ ปุพพะภาเค จะ อาคะเณยเย จะ กัสสะโป
สารีปุตโต จะ ทักขิเณ หะระติเย อุปาลี จะ
ปจฉิเมป จะ อานันโท พายัพเพ จะ คะวัมปะติ
โมคคัลลาโน จะ อุตตะเร อีสาเณป จะ ราหุโล
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 149

อิเม โข มังคะลา พุทธา สัพเพ อิธะ ปะติฏฐิตา


วันทิตา เต จะ อัมเหหิ สักกาเรหิ จะ ปูชิตา
เอเตสัง อานุภาเวนะ สัพพะโสตถี ภะวันตุ โน ฯ
อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง
ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ

คําไหวบารมี ๓๐ ทัศ
ทานะ ปาระมี สัมปนโน
ทานะ อุปะปาระมี สัมปนโน
ทานะ ปะระมัตถะปาระมี สัมปนโน
เมตตา ไมตรี กรุณา มุทิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปนโน อิติปโส ภะคะวา ฯ
สีละปาระมี- เนกขัมมะปาระมี- ปญญาปาระมี- วิรยิ ะปาระมี- ขันติปาระมี-
สัจจะปาระมี- อะธิษฐานะปาระมี- เมตตาปาระมี- อุเปกขาปาระมี-
ทะสะปาระมี- (นอกนั้นเหมือนกันหมด)
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหงั ฯ

มงคลจักรวาล ๑๐ ทิศ (คาถาโพธิบาท)


บูระพารัสdมิง พระพุทธะคุณัง
บูระพารัสdมิง พระธัมเมตัง
บูระพารัสdมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวัญชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค
สัพพะภัย สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร วิวัญชัยเย สัพพะธะนัง
สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ สุรักขันตุฯ
150 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
หมายเหตุ เทีย่ วตอไปเปลีย่ นทีข่ ดี เสนใตเปน.. อาคะเนย๎รสั ม๎ งิ - ทักษิณรัสม๎ งิ -
หรดีรสั ม๎ งิ -ปจจิมรัสม๎ งิ -พายัพรัสม๎ งิ -อุดรรัสม๎ งิ -อิสานรัสม๎ งิ -อากาสรัสม๎ งิ -
ปะฐะวีรัส๎มิง นอกนั้นเหมือนกันหมด

มงคลจักรวาลสะเดาะเคราะห ๑๐ ทิศ
บูระพารัสdมิง พระพุทธะคุณัง
บูระพารัสdมิง พระธัมเมตัง
บูระพารัสdมิง พระสังฆานัง
ทุกขะโรคะภะยัง วิวญั ชัยเย สัพพะทุกข สัพพะโศก สัพพะโรค สัพพะภัย
สัพพะเคราะห เสนียดจัญไร สัพพะเคราะหตัวนอก สัพพะเคราะหตัวใน
สัพพะเคราะหตัวใดๆ ขอใหกลายเปนดี เคราะหป เคราะหเดือน เคราะหวัน
เคราะหป ขอใหเคลื่อน เคราะหเดือนขอใหคลาย เคราะหวันขอใหหาย
เหมือนนํ้าดับไฟ อะภิวัญชัยเย สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม รักขันตุ
สุรักขันตุ
หมายเหตุ เทีย่ วตอไปเปลีย่ นทีข่ ดี เสนใตเปน อาคะเนย๎รสั ม๎ งิ - ทักษิณรัสม๎ งิ
- หรดีรสั ม๎ งิ - ปจจิมรัสม๎ งิ - พายัพรัสม๎ งิ - อุดรรัสม๎ งิ -อิสานรัสม๎ งิ -อากาสรัสม๎ งิ -
ปะฐะวีรัส๎มิง นอกนั้นเหมือนกันหมด
(สวดใหผอู ื่น เปลี่ยน ภะวันตุ เม เปน ภะวันตุ เต)

มงคลจักรวาล ๘ ทิศ
อิมัส๎มิง มงคลจักรวาลทั้ง ๘ ทิศ ประสิทธิ จงมาเปนกําแพงแกวทั้ง ๗ ชั้น
มาปองกันหอมลอมรอบครอบทั่วอะนัตตา ราชะเสมานาเขตเต สะมันตา
สะตะโยชะนะ สะตะสะหัสสานิ พุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุฯ

หมายเหตุรอบตอไป ธัมมะชาละปะริกเขตเต ปจเจกะพุทธะชาละปะริกเขตเต


สังฆะชาละปะริกเขตเต นอกนั้นเหมือนกันหมด
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 151

พิจารณาปจจัย ๔ หลังทําวัตรเชา

ตังขะณิกะปจจะเวกขะณะวิธี
(หันทะ มะยัง ตังขะณิกะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ)

ปะฏิสังขา โยนิโส จีวะรัง ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะปะฏิฆาตายะ,


อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง
ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ หิริโกปนะปะฏิจฉาทะนัตถังฯ

ปะฏิสงั ขา โยนิโส ปณฑะปาตัง ปะฏิเสวามิ, เนวะ ท๎วายะ นะ มะทายะ


นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ, ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา
ยาปะนายะ วิหงิ สุปะระติยา พ๎รหั ม๎ ะจะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง
ปะฏิหังขามิ นะวัญจะ เวทะนัง นะ อุปปาเทสสามิ, ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ
อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวิหาโร จาติฯ

ปะฏิสงั ขา โยนิโส เสนาสะนัง ปะฏิเสวามิ,ยาวะเทวะ สีตสั สะ ปะฏิฆาตายะ,


อุณ๎หัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง
ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถังฯ

ปะฏิสังขา โยนิโส คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง ปะฏิเสวามิ,


ยาวะเทวะ อุปปนนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง ปะฏิฆาตายะ,
อัพ๎ยาปชฌะปะระมะตายาติฯ
152 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ธาตุปะฏิกูละปจจะเวกขะณะวิธี
หันทะ มะยัง ธาตุปะฏิกูละปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง จีวะรัง ฯ


ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ
สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฉะนียานิ อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ ฯ

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง ปณฑะปาโต ฯ


ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคลโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญ ฯ
สัพโพ ปะนายัง ปณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา อะติวิยะ
ชิคุจฉะนีโย ชายะติ ฯ

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง เสนาสะนังฯ


ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมัตตะโก นิสสัตโต นิชชีโว สุญโญฯ
สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสนะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติฯ

ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง ยะทิทัง คิลานะปจจะยะ-


เภสัชะปะริกขาโร ฯ ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล ธาตุมตั ตะโก นิสสัตโต นิชชีโว
สุญโญ ฯ สัพโพ ปะนายัง คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคจุ ฉะนีโย อิมงั
ปูติกายัง ปต๎วา อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 153

พิจารณาปจจัย ๔ หลังทําวัตรเย็น
อะตีตะปจจะเวกขะณะวิธี
หันทะ มะยัง อะตีตะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตวา ยัง จีวะรัง ปะริภุตตัง, ตัง ยาวะเทวะ


สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะ-
สิรงิ สะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ,ยาวะเทวะ หิรโิ กปนะปะฏิจฉาทะนัตถังฯ

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตวา โย ปณฑะปาโต ปะริภุตโต,


โส เนวะ ทวายะ นะ มะทายะ นะ มัณฑะนายะ นะ วิภูสะนายะ,
ยาวะเทวะ อิมัสสะ กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติยา พ๎รัห๎มะ-
จะริยานุคคะหายะ, อิติ ปุราณัญจะ เวทะนัง ปะฏิหงั ขามิ นะวัญจะ เวทะนัง
นะ อุปปาเทสสามิ, ยาต๎รา จะ เม ภะวิสสะติ อะนะวัชชะตา จะ ผาสุวหิ าโร จาติฯ

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิตวา ยัง เสนาสะนัง ปะริภุตตัง,


ตัง ยาวะเทวะ สีตัสสะ ปะฏิฆาตายะ, อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ,
ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ
อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง ปะฏิสัลลานารามัตถังฯ

อัชชะ มะยา อะปจจะเวกขิต๎วา โย คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร


ปะริภุตโต, โส ยาวะเทวะ อุปปนนานัง เวยยาพาธิกานัง เวทะนานัง
ปะฏิฆาตายะ, อัพ๎ยาปชฌะปะระมะ ตายาติฯ
154 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ปตติทานะคาถา
(นํา) หันทะ มะยัง ปตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ
ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี
ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง
ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล
เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว
สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา
คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา
สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต
ชะลาพุชา เยป จะ อัณฑะสัมภะวา
สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา
นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต
สัพเพป ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง
ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา
สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ อัตถายะ จะ หิตายะ จะ
อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพป ธัมมะจาริโน
วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต

ปะสันนา โหนตุ สัพเพป ปาณิโน พุทธะสาสะเน


สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ
วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง
มาตา ปตา จะ อัตระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง
เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 155

อภิณหะปจจะเวกขณ
(นํา) หันทะ มะยัง อะภิณหะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.
ชะราธัมโมม๎หิ ชะรัง อะนะตีโต ( หญิงวา อะนะตีตา ),
เรามีความแกเปนธรรมดา, จะลวงพนความแกไปไมได,
พ๎ยาธิธัมโมม๎หิ พ๎ยาธิง อะนะตีโต ( หญิงวา อะนะตีตา ),
เรามีความเจ็บไขเปนธรรมดา, จะลวงพนความเจ็บไขไปไมได,
มะระณะธัมโมม๎หิ มะระณัง อะนะตีโต ( หญิงวา อะนะตีตา ),
เรามีความตายเปนธรรมดา, จะลวงพนความตายไปไมได
สัพเพหิ เม ปเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว
เราจักตองพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้นไป,
กัมมัสสะโกม๎หิ, กัมมะทายาโท ( หญิงวา ทายาทา ),
กัมมะโยนิ, กัมมะพันธุ, กัมมะปะฏิสะระโณ ( หญิงวา สะระณา ),
เราเปนผูมีกรรมเปนของ ๆ ตน, เปนผูมีกรรมเปนผูใหผล,
เปนผูมีกรรมเปนกําเนิด,เปนผูมีกรรมเปนเผาพันธุ, เปนผูมีกรรม
เปนที่พึ่งอาศัย,
ยัง กัมมัง กะริสสามิ, กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา,
เราจักทํากรรมอันใดไว, เปนบุญหรือเปนบาป, (ดีหรือชั่ว)
ตัสสะ ทายาโท ( หญิงวา ทายาทา) ภะวิสสามิ,
เราจักเปนทายาท, คือวาจะตองไดรับผลของกรรมนั้นสืบไป,
เอวัง อัม๎เหหิ อะภิณ๎หัง ปจจะเวกขิตัพพัง.
เราทั้งหลายควรพิจารณาอยางนี้ทุกวันๆ เถิด.
156 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
กายะคะตาสะติ
(นํา) หันทะ มะยัง กายะคะตาสะตินะยัง กะโรมะ เส.
อะยัง โข เม กาโย กายของเรานี้แล
อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบนแตพื้นเทาขึ้นมา
อะโธ เกสะมัตถะกา เบื้องตํ่าแตปลายผมลงไป
ตะจะปะริยันโต มีหนังหุมอยูเปนที่สุดรอบ
ปูโรนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปดวยของไมสะอาดมีประการตางๆ
อัตถิ อิมัส๎มิง กาเย มีอยูในกายนี้
เกสา คือผมทั้งหลาย
โลมา คือขนทั้งหลาย
นะขา คือเล็บทั้งหลาย
ทันตา คือฟนทั้งหลาย
ตะโจ หนัง
มังสัง เนื้อ
นะหารู เอ็นทั้งหลาย
อัฏฐี กระดูกทั้งหลาย
อัฏฐิมิญชัง เยื่อในกระดูก
วักกัง มาม
หะทะยัง หัวใจ
ยะกะนัง ตับ
กิโลมะกัง พังผืด
ปหะกัง ไต
ปปผาสัง ปอด
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 157

อันตัง ไสใหญ
อันตะคุณัง ไสนอย
อุทะริยัง อาหารใหม
กะรีสัง อาหารเกา
มัตถะเก มัตถะลุงคัง เยื่อมันสมองในกะโหลกศีรษะ
ปตตัง นํ้าดี
เสม๎หัง นํ้าเสลด
ปุพโพ นํ้าหนอง
โลหิตัง นํ้าเลือด
เสโท นํ้าเหงื่อ
เมโท นํ้ามันขน
อัสสุ นํ้าตา
วะสา นํ้ามันเหลว
เขโฬ นํ้าลาย
สิงฆานิกา นํ้ามูก
ละสิกา นํ้าไขขอ
มุตตัง นํ้ามูตร
เอวะมะยัง เม กาโย กายของเรานี้มีอยางนี้
อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบนแตพื้นเทาขึ้นมา
อะโธ เกสะมัตถะกา เบื้องตํ่าแตปลายผมลงไป
ตะจะ ปะริยันโต มีหนังหุมอยูเปนที่สุดรอบ
ปูโรนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปดวยของไมสะอาดมี
ประการตาง ๆ อยางนี้แล.
158 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
นมัสการรอยพระพุทธบาท
(นํา) หันทะ มะยัง ปาทะลัญชะนะปาฐัง ภะณามะ เส.
วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง
ขาพเจา ขอนมัสการพระพุทธเจาผูขามพนฝงแหงภพ,
ติโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
ผูเปนธงชัยของไตรโลก ผูเปนที่พึ่งอันเอกของไตรภพ,
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง , เฉต๎วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง
ผูประเสริฐในโลก ตัดกิเลสทั้งสิ้นไดแลว ชวยปลุกชนหาที่สุดมิได
ใหตรัสรูมรรคผลและนิพพาน,
ยัง นัมมะทายะ นะทิยาปุริเน จะ ตีเร
รอยพระบาทอันใด อันพระพุทธองคไดทรงแสดงไว
ในหาดทรายแทบฝงแมนํ้านัมมะทา,
ยัง สัจจะพันธะคิริเกสุมะนา จะ ลัคเค,
รอยพระบาทอันใด อันพระพุทธองคไดทรงแสดงไว
เหนือเขาสัจจะพันธและเหนือยอดเขาสุมะนา,
ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง,
ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ.
รอยพระบาทอันใด อันพระพุทธองคไดทรงแสดงไวในเมืองโยนกะ,
ขาพเจาขอนมัสการพระบาท และรอยพระบาทนั้นๆ ของพระมุนีดวย
เศียรเกลา.
สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปพพะเต, สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ
นะทิยา ปญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต.
ขาพเจาขอนมัสการสถานทีม่ รี อยพระบาทอันประเสริฐ ๕ สถาน แตทไี่ กล
คือที่เขาสุวรรณะมาลิกา ๑, ที่เขาสุวรรณะบรรพต ๑,
ที่ยอดเขาสุมะนะกูฏ ๑,ที่โยนะกะบุรี ๑, ที่แมนํ้านัมมะทา ๑,
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 159

อิจเจวะ มัจจันตะ นะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง


ขาพเจาขอนมัสการอยูซึ่งพระรัตนตรัยใด, อันบุคคลควรไหว
โดยสวนยิ่ง อยางนี้ดวยประการฉะนี้.
ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง,
ไดแลวซึ่งกองบุญอันไพบูลย,
ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย
ขออํานาจพระรัตนตรัยนั้น จงขจัดภัยอันตรายเสียเถิด.
อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว.
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เราขอใหทานทั้งหลาย ทราบไววา,
ขะยะวะยะธัมมา สังขารา
สังขารทั้งหลายมีความเสื่อมสิ้นไปเปนธรรมดา
อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ
ขอทานทั้งหลายจงยังประโยชนตนและประโยชนทา น
ใหถึงพรอมดวยความไมประมาทเถิด,ดวยประการฉะนี้แลฯ

คําขอขมาพระรัตนตรัย
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเยนะ กะตัง
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ
หากขาพระพุทธเจา ไดเคยประมาทพลาดพลัง้ ลวงเกินตอพระรัตนตรัย อันมี
พระพุทธเจาทุกๆ พระองค พระปจเจกพุทธเจาทุกๆ พระองค พระธรรม และ
พระอริยสงฆทั้งหลาย ในชาติกอนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ดวยทางกายหรือวาจาก็ดี
และดวยเจตนาหรือไมมเี จตนาก็ดี รูเ ทาไมถงึ การณกด็ ี ขอองคสมเด็จพระสัมมา
สัมพุทธเจาทุกๆ พระองค พระปจเจกพุทธเจาทุกๆ พระองค พระธรรม
พระอริยสงฆทงั้ หลาย และผูม พี ระคุณทุกทาน ไดโปรดอดโทษใหแกขา พระพุทธเจา
ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป ตราบเทาเขาสูพระนิพพานดวยเทอญฯ
160 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คําเจริญกรรมฐานภาวนา
อิมาหัง ภันเต ภะคะวา, อัตตะภาวัง, ภะคะวะโต ปะริจจะชามิ,
ขาพเจาจะเจริญกรรมฐานภาวนา, บูชาพระรัตนตรัยอุดม
สั่งสมทศบารมีธรรม, บําเพ็ญอิทธิบาททั้งสี่,
บมอินทรียใหแกโดยกาล, สังหารนิวรณหาใหหาย
สืบสายวิตกวิจารณปติ, สิริรวมสุขเอกัคคตา
ตอมาใหถึงฌานสี่ พรอมดวยวสีทั้งหา
เจริญมรรคาพระอริยสมังคี ลางธุลีกิเลสใหสูญ
ตัดมูลอาสะวะอนุสัย หางไกลสังโยชนทั้งปวง
ลวงถึงประโยชนอันยิ่งใหญ ขอคุณพระรัตนตรัย
คุณไทอธิราชเทวา คุณมารดาบิดาครูบาอาจารย
คุณความดีทุก ๆ ประการ จงมาเปนที่พึ่งแกขาพเจา
บรรเทาทุกขรอนใหเหือดหาย ทําลายมารหาใหพินาศ
ปราศจากภยันตรายนิรันดร เกษมสันตประสพสิ่งเสมอใจ
สมดังความมุงหมาย ณ กาลบัดนี้ เทอญฯ
อิทธิบาท ๔ ฐานแหงความสําเร็จ ๔ คือ ๑. ฉันทะ ความพอใจ ๒. วิริยะ ความพากเพียร
๓. จิตตะ ความเอาใจใส ๔. วิมังสา การพิจารณาใครครวญ
นิวรณ ๕ ๑. กามฉันท พอใจในกามคุณ ๒. พยาบาท คิดรายผูอื่น ๓. ถีนมิทธะ ความหดหูซึมเซา
๔. อุทธัจจะกุกกุจจะ ความฟุงซานและรําคาญ ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย
วสี ความชํานาญ ๕ อยาง คือ ๑. การนึก ๒. การเขาฌานไดเร็ว ๓. รักษาฌาน ๔. ออกจากฌาน
๕. พิจารณาทบทวนองคฌาณ
มาร ๕ ๑. กิ เ ลสมาร (มารคื อ กิ เ ลส) ๒. ขั น ธมาร (มารคื อ เบญจขั น ธ ) ๓. อภิ สั ง ขมาร
(มารคือ อภิสังขารที่ปรุงแตงกรรม) ๔. เทวปุตตมาร (มารคือเทพบุตร) ๕. มัจจุมาร (มารคือความตาย)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 161

พรหมวิหารภาวนา
พรหมวิหาร (เมตตาตนเอง)
อะหัง สุขิโต โหมิ, นิททุกโข โหมิ, อะเวโร โหมิ,
อัพ๎ยาปชโฌ โหมิ, อะนีโฆ โหมิ, สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ.

( เมตตาสรรพสัตว )
สัพเพ สัตตา สุขิตา โหนตุ,
สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ,
สัพเพ สัตตา อัพ๎ยาปชฌาโหนตุ,
สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ,
สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ,
สัพเพ สัตตา สัพพะทุกขา ปะมุจจันตุ
สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปตติโต มา วิคัจฉันตุ,
สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา, กัมมะทายาทา, กัมมะโยนี,
กัมมะพันธู, กัมมะปฏิสะระณา, ยัง กัมมัง กะริสสันติ
กัล๎ยาณัง วา ปาปะกัง วา ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ.

บทแผเมตตาตนเอง
อะหัง สุขิโต โหมิ ขอใหขาพเจามีความสุข
นิททุกโข โหมิ ขอใหขาพเจาปราศจากความทุกข
อะเวโร โหมิ ขอใหขาพเจาปราศจากเวร
อัพ๎ยาปชโฌ โหมิ ขอใหขา พเจาปราศจากอุปสรรคอันตรายทัง้ ปวง
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ ขอใหขาพเจาจงมีความสุขกายสุขใจ
รักษาตนใหพนจากทุกขภัยทั้งสิ้นเถิดฯ
162 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
บทแผเมตตา
สัพเพ สัตตา สัตวทั้งหลาย ที่เปนเพื่อนทุกข
เกิดแกเจ็บตายดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น
อะเวรา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีเวรแกกัน
และกันเลย
อัพ๎ยาปชฌา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดพยาบาท
เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย
อะนีฆา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีความทุกข
กายทุกขใจเลย
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ รักษาตนใหพน
จากทุกขภัยทั้งสิ้นเทอญฯ

คําแผเมตตาอุทิศสวนบุญกุศล
สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน,
ขอใหสัตวทั้งหลาย จงอยาไดมีเวรแกกันและกันเลย
จงเปนผูดํารงชีพอยูเปนสุขทุกเมื่อเถิด
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุเต.
ขอใหสัตวทั้งหลายจงไดเสวยผลบุญ
ที่ขาพเจาไดบําเพ็ญดวยกายวาจาใจ แลวนั้นเทอญฯ

บทอุทิศสวนบุญกุศล
อิทัง เม มาตาปตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปตะโร
ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จ แกมารดาบิดาของขาพเจา
ขอใหมารดาบิดาของขาพเจา จงมีความสุข
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 163

อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย


ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จ แกญาติทั้งหลายของขาพเจา
ขอใหญาติทั้งหลายของขาพเจาจงมีความสุข
อิทัง เม ครูปชฌายาจะริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ครูปชฌายาจะริยา
ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จ แกครูอุปชฌายอาจารยของขาพเจา
ขอใหครูอุปชฌายอาจารยของขาพเจา จงมีความสุข
อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เทวา
ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จแกเทวดาทั้งหลายทั้งปวง
ขอใหเทวดาทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา
ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จ แกเปรตทั้งหลายทั้งปวง
ขอใหเปรตทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี
ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จ แกเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง
ขอใหเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุข
อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา
ขอสวนบุญนี้จงสําเร็จ แกสัตวทั้งหลายทั้งปวง
ขอใหสัตวทั้งหลายทั้งปวง จงมีความสุขฯ

เมตตายังกิญจิ
(บทแผเมตตาแบบหลวงปูชอบ ฐานสโม)
ยังกิญจิ กุสะลัง กัมมัง สัพเพหิ กะเตหิ กะตัง ปุญญัง โน, อะนุโมทันตุ
สุนันตุ โภนโต เย เทวา อัส๎มิง ฐาเน อะธิคะตา ทีฆายุกา สัทธา โหนตุ สุขิตา
โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ, มาตาปตา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ,
สัพเพ ญาติกา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ,
สัพเพ ปสา สัพเพ ยักขา สัพเพ เปตา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ,
164 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
สัพเพ อาจะริยุปชฌายา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมัญจันตุ,
สัพเพ นักขัตตา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ,
สัพเพ เทวา สุขิตา โหนตุ ทุกขา ปะมุญจันตุ,
สัพเพสามะติณัง สะมิชฌันตุ โว.

ติโลกะวิชะยะราชะปตติทานะคาถา
ยังกิญจิ กุสะลัง กัมมัง กัตตัพพัง กิริยัง มะมะ
กาเยนะ วาจามะนะสา ติทะเส สุคะตัง กะตัง
เย สัตตา สัญญิโน อิตถิ เย จะ สัตตา อะสัญญิโน
กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต
เย ตัง กะตัง สุวินทิตัง ทินนัง ปุญญะผะลัง มะยา
เย จะ ตัตถะ นะ ชานันติ เทวา คันต๎วา นิเวทะยัง
สัพเพ โลกัมหิ เย สัตตา ชีวันตาหาระเหตุกา
มะนุญญัง โภชะนัง สัพเพ ละภันตุ มะมะ เจตะสาติ ฯ

ปตติทานะคาถา
ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม
เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกา
ขอสัตวทั้งหลายไมมีที่สุดไมมีประมาณ, จงเปนผูมีสวนแหงบุญ
ที่ขาพเจาไดทําในบัดนี้,แลแหงบุญทั้งหลายอื่นที่ขาพเจาไดทําแลว
เย ปยา คุณะวันตา จะ
คือชนเหลาใดเปนที่รักผูมีคุณ
มัยหัง มาตาปตาทะโย
มีมารดาและบิดาของขาพเจาเปนตน
ทิฏฐา เม จาป๎ยะทิฏฐา วา
ที่ขาพเจาไดเห็นหรือแมไมไดเห็น
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 165

อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน สัตตา ติฏฐันติ โลกัส๎มิง


แลสัตวทั้งหลายอื่นที่เปนกลาง แลมีเวรกันตั้งอยูในโลก
เตภุมมา จะตุโยนิกา
เกิดในภูมิ ๓ เกิดในกําเนิด ๔
ปญเจกะจะตุโวการา
มีขันธ ๕ แลขันธ ๑ แลขันธ ๔
สังสะรันตา ภะวาภะเว
ทองเที่ยวอยูในภพนอยแลภพใหญ
ญาตัง เย ปตติทานัมเม
สัตวเหลาใดทราบการใหสวนบุญของขาพเจาแลว
อะนุโมทันตุ เต สะยัง
ขอสัตวเหลานั้นจงอนุโมทนาเองเถิด
เย จิมัง นัปปะชานันติ
ก็สัตวเหลาใดยอมไมทราบการใหสวนบุญของขาพเจานี้.
เทวา เตสัง นิเวทะยุง
ขอเทพทั้งหลายพึงแจงแกสัตวเหลานั้น
มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะเหตุนา
เพราะเหตุคือการอนุโมทนาบุญทั้งหลายที่ขาพเจาใหแลว
สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน
ขอสัตวทั้งปวงจงอยามีเวรอยูเปนสุขเสมอเถิด
เขมัปปะทัญจะ ปปโปนตุ
แลจงถึงทางอันเกษมเถิด
เตสาสา สิชฌะตัง สุภา
ขอความหวังอันดีของสัตวเหลานั้น จงสําเร็จเทอญ ฯ
166 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถา
(หันทะ มะยัง อุททิสสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส.)
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปชฌายา คุณุตตะรา
อาจริยูปะการา จะ มาตาปตา จะ ญาตะกา (ปยา มะมัง)
สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราป จะ
พ๎รัห๎มะมารา จะ อินทา จะ โลกะปาลา จะ เทวะตา
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาป จะ
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม
สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปง ปาเปถะ โว มะตัง ฯ
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปานทานะเฉทะนัง
เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง
นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว
อุชุจิตตัง สะติปญญา สัลเลโข วิริยัมหินา
มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิรเิ ยสุ เม
พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม
นาโถ ปจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง
เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ
(ทะสะปุญญานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา)

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ ดวยเดชะกุศลผลบุญแหงขาพเจา ไดอุทิศไปนี้


ขอจงไปคํ้าชู อุดหนุน บิดามารดา ครูอุปชฌายอาจารย พระมหากษัตริย ญาติ
สนิทมิตรสหาย สัตวนอยใหญ พระภูมิเจาที่ เจากรุงพาลี พระนางธรณี พระนาง
คงคา พญามัจจุราช นายนิรยบาล นายพันธุละเสนาบดี ศิริคุตอํามาตย กับทั้ง
ทาวจตุโลกบาลทั้งสี่ ชั้นจาตุมมหาราชิกา เบื้องบนจนถึงที่สุดมหาพรหม เบื้อง
ตํ่าตั้งแตอเวจีขึ้นมาจนถึงมนุษยโลก โดยรอบสุดขอบจักรวาล อนันตจักรวาล
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 167

ทานทัง้ หลายทีต่ อ งทุกข ขอใหพน จากทุกข ทานทัง้ หลายทีไ่ ดสขุ ขอใหสขุ ยิง่ ๆ
ขึ้นไป ดวยเดชะกุศลผลบุญแหงขาพเจาไดอุทิศไปนี้ ขอจงเปนอุปนิสัย และ
เปน ปจจัยเพื่อจะทําใหแจงซึ่งพระนิพพาน ขอจงสมดังปณิธาน ของขาพเจา
ทั้งหลายทุกประการ เทอญฯ

กลอนสรภัญญะแผเมตตาหลวง
(นํา) ขอแผเมตตาหลวง สัตวทั้งปวงมีนานา,
(รับ) สัตวปกบินบนฟา สัตวปูปลาแมนํ้าเย็นฯ
สัพเพนะสัตตา อเวราอยาจองเวร,
สัตวตายหรือสัตวเปน จงอยูเย็นสถาพรฯ
สัพเพเทวดา พวกผูขาขอวิงวอน,
รุกขาปาดงดอน ทั่วสิงขรสุขทุกวันฯ
สัพเพปุคคะลา มนุสสามารวมกัน
ผิดใจโทษมหันต อภัยกันมีเมตตาฯ
เจาแมธรณี ทุกพื้นที่พระสุธา,
สัพเพปุริสา อิตถิยามีทั่วไปฯ
เจากรรมหรือนายเวร ขอใหเปนผูอภัย,
สัตวนอยหรือสัตวใหญ อยามีภัยมาราวีฯ
สัพเพผีปศาจ ผีพวกขาดอาหารกิน,
พวกนี้นํ้าตาริน ไมไดกินทรมารฯ
คือเปรตพวกอดขาว ของพระเจาพิมพิสาร,
พวกญาติไมไดทาน ตามสถานในวัดวาฯ
โชคดีพระสัมมา องคสัตถาทรงเทศนโปรด
พวกเปรตที่ตองโทษ ทรงผายโผดพนทุกขใจฯ
ทําบุญสงไปให จึงไดกินอิ่มฤทัย,
ทําบุญตองเร็วไว ถาชาไปเสียใจเอยฯ
168 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คําประกาศสวนบุญแผสวนกุศล
ยังกิญจิ กุสะละกัมมัง กุศลผลบุญใดๆ ที่ขาพเจาไดสรางสมอบรม
ดวยกายวาจาจิต ขาพเจาไดบริจาคทาน สมาทานรักษาศีล เจริญเมตตาภาวนา
จงเปนประโยชนเกือ้ กูลแกตวั ของขาพเจา ตราบใดทีข่ า พเจายังเวียนวายตายเกิด
ในวัฎฏสงสาร ดวยอํานาจแหงกุศล และผลแหงทานนี้ขึ้นชื่อวาความยากจน
เข็ญใจ ไรทรัพยอบั ปญญา โรคาพาธ จงอยาเกิดมีกบั ตัวของขาพเจา จงบันดาล
ใหขาพเจา เจริญดวยลาภยศ สรรเสริญสุข ถึงพรอมดวยสมบัติและบริวาร
ในภพที่ขาพเจาเกิดแลว จงบันดาลใหขาพเจาเปนสัมมาทิฏฐิมีความเห็นชอบ
มีบัณฑิตเปนสหาย มีบัณฑิตเปนผูซี้ทางพนจากอํานาจแหงความเปนพาล
ทุกภพชาติ จงเปนอุปนิสัยเปนปจจัยแหงพระนิพพาน บุญใดๆ ที่เปนผลสําเร็จ
กับตัว ของขาพเจา ขาพเจาขอตั้งจิตอธิษฐาน อุทิศแผไปซึ่งสวนแหงกุศลและ
ผลแหงบุญนี้จงเปนไปเพื่อประโยชนเกื้อกูลแกปยะชนทั้งหลายของขาพเจา
มีบิดามารดา ปูยาตายาย ญาติมิตรสหาย ครูอาจารย ทานผูมีพระคุณทั้งหลาย
เจากรรมนายเวรเทพเจาทั้งหลาย และสรรพสัตวทั้งปวง ที่เปนเพื่อนทุกข เกิด
แกเจ็บตายจงถึงซึ่งความสุข อยาเบียดเบียนซึ่งกันและกัน อยาจองเวรซึ่งกัน
และกันอยาผูกพยาบาทอาฆาต ซึ่งกันและกัน จงเปนผูมีสุขรักษาตนเถิด
ขอใหสัตวทั้งหลาย ปยะชนทั้งหลาย ทานผูมีพระคุณทั้งหลาย จงถึงที่อันตน
ปรารถนา ดวยอํานาจแหงกุศล ผลแหงทานผลแหงศีล ผลแหงเมตตาภาวนาที่
ขาพเจาไดกระทําแลว และอุทิศใหนี้ ทั่วหนากันเทอญ.

คําไหวพระพุทธเจา ๕ พระองค
อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ นะโม
ขาพเจาจะ ไหวพระพุทธเจา ๕ พระองค
องคที่ ๑ ชื่อวา พระกะกุสันโธ
องคที่ ๒ ชื่อวา พระโกนาคะมะโน
องคที่ ๓ ชื่อวา พระกัสสะโป
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 169

องคที่ ๔ ชื่อวา พระโคตะโม


องคที่ ๕ ชื่อวา พระศรีอะริยะเมตไตรโย
เมื่อจิตดับไป ขออยาไดไหลหลง ตั้งจิตจํานง จงใจพระนิพพาน
ขอใหพบดวงแกว ขอใหแคลวออกจากบวงมาร
ขอใหพบพระเมตไตรย ขอใหไกลจากมาร พระเกตุ พระแกว
พระจุฬามณี พระศรีสรรเพชญ พระองคเสด็จเขาสูพระนิพพาน
พระพุทธเจาทานสั่งไววา ใหภาวนา ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา

บทปลงสังขาร
มนุษยเราเอย เกิดมาทําไม นิพพานมีสุข
อยูใยมิไป ตัณหาหนวงหนัก หนวงชักหนวงไว
ฉันไปมิได ตัณหาผูกพัน หวงนั้นพันผูก
หวงลูกหวงหลาน หวงทรัพยสินศฤงคาร จงสละเสียเถิด
จะไดไปนิพพาน ขามพนภพสาม ยามหนุมสาวนอย
หนาตาแชมชอย งามแลวทุกประการ แกเฒาหนังยาน
แตลวนเครื่องเหม็น เอ็นใหญเการอย เอ็นนอยเกาพัน
มันมาทําเข็ญใจ ใหรอนใหเย็น เมื่อยขบทั้งตัว
ขนคิ้วก็ขาว นัยนตาก็มัว เสนผมบนหัว
ดําแลวกลับหงอก หนาตาเวาวอก ดูหนาบัดสี
จะลุกก็โอย จะนั่งก็โอย เหมือนดอกไมโรย
ไมมีเกสร จะเขาที่นอน พึงสอนภาวนา
พระอนิจจัง พระอนัตตา เราทานเกิดมา
รังแตจะตาย ผูดีเข็ญใจ ก็ตายเหมือนกัน
เงินทองทั้งนั้น มิติดตัวไป ตายไปเปนผี
ลูกเมียผัวรัก เขาชักหนาหนี เขาเหม็นซากผี
170 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
เปอยเนาพุพอง หมูญาติพี่นอง เขาหามเอาไป
เขาวางลงไว เขานั่งรองไห แลวกลับคืนมา
อยูแตผูเดียว ปาไมชายเขียว เหลียวไมเห็นใคร
เห็นแตฝูงแรง เห็นแตฝูงกา เห็นแตฝูงหมา
ยื้อแยงกันกิน ดูนาสมเพช กระดูกเราเอย
เรี่ยรายแผนดิน แรงกาหมากิน เอาเปนอาหาร
เที่ยงคืนสงัด ตื่นขึ้นมินาน ไมเห็นลูกหลาน
พี่นองเผาพันธุ เห็นแตนกเคา จับเจาเรียงกัน
เห็นแตนกแสก รองแรกแหกขวัญ เห็นแตฝูงผี
รองไหหากัน มนุษยเราเอย อยาหลงนักเลย
ไมมีแกนสาร อุตสาหทําบุญ คํ้าจุนเอาไว
จะไดไปสวรรค จะไดทันพระพุทธเจา ไดเขาสูพระนิพพาน
อะหัง วันทามิ สัพพะโส อะหัง วันทามิ นิพพานะปจจะโย โหตุ ฯ

พระคาถาชินบัญชร
พระคาถานี้เปนคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ทานเจาประคุณสมเด็จสมเด็จ
พระพุฒาจารย (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆสิตาราม กรุงเทพฯ คนพบในคัมภีรโบราณ
และไดดัดแปลงแตงเติมใหดีขึ้นเปนเอกลักษณพิเศษ ผูใดสวดภาวนาพระคาถานี้เปน
ประจําสมํ่าเสมอจะทําใหเกิดความสิริมงคลแกตนเอง ศัตรูไมกลากลํ้ากราย มีเมตตา
มหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยตางๆ
ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโม ละเภธะนัง
อัตถิกาเย กายะญายะ เทวานัง ปยะตัง สุต๎วา
อิติปโส ภะคะวา ยะมะราชาโน ทาวเวสสุวัณโณ,
มะระณัง สุขัง อะระหัง สุคะโต นะโมพุทธายะฯ
(แลวจึงเจริญภาวนาสวดพระคาถาชินบัญชร)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 171

๑. ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชต๎วา มารัง สะวาหะนัง


จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปวิงสุ นะราสะภา.
๒. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.
๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.
๔. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปฏฐิภาคัส๎มิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก.
๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.
๖. เกสะโต ปฏฐิภาคัส๎มิง สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปนโน โสภิโต มุนิปุงคะโว
๗. กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร.
๘. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลีนันทะสีวะลี
เถรา ปญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ.
๙. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.
๑๐. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง
ธะชัคคัง ปจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง
๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา
๑๒. ชินา นานา วะระสังยุตตา สัตตัปปาการะลังกะตา
วาตาปตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปททะวา.
172 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑๓. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปญชะเร.
๑๔. ชินะปญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.
๑๕. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ ชิตูปททะโว
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปญชะเรติ.

วิหาระทานะคาถา
สีตัง อุณ๎หัง ปะฏิหันติ ตะโต วาฬะมิคานิ จะ
สิริงสะเป จะ มะกะเส สิสิเร จาป วุฏฐิโย
ตะโต วาตาตะโป โฆโร สัญชาโต ปะฏิหัญญะติ
เลนัตถัญจะ สุขัตถัญจะ ฌายิตุง จะ วิปสสิตุง
วิหาระทานัง สังฆัสสะ อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตัง
ตัส๎มา หิ ปณฑิโต โปโส สัมปสสัง อัตถะมัตตะโน
วิหาเร การะเย รัมเม วาสะเยตถะ พะหุสสุเต
เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ วัตถะเสนาสะนานิ จะ
ทะเทยยะ อุชุภูเตสุ วิปปะสันเนนะ เจตะสา
เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
ยัง โส ธัมมะมิธัญญายะ ปะรินิพพาต๎ยะนาสะโวติ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 173

คาถาพระฉิมพลีใหญ
บทคํานมัสการ
อุกาสะ ขาพเจาขออาราธนาพระฉิมพลี จะ มหาเถโร นามะ อินทาพ๎รห๎มา จะ
ปูชโิ ต สุระโห คะตา เยเภ ราชา มะนุสสา อิตถีลาภา กะโรนตุ เม อะหัง วันทามิ
สัพพะทาฯ
พระฉิมพลีรกุ ขา จะ มหาเถโร นามะ พ๎รห๎มา อินทะโชตะ จะ เทวะตา มะนุสสา
สัพพะลาภา สัพพะอิตถิยา ปยา มะมะ ฯ
เริ่มสวด
นะโม เม สัพพะเทวานัง สัพพะคะระหะ จะ เทวานัง พุทโธ ลาภัง ธัมโม ลาภัง
สังโฆ ลาภัง สัพพะทุกขัง วินาสสันติ โส ราหูเกตุถงั จะ มหาลาภัง สัพพะสุขงั
ปยงั มะมะ
ฉิมพลี จะ มหาเถโร อายัสม๎ ะโต อะจินตายะ อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ
ชะนา มหาชะนา อิตถีชะนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาลาภัง พุทธะจิตตัง จะ มหาลาโภ พุทธะธัมโม จะ มหาลาภัง
พุทธะจิตตัง จะ มหาสิทธิธัง สัพพะลาภัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง สะเทวะ
มนุสสานัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร สุวัณณะมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหูชนา อิตถีชะนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร ระชะตะมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหูชะนา อิตถีชะนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร จัตตาวัตตังมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหูชะนา อิตถีชะนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร โภชะนียังมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหูชะนา อิตถีชนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร ขาทะนียังมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหู ชะนา อิตถีชนา สัพพะชนา ภะวันตุ เม
174 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ฉิมพลี จะ มหานามัง พุทธะจิตตัง จะ มหาลาโภ พุทธะธัมโม จะ มหาลาภัง
พุทธะสังฆัง จะ มหาสัจจัง สัพพะลาภัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง สะเทวะ
มนุสสานัง สัพพะลาภัง ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร อาหาระมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหูชะนา อิตถีชนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร สะปณฑะมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหูชะนา อิตถีชะนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม
ฉิมพลี จะ มหาเถโร เภสัชชะมามา อาคัจฉายะ อาคัจฉาหิ สัพเพ ชะนา
พะหูชะนา อิตถีชะนา สัพพะชะนา ภะวันตุ เม ฯ

ถาใครสวดไดทุกวันตลอด ๓ เดือน จะเกิดผลอันยิ่งใหญ ลาภสักการะ จะไหลมาเทมา


เปนมหานิยมใหญอันประเสริฐ ถาจะคมนาคมไปไหนมาไหนจะเกิดผลยิ่ง คิดอะไรก็สําเร็จ
สมปรารถนาทุกประการแลฯ

คาถาแกวสารพัดนึก
นะโม เม สัพพะพุทธานัง อุปปนนานัง มะเหสินัง
สะระณังกะโร โลกะหิโต เมธังกะโร มะหายะโส
โกญฑัญโญ ชะนะปาโมกโข มังคะโล ปุริสาสะโภ
สุมะโน สุมะโน ธีโร เรวะโต ระติวัฑฒะโน
โสภีโต คุณะสัมปนโน อะโนมะทัสสี ชะนุตตะโม
ปะทุโม โลกะปชโชโต นาระโท วะระ สาระภี
ปะทุมุตตะโร สัตตะสาโร สุเมโธ อัปปะฏิปุคคะโล
สุชาโต สัพพะโลกัคโค ปยะทัสสี นะราสะโภ
อัตถะทัสสี การุณิโก ธัมมะทัสสี ตะโมนุโท
สิทธัตโถ อะสะโม โลเก ติสโส จะ วะทะตัง วะโร
ปุสโส จะ วะระโต พุทโธ วิปสสี จะ อะนูปะโม
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 175

สิขี สัพพะหิโต สัตถา เวสสะภู สุขะทายะโก


กะกุสันโธ สัตถะวาโห โกนาคะมะโน ระณัญชะโห
กัสสะโป สิริสัมปนโน โคตะโม สักยะปุงคะโว
ธัมโม โลกุตตะโร วะโร สังโฆ มัคคะผะลัฏโฐ จะ
อินทะสุวัณณะ เถโร จะ อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
เอตัสสะ อานุภาเวนะ สัพพะทุกขา อุปททะวา
อันตะรายา จะ นัสสันตุ ปุญญะลาภะ มะหาเตโช
สิทธิกิจจัง สิทธิลาโภ สัพพะโสตถี ภะวันตุ เมติ
สวด ๓ , ๗ , ๙ จบ ของหลวงปูโตะ วัดประดูฉิมพลี กรุงเทพฯ

คาถาเมตตามหานิยม
ของหลวงปูขาว อนาลโย วัดถํ้ากลองเพล จ.หนองบัวลําภู
พุทธะเมตตัง จิตตัง มะมะ พุทธะพุทธานุภาเวนะ
ธัมมะเมตตัง จิตตัง มะมะ ธัมมะธัมมานุภาเวนะ
สังฆะเมตตัง จิตตัง มะมะ สังฆะสังฆานุภาเวนะ

คาถามงกุฎพระพุทธเจา
อิติป โส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ
อิเมนา พุทธะตังโสอิ อิโสตัง พุทธะปติอิฯ

พระคาถามหาจักรพรรดิ์
นโม พุทธายะ พระพุทธะไตรรัตนญาณ มณีนพรัตน สีสะหัสสะ สุธรรมา
พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะ ธา พุท โม นะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา
อัคคีทานัง วะรัง คันธัง สีวะลี จะ มะหาเถรัง อะหัง วันทามิ ทูระโต
อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิฯ
176 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พระคาถาเงินลาน
สัมปะจิตฉามิ นาสังสิโม
พรหมา จะ มหาเทวา สัพเพ ยักขา ปะรายันติ (คาถาปดอุปสรรค)
พรหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุ เม (คาถาเงินแสน )
มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันต ตุเม (คาถาลาภไมขาดสาย)
มิเตภาหุหะติ (คาถาเงินลาน)
พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา
วิระทาสี วิระทาสา วิระอิทถิโย พุทธัสสะ มานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม
(คาถาพระปจเจกพุทธเจา)
สัมปะติจฉามิ (คาถาเรงลาภใหไดเร็วขึ้น)
เพ็ง ๆ พา ๆ หา ๆ ฤา ๆ
ของพระราชพรหมยาน หรือ หลวงพอฤาษีลิงดํา วัดทาซุง จ.อุทัยธานี

คาถาพระฉิมพลี หรือพระสีวลีเรียกลาภ
ฉิมพลี จะ มหาเถโร ฉิมพลี จะ มหาเถรัง ลาภะลาภัง นิรันตะโร
ลาภะ สุโข นะ ชา ลิ ติ , จะภะกะสะ มะอะอุ สิวังโต ฯ

คาถาเงินลนหีบ
ของพระพรหมวชิรคุณ (หลวงปูไพบูลย สุมังคโล)
ปณฑิยา โลปะโภชะนัง นิสสายะ สังฆัสสะ สุขานังฯ

คาถาพระปุณณะพระสีวลี
ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลี นันทะสีวลี
เถรา ปญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ติละกา มะมะฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 177

คาถาพระเศรษฐีนวโกฏิเศรษฐีทั้ง ๙ หรือเรียกไทเศรษฐี
มาขะโย มาวะโย มัยหัง มา จะ โกจิ อุปท ทะโว ธัญญะธะนานิ เม ปะวัสสันตุ
ธนัญชะยัสสะ ยะถา ฆะเร สุวัณณานิ หิรัญญา จะ สัพพะโภคา จะ รัตนา
ปะวัสสันตุ เม เอวัง คาเร สุมะนะชะฏิลัสสะ จะ อะนาถะปณฑิกะเมณฑัสสะ
โชติกะสุมังคะลัสสะ จะ มันธาตุเวสสันตะรัสสะ ปะวัสสันติ ยะถา ฆะเร
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ สัพพะสิทธิ ภะวันตุ เม ฯ

คาถาหัวใจพระสีวลีผูมีลาภมาก
นะชาลิติ ชาลิตินะ ลิตินะชา ตินะชาลิ๚๛

วันทาหลวง
วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปง สะกะลัง สะทา
วันทามิ พุทธัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะเถ เม ภันเต
วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ สังฆัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ พุทธรูปง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ ปจเจกะพุทธานัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ อรหันตานัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ กัมมัฏฐานัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ วิปสสะนานัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ ปฏะกะไตยัง สัพพะเมวะ โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ ครูอุปชฌาอาจะริยานะคุณัง สัพพะเมวะโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพพะเมวะ
โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง
อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปจจุปปนนัง เม โทสัง
178 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ขะมะถะ เม ภันเต สาทุ สาทุ อะนุโมทามิ
กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปาปง วินัสสะตุ
โย โทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัส๎มิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะ เม
กะตัง โทสัง สัพพะปาปง วินสั สะตุ โย โทโส โมหะจิตเตนะ ธัมมัสม๎ งิ
ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะ เม กะตัง โทสัง สัพพะปาปง วินสั สะตุ โย โทโส
โมหะจิตเต สังฆัส๎มิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะ เม กะตัง โทสัง สัพพะ-
ปาปง วินัสสะตุ สัพพัตถะ ชัมพูทีเป ลังกาเร นาคะ พะคะวาเน ตาวะติงเส
พ๎รหั ม๎ ะโลเกสุ สัพพะจักกะวาเฬสุ จตุราสีตสิ ะหัสเส เจติเย ชินะธาตุกงั พุทธะ-
พิมพัง มหาโพธิง อะหัง วันทามิ ทูระโต อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ
สัพพะโส ฯ
บทวันทา
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง,
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปง สะกะลัง สะทา, กายะสา วะจะสา
มะนะสา, เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต, สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน,
จาป สัพพะทา,

กราบลง
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต,
มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง
ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ
(กราบ ๓ ครั้ง)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 179

อนุโมทนาวิธี
(ผูเปนประธานสงฆเริ่ม)
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ
อิจฉิตัง ปตถิตัง ตุมหัง ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จันโท ปณณะระโส ยะถา
มะณิ โชติระโส ยะถา ฯ

รับพรอมกัน
สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ
มา เต ภะวัต๎วันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะ
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน
จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง.

อัคคัปปะสาทะสุตตะคาถา
อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง
อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง ทักขิเณยเย อะนุตตะเร
อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง วิราคูปะสะเม สุเข
อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร
อัคคัส๎มิง ทานัง ทะทะตัง อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ
อัคคัง อายุ จะ วัณโณ จะ ยะโส กิตติ สุขัง พะลัง
อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี อัคคะธัมมะสะมาหิโต
เทวะภูโต มะนุสโส วา อัคคัปปตโต ปะโมทะตีติ.
180 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
เกณิยานุโมทะนาคาถา
อัคคิหุตตัง มุขา ยัญญา สาวิตติ ฉันทะโส มุขัง
ราชา มุขัง มะนุสสานัง นะทีนัง สาคะโร มุขัง
นักขัตตานัง มุขัง จันโท อาทิจโจ ตะปะตัง มุขัง
ปุญญะมากังขะมานานัง สังโฆ เว ชะยะตัง มุขัง
ภะณิสสามะ มะยัง คาถา กาละทานัปปะทีปกา
เอตา สุณันตุ สักกัจจัง ทายะกา ปุญญะกามิโน.
หมายเหตุ แบบนี้ นํา กาละทานะสุตตะคาถา
ถานํา วิหาระทานะคาถา เปลี่ยนที่ขีดเสนใต เปนวิหาระทานะทีปกา

กาละทานะสุตตะคาถา
กาเล ทะทันติ สะปญญา วะทัญ\ู วีตะมัจฉะรา
กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชุภูเตสุ ตาทิสุ
วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา
เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา
นะ เตนะ ทักขิณา โอนา เตป ปุญญัสสะ ภาคิโน
ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง
ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ.

วิหาระทานะคาถา
สีตัง อุณ๎หัง ปะฏิหันติ ตะโต วาฬะมิคานิ จะ
สิริงสะเป จะ มะกะเส สิสิเร จาป วุฏฐิโย
ตะโต วาตาตะโป โฆโร สัญชาโต ปะฏิหัญญะติ
เลณัตถัญจะ สุขัตถัญจะ ฌายิตุง จะ วิปสสิตุง
วิหาระทานัง สังฆัสสะ อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตัง
ตัส๎มา หิ ปณฑิโต โปโส สัมปสสัง อัตถะมัตตะโน
วิหาเร การะเย รัมเม วาสะเยตถะ พะหุสสุเต
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 181

เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ วัตถะเสนาสะนานิ จะ


ทะเทยยะ อุชุภูเตสุ วิปปะสันเนนะ เจตะสา
เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ สัพพะทุกขาปะนูทะนัง
ยัง โส ธัมมะมิธัญญายะ ปะรินิพพาตะยะนาสะโวติ.

เทวะตาทิสสะทักขิณานุโมทะนาคาถา
ยัส๎มิง ปะเทเส กัปเปติ วาสัง ปณฑิตะชาติโย
สีละวันเตตถะ โภเชต๎วา สัญญะเต พ๎รัห๎มะจาริโน
ยา ตัตถะ เทวะตา อาสุง ตาสัง ทักขิณะมาทิเส
ตา ปูชิตา ปูชะยันติ มานิตา มานะยันติ นัง
ตะโต นัง อะนุกัมปนติ มาตา ปุตตัง วะ โอระสัง

โภชะนะทานานุโมทะนาคาถา
อายุโท พะละโท ธีโร วัณณะโท ปะฏิภาณะโท
สุขัสสะ ทาตา เมธาวี สุขัง โส อะธิคัจฉะติ
อายุง ทัตว๎ า พะลัง วัณณัง สุขัญจะ ปะฏิภาณะโท
ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปชชะตีติ.

อาทิยะสุตตะคาถา
ภุตตา โภคา ภะฏา ภัจจา วิติณณา อาปะทาสุ เม
อุทธัคคา ทักขิณา ทินนา อะโถ ปญจะ พะลี กะตา
อุปฏฐิตา สีละวันโต สัญญะตา พ๎รัห๎มะจาริโน
ยะทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ ปณฑิโต ฆะระมาวะสัง
โส เม อัตโถ อะนุปปตโต กะตัง อะนะนุตาปยัง
เอตัง อะนุสสะรัง มัจโจ อะริยะธัมเม ฐิโต นะโร
อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ.
182 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ใหพรผูชาย
โส อัตถะลัทโธ สุขิโต วิรุฬ๎โห พุทธะสาสะเน
อะโรโค สุขิโต โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ ฯ

ใหพรผูหญิง
สา อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬ๎หา พุทธสาสะเน
อะโรคา สุขิตา โหหิ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ ฯ

ใหพรรวม
เต อัตถะลัทธา สุขิตา วิรุฬ๎หา พุทธะสาสะเน
อะโรคา สุขิตา โหถะ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ ฯ

ติโรกุฑฑะกัณฑะปจฉิมะภาค
อะทาสิ เม อะกาสิ เม ญาติ มิตตา สะขา จะ เม
เปตานัง ทักขิณัง ทัชชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง
นะ หิรุณณัง วา โสโก วา ยา วัญญา ปะริเทวะนา
นะ ตัง เปตานะมัตถายะ เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย
อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา
ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกัปปะติ
โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต
เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา
พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง
ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 183

มงคลจักรวาฬนอย
สัพพะพุทธานุภาเวนะ, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, สัพพะสังฆานุภาเวนะ,
พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง, ติณณัง ระตะนานัง อานุภาเวนะ,
จะตุราสีตสิ ะหัสสะ ธัมมักขันธานุภาเวนะ, ปฏะกัตตะยานุภาเวนะ, ชินะสาวะกานุ-
ภาเวนะ, สัพเพ เต โรคา, สัพเพ เต ภะยา, สัพเพ เต อันตะรายา , สัพเพ เต
อุปท ทะวา, สัพเพ เต ทุนนิมติ ตา, สัพเพ เต อะวะมังคะลา วินสั สันตุ,
อายุวฑั ฒะโก ธะนะวัฑฒะโก, สิรวิ ฑ ั ฒะโก ยะสะวัฑฒะโก พะละวัฑฒะโก
วัณณะวัฑฒะโก, สุขะวัฑฒะโก โหตุ สัพพะทาฯ
ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปททะวา
อะเนกา อันตะรายาป วินัสสันตุ จะ เตชะสา
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถี ภะคะยัง สุขัง พะลัง
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายุ จะ ชีวะสิทธิ ภะวันตุ เต.

มงคลจักรวาฬนอย (ยอ)
ระตะนัตตะยานุภาเวนะ ระตะนัตตะยะเตชะสา
ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปททะวา
อะเนกา อันตะรายาป วินัสสันตุ อะเสสะโต
ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง โสตถี ภะคะยัง สุขัง พะลัง
สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา
สะตะวัสสา จะ อายุ จะ ชีวะสิทธิ ภะวันตุ เต.
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวตา
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ
184 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พิธีรักษาอุโบสถศีล
เมื่อพระสงฆสามเณรทําวัตรเชาเสร็จแลว อุบาสกอุบาสิกพึงทําวัตรเชา
ทําวัตรเชา จบแลวหัวหนาอุบาสกหรืออุบาสิกาพึงคุกเขาปะนมมือประกาศองค
อุโบสถ ทั้งคําบาลีและคําไทย ดังนี้
อัชชะ โภนโต ปกขัสสะ ( ถา ๘ คํ่าวา อัฏฐะมีทิวะโส )
( ถาวันพระ ๑๕ คํ่า วา ปณณะระสีทิวะโส ๑๔ คํ่า วา จาตุททะสีทิวะโส )
เอวะรูโป โข โภนโต ทิวะโส พุทเธนะ ภะคะวะตา ปญญัตตัสสะ
ธัมมัสสะวะนัสสะ เจวะตะทัตถายะ อุปาสะกะอุปาสิกานัง อุโปสถัสสะ จะ
กาโล โหติ หันทะมะยัง โภนโต สัพเพ อิธะ สะมาคะตา ตัสสะ
ภะคะวะโต ธัมมานุธมั มะปะฏิปต ติยา ปูชะนัตถายะ อิมญ ั จะ รัตติง
อิมญ
ั จะ ทิวะสัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง อุปะวะสิสสามาติ
กาละปะริจเฉหัง กัต๎วา ตัง ตัง เวระมะณิง อารัมมะณัง กะริต๎วา
อะวิกขิตตะจิตตา หุต๎วา สักกัจจัง อุโปสะถัง สะมาทิเยยยามะ
อีทิสัง หิ อุโปสะถัง สัมปตตานัง อัมหากัง ชีวิตัง มา นิรัตถะกัง โหตุ

คําแปล
ขอประกาศเริ่มเรื่องความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถ อันพรอมไปดวยองค
แปดประการ ใหสาธุชนที่ไดตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันกอน แตสมาทาน
ณ บัดนี้ ดวยวันนี้ เปน วันอัฏฐะมีดิถีที่แปด (ถาวันพระ ๑๕ คํ่าวา วันปณณะ
ระสีดิถีที่สิบหา ๑๔ คํ่า วา วันจาตุททะสีดิถีที่สิบสี่) แหงปกษมาถึงแลว
ก็แหละวันเชนนี้ เปนกาลที่สมเด็จพระผูมีพระภาคเจา ทรงบัญญัติแตงตั้งไวให
ประชุมกันฟงธรรม และเปนกาลที่จะรักษาอุโบสถของ อุบาสกอุบาสิกา
ทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชนแกการฟงธรรมนัน้ ดวย เชิญเถิดเราทัง้ หลายทัง้ ปวงทีไ่ ด
มาประชุมพรอมกัน ณ ที่นี้ พึงกําหนดกาลวาจะรักษาอุโบสถตลอดวันหนึ่งกับ
คืนหนึ่งนี้ แลวพึงทําความเวนโทษนั้น ๆ เปนอารมณ คือ
- เวนจากฆาสัตว ๑
- เวนจากลักฉอสิ่งที่เจาของเขาไมให ๑
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 185

- เวนจากประพฤติกรรมที่เปนขาศึกแกพรหมจรรย ๑
- เวนจากเจรจาคําเท็จลอลวงผูอื่น ๑
- เวนจากดื่มสุราเมรัยอันเปนเหตุที่ตั้งแหงความประมาท ๑
- เวนจากบริโภคอาหาร ตั้งแตเวลาพระอาทิตยเที่ยงแลวไป
จนถึงเวลาอรุณขึ้นมาใหม ๑
- เวนจากฟอนรําขับรองและประโคมเครื่องดนตรีตาง ๆ แต
บรรดาที่เปนขาศึกแกบุญกุศลทั้งสิ้น และทัดทรงประดับตก
แตงรางกายดวยดอกไมของหอม เครื่องประดับเครื่องทา
เครื่องยอม ผัดผิว ทํากายใหวิจิตรงดงามตางๆ อันเปนเหตุ
ที่ตั้งแหงความกําหนัดยินดี ๑
- เวนจากนั่งนอนเหนือเตียงตั่งมาที่มเี ทาสูงเกินประมาณ และ
ที่นั่งที่นอนใหญ ภายในมีนุนและสําสี และเครื่องปูลาดที่
วิจิตรดวยเงินและทองตางๆ ๑
อยาใหมีจิตฟุงซานสงไปอื่น พึงสมาทานเอาองคอุโบสถทั้งแปดประการโดย
เคารพ เพือ่ จะบูชาสมเด็จพระผูม พี ระภาคพระพุทธเจานัน้ ดวยธรรมมานุธรรมะ
ปฏิบัติ อนึ่ง ชีวิตของเราทั้งหลายที่ไดเปนอยูรอดมาถึงวันอุโบสถเชนนี้ จงอยา
ไดลวงไปเสียเปลาจากประโยชนเลย
คําอาราธนาอุโบสถศีล
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ทุติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ตะติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ
อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง อุโปสะถัง ยาจามะ
ตอนี้ คอยตั้งใจรับสรณคมนและศีลโดยเคารพ คือประนมมือวาตามคําที่พระสงฆบอกเปนตอน ๆ วา
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
(๓ จบ)
186 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
เมื่อพระสงฆวา ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง
พึงรับพรอมกันวา อามะ ภันเต
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาประทัง สะมาทิยามิ
๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๓. อะพ๎รัห๎มะจริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๖. วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวาทิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะ-
ธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
๘. อุจจาสะยะนะมะสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

อิมัง อัฏฐังคะสะมันนาคะตัง, พุทธะปญญัตตัง อุโปสะถัง,


อิมัญจะรัตติง อิมัญจะ ทิวะสัง, สัมมะเทวะ อะภิรักขิตุง สะมาทิยามิ,
(ขาพเจาขอสมาทานเอา, ซึ่งอุโบสถศีล, อันประกอบไปดวยองคแปด
ประการ, ที่พระพุทธเจาทรงบัญญัติไวแลวนี้, เพื่อจะรักษาไวใหดี, มิใหขาด,
มิใหทําลาย, ตลอดวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง, ณ เวลาบัดนี้)
(หยุดรับเพียงเทานี้)
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 187

ตอนนี้พระสงฆจะวา
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ อุโปสะถะวะเสนะ
มะนะสิกะริต๎วา สาธุกัง อัปปะมาเทนะ รักขิตัพพานิ
(พึงรับพรอมกันวา) อามะ ภันเต (พระสงฆวาตอ)
สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเยฯ
188 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
วิธีบวชชี
ผูประสงคจะบวชชี ทั้งแบบปลงผมและไมปลงผม (ถาแบบปลงผม ก็
ปลงผมกอน) นุงหมชุดชาวบานธรรมดา ถือเครื่องสักการะเขาไปหาพระสงฆ
องคเดียวก็ได หลายองคก็ดี ถวายเครื่องสักการะแลวกราบ ๓ ครั้ง จึงกลาว
คําขอ (นี่วาตามแบบที่สถาบันแมชีไทยใชอยู และนิมนตพระสงฆ ๔ องคขึ้น
ไป สวนที่อื่นปลงผม หรือไมปลงผมแตเครื่องแบบหรือชุดของแมชีเรียบรอย
เขาไปหาพระกลาวคําขอบวชเลยก็มี)
คําขอบวชชี
เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง
สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุ สังฆัญจะ, ปพพัชชัง มัง
ภันเต, สังโฆ ธาเรตุ อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง, สะระณัง คะตัง
คําแปล
ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาขอถึงสมเด็จพระผูมีพระภาคเจา
แมเสด็จดับขันธปรินิพพานนานแลว กับทั้งพระธรรมและพระสงฆวาเปน
สรณะที่พึ่งที่ระลึก ขอพระสงฆจงจําขาพเจาไววาเปนผูบวชในพระธรรมวินัย
ผูถึงพระรัตนตรัยเปนสรณะตลอดชีวิต ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป
กราบ ๓ ครั้ง แลวออกไปนุงหมเครื่องแบบหรือชุดของแมชี กลับเขาไป
หาพระสงฆ กราบ ๓ ครั้ง แลวอาราธนาศีล (สวนผูที่แตงเครื่องแบบอยูแลว
ก็กลาวคําอาราธนาศีลตอไปไดเลย)
คําอาราธนาศีล ๘
มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะสีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะสีลานิ ยาจามะ
ตะติยัมป มะยัง ภันเต ติสะระเณนะ สะหะ อัฏฐะสีลานิ ยาจามะ
ถาคนเดียววา เปลี่ยน มะยัง เปน อะหัง
เปลี่ยน ยาจามะ เปน ยาจามิ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 189

นะมะการะคาถา
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ ครั้ง)
ไตรสรณคมน
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
(พระวา)… ติสะระณะ คะมะนัง นิฏฐิตัง
(โยมรับวา)…… อามะ ภันเต
คําสมาทานศีล
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
(ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากฆาสัตวดวยตนเองและไมใชใหผูอื่นฆา)
๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
(ขาพเจาสมาทานซึง่ สิกขาบทคือ เวนจาก ลัก ฉอของผูอ นื่ ดวยตนเองและไมใชใหผอู นื่ ลัก ฉอ)
๓. อะพ๎รัห๎มะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ,
(ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากอสัทธรรมกรรมอันเปนขาศึกแกพรหมจรรย)
๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
(ขาพเจาสมาทานซึง่ สิกขาบท คือ เวนจากการพูดเท็จคําไมเปนจริง และคําลอลวงอําพรางผูอ นื่ )
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สมาทิยามิ
(ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากการดื่มกินสุราและเมรัย เครื่องดองของทําใจใหคลั่ง
ไคลตางๆ)
190 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๖. วิกาละโภชนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
(ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากบริโภคอาหารในเวลาวิกาล)
๗. นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะ
มัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
(ขาพเจาสมาทานซึง่ สิกขาบท คือ เวนจากดู ฟง ฟอนรําขับรองและประโคมเครือ่ งดนตรีตา งๆ
และดูการเลนทีเ่ ปนขาศึกแกกศุ ล และทัดทรงตกแตงรางกายดวยเครือ่ งประดับและดอกไมของ
หอม เครื่องทาเครื่องยอม ผัดผิวใหงามตางๆ)
๘. อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทังสะมาทิยามิ
(ขาพเจาสมาทานซึ่งสิกขาบท คือ เวนจากนั่งนอนเหนือเตียง ตั่ง มีเทาสูงเกินประมาณ และ
ที่นั่งที่นอนอันสูงใหญภายในใสนุนและสําลี อาสนะอันวิจิตรไปดวยลวดลายงามดวยเงินทอง
ตางๆ)
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ สมาทิยามิ (พระนําโยมวา ๓ ครั้ง)
พระสรุปอานิสงสศีล (แมชี–ผูบวช ไมตองวาตาม ใหพนมมือไหว)
อิมานิ อัฏฐะ สิกขาปะทานิ
สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย
แมชีรับวา ... สาธุ แลวกราบ ๓ ครั้ง
ถามีเครื่องไทยทานถวายพระก็ถวายตอนนี้ ...
เมื่อพระวา ... ยะถา วาริวะหา ... พึงกรวดนํ้าอุทิศกุศล
เมื่อพระวา ... สัพพี ตีโย ... พึงประนมมือรับพร
จบวิธีบวชชี
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 191

คําขอขมาเตรียมตัวกลับบาน
เมื่อผูมาปฏิบัติธรรมหรือจําศีลอุโบสถครบกําหนดแลว ตองการจะลากลับ
บานใหปฏิบัติดังนี้ เบื้องตนให กราบพระรัตนตรัยและกราบ พระสงฆ หรือพระ
อาจารยพรอมกัน ๓ ครัง้ แลวกลาวคําขอขมาพรอมกันเสร็จแลวจึงถวายดอกไม
ธูปเทียนแดทาน
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (วา ๓ หน)
ระตะนัตตะเย ปะมาเทนะ , ทะวาระตะเยนะ กะตัง ,
สัพพัง อะปะราธัง, ขะมะตุ โน ภันเต,
อาจะริเย ปะมาเทนะ, ทะวาระตะเยนะ กะตัง,
สัพพัง อะปะราธัง, ขะมะตุ โน ภันเต,
กรรมชัว่ อันใดทีเ่ ปนบาปอกุศล, อันขาพเจาไดประมาทพลาดพลัง้ ลวงเกิน,
ในคุณ พระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ, ในครูบาอาจารย, ดวยกาย วาจา ใจ,
ทั้งตอหนาและลับหลัง, จําได หรือจําไมได ก็ดี, ทั้งที่มีเจตนาหรือหาเจตนา
มิได, ขอใหทานจงลุโทษโปรดอโหสิกรรมใหแกขาพเจา, เพื่อไมใหเปนบาป
เปนเวร เปนกรรมตอไปเถิด ฯ
พระวา “อะหัง โว ขะมามิ ตุมเหหิป เม ขะมิตัพพัง”.
โยมรับวา “ขะมามะ ภันเต”.
เสร็จแลวจึงกลาวคําอาราธนาศีล ๕ โดยพรอมกัน และกลาวไปตามลําดับ

คําลากลับบาน
หันทะทานิ มะยัง ภันเต, อาปุจฉามะ พะหุกิจจา มะยัง พะหุกะระณียา
คําแปล: “ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลายขอกลาวลาเพราะมีกิจมาก ธุระมาก”
พระสงฆผูรับลากลาวคําวา “ยัสสะทานิ ตุมเห กาลัง มัญญะถะ”
คําแปล: ทานทั้งหลาย จงรูกาล รูเวลาเถิด
ผูลาพึงรับพรอมกันวา สาธุ ภันเต แลวกราบพระ ๓ ครั้ง
192 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
พิธีไหวพระรับศีล
คําบูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ ตัง พุทธัง อะภิปูชะยามะ
อิมินา สักกาเรนะ ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามะ
อิมินา สักกาเรนะ ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามะ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง อะภิวาเทมิ (กราบ)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ)
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ)

คําอาราธนาศีลหา
มะยัง ภันเต (วิสุง วิสุง) รักขะณัตถายะ,
ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
ทุติยัมป มะยัง ภันเต (วิสุง วิสุง) รักขะณัตถายะ,
ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
ตะติยัมป มะยัง ภันเต (วิสุง วิสุง) รักขะณัตถายะ,
ติสะระเณนะ สะหะ ปญจะ สีลานิ ยาจามะ.
(ถาคนเดียว เปลี่ยนจาก มะยัง เปนอะหัง เปลี่ยน ยาจามะ เปนยาจามิ)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ ครั้ง)
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 193

ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ


ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตอจากนี้พระทานจะกลาววา ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง
ผูรับศีลพึงรับพรอม ๆ กันวา “อามะ ภันเต”
๑. ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๒. อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๓. กาเมสุ มิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๔. มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ,
๕. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
(ตอจากนี้พระทานจะกลาว ผูรับศีลไมตองวาตาม)
อิมานิ ปญจะ สิกขาปะทานิ,
สีเลนะ สุคะติง ยันติ, สีเลนะ โภคะสัมปะทา,
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ, ตัส๎มา สีลัง วิโสธะเย.

คําอาราธนาพระปริตร
วิปตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสิทธิยา,
สัพพะทุกขะ วินาสายะ ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง.
วิปตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสิทธิยา,
สัพพะภะยะ วินาสายะ ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง.
วิปตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปตติสิทธิยา,
สัพพะโรคะ วินาสายะ ปะริตตัง พ๎รูถะ มังคะลัง ฯ
194 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คําอาราธนาธรรม
พ๎รัห๎มา จะ โลกาธิปะตี สะหัมปะติ
กัต๎อัญชะลี อันธิวะรัง อะยาจะถะ
สันตีธะ สัตตาปปะระชักขะชาติกา
เทเสตุ ธัมมัง อะนุกัมป มัง ปะชังฯ
ทาวสะหัมบดีพรหม เปนบรมในพรหมา
ทรงฤทธิศักดา กวาบริษัททุกหมูพรหม
นอมหัตถนมัสการ ประดิษฐาน ในที่สม
ควรแลวจึงบังคม ชุลีบาทพระศาสดา
ขอพรอันประเสริฐ วรเลิศมโหราฬ
โปรดสัตวในโลกา กิเลสนอยก็ยังมี
ขอองคพระจอมปราชญ สูธรรมาสนอันรูจี
โปรดปวงประชานี้ ทานจงโปรดแสดงธรรม
ขอนิมนต ทานเจาขา ผูปรีชาอันเลิศลํ้า
โปรดแสดงพระสัทธรรม เทศนาและวาที
เพื่อใหสําเร็จผล แดปวงชนบรรดามี
สูสุขเกษมศรี สมดังเจตนาเทอญ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 195

๏ บทสวดมนตพิเศษ ๏
๏ การเตรียมการพิธีกรรมพุทธาภิเษก ๏
เครื่องพิธีที่จะตองใชในพิธีกรรมจะมีหลายอยางดวยกัน จะขอบอกกลาว
เปนขั้นตอนใหรับทราบ ตามลําดับดังนี้
๏ เครื่องใชในพิธีกรรม ๏
๑. ราชวัติ ๔ มุม
๒. ฉัตรขาว ๗ ชั้น จํานวน ๔ ตน
๓. ตนกลวย ๔ ตน หรือมากกวาก็ได
๔. ตนออย ๔ ตน หรือมากกวาก็ได
(ตนไมมงคลตางๆ สามารถนํามาไวตรงสี่มุมราชวัติไดทั้งหมด เชน กลวย
กิ่งคูณ กิ่งยอ มะพราวนํ้าหอม ผลหมากรากไมตางๆเพื่อใหแสดงถึงการมีอยูมี
กินหรือการมีความเพียบพรอมดวยขาวปลาธัญญาหารตางๆ ฯลฯ ที่จะเกิดจาก
การใหทานนัน่ เอง) มุมราชวัตใิ หสานรัว้ ไมไผสงู ๑ เมตรลอมรอบทัง้ สีด่ า น หรือ
๔ มุมที่จะประกอบพิธีกรรม สําหรับตนกลวย ตนออยหรือไมมงคลตางๆ ใหตั้ง
ไวติดราชวัติทั้งสี่มุมนั่นเอง
๕. ดายสายสิญจนั้น ใหทําเปนรูปยันตตรีนิสิงเห นอกจากนั้นใหโยงสาย
สิญจไปทั่วทั้งมณฑลพิธี จะโยงเปนรูปสี่เหลี่ยมหรืออะไรก็ไดตามแตถนัดให
ทั่วๆ บริเวณประกอบพิธี
๖. โองนํ้ามนต หรือใชโองมังกร ๖ โอง ตั้งโองไวตรงมุมราชวัติ ๔ ใบ และ
อีกสองใบใหตั้งไวหนาเทียนชัยหรือหนาพระประธาน ใหนําสายสิญจพันรอบ
ปากโองเวียนขวา ๓ รอบทุกๆโองที่จะใชทํานํ้ามนต
๗. ผาขาวที่จะหอพระประธานที่จะประกอบพิธีพุทธาภิเษกนั้น การหอจะ
ตองหอใหมิดชิดตั้งแตเกศจนถึงฐาน ใชผาขาวมัดเปน ๓ เปาะเพื่อหอพระ
ประธาน อันหมายถึงตัณหา ๓ นั่นเอง (พระพุทธรูปขนาดเล็กที่นํามารวมพิธี
ไมตองหอ)
196 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๘. กิ่งโพธิ์หรือตนโพธิ์หนึ่งกิ่งหรือหนึ่งตนตั้งไวขางพระประธาน
๙. หญาคา ๘ กํา วางไว เวียนรอบๆพระประธาน
๑๐. ดอกบัวขาว ๑๘ ดอก วางลงในโองนํ้ามนต โองละ ๓ ดอก
๑๑. ใบพลูสดทีส่ ะอาดไมมแี มลงกัดใสขนั หรือพาน ๒ ใบ ใบทีห่ นึง่ ใส ๕ ใบ
เพือ่ จะใชเบิกพระเนตร และใบทีส่ องใส ๗ ใบเพือ่ จะใชดบั เทียนชัยหลังเสร็จพิธี
เทียนและธูปในพิธี
๑. เทียนชัย ๑ เลม สูงเทาตัวเจาภาพ หรือสูงเทาพระประธานในพิธี
ที่จะใชเบิกพระเนตรก็ได ใชขี้ผึ้งแทนํ้าหนักเทาเจาภาพในพิธี หรือนํ้าหนัก
เทาพระชนมายุของพระพุทธเจาก็ไดคือ ๘๐ บาทคือเฉลี่ยปละ ๑ บาทนั่นเอง
(บาทคือนํา้ หนักเทียนขีผ้ งึ้ ) ใสเทียนใชฝา ยเทากับอายุเจาภาพหรือพระพุทธเจา
เชน ๘๐ เสน
๒. เทียนมงคล สูงเทากับความยาววัดโดยรอบศีรษะของเจาภาพหรือพระ
ประธาน ใชผงึ้ หนักเลมละ ๘ บาท ใสเทียนใหใชจาํ นวนตามอายุพรรษาเจาภาพ
หรือใสฝายแทผายดิบทําใส ๔๕ เสน ใหวางเทียนทั้งสองนั้นใสเชิงเทียนแลว
ตั้งไวในโองนํ้ามนต ๒ โองหนาเทียนชัยหรือหนาพระประธาน
๓. เทียนวิปสสี ๒ เลม ความยาวเลมละ ๑ ศอก ไสเทียนใช ๔๕ เสนฝาย
ดิบฝายแททําใส ใหตั้งเทียนไวเชิงเทียนแลวตั้งไวหลังตูเทียนชัย ๒ เลมนั้น
พรอมแจกันดอกไม ๑ คู ถางธูป ๑ อัน ธูปหอม ๓ ดอก (จะมีขัน ๕ เพิ่มก็ได
วางไวขางๆกัน)
๔. เทียนนพเคราะห ๓ เลม หนัก ๑ บาท ใชเทียนธรรมดาหรือเทียนขี้ผึ้ง
แทก็ไดจุดที่โตะบวงสรวง ดานหนาแทนที่วางเครื่องบวงสรวงบายศรี ผลหมาก
รากไมขาวปลาอาหารตางๆ ฯลฯ
๕. เทียนนํ้ามนต ใชเทียนขี้ผึ้งแท ๑๐๘ เลม (เลมนํ้าหนัก ๑ บาท) แบง
ใสพาน ๔ ใบ แบงเทาๆกันนําไปไว ๔ จุดตรงโองนํ้ามนตที่มุมราชวัติ ๔ จุด
ตอนประกอบพิธีสวดพุทธาภิเษก เพื่อใชจะใชจุดเพื่อทํานํ้ามนตใหหยดลงใน
โองนํ้ามนตตลอดระยะเวลาที่พระสวดพุทธาภิเษกจนจบพิธี
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 197

จํานวนพระสงฆที่นิมนตมาในงานพุทธาภิเษก
๑. พระเจริญพระพุทธมนต ๙ รูป สวดกอนประกอบพิธีรอบคํ่าหลังทําวัตร
สวดมนตเย็น
๒. พระสวดพุทธาภิเษก ๒ ชุด ชุดละ ๔ รูป รวมเปน ๘ รูป
๓. พระนั่งปรก ๒ ชุด ชุดละ ๔ รูป รวมเปน ๘ รูป
๔. (หรือจะนิมนตพระตามแตศรัทธาจํานวนกี่รูปก็ได มาเพื่อชวยกันสวด
พุทธมนต พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณบทตางๆ หรือนั่งปรก)
บัตรพลีบูชาเทวดานพเคราะห
๑. บัตรพลีหรือบัตรพระเกตุ ๙ ชั้น จะตองทําดวยกาบกลวยสด ใชใบตอง
สด ๑ บัตรพระเกตุ ๑ ที่ ทําเปนสี่เสาโดยใชกานกลวยสด เอากาบกลวยหอ
รอบๆ แตละเสาตองทําใหแนนโดยใชไมกลัดรอบๆ เสาใหแนนๆ ทําเปนชั้นๆ
แตละชั้นหางกันประมาณ ๔ นิ้ว ทําทั้งหมด ๙ ชั้น แตละชั้นใหลดหยองลงที
ละชัน้ คลายๆเจดีย ใชใบตองกลวยสดปูแตละชัน้ เพือ่ จะไดวางอาหารหวานคาว
ตางๆ ในแตละบัตรพลีแตละชั้นทั้ง ๙ ชั้น
๒. บัตรเทวดาอัฏฐทิศ ๘ บัตร ทําเหมือนบัตรพลีหรือบัตรพระเกตุทุกๆ
อยาง เพียงแตทําเพียง ๓ ชั้นเทานั้น
๓. บัตรพระภูมิ ๑ บัตร ทําเปนรูปสามเหลี่ยม หรือที่นิยมคุนเคยเรียกกัน
คือ กระทงหนาวัว ทํา ๑ ที่ ใชกาบกลวยทําเหมือนกันกับบัตรตางๆ
๔. บัตรกรุงพาลี ๑ บัตร ใหมรี ปู เปนสีเ่ หลีย่ มกระบะ เหมือนกระทงสะเดาะ
เคราะหแตไมมีหอง
ของที่จะใสในบัตรพลีตางๆ
ของทีจ่ ะใสในบัตรตางๆนัน้ ตองใชใบตองทํากระทงปากหนามเล็กๆ เพือ่ จะ
ใสอาหารตางๆ ในบัตรพลีตา งๆ ใบเล็กๆ อีกครัง้ หนึง่ บรรจุอาหารหวานคาว ของ
หวาน ขาวตอก ถัว่ ดํา ถัว่ แดง ถัว่ คัว่ งาคัว่ ขนม นม เนยตางๆ หมากพลู ฯลฯ
นําอาหารตางๆ ใสในกระทงปากหนามแลวใสไวในบัตรพลีใหครบทุกชัน้ นอกจาก
นัน้ ยังมีธงหางสามเหลีย่ มเล็กๆ สีตา งๆ ใชปก ไวทบี่ ตั รพลีดว ยใหครบทุกๆ ชัน้
198 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
บัตรพลีตางๆ เมื่อใสอาหารครบแลว ใหวางไวรอบๆดานนอกราชวัตรทั้ง
๔ ดาน ใชผาขาวปูโตะและวางบนโตะใหเรียบรอย และจะตองมีพานผลไม ๗
อยาง ๒ พาน วางไวโตะบัตรพลี ๒ โตะ หรือจะวางทั้ง ๔ จุดตรงราชวัติก็ได
แตผลไมยกเวน ละมุด ใหใสผลไมเชน กลวยนํ้าหวา มะพรอมนํ้าหอม สม
เขียวหวาน แตงโม ฯลฯ ใช ๙ ชนิดก็ไดตามแตสะดวก และมีขนมตมแดง
ขนมตมขาว ขนมตมแหงตางๆ วางไวทกุ ๆโตะดวย ประเภทขนมใหวางใสพาน
ตางหากวางไวบนโตะ และแตละโตะใหทําบายศรีปากชามไวทุกๆ โตะก็ได
แตละโตะตองมีใขเสมอๆใชกใี่ บก็ได ยอดบายศรีใหเสียบใขไวทยี่ อดก็จะเปนการ
ดีในแตละตนของบายศรีหรือบัตรพลีตางๆ
ลําดับขั้นตอน มีดังตอไปนี้
หลังจากเตรียมของหรือสิ่งตางๆเกี่ยวกับพิธีกรรมเสร็จแลว ขั้นตอนตอไป
คือดังตอไปนี้
๑. กอนจะเจริญพระพุทธมนต เจาภาพหรือประธานในงานจะตองจุดเทียน
นพเคราะหที่โตะบวงสรวง ๙ เลม และจุดธูปหอม ๙ ดอก ปกตามบัตรพลีและ
ผลไมตางๆ ใหครบ
๒. จากนั้นใหพราหมณหรือพระสงฆผูเปนเจาพิธี กลาวโองการอัญเชิญ
เทพเทวดากลาวสัคเคฯ หรือบทอัญเชิญเทพเทวดาตางๆ ตามแตวิชาคาถาที่
แตละทานเลาเรียนมา เปนลําดับไป
คาถาจุดเทียนชัย
พุทโธ สัพพัญ<ุ ตะญาโณ ธัมโม โลกุตตะโร วะโร
สังโฆ มัคคะผะลัฏโฐ จะ อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง
เอตัสสะ อานุภาเวนะ สัพพะทุกขา อุปททะวา
อันตะรายา จะ นัสสันตุ สัพพะโสตถี ภะวันตุ เต.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 199

จากนัน้ พระสงฆทไี่ ดรบั กิจนิมนตมาจะทําการสวดพุทธาภิเษก ก็จะเริม่ สวด


พุทธาภิเษก จนไดเวลาสมควรแลวก็หยุด ตอจากนัน้ สมณะชีพราหมณทมี่ ารวม
พิธกี รรมก็จะเริม่ ชวยกันสวดบทพระพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณโดยพรอมเพียง
กัน จนกวาจะครบกําหนดตามแตจะตกลงกันไววาจะสวดบทไหนบางในพิธีใน
ครัง้ นี้ เปนการสวดสลับบทพุทธาภิเษกทีพ่ ระสงฆสวดจบแลวสลับกับชีพราหมณ
ที่มารวมสวดในวันพิธีกรรม จนกวาจะครบกําหนดเวลาที่กําหนดไว กี่รอบก็ได
เพื่อใหเกิดความเขมขลังและศักดิ์สิทธนั่นเอง
200 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๏ พระคาถาพุทธาภิเษก ๏
( นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ )
พุทธาทิจโจ มะหาเตโช ธัมมะจันโท ระสาหะโร
สังฆะตาระคะโณ เสฏโฐ อัมเห รักขันตุ ปายะโต
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจรณะสัมปนโน
สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวาติ ๚ เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ (โสตถิ เต โหตุ สัพพะทา) พุทโธ
วิยะ พุทธะรูปมป มะหาเตชัง มะหานุภาวัง ภะวะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚ (หยุด)
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา มะนุสสัตตาทิอัฏฐะวิธาภินีหาระสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทานะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทานะอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทานะปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สีละปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สีละอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สีละปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เนกขัมมะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เนกขัมมะอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปญญาปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปญญาอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปญญาปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา วิริยะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา วิริยะอุประปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา วิริยะปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 201

นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ขันติปาระมีสัมปนโน


นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ขันติอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ขันติปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สัจจะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สัจจะอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สัจจะปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะธิฏฐานะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะธิฏฐานะอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะธิฏฐานะปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เมตตาปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เมตตาอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา เมตตาปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อุเปกขาปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อุเปกขาอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อุเปกขาปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทะสะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทะสะอุปะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทะสะปะระมัตถะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สะมะติงสะปาระมีสัมปนโน
(หยุดครั้งที่ ๑ สวดพุทธคุณ ๕๖ จบ )
อิตปิ  โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต
โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อังคะปะริจจาคะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ชีวิตะปะริจจาคะปาระมีสัมปนโน
202 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปุตตะปะริจจาคะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ภะริยาปะริจจาคะปาระมีสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ติวิธะจะริยาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา โลกัตถะจะริยาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ญาตัตถะจะริยาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา พุทธัตถะจะริยาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา กายะสุจะริตะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา วะจีสุจะริตะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา มะโนสุจะริตะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะภิสัมโพธิสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สัพพัญ\ุ ตะญาณะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะนาวะระณะญาณะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา มะหาปญญาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปุถุปญญาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา คัมภีระปญญาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา หาสะปญญาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ชะวะนะปญญาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ติกขะปญญาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา นิพเพธิกะปญญาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ติวิธะวิชชาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชาสัมปนโน
อาสะวักขะยะวิชชาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา จะตุเวสารัชชะญาณะสัมปนโน พุทธัตเต
วิสาระทะญาณะสัมปนโน อาสะวักขะเย วิสาระทะญาณะสัมปนโน อะนันตะ-
ราเย วิสาระทะญาณะสัมปนโน ธัมมะเทสะนายะ วิสาระทะญาณะสัมปนโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 203

นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา จะตุปะฏิสัมภิทาญาณะสัมปนโน


ปะเภทะคะตาอัตถะปะฏิสัมภิทาญาณะสัมปนโน ปะเภทะคะตาธัมมะปะฏิ-
สัมภิทาญาณะสัมปนโน ปะเภทะคะตานิรุตติปะฏิสัมภิทาญาณะสัมปนโน
ปะเภทะคะตาปะฏิภาณะปะฏิสัมภิทาญาณะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปญญาจักขุสัมปนโน อาสะยานุสะยะ-
ญาณะสัมปนโน เหฏฐิมะมัคคะผะละญาณะจักขุสัมปนโน สะมันตะจักขุ-
สัมปนโน ทิพพะจักขุสัมปนโน ปญญาจักขุสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะสาธาระณัญญาณะสัมปนโน
อินท๎รยิ ะปะโรปะริยะญาณะสัมปนโน อาสะยานุสะยะญาณะสัมปนโน ยะมะกะ-
ปาฏิหาริยะญาณะสัมปนโน มะหากะรุณาสะมาปตติญาณะสัมปนโน อะนา-
วะระณะสัมปนโน สัพพัญ\ุตะญาณะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา สัตตะโพชฌังคะระตะนะสัมปนโน
สะติสัมโพชฌังคะระตะนะสัมปนโน ธัมมะวิจะยะสัมโพชฌังคะระตะนะ-
สัมปนโน วิริยะสัมโพชฌังคะระตะนะสัมปนโน ปติสัมโพชฌังคะระตะนะ-
สัมปนโน ปทสิทธิสัมโพชฌังคะระตะนะสัมปนโน สะมาธิสัมโพชฌังคะ-
ระตะนะสัมปนโน อุเปกขาสัมโพชฌังคะระตะนะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อัฏฐะวิชชาสัมปนโน ฉัตติงสะโกฏิ-
สะหัสสะมะหาวะชิระวิปส สะนาญาณะวิชชาสัมปนโน จะตุวสี ะติโกฏิสะตะ-
สะหัสสะสะมาปตติปุเรจาริกะมะหาวะชิระวิปสสะนาญาณะวิชชาสัมปนโน
มะโนมะยิทธิญาณะวิชชาสัมปนโน อิทธิวิธิญาณะวิชชาสัมปนโน ทิพพะ-
โสตะญาณะวิชชาสัมปนโน เจโตปะริยะญาณะวิชชาสัมปนโน ปุพเพนิวาสา-
นุสสะติญาณะวิชชาสัมปนโน ทิพพะจักขุญาณะวิชชาสัมปนโน อาสะวักขะยะ-
ญาณะวิชชาสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา นะวานุปุพพะวิหาระสัมปนโน
ปะฐะมัชฌานะสะมาปตติสัมปนโน ทุติยัชฌานะสะมาปตติสัมปนโน
ตะติยัชฌานะสะมาปตติสัมปนโน จะตุตถัชฌานะสะมาปตติสัมปนโน
204 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อากาสานัญจายะตะนะสะมาปตติสมั ปนโน วิญญาณัญจายะตะนะสะมาปตติ-
สัมปนโน อากิญจัญญายะตะนะสะมาปตติสมั ปนโน เนวะสัญญานาสัญญายะ-
ตะนะสะมาปตติสัมปนโน สัญญาเวทะยิตะนิโรธะสะมาปตติสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ทะสะพะละญาณะสัมปนโน
ฐานาฐานะญาณะพะละสัมปนโน สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทาญาณะพะละ-
สัมปนโน อะเนกะธาตุนานาธาตุญาณะพะละสัมปนโน สัตตานัง นานาธิ-
มุตติกะญาณะสัมปนโน อะตีตานาคะตะปจจุปปนนานัง กัมมะสะมาทานานัง
ฐานะโส เหตุโส วิปากัง เวทิตตั ตาญาณะพะละสัมปนโน ปะระสัตตานัง ปะระ-
ปุคคะลานัง อินท๎ริยะปะโรปะริยะญาณะพะละสัมปนโน สัพเพสัง ญาณะ-
วิโมกขะสะมาธิสะมาปตตีนงั สังกิเลสะโวทานะวุฏฐานะญาณะพะละสัมปนโน
ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะสัมปนโน จุตูปะปาตะญาณะพะละสัมปนโน
อาสะวักขะยะญาณะสัมปนโน ฯ
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ปณณะระสะจะระณะสัมปนโน
สีละสังวะระจะระณะธัมมะสัมปนโน อินท๎รเิ ยสุ คุตตัทว๎ าระตาจะระณะธัมมะ-
สัมปนโน โภชะเนมัตตัญ\ุตาจะระณะธัมมะสัมปนโน ชาคะริยานุโยคะตา-
จะระณะธัมมะสัมปนโน สัทธาจะระณะธัมมะสัมปนโน หิริจะระณะธัมมะ-
สัมปนโน โอตตัปปะจะระณะธัมมะสัมปนโน พาหุสจั จะจะระณะธัมมะสัมปนโน
อารัทธะวิริยะตา จะระณะธัมมะสัมปนโน อุปฏฐิตะสะติตาจะระณะธัมมะ-
สัมปนโน ปญญะวันตะตา จะระณะธัมมะสัมปนโน ปะฐะมัชฌานะจะระณะ-
ธัมมะสัมปนโน ทุตยิ ชั ฌานะจะระณะธัมมะสัมปนโน ตะติยชั ฌานะจะระณะ-
ธัมมะสัมปนโน จะตุตถะฌานะจะระณะสัมปนโน
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะธัมมะสัมปนโน
อะตีตงั เส อัปปะฏิหะตะญาณะสัมปนโน อะนาคะตัง เส อัปปะฏิหตะญาณะ-
สัมปนโน ปจจุปปนนัง เส อัปปะฏิหะตะญาณะสัมปนโน อิเมหิ ตีหิ ธัมเมหิ
สะมันนาคะตัตตา โส ภะคะวา ญาณะปุพพังคะมะญาณานุปะริวัตติตะกายะ-
กัมมะสัมปนโน ญาณะปุพพังคะมะญาณานุปะริวัตติตะวะจีกัมมะสัมปนโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 205

ญาณะปุพพังคะมะญาณานุปะริวัตติตะมะโนสัมปนโน อิเมหิ ตีหิ ธัมเมหิ


สะมันนาคะตัตา โส ภะคะวา สันทัสสะนะปะริปุณโณ ธัมมะเทสะนายะ-
ปะริปุณโณ วิริยัสสะ ปะริปุณโณ สะมาธิสสะ ปะริปุณโณ ปญญายะ ปะริปุณโณ
วิมุตติยา ปะริปุณโณ อิเมหิ ท๎วาทะสะหิ ธัมเมหิ สะมันนาคะตัสสะ ภะคะวะโต
นัตถิ ทะวา นัตถิ ระวา นัตถิ อัปปะมัตตัง นัตถิ เวคายิตัตตัง นัตถิ อัพ๎ยวัฏฏะ-
มาโน นัตถิ อัปปะฏิสงั ขา อุเปกขาติ อัฏฐาระเสวะ เต โหนติ พุทธะธัมมา
อะจินติยา อะจินเตยเยสุ ปะสันนานัง วิปาโก โหติ อะจินติยา เอเตนะ สัจจะ-
วัชเชนะ พุทโธ วิยะ เอตานิ มะหาเตชานิ มะหานุภาวานิ ภะวันตุ สัพพะทาฯ
อะโถป ราชะภัณฑานิ อาวุธานิ อะเนกะธา เตชะวันตานิ ติฏฐันติ อานุภาวะ-
ปะสิทธิยา๚
(หยุด)
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา ท๎วัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณะ-
สัมปนโน สุปะติฏฐิตะปาโท วะตะ โส ภะคะวา พุทธัสสะ ภะคะวะโต เหฏฐา
ปาทะตะเลสุ เทวะจักกานิ ชาตานิ สะหัสสารานิ สะเนมิกานิ สะนาภิกานิ สัพพา
การะปะริปรู านิ อายะตะปณหิ วะตะ โส ภะคะวา ทีฆงั คุลี วะตะ โส ภะคะวา
มุทตุ ะลุณะหัตถะปาโท วะตะ โส ภะคะวา ชาละหัตถะปาโท วะตะโส ภะคะวา
อุสสังคะปาโท วะตะ โส ภะคะวา เอณิชังโฆ วะตะ โส ภะคะวา ฐิตะโกวะ
อะโนนะมันโต อุโภหิ ปาณิตะเลหิ ชาณุกานิ ปะริมัชชันโต วะตะ โส ภะคะวา
โกโสหิตะวัตถะคุย๎โห วะตะ โส ภะคะวา สุวัณณะวัณโณ กาญจะนะสันนิภะ-
ตะโจ วะตะ โส ภะคะวา สุขุมัจฉะวิ วะตะ โส ภะคะวา สุขุมัจฉะวิตายะ
ระโชชัลเลนะ อะนุปะลิมปตะกาโย วะตะ โส ภะคะวา อุทธัคคะโลโม วะตะ
โส ภะคะวา พ๎รัห๎มุชุคัตโต วะตะ โส ภะคะวาป ตันตะรังโส วะตะ โส
ภะคะวา นิโค๎รธะปะริมัณฑะโล วะตะ โส ภะคะวา สะมะวัฏฏะกะขันโธ
วะตะ โส ภะคะวา ระสัคคะสัคคี วะตะ โส ภะคะวา สีหะหะนุ วะตะ โส
ภะคะวา จัตตาฬสะทันโต วะตะ โส ภะคะวา สะมะทันโต วะตะ โส ภะคะวา
อะวิรุฬ๎หะทันโต วะตะ โส ภะคะวา สุสุกกะทาโฐ วะตะ โส ภะคะวา ปะหุตะ-
206 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ชิวโห วะตะ โส ภะคะวา พ๎รัห๎มะสะโร กะระวิกะภาณี วะตะ โส ภะคะวา
อะภินีละเนตโต วะตะ โส ภะคะวา โคปะมุโข วะตะ โส ภะคะวา พุทธัสสะ
ภะคะวะโต ภะมุกนั ตะเร ชาตา อุณณา โอทาตา มุทกุ า ตูละสันนิภา อุณหิสะ-
สีโส วะตะโส ภะคะวา ท๎วัตติงสาเยวะ เต โหนติ มะหาสัตตัสสะ ลักขะณา
ท๎วัตติงสะลักขะโณ พุทโธ สุนักขัตโต วะ จันทิมา เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
พุทโธ วิยะ พุทธะรูปมป มะหาเตชัง มะหานุภาวัง ภะวะตุ ยาวะ สาสะนัง๚
(หยุดครั้งที่ ๒ สวดธรรมคุณ ๓๘ จบ )
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปส สิโก โอปะนะยิโก
ปจจัตตัง เวทิตพั โพ วิญ<ู หตี ิ ฯ
นิสสังสะยัง โส โข โน ภะคะวา อะสีต๎ยานุพ๎ยัญชะนะสัมปนโน
ปตังคุลี วะตะ โส ภะคะวา อะนุปุพพังคุลี วะตะ โส ภะคะวา วัฏฏังคุลี วะตะ
โส ภะคะวา ตาม๎พะนะโข วะตะ โส ภะคะวา ตุงคะนะโข วะตะ โส ภะคะวา
สินิทธะนะโข วะตะ โส ภะคะวา นิคุย๎หะโคปผะโก วะตะ โส ภะคะวา
สะมะปาโท วะตะ โส ภะคะวา คะชะสะมานักกะโม วะตะ โส ภะคะวา สีหะ-
สะมานักกะโม วะตะ โส ภะคะวา อุสะภะสะมานักกะโม วะตะ โส ภะคะวา
ทักขิณาวัฏฏาวัฏฏะโน วะตะ โส ภะคะวา สะมันตะจารุชาณุมณ ั ฑะโล วะตะ โส
ภะคะวา ปะริปณ ุ ณะปุรสิ ะพ๎ยญั ชะโน วะตะ โส ภะคะวา ทักขิณาวัฏฏะนาภี
วะตะ โส ภะคะวา อัจฉินทะนาภี วะตะ โส ภะคะวา สุวัณณะกัททะลีสะทิสะ-
อุรุ วะตะ โส ภะคะวา เอราวะณะกะระสะทิสะภุโช วะตะ โส ภะคะวา
สุจิคัตโต วะตะ โส ภะคะวา โกมะละอะนุสสันนานุสสันนะสัพพะคัตตะลิตโต
วะตะ โส ภะคะวา อะลีนะคัตโต วะตะ โส ภะคะวา ๚
ติละกาทิวริ ะหิตะคัตโต วะตะ โส ภะคะวา อะนุปพุ เพนะ รุจริ ะคัตโต วะตะ โส
ภะคะวา วิสทุ ธะคัตโต วะตะ โส ภะคะวา โกฏิสะหัสสานัง ปะกะติหตั ถีนงั
พะละธะโร วะตะ โส ภะคะวา ตุงคะนาโส วะตะ โส ภะคะวา สุสัณฐานะนาโส
วะตะ โส ภะคะวา รัตตัทว๎ ชิ ะปะโส วะตะ โส ภะคะวา สุกกะทันโต วะตะ โส
ภะคะวา สินทิ ธะทันโต วะตะ โส ภะคะวา วิสทุ ธินท๎รโิ ย วะตะ โส ภะคะวา
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 207

วัฏฏะทาโฐ วะตะ โส ภะคะวา อายะตะทันโต วะตะ โส ภะคะวา คัมภีระปะณี


ตะเลโข วะตะ โส ภะคะวา อายะตะเลโข วะตะ โส ภะคะวา อุชเุ ลโข วะตะโส
ภะคะวา สุจริ ะสัณฐานะเลโข วะตะ โส ภะคะวา ปะริมณ ั ฑะละกายะภาวันโต
วะตะ โส ภะคะวา ปะริปุณณะกะโปโล วะตะ โส ภะคะวา อายะตะวิสาละ-
เนตโต วะตะ โส ภะคะวา ปญจะปะสาทะวันตะเนตโต วะตะโส ภะคะวา
อะกุฏิฏะมุโข วะตะ โส ภะคะวา มุทะตะนุกะรัตตะชิวโห วะตะ โส ภะคะวา
อายะตะชิวโห วะตะ โส ภะคะวา อายะตะสุรุจิระกัณโณ วะตะ โส ภะคะวา
นิคนั ฐิสโิ ร วะตะ โส ภะคะวา นิคยุ ห๎ ะสิโล วะตะ โส ภะคะวา ฉัตตะนิภะ-
จารุสีโส วะตะ โส ภะคะวา อายะตะปุถุละนะลาฏะโสโภ วะตะ โส ภะคะวา
สุสณ
ั ฐาณะภะมุโก วะตะ โส ภะคะวา กัณห๎ ะภะมุโก วะตะ โส ภะคะวา
อะนุโลมะภะมุโก วะตะ โส ภะคะวา อะยะวาภะมุโก วะตะ โส ภะคะวา สุข-ุ
มาละคัตโต วะตะ โส ภะคะวา อะติวยิ ะ อุชชะลิตะคัตโต วะตะ โส ภะคะวา
วิมะละคัตโต วะตะ โส ภะคะวา สินทิ ธะคัตโต วะตะ โส ภะคะวา สุคนั ธะตะนุ
วะตะ โส ภะคะวา สะมะโลโม วะตะ โส ภะคะวา สุนีละโลโม วะตะ โส
ภะคะวา กุณฑะละวัฏฏะกะโลโม วะตะ โส ภะคะวา ทักขิณาวัฏฏะโก วะตะ
โส ภะคะวา สุสัณฐานะโลโม วะตะ โส ภะคะวา สินิทธะโลโม วะตะ โส
ภะคะวา อะลุลติ ะโลโม วะตะ โส ภะคะวา อะติสขุ มุ ะอัสสาสะปสสาสะจาระโณ
วะตะ โส ภะคะวา สุสัณฐานะมุโข วะตะ โส ภะคะวา สุคันธะมุโข วะตะ โส
ภะคะวา สุนีละเกโส วะตะ โส ภะคะวา กุณฑะละวัฏฏะเกโส วะตะ โส
ภะคะวา ทักขิณาวัฏฏะเกโส วะตะ โส ภะคะวา สุสัณฐานะเกโส วะตะ โส
ภะคะวา สินิทธะเกโส วะตะ โส ภะคะวา สัณ๎หะเกโส วะตะ โส ภะคะวา
อะลุลิตะเกโส วะตะ โส ภะคะวา สุทโธตะเกโส วะตะ โส ภะคะวา เกตุมาลา
วะรัตตะวิจติ โต วะตะ โส ภะคะวา เอวัง อะสีตย๎ านุพย๎ ญ
ั ชะนะปะฏิมณ
ั ฑิตะ-
รูปะกาโย วะตะ โส ภะคะวา
(หยุด)
208 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
เอวัง สัพพังคะโสภะโณ รูปะกาโย อะจินติโย อะจินติเยสุ ปะสันนานัง
วิปาโกป อะจินติโย เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ พุทโธ วิยะ เอตานิ อะปะริ-
มาณานิ มะหาเตชานิ มะหานุภาวานิ นิรันตะรายานิ นิรุปททะวานิ ฐิรัฏฐิทานิ
ภะวันตุ ยาวะ สาสะนัง อะโถป ราชะภัณฑานิ อาวุธานิ อะเนกะธา เตชะวัน-
ตานิ ติฏฐันตุ อานุภาวะปะสิทธิยา ภะคะวะโต รูปะกายะโถมะนา พุทธาภิ-
เสกะคาถา ปะฐะมา สะมัตตา พุทธาทิจโจ มะหาเตโช ธัมมะจันโท ระสาหะโร
สังฆะตาระโณ เสฏโฐ อัมเห รักขันตุ ปายะโต ปะณิธานะโต ปฏฐายะ
ตะถาคะโต มะหาการุณิโก โลกานุกัมปายะ มาตุทาระกะมานะวะโต ปฏฐายะ
จิตเตนะ สัตตะอะสังไขยยัง สัมมาสัมโพธิง ปตเถต๎วา มะหาสาคะระจักกะ-
วัตติโต ปฏฐายะ วาจายะ นะวาสังเขยยัง สัมมาสัมโพธิง ปตเถต๎วา ทีปงกะระ-
สัมมาสัมพุทธัสสะ ปาทะมูเล ลัทธัพ๎ยากะระโณ กัปปะสะตะสะหัสสาธิกานิ
จัตตาริ อะสังเขยยานิ สะมัตติงพุทธะการะธัมเม ปูเรนโต ยาวะ เวสสันตะระ-
ภาวัง อาคันต๎วา เวสสันตะรัตตะภาเว สัพพะปาระมิโย นิฏฐาเปต๎วา ปาระมีกฏู งั
คะเหต๎วา ตุสติ ะปุเร นิพพัตติตว๎ า เทวะราชะภูโต พุทธะกาลัง ญัตว๎ า สันนิ-
ปะติเตหิ เทวะพรัห๎มะคะเณหิ กาโลยันเต มะหาวีระ อุปปชชะ มาตุกุจฉิยัง
สะเทวะกัง ตาระยันโต พุชฌัสสุ อะมะตัง ปะทันติ วะทันเตหิ ยาจิโต นิมนั ติโต
สัก๎ยะราชะกุเล มะหามายายะ เทวิยา กุจฉิยัง ปะฏิสันธิง คะเหต๎วา ลุมพินี
วะเน มาตุคัพภา โสตถินา วิชาโต อุตตะราภิมุโข สัตตะปาเท วีติหาเรต๎วา
ปงกะชะมุททะนิฏฐิโต สัพพา ทิสา อะนุวโิ ลเกต๎วา อัตตะนา สะทิสงั ปุคคะลัง
อะทิส๎วา อัคโคหะมัส๎มิ โลกัสสะ เสฏโฐหะมัส๎มิ โลกัสสาติ อาทิกัง อาสะภิ-
วาจัง นิจฉาเรต๎วา เอกูนะติงสะ วัสสานิ เทวะกุมาโร วิยะ มะหาสัมปตติโย
อะนุภะวันโต จัตตาโร นิมติ เต ทิสว๎ า มะหาสัมปตติโย ปะหายะ มะหาภินกิ -
ขะมะนัง นิกขะมิตว๎ า อะโนมายะ นะทิยา ตีเร ปพพะชิตว๎ า อุทมุ พะระวะเน
ฉัพพัสสานิ มะหาปะธานัง ปะทะหิต๎วา วิสาขะปุณณะมายัง สุชาตายะ ทินนัง
มะธุปายาสัง ปะฏิคคะเหต๎วา เนรัญชะรายะ นะทิยา ตีเร ปะริภญุ ชิตว๎ า เนรัญ-
ชะรายะ สุวัณณะปาฏิง ปะวาเหต๎วา สาละวะเน ทิวาวิหารัง คันต๎วา สายัณหะ-
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 209

สะมะเย โสตถิเยนะ ทินนา อัฏฐะ ติณะมุฏฐิโย คะเหต๎วา เทวะตาหิ อะลัง-


กะตะมัคเคนะ ชะยะมะหาโพธิรุกขะมูลัง อุปะคันต๎วา สุริเย อัฏฐังคะเตเยวะ-
สะเสนัง สะวาหะนัง สะพะลัง มารัง วิทธังเสต๎วา ปะลาเปต๎วา ปะฐะมะยาเม
ปุพเพนิวาสัง อะนุสสะริตว๎ า มัชฌิมะยาเม ทิพพะจักขุง วิโสเธต๎วา ปจฉิมะ-
ยาเม อะวิชชาปจจะยา สังขารา อิจเจวะมาทิเก ปะฏิจจะสะมุปปาทะธัมเม
วิจาระณะสะมัตถัง มะหาวะชิระญาณัง โอตาเรต๎วา สัพพะกังขัง วูปะสะเมต๎วา
จะตุปาริสทุ ธิสลี ะสังขาตัง สีละวิสทุ ธิง ปตว๎ า อะภิญญาปาทะกัง จะตุตถัชฌานะ
สังขาตัง จิตตะวิสทุ ธิง อุปปาเทต๎วา ตะโต นามะรูปะวะวัตถานะสะมัตถัง ทิฏฐิ-
วิสุทธิง ปต๎วา ตะโต สัพพะพุทธานุจิณณัง วิปสสะนาปาทะกัง จะตุต-
ถัชฌานัง สะมาปชชิต๎วา ปญจะสุ อุปาทานักขันเธสุ อะภินิวิสิต๎วา สัมมัป-
ปญญายะ อุทะยัพ๎ยะญาณานิ ละภิต๎วา อิเม อุปะกิเลสานัง มัคคาติ ชานะนะ-
สะมัตถัง มัคคามัคคะญาณะทัสสะนะวิสทุ ธิง ปตว๎ า ตะโต อุทะยัพย๎ ะญาณัง
ปต๎วา ตะโต ภังคะญานัง ปต๎วา ตะโต อะนุโลมะญาณัง ปต๎วา เอวัง อะนุ-
ปุพพะญาณะสังขาตัง ปะฏิปะทาญาณะทัสสะนะวิสทุ ธิง ปตว๎ า ตะโต เอกะจิต-
ตักขะณิกัง โคต๎ระภูญาณัง ปต๎วา ตะโต สักกายะทิฏฐิวิจิกิจฉาสีลัพพะตะ-
ปะรามาสะโทสะปะหานะกะรัง จะตุตถัชฌานิกัง โสตาปตติผะละทายะกัง
จะตุกิจจะสาธะกัง เอกะจิตตักขะณิกัง โสตาปตติมัคคะญาณะสังขาตัง ญาณ
ะทัสสะนะวิสุทธิง ปต๎วา ตะโตป ตีณิ โสตาปตติผะละจิตตานิ ปต๎วา
ตะโต ปจจะเวกขะณะญาณานิ ปต๎วา โสตาปนโน โหติ ๚
( หยุดครั้งที่ ๓ สวดสังฆคุณ ๑๔ จบ )
สุปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชปุ ะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปน โน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจปิ ะฏิปน โน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ ยะทิทงั จัตตาริ ปุรสิ ะยุคานิ อัฏฐะ ปุรสิ ะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง
ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ
210 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ตะโต สีละวิสุทธิจิตตะวิสุทธิทิฏฐิวิสุทธิกังขาวิตะระณะวิสุทธิญาณะ-
ทัสสะนะวิสุทธิมัคคามัคคะญาณะทัสสะนะวิสุทธิปะฏิปะทาญาณะทัสสะนะ-
วิสุทธิโย ปต๎วา เอกะจิตตักขะณิกัง โคต๎ระภูญาณัง ปต๎วา ตะโต กามะ-
ราคะพ๎ยาปาทะตะนุกะรัง จะตุตถัชฌานิกัง สะกะทาคามิผะละทายะกัง
จะตุกจิ จะสาธะกัง เอกะจิตตักขะณิกงั สะกะทาคามิมคั คะญาณะสังขาตัง ญาณะ-
ทัสสะนะ วิสุทธิง ปต๎วา ตะโต ตีณิ สะกะทาคามิผะละจิตตานิ ปต๎วา ตะโต
ปจจะเวกขะณะญาณานิ ปต๎วา สะกะทาคามี โหติ ฯ ตะโต สีละวิสุทธิจิตตะ-
วิสทุ ธิทฏิ ฐิวสิ ทุ ธิกงั ขาวิตะระณะ วิสทุ ธิมคั คามัคคะญาณะทัสสะนะวิสทุ ธิปะฏิ-
ปะทาญาณะทัสสะนะวิสุทธิโย ปต๎วา ตะโต เอกะจิตตักขะณิกัง โคต๎ระภู
ญาณัง ปต๎วา ตะโต กามะราคะพ๎ยาปาทานัง นิระวะเสสัปปะหานะกะรัง
จะตุตถัชฌานิกงั อะนาคามิผะละทายะกัง จะตุกจิ จะสาธะกัง เอกะจิตตักขะณิกงั
อะนาคามิผะลัคคะญาณะสังขาตัง ญาณะทัสสะนะวิสุทธิง ปต๎วา ตะโต ตีณิ
อะนาคามิผะละจิตตานิ ปตว๎ า ตะโต ปจจะเวกขะณะญาณานิ ปตว๎ า อะนาคามี
โหติ ตะโต สีละวิสุทธิจิตตะวิสุทธิทิฏฐิวิสุทธิกังขาวิตะระณะวิสุทธิมัคคา-
มัคคะญาณะทัสสะนะวิสุทธิปะฏิปะทาญาณะทัสสะนะวิสทุ ธิโย ปต๎วา ตะโต
เอกะจิตตักขะณิกงั โคต๎ระภูญาณัง ปตว๎ า รูปะราคะอะรูปะราคะมานุทธัจจาวิชชา
โทสัปปะหานะกะรัง จะตุตถัชฌานิกงั โลกุตตะระกุสะละปะฏิเวธะญาณัง อัญเญหิ
อะสาธาระณัง อะนุตตะระสัมโพธิง อะนันตะญาณะปะริวาริกัง อะระหัตตะ-
มัคคะญาณะสังขาตัง ญาณะทัสสะนะวิสุทธิง ปต๎วา ตะโต สะมาปตตีหิ
อะระหัตตะผะละจิตเตหิ อะนันตะญาณัง ปะริวาริกงั สัพพัญ\ุ ตะญาณาทิคณ ุ ะ-
สัมปตติง ปตว๎ า พุทโธ โหติ ตะโต ปจจะเวกขะณะญาณัง ปตว๎ า สัพพะพุทธา
จิณณัง อุทานัง อุทาเนสิ
อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง
คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง
คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 211

สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง


วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคาติ ๚

โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน


สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุรสิ ะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวา พะละนิปผัตติโต จะตุเวสารัชชัปปตโต อะธิคะตะปะฏิสมั ภิโท
ปุรสิ ะสีโห ปุรสิ าชัญโญ อิมงั โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รหั ม๎ ะกัง
สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกตั ว๎ า
ปะเวเทสิ โส ภะคะวา ญาณะภูโต จักขุภูโต พ๎รัห๎มะภูโต วัตตาปะวัตโต
อัตถัสสะ นินเนตา อะมะตัสสะ ทาตา ธัมมะสามิ ธัมมะราชา ธัมมัง เทเสสิ
อาทิกลั ย๎ าณัง มัชเฌกัลย๎ าณัง ปะริโยสานะกัลย๎ าณัง สาต๎ถงั สะพ๎ยญ ั ชะนัง
เกวะละปะริปณ ุ ณัง ปะริสทุ ธัง พ๎รหั ม๎ ะจะริยงั ปะกาเสสิ โส ปะระมะสีตะละ-
หะทะโย สันตินท๎ริโย หิตานุกัมป ทะยาลุ วะรัญ\ู วะระโท วะราหะโร
อะนุตตะโร อะโนโม สิรโิ ก ยะถารูโปป โลกัตถัง โสเธติ ตัสเสวะ สัมมา-
สัมพุทธัสสะ เอตานิ มะหิทธิกานิ มะหาเตชานิ มะหาพะลานิ มะหานุภาวานิ
โหนตุ เยวะ สัพพะกาลัง ยาวะ สาสะนันตะระธานาติ
(หยุด)
(จบภาคตน)
๏ ภาคปลาย ๏
สัทธัมโม ปะนะ เยนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา สัมมา-
สัมพุทเธนะ เทสิโต สันทิฏฐิกาทิคณ ุ ะสัมปตติ วิราชิโต นิยยานิโก คัมภีโร
อะตักกาวะจะโร วิสทุ โธ มะทะนิมมะทะโน ปปาสะวินะโย อาละยะสะมุคฆาโต
วัฏฏhปจ เฉโท อิจเจวะมาทิคณ ุ ะ สัมปตติยตุ โต ตัสเสวะ สัทธัมมัสสะ เทสะกัสสะ
สัมมาสัมพุทธัสสะ เอตานิ ตาทิสานิ มะหาเตชานิ ภะวันตุ สัพพะทา
(หยุด)
212 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะริยะสังโฆ ปะนะ ยัสสะ ภะคะวะโต ชานะโต ปสสะโต อะระหะโต
สัมมาสัมพุทธัสสะ สาวะโก สุปะฏิปน โน สัมมาปะฏิปน โน อุชปุ ะฏิปน โน
ญายะปะฏิปน โน สามีจปิ ะฏิปน โน อาหุเนยยะตาทิคณ ุ ะสัมปะทาสุ วิราชิโต
สุวสิ ทุ ธิจติ โต สันตินท๎รโิ ย สีละสัมปนโน สะมาธิสมั ปนโน ปญญาสัมปนโน
วิมตุ ติสมั ปนโน วิมตุ ติญาณะทัสสะนะสัมปนโน สัตตานัง สาโร อิจเจวะมาทิ-
คุณะสัมปตติยตุ โต ตัสเสวะ อะริยะสัง ฆัสสะ คุรโุ น สัมมาสัมพุทธัสสะ เอตานิ
ตาทิสานิ เอวะ มะหาเตชานิ สุระนะระหิตานิ ภะวันตุ สัพพะทาติ๚
(หยุด)
(พุทธะรูปาภิเสกวิธี สะมัตตา)
เอกะพุทโธ วิยะ มะหาเตชานิ มะหานุภาวานิ โหนตุเยวะ โย โส
ภะคะวา อะนันตะญาโณ กะรุณากะโร ทีปง กะระสัมมาสัมพุทธัสสะ ปาทะมูเล
ลัทธัพ๎ยากะระโณ กัปปะสะหัสสาธิกานิ จัตตาริ อะสังเขยยานิ สะมัตติงสะ
ปาระมิโย ปูเรต๎วา สัพพัญ\ุ ตัมปตโต โลเก พุทโธ ชาโต ฯ ตัสสะ ปาเทป
นะมามิ สัมพุทธัสสะ สิรีมะโต ๚

(คาถาปฐยาวัตร)
สัทธัมมัญจัสสะ ปูชามิ กะริง สังฆัสสะ จัญชะลิง
โย เสฏโฐ ภะคะวา พุทโธ ตัสสะ คุโณ อะนันตะโก
สัพเพ คุณา มะหันตาป พุทธะรูเปสุ ตาทิโน
ยะทา สัพพัญ\ุ ตัมปตโต ตัสสะ ญาณัง อะนันตะกัง
ตัง สัพพัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
ปะฏิสัมภิทา จะตัสโส สา จะ สาธาระณานิ จะ
เวสารัชชานิ จัตตาริ จัตตาฬสะ จะ วัตถุกา
สัตตะสัตตะติกา ญาณะ- วัตถูนิ อะปะรานิป
สัพเพ ญาณะมะหันตาป พุทธะรูเปสุ ตาทิโน
สีละสะมาธิการุญญา วิมุตติ จะ อะนันตะกา
สัพเพ เต พุทธะรูเปสุ ติฏฐันตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 213

โพธิมูลัมหิ สัตตาเห ยัง ธัมมัง สะมะนุสสะริ


โส ธัมโม พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
เยนะ ญาเณนะ โส สัตถา อะกาสิ ปาฏิหาริยัง
เทวานัง กังขัจเฉทายะ ธาตุกัง พุทธะรูปะกัง
เจติยัง อะนิมิสสัญจะ อะกาสิ ปะฏิปูชิตัง
ปลลังกัง โพธิรุกขัญจะ เยนะ ญาเณนะ โส ชิโน
ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
จังกะเม จังกะมันตัสสะ โย คุโณ ชายะเต ตะทา
โส คุโณ พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
ระตะนาคาเร สัตตาเห อะภิธัมมัง อะนุสสะริ
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ
นิโคร๎ธะอะชะปาลัมหิ สัตตาเห โส มะหามุนิ
คุณัง อะละภิ โส ตัสสะ พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ
มุจจะลินทัมหิ สัตตาเห โย คุโณ วิชชะตี ตะทา
โส คุโณ พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
ราชายะตะเน สัตตาเห ยัง คุณัง ละภะเต ชิโน
โส คุโณ พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
ปุนาคันต๎วา อะชะปาลัง นิสีทิต๎วา อะเทสิตัง
จิตตัง อุปาทะยิ พุทโธ ธัมมักขันเธ อะเสสะโต
สัพเพ เต พุทธะรูเปสุ ติฏฐันตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
ตะทา พ๎รัห๎มาป อาคันต๎วา สัมพุทธัง อะภิวาทะยิ
สัตตานัง อะนุกัมปายะ เทเสตุ ธัมมะมุตตะมัง
ปะฏิญญัง เทติ โส สัตถา พ๎รัห๎มุโน ธัมมะเทสะนัง
โส ธัมโม พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
พาราณะสิม๎หิ คัจฉันโต ธัมมะจักกัง อะเทสะยิ
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
214 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิสิปะตะเน นาเมวะ มิคะทาเย วะสัง ชิโน
ยะสาทิเก กุละปุตเต สะหาเยนะ ปพพาชิยะ
สัพเพสัง อะนุกัมปายะ อะระหัตตัง อะทาสิ โส
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
กัปปาสิกันตะรา เขตเต ภัททะวัคเค สะหายะเก
โอวะทิต๎วา ปพพาเชต๎วา อะระหัตตัง อะทาสิ โส
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง ชินะพิมเพสุ ติฏฐะตุ ๚
อุรุเวลัง ชิโน คันต๎วา อัจเฉรัง ปาฏิหาริยัง
กัต๎วานะ ชะฏิเล ตัตถะ วิเนต๎วา กัสสะปาทิเก
ปพพาเชต๎วา อะระหัตตัง อะทาสิ กะรุณากะโร
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง ชินะพิมเพสุ ติฏฐะตุ ๚
สะสาวะโก ชิโน คันต๎วา รัมมัง ราชะคะหัง ปุรัง
ราชุยยาเน วะสิต๎วา โส อะภาสิ ธัมมะมุตตะมัง
โส ธัมโม พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
อัญเญ จะ พิมพิสารัญจะ วิเนนโต โส มะหามุนิ
ตะถาคะโต สัตถา โลเก ปาเปสิ ผะละมุตตะมัง
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
กะปละวัตถุง คันต๎วานะ ทะเมตุง ญาตะเก ชะเน
วะราสะเน นิสีทิต๎วา ญาตีนัง มานะเจตะนัง
ญัต๎วานะ จะ ปะสาเทตุง อัพภุคคันต๎วา นะเภ ตะเล
จังกะมัง ตัตถะ มาเปสิ วิสุทธัง ระตะนามะยัง
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
นิสีทิต๎วา มะหาวีโร จังกะเม ระตะนามะเย
นิมมินิต๎วา พุทธะรูปง โส อัตตะนา สะทิสัง วะรัง
ปุจฉาเปต๎วา มะหาปญเห วิสัชเชสิ มะหามุนิ
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 215

โอตะริต๎วา คะคะนัมหา นิสีทิต๎วา วะราสะเน


ทะเมติ ญาตะเก สัพเพ วันทาเปต๎วา มะหายะโส
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
ปุนาคันต๎วา ราชะคะหัง ลัฏgุยยาเน วะสัง ชิโน
ปะติฏฐะเปสิ สุทธัตตัง ปะฐะเม ผะละมุตตะเม
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะพิมเพสุ ติฏฐะตุ ๚
ตะทา โส สาวัตถิง คันต๎วา ตัสสะ เชตะวะนัง อะทา
ปะฏิคคะเหสิ อารามัง ธัมมัง เทเสติ จักขุมา
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
ยะทา อะกาสิ ภะคะวา ยะมะกัง ปาฏิหาริยัง
คัณฑาม๎พะรุกขะมูลัม๎หิ สัพพะโลเก อะสาทิสัง
ตะทา ติตถิยะกา สัพเพ ปะลายันติ ทิสาทิสัง
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
ปาฏิเหรา วะสานัมหิ วะสันโต ติทะสาละเย
อะภิธัมมัง อะเทเสสิ เทวานัง มาตุยาป จะ
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
โอตะรัง เทวะโลกัม๎หา โสปาเณ ระตะนามะเย
ปูชิโต เทวะพ๎รัห๎เมหิ สังกัสสะนะคะรัง ตะทา
โลกะวิวะระณัง นามะ อัจเฉรัง ปาฏิหาริยัง
ทัสเสสิ ญาณะเตเชนะ เทวะสังเฆ สะมานุเส
เยนะ ญาเณนะ ตัง ญาณัง พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ๚
ปญจะตาฬสะ วัสสานิ ยัตถะ ยัตถะ จะ ชันตุนัง
หิตายะ จะ สุขายะ จะ ยัง ยัง ธัมมัง อะเทสะยิ
โส สัพโพ พุทธะรูเปสุ ติฏฐะตุ ยาวะ สาสะนัง ๚
216 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(คาถาอินทรวิเชียร)
กัต๎วานะ พุทโธ วะระพุทธะกิจโจ
ธัมมัง วะรัง อันธะตะมัง วินาสะยัง
ทุกขักขะยัง อัตตะปะรัสสะ ธัมมัง
ปตโต วิสิฏฐัง อะนุปาทิเสสัง
ฐะเปสิ พุทโธ วะระพุทธะรูปง
สะสาสะนัง ปญจะสะหัสสะมัตตัง
เทเว มะนุสเส ตะระณายะ โอฆา
เตสัญจะ อัตถายะ หิตายะ นาโถ
เย เทวา วา มะนุสสา วา สินทะพ๎รัห๎มา สะมาระกา
โพธิสัตโตวะ อัม๎หากัง เตมิโย นามะ ปณฑิโต
อะติฏฐานัง ถิรัง กัต๎วา นิกขัมมะ อิสิ ปพพะชิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง ชะนะโก นามะ ปณฑิโต
วิริยัง สุถิรัง กัต๎วา สะมุททัง อะตะริ ตะทา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง สาโม นามาสิ ปณฑิโต
มาตาเปติภะโร วะสัง เมตตายะ ปะวะเน ตะทา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง เนมิ นามาสิ ปณฑิโต
อัส๎มา โลกา ทิวัง คันต๎วา ทิพพะกาเม อะภุญชะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง มะโหสะโถติ วิสสุโต
นานาปญเห วิสัชเชสิ เวเหทัสสะ ยะสัสสิโน
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 217

โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง ภูริทัตโต มะหิทธิโก


นาคะโลกัง ชะหิต๎วานะ สีละรักขายะ นิกขะมิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง จันทะกุมาระนามะโก
มุญจิต๎วา ยัญญะวาฏัมหา ราชา อาสิ มะหัพพะโล
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง วิธุโร นามะ ปณฑิโต
เทเสสิ ปะวะรัง ธัมมัง ราชูนัง สีละรักขะนัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิสัตโต วะ อัม๎หากัง เวสสันตะโร จะ ขัตติโย
มะหาทานัง จะ ทัต๎วานะ นิกขันโต นะคะรา ตะทา
วะสันโต อัสสะเม ปะเท อะทาสิ ปุตตะทาระเก
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
เวสสันตะโร มะหาราชา นิกขะมิต๎วา นะคะรา คะโต
รัชชะสุขัง นะ ภุญชิต๎วา อะทาสิ ระตะนาทิกัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
จะวิต๎วานะ ตะโต ราชา อุปปชชิ ตุสิเต ปุเร
ทิพพะสุขัง อะนุโภนโต จิรัง สัคเค ปะโมทะติ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
จะวิต๎วานะ ตะโต กายา โอกกันโต มาตุกุจฉิยัง
มะหาอัจฉะริยัง อาสิ อาสาฬ๎หะปุณณะมีทิเน
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
มาตุกุจฉิคะโต สันโต โมทะยันโต มะหายะโส
ปลลังเกนะ นิสีทิต๎วา อะภิมุโข จุทิสสะติ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
218 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
นิกขันโต มาตุยา คัพภา โอตะริ ปาทะปงกะเช
วิสาขะปุณณะมีทิเน วะเน ลุมพินินามะเก
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อุตตะราภิมุโข สัตตะปะเท วีติกกันโต มะหายะโส
อะภาสิ อาสะภิวาจัง อัคโค เสฏโฐติอาทินา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
วิญ\ุ ปปตโต มะหาวีโร รัชชะสุขัง อะนุภะวิ
อุยยานา นิกขะมันโต โส อัททะสะ พ๎รัห๎มะนิมิตตัง
สังเวคัง ละภะมาโน โส นิวัตตะติ มะหายะโส
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
จะตุตถัง เทวะทูตัง จะ โสมะนัสสัง ปะเวทะยิ
ทิวะสัง ตัตถะ กีฬนโต ปาวิสิ นะคะรัง สุภัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปาสาทัง อะภิรุย๎หันโต นิปชชิ สัก๎ยะปุงคะโว
นิททัง โอกกะมันตานัง วิรูปง นาฏะกิตถินัง
นิพพิชชิต๎วา มะหาวีโร นิกขะมิ ปุตตะปสสิตุง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ทิส๎วานะ ปุตตะสุตตันตัง คันต๎วานะ สะยะนันติกัง
กัปเปต๎วา กัณฐะกัง อัสสัง ปณญัตตัง วะระสินธะวัง
อารุย๎หิต๎วา มะหาวีโร นิกขะมิ พุชฌิตุง ตะทา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปต๎วานะ รัชชะสีมัง โส ฐัต๎วาโนมะนะทีติเร
อุยโยเชต๎วา กัณฐะกัง ฉันนัง โมลิง เฉต๎วา มะหายะโส
ขิปต๎วา อันตะลิกเข โส อะธิฏฐาเนนะ ติฏฐะติ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 219

อากาเส สุคะตะโมลิ สัมปะฏิจฉิ สุราทิโป


ฐะเปติ เทวะโลกัส๎มิง เทวานัง อะภิปูชิตุง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปพพัชชายะ นะมะนัสสะ สะหาโย ฆะฏิการะโก
อาเนต๎วาฏฐะปะริกขารัง อะทาสิ มุนิโน ตะทา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
คะเหต๎วา โส มะหาพ๎รัห๎มา นิวัตถัง วะระกาสิกัง
ฐะเปต๎วา พ๎รัห๎มะโลกัส๎มิง พ๎รัห๎มานัง อะภิปูชิตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปพพะชิต๎วา มะหาวีโร คันต๎วา ราชะคะหัง ปุรัง
นะคะเร โกลาหะลัง อาสิ พ๎รัห๎มานาคาติ อาทินา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปสสิต๎วา มะหาวีรัง รัญโญ อาจิกขิ มะหาชะโน
เปเสต๎วา ราชะทูตัง โส วะสิตุง ธีระมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปณฑะวะฉายายะ นิสินนัง ภุญชะมานัง มะหายะสัง
คันต๎วา ทูตัสสะ วุตเตนะ อัททะสะ มาคะธิสสะโร
นิมันตะยิตถะ รัชเชนะ สักกัจเจนาภิวาทิยะ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปะฏิกขิป วะรัง รัชชัง รัญญา ทินนัง มะหายะโส
คะหิตะปะฏิญโญ ธีโร ยะทิ พุทโธติ อาทินา
มะมะ สีมัง ปะฐะมาคัจฉะ อาทิสิ สัก๎ยะปุงคะโว
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อะนุกกะเมนะ โส ธีโร กัต๎วา ทุกกะระการิกัง
สุชาตาทินนะปายาสัง ปะภุญเชสิ นะทีติเร
ปะวาเหต๎วานะ ตัง ปาฏิง ปะฏิโสตัง อะคัญฉิ สา
220 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
นิมมุชชิ ปาฏิยา เหฏฐา กัสสะปสสะ มะเหสิโน
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โพธิมัณฑัง สะมารุย๎หะ เทวะคันธัพพะปูชิโต
โสตถิเยนะ ทินนัง ติณัง อะวัตถะริ มะหายะโส
จุททะสะหัตถัปปะมาณัง ปลลังกัง อุกกะมิต๎วา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปลลังเกตถะ นิสีทิต๎วา โสภะมาโน มะหายะโส
สัพเพ มาเร ปะราเชต๎วา นิสินโน อะจะลาสะเน
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปะฐะมะยาเม ปตเต วะ ปุพเพนิวาสะมะนุสสะริ
เอวัง นามะ ปะริยาโย เอวัง โคตโตติอาทินา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
มัชฌิมะยาเม ปตเต วะ ทิพพะจักขุง วิโสธะยิ
ติโรกุฑฑัง ติโรเสลัง ฆะระมัชเฌวะ ปสสะติ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปจฉิมะยาเม ปตเต วะ สัมมะสันโต ปุนัปปุนัง
พุททะสัง ปจจะยาการัง สัมมัปปญญายะ ปสสะติ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
เสตารุโณติ วัตตัพโพ สัมโพธิง โส วินายะโท
สัมพุชฌิ ญาณะลังการัง วิสาขะปุณณะมีทิเน
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสันติ อาทินา
อุทานัง นิจฉะเรนโต โส โลกะนาโถ มะหามุนิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อะนิมมิเสหิ อักขีหิ ปลลังกัง โส วิโลกะยิ
อะนิมมิสัง วะรัง เจติ วุตตัฏฐานัง กะวีหิตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 221

จังกะมันโต มะหาวีโร อันตะเร โพธินิมมิสสัง


จังกะมัง ระตะนัง นาม วุตตัฏฐานัง มะเหสินา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อะปะรา ตัตถะมาเปสุง ฆะรัง ระตะนะนามะกัง
นิสีทิต๎วา มะหาวีโร สัมมะสันโต ปุนัปปุนัง
สัตตัพพิธัง อะภิธัมมัง คัมภีรัง สุขุมัง นะยัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
นิโค๎รธัส๎มิง อะชะปาเล นิสินโน โส มะหามุนิ
วิมุตติง อะนุภะวันโต สัตตาหัง วีตินามะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
มุจจะลินเท นิสินโน โส เทวะพ๎รัห๎มาภิปูชิโต
สะมาธิชัง สุขัง ปต๎วา สัตตาหัง วีตินามะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ราชายะตะนะมูลัส๎มิง นิสินโน สัก๎ยะปุงคะโว
ผะละสุขัง ระสัง ปต๎วา สัตตาหัง วีตินามะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ตัตเถวะ โส มะหาวีโร นิสินโน สุชะนัปปโย
ปะฏิคคะเหสิ มันถัญจะ ตะปุสสะภัลลิกานิตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โลกะปาลา มะหาราชาโน อาเนต๎วา วะระเสละกัง
อะทังสุ มุนิโน ปตตัง อะธิฏฐาเนนะ เอกะกัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ธัมมะจักกัง ปะวัตเตนโต คันต๎วานะ กาสินัง ปุรัง
อุปะเกนะ ปะวัตโต โส มาทิโสหัง ชิโน พ๎ระวิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
222 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
มิคะทาเย มะหุยยาเน อิสิปะตะนะนามะเก
ธัมมะจักกัง ปะวัตเตสิ นะระสะราภิปูชิโต
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปะวัตติเต วะระจักเก ภุมมา เทวา จ มานุสา
สาเวสุง อัตตะโน สัททัง พ๎รัห๎มะโลกัง อะคัญฉิ โส
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
เวยยากะระเณ ภัญญะมาเน พ๎รัห๎มาฏฐาระสะโกฏิโย
ปวิงสุ อะมะตัง ปานัง โกณฑัญญะปะมุขา ตะทา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ยะสาทิเก กุละปุตเต วิเนนโต โส มะหามุนิ
ปาเยสิ อะมะตัง ปานัง มิคะทาเย อิสิปะตะเน
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ภัททะวัคเค กุละปุตเต วิเนนโต สัก๎ยะปุงคะโว
กัปปาสิกันตะรา เขตเต ปาเยสิ อะมะตัง ระสัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปะฏิญญัง โมจะนัตถายะ คันต๎วา ราชะคะหัง ปุรัง
พิมพิสารัง วีเนนโต โส ปาเยสิ อะมะตัง ระสัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อุรุเวลาทิกัสสะเป ชะฏิเล อัคคิตาปะเน
วิเนนโต นานุปาเยหิ ปาเยสิ อะมะตัง ระสัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปงสุกูลัง กิมิปูรัง คัณหาติ โส มะหามุนิ
คัณหิเต ปะฐะวี นัมป สาธุการัง ปะวัตตะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
โปกขะระณิยัง ตะทา ชิโน โธวิ ปงสุกุลัง วะรัง
ปาสาเณ ปตถะริต๎วานะ สุขาเปสิ มะหายะโส
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 223

คัณฑาม๎พะรุกขะมูลัส๎มิง อาภาสิ ทีปะทุตตะโม


ติตถีนัง นิมมะทะนัตถัง ปาฏิเหรัง มะหายะโส
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
จังกะมัง มาปะยิ ธีโร อายามะจักกะวาฬะกัง
นิสีทิต๎วา มะหาวีโร เทเสสิ ธัมมะมุตตะมัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปาฏิเหรัง กะริต๎วานะ จังกะเม ระตะนามะเย
อุคคัญฉิ ตาวะติงสัญจะ เทวะตานัง สุลุจจะเย
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
สิลาสะเน นิสินโน โส ปณฑุกัมพะละนามะเก
เตมาสัง เทสะยิ ธัมมัง เทวานัง ปะริฉัตตะเก
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปกกันโต อุตตะระกุรุง ปณฑัตถายะ มะหามุนิ
ปณฑะปาตัง คะเหต๎วานะ อันธะวะเน จะ ภุญชะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
จิต๎ระนะยัง วินะยันโต วินะเย กุสะโลนะยัง
สิกขาปะทัง ปญญาเปสิ ภิกขูนัง สีละรักขะนัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
วัณเณนโต หิตะจะริยัง อะปณณะกาทิชาตะกัง
ตัง ตัง ปุคคะละมาคัมมะ เทเสสิ สัก๎ยะปุงคะโว
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อะปณณะกาทิชาตะกัง ปญจะสะตัง มะหามุนิ
เทเสสิ อะป ปญญายะ สัตตานัง หิตะการะณัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ติกขัตตุง ลังกาทีปง โส สัมปตโต สัก๎ยะปุงคะโว
ทัสเสสิ นาคะวัคคัส๎มิง ปะทะลักขะณะสัญจิตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
224 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ท๎วิปะเภทัง ติปะเภทัง ปุนะ ติเภทะนัง ตะถา
ยัง ยัง เทวะมะนุสสานัง เทเสสิ ธัมมะมุตตะมัง
สัพพันตัง เอกะระสัญจะ สุนิโรธะระสัญจิตัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ท๎วิปะเภทัง ติปะเภทัง ปุนะ ติเภทะนัง ตะถา
ติปฏะกะมัชชะปาณินา เทสิตาทิจจะพันธุนา
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
นิกายัง ปญจะนะวังคัง สัพพันตัง พุทธะเทสิตัง
ธัมมักขันธัง จะตูสีติ- สะหัสสัญจะ ตะถา ปุนะ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ราหุเล เทวะทัตเต จะ สะมัง เมตตายะ ผะระติ
ปาริเลยยะธะนะปาเล สะมะจิตเตนะ ปตถะริ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
มิจฉาทิฏฐี พะกะพ๎รัห๎มัง วินะยันโต มะหามุนิ
ทิฏฐิชาลัง ปะธังสิต๎วา สัมมามัคเค ปฏฐาปะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
อาฬะวะกัง มะหายักขัง ทุททะมัง ผะรุสัง มุนิ
วินะยิต๎วา มะหาวีโร โสตามัคคัง ปะทัสสะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ขีณายุกัง สุระอินทัง ละภาเปต๎วานะ อายุกัง
ธัมมะจักขุญจะ ปาเปสิ ปญหาวิสัชชะเนนะ จะ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปญจะตาฬสะวัสสานิ โพธยันโต มะหามุนิ
คัณฐันโต ปุปผะทามัง วา ธัมมะวัสสัง ปะวัตตะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 225

สัมพุทโธ ธะระมาโน วะ โสเธติ มุนิปุงคะโว


อิเม ปญจะวิเธ กิจเจ ปณฑะปาตาทิจะระเณ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ยะมะกะสาลานะมันตะเร นิพพุโต โส มะหามุนิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ปญจะ วัสสะสะหัสสานิ สาสะนัง โส ปฏฐาปะยิ
ขีณาสะวาหิ เขตตัตถัง สัตตานัง สุขะเหตุกัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
จะตุวีสาสังเขยยานิ สัฏฐิญจะ สะตะโกฏิโย
ปาณะสะตะสะหัสสานิ สัมพุทโธ วะ ปะโมทะยิ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
สัพพา ตา ธาตุโย สัตตา เตสุ เตสุ จะ ปตถะริ
นะระเทวาทิอัตถายะ ชาติเขตตาทิเกสุ จะ
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
พุทธะเวสัง คะเหต๎วานะ โทณะมัตตา วะ ธาตุโย
อัพภุคคันต๎วานะ อากาสัง อะกังสุ ปาฏิหาริยัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
ธัมมาโสโก มะหาราชา โพธิสาขัง ปะเลขะยิ
มะโนสิลาหะริเตนะ อะธิฏฐาเนนะ สัตถุโน
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
พุทธะเวสัง ปะวัตเตต๎วา สัพพา ตา สัตถุ ธาตุโย
สัมปนนา ฉะหิ รังสีหิ ธัมมะกะถัง ปะวัตเตยยุง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
เทวา พ๎รัห๎มา มะหาเตชา สะมาคันต๎วานะ สัพพะโส
สุณิต๎วา สัตถุโน ธัมมัง ปวิสุง อะมะตัง ระสัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
226 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
เตโชธาตุ สะมุฏฐายะ ฌาปะยิ วะระธาตุโย
อุคคัณหิต๎วา เทวะโลกัง อันตะระธายิ อะเสสะโต
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
เทวะคะณา มะหาพ๎รัห๎มา ปคคัณหิต๎วานะ อัญชะลิง
สาสะนัง อันตะระหิตัง สังเวคัง สัมปะวัฏเฏยยุง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง ๚
วันทามิ ปะฐะมัง ตัสสะ ปะณิธานัง อะจินติตัง
จักกะวาฬมหิ สัพเพหิ ชีวะมาเนหิ วัตถูหิ
ทะสันตัง ปาระมีนันตัง ปูริตัฏฐานะมุตตะมัง
ตะโต สาละวะเน รัมเม ชาตัฏฐานะจะรีมะกัง
ฉัพพัสสานิ ปะธานัมหิ กะตัง ทุกกะระการิกัง
อะปะราชิตะปลลังกัง พุทธะคุเณ ตะถา วุตตัง
จุททะสะพุทธะญาณัญจะ อัฏฐาระสะอาเวณิกัง
ปูเชมิ ทะสะพะลัญญาณัง จะตุเวสารัชชะมุตตะมัง
อาสะยานุสะยะญาณัง อินท๎ริยานัง ปะโรปะริยัง
ยะมะกัง ปาฏิเหรัญจะ ญาณัง สัมปะยุตตัมป จะ
มะหากะรุณาสะมาปตติ ญาณะมัณฑะวะรัง นะเม
สา สาธาระณัญญาเณนะ นัต๎วานะ ปูชะยามะหัง
ตะโต จะ สัตตะ สัตตาเห ธัมมัง สัมมะสิตัง นะเม
พ๎รัห๎มุนา ยาจิตัฏฐานัง ธัมมัง เทเสตุมุตตะมัง
อิสิปะตะเน มิคะทาเย ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง
ตะโต เวฬุวะนาราเม ฐานัญจะ ปูชะยามะหัง
ตะโต เชตะวะนารามัง จิระวุฏฐัง มะเหสินา
อะสาธาระณะมัญเญสัง ยะมะกะปาฏิหาริยัง
ปาริฉัตตะกะมูลัมหิ อะภิธัมมัญจะ เทสะนัง
สังกัสสะนะคะรัท๎วาเร เทโวโรหะณะกัมป จะ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 227

ตะโต จะ หิมะวันตัส๎มิง มะหาสัทธัมมะเทสะนัง


จะตุราสีติสะหัสเสหิ ธัมมักขันเธหิ สังคะหัง
ปฏะกัต๎ยัง ยะถาวุตตัง วิวิธัง ปูชะยามะหัง
มารัสสะ อัตตะโน อายุ- สังขาระสัชชะนัง นะเม
กุสินารายะ มัลลานัง ยะมะกะสาลานะมันตะเร
ปะณิธานัมป ปฏฐายะ กะตะกิจจะมะเสสะโต
ทิฏฐาเปต๎วานะ โส สัพพัง ปะรินิพพายิ อะนาสะโว
เอวัง นิพพายะมานัสสะ กะตะกิจจัสสะ ตาทิโน
วิคะตา มะหากะรุณา สายัง นิพพายิ กิญจิป
ธัมโม จะ วินะโย เจวะ เทสิโต สาธุกัง มะยา
มะมัจจะเยนะ โส สัตถา ธาตุญจาป สะรีระชัง
อะปะราชิตะปลลังกัง โพธิรุกขัญจะ อุตตะมัง
มะมัจจะเยนะ โส สัตถา อะนุชานิ มะหามุนิ
มะมัฏฐาเน ฐะเปต๎วานะ ธาตุโพธิญจะ ปูชิตุง
อะนุชานามิ ตุม๎หากัง สาสะนัตถัง สิวัง วะรัง
ตัส๎มา หิตัสสะ สัทธัมมัง อุคคัณ๎หิต๎วา ยะถา ตะทา
โย ตัง เทสะยิ สัมพุทโธ นัต๎วานะ ปูชะยามะหัง
ตัส๎มา สาสะปะมัตตัมป ชินะธาตุ อะเสสะยิ
วิติณณะจักกะวาฬมหิ นัต๎วานะ ปูชะยามะหัง
ปะรัมปะราภะตานัมป ชะยะมะหาโพธิรุกขะโต
สัพเพ สัมโพธิรุกขานัง นัต๎วานะ ปูชะยามะหัง
ยัง ปะริภัญชะยิ ภะคะวา ปตตะจีวะระมาทิกัง
สัพพัง ปะริโภคะธาตุง นัต๎วานะ ปูชะยามะหัง
ยัตถะ ยัตถะ สะยิโต โส นิสินโน จังกะมะติ วา
ปาทะตะลัญจะ นะมัง กัต๎วา ฐิโต นัต๎วานะ ปูชะยิง
นะ สัญชานันติ เย พุทธา เอวะรูโปติ ญาตะเว
228 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
กะตันตัง ปะฏิมัง สัพพัง นัต๎วานะ ปูชะยามะหัง
เอวัง พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจาป อะนุตตะรัง
จักกะวาฬม๎หิ สัพเพหิ วัตถูหิ ชะยามะหันติ ๚
ภะคะวะโต รูปะกายะโถมะนา พุทธาภิเสกะคาถา สมัตตา ๚
ปะริปุณณาติ ๚๛
(จบภาคปลาย)
๏ จบพระคาถาพุทธาภิเษกเพียงเทานี้ ๏

๏พระคาถาดับเทียนชัย๏
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ โน ชะยะมังคะลัง
ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา
สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ
อิทัมป พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง
ยะทัชฌะคา สัก๎ยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ
อิทัมป ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 229

ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง


สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ
อิทัมป ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา
จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา
เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬ๎เหนะ
นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัม๎หิ
เต ปตติปตตา อะมะตัง วิคัย๎หะ
ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ
ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง
วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัส๎มิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬ๎หิฉันทา
นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมป สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ

สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะสันตาปะวัชชิโต
สัพพะเวระมะติกกันโต ยะถา ทีโป จะ นิพพุโต๚๛
230 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ในระหวางสวดคาถาดับเทียนชัยนัน้ ก็ใหคนไปประจําฆอง กลอง ระฆัง
มะโหระทัก จุดพลุ บั้งไฟตระลัย ประทัดตางๆ ไว พระเถระผูเปนประธานสงฆ
ในพิธีกรรม ก็จะเอาใบพลู ๗ ใบนั้นไปดับเทียน เมื่อสวดจบทุกคนในสถานที่
พุทธาภิเษก จะตองเปลงเสียงดวยวาจาพรอมกันวา “สาธุ” จากนั้นคนประจํา
ฆอง กลอง ระฆัง หรือพลุเสียง อโหระทึกตางๆ ก็กระกอบกิจลั่นฆองตีกลอง
จุดพลุเสียงตลอดมะโหระทึกตางๆ เปนครัง้ แรก พอจบครัง้ แรก ก็เปลงเสียงทาง
วาจาวา “สาธุ” อีกเปนครั้งที่ ๒ ทําเหมือนกันรวมทั้งหมด ๓ ครั้ง สลับเสียง
ตีฆองลั่นระฆังหรือจุดพลุตลอดเสียงมะโหระทึกตางๆ จนครบ ๓ จบ จากนั้น
พระเถระประธานในพิธีจะโปรยขาวตอกดอกไมเปนลําดับตอไป
(โปรยขาวตอกดอกไม ประพรมนํ้าพระพุทธมนต เปนอันเสร็จพิธีกรรม)
สวดคาถา เบิกพระเนตร เปนลําดับตอไป
พอจบสวดพุทธาภิเษกแลว พระเถระผูเปนประธานในพิธีก็จะทําพิธี
ขั้นตอไปตามลําดับ ตอไปนี้
๑. เอาหญาคาออกจากฐานพระประธาน
๒. เอาผาที่ผูกพระศอ (คอ) ผูกพระชง (ขา) ผูกพระพาหา (ศอก)
ออกจากพระพุทธรูปหรือพระประธาน
๓. ตัดผาที่หอพระกายของพระพุทธรูปทั้งหมดออก พอเสร็จพระสงฆ
ในพิธีกรรมจะสวดคาถาเบิกพระเนตร
ในขณะที่พระสงฆสวดคาถาเบิกพระเนตร พระเถระประธานในพิธีก็จะเอา
ใบพลู ๕ ใบมาเช็ดทีพ่ ระเนตรพระพุทธรูปหรือพระประธานทีท่ าํ พิธพี ทุ ธาภิเษก
นั้น ทีละใบจนครบ ๕ ใบทั้งสองพระเนตรเบื้องซายและขวา (ความหมายของ
ใบพลู ๕ ใบคือ ๑. มังสะจักขุ (ตาเนื้อ) ๒. ทิพจักขุ (ตาทิพย) ๓. ปญญา-
จักขุ (ตาคือปญญา) ๔. พุทธจักขุ (ตาพระพุทธเจา) ๕. สะมันตะจักขุ (ตาที่
มองเห็นรอบดาน) คาถาสวดดังนี้คือ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 231

๏คาถา เบิกพระเนตร๏
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา ยะโต ปะชานาติ สะเหตุ ธัมมัง
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปโน ฌายะโต พ๎ราห๎มะณัสสะ
อะถัสสะ กังขา วะปะยันติ สัพพา ยะโต ขะยัง ปจจะยานัง อะเวทิ
ยะทา หะเว ปาตุภะวันติ ธัมมา อาตาปโน ฌายะโน พ๎ราห๎มะณัสสะ
วิธูปะยัง ติฏฐะติ มาระเสนัง สูโร วะ โอภาสะยะมันตะลิกขันติ๚๛

คาถาเบิกเนตรพระอีกแบบหนึ่ง
เบิกตา จักขุพุทธา ปะนะชายะเต วิโสธายิ
เบิกหู โสตะพุทธา ปะนะชายะเต วิโสธายิ
เบิกจมูก ฆานะพุทธา ปะนะชายะเต วิโสธายิ
เบิกปาก โอฏฐะพุทธา ปะนะชายะเต วิโสธายิ
เบิกหนาอก อุระพุทธา ปะนะชายะเต วิโสธายิ
เบิกเศียร สีสะพุทธา ปะนะชายะเต สัมภะโว อุปชชะติ
จงมาเกิดเปนองคพระในกาลบัดนี้เถิด๚๛

๏บททิพยมนต (สวดธาตุ)๏
๏ ความเปนมา ของการสวดทิพยมนต (สวดธาตุ)๏
ทิพยมนต บทสวดของทานพอลี ธัมมะธะโร บทนีไ้ ดเขียนเปนสายบรรทัดเครือ่ ง
จูงใจของผูปฏิบัติใหบรรลุถึงความบริสุทธิ์ เพราะมนตบทนี้ยอมใหผลดีแกผูที่
ทองบน เพราะเปนเรื่องในตัวของเราเอง ธรรมดาคนที่เกิดมายอมอาศัยอยูใน
ธาตุทั้ง ๖ ธาตุเหลานั้นสะสมขึ้นดวยการกระทําของตนเอง ดีบาง ชั่วบางเมื่อ
เปนเชนนี้ธาตุเหลานี้ยอมลงโทษแกผูอาศัยอยูเปรียบเหมือนกับเด็ก มันเปนสิ่ง
ที่คอยรบกวนใจอยูเสมอ
232 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ฉะนัน้ การสวดมนตกเ็ ทากับวาเราเลีย้ งเด็กบํารุงเด็กใหไดรบั ความสมบูรณ
เมื่อเด็กไดรับความสมบูรณเชนนั้นแลว ผูใหญยอมไดรับความสะดวกสบาย
ฉะนั้นถาใครเสกบนเทากับวา เราเลี้ยงเด็กแลวดวยอาหาร เรากลอมเด็กแลว
ดวยเพลงอันไพเราะ คือ พุทธคุณ อํานาจพุทธคุณนี้ อาจจะทําธาตุของตนให
บริสุทธิ์ขึ้นเปนธาตุกายสิทธิ์ เหมือนแรธาตุที่มีอยูในโลก ยอมแลนหรือดึงดูด
ถึงกันไดทกุ วินาที หรืเปรียบเสมือนสายไฟฟา สวนมนตคาถาทีส่ วดเปรียบเหมือน
กระแสไฟมุง ไปทิศใด ยอมถึงทีน่ นั้ ๆ อาจทีจ่ ะทําใหดนิ ฟาอากาศเปนมงคลเพราะ
มนตหมวดนี้เปนมนตกบิลฤาษีปนอยูดวยตามเรื่องที่เลาไว ดังนี้
ในอดีตกาล มีฤาษีตนหนึ่งไปเจริญทิพยมนต อยูในปาสัก ณ ประเทศ
อินเดียตามตํานานเลาวา ในปานัน้ เปนมหามงคล เชน ตนไมทงั้ หลายสับเปลีย่ น
กันเกิดดอกออกผล อยูตลอดทุกฤดูกาล มีนํ้าใสสะอาด สัตวตัวไหนเจ็บปวย
วิ่งผานเขาไปไดกินนํ้าในที่นั้น อาการปวยนั้นก็จะสูญสิ้นไป สัตวที่ดุรายและ
โหดรายเบียดเบียนกันเมือ่ เขาไปผานในสถานทีน่ นั้ ก็ราวกับวาเปนเพือ่ นเปนมิตร
กันเอง สัตวทั้งหลายก็อาศัยปานั้นอยูโดยความรื่นเริง ถาหากวาความตายจะมา
ถึงตนก็ตองดิ้นรนไปตายที่อื่น ในที่นี้พวกชาวศากยสกุลวงศของพระพุทธเจา
ไดไปตั้งเมืองหลวงในนั้นเรียกวา กรุงกบิลพัสดุ ซึ่งยังเปนบานเมืองมาจนบัดนี้
(เนปาล) นี่เกิดความศักดิ์สิทธิ์ซึ่งกบิลฤาษีไดไปเจริญทิพยมนตอยูในที่นั้น วิธี
เจริญของฤาษีตนนั้น
๏ วาระแรกเขาไดหันหนาไปทางทิศตะวันออกไดเจริญมนตหมวดนี้อยู
ตลอด ๗ วัน
๏ วาระที่ ๒ เขาหันหนาไปทางทิศอุดร
๏ วาระที่ ๓ เขาไดหันหนาไปทางทิศใต
๏ วาระที่ ๔ เขาไดหันหนาไปทางทิศตะวันตก
๏ วาระที่ ๕ เขาไดหันหนาลงไปทาง ใตพื้นปฐพี
๏ วาระที่ ๖ เขาไดยกมือแหงนหนาขึ้นไปในอากาศ ทําจิตใหสะอาดเอา
รัศมี ของดวงดาวเปนนิมิต
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 233

๏ วาระที่ ๗ เขาไดเจริญอานาปานปลอยลมของเขาเองออก ทุกทิศ


โดยอํานาจแหงกําลังจิตทีป่ ระกอบดวยพรหมวิหารทัง้ ๔ ทีเ่ รียกวา “ทิพยมนต”
ดังเลามานี้ตามเรื่องของชาวอินเดียเลาใหฟง ตอจากนั้นก็ใหนึกถึงพระพุทธเจา
ผูบริสุทธิ์ดวยคุณธรรมอันเลิศ จนพระองคสามารถจะเสกธาตุของพระองคเอง
ใหบริสุทธิ์ยิ่งกวาธาตุใดๆ เชน พระบรมธาตุอันเปนธาตุกายสิทธิ์ซึ่งมีปรากฏอยู
ในผูเคารพนับถือ ไดทราบขาววาเสด็จมาบาง เสด็จหนีบางซึ่งเปนสิ่งที่แปลก
ประหลาดมาก สิง่ เหลานีก้ ส็ าํ เร็จมาจากดวงจิตอันบริสทุ ธิน์ นั่ เอง เมือ่ จิตบริสทุ ธิ์
แลวธาตุทั้ง ๖ ก็พลอยบริสุทธิ์ไดดวย
เมือ่ ธาตุเหลานีเ้ นือ่ งอยูด ว ยโลก อาจจะทําโลกใหไดรบั ความชุม เย็นไป
ดวยก็ได เพราะธาตุทั้งหมดยอมตอเนื่องถึงกัน ถาพวกเราพุทธบริษัทตั้งใจ
ประพฤติปฏิบัติเชนนั้น เชื่อแนวาตองไดรับผลดีตามจํานวนของปริมาณ
ถาหากวาจิต มิไดฝก หัดในทางนี้ มัวแตสะสมความชัว่ ใสตน จิตก็ตอ งเดือดรอน
“จิตดีโลกก็ตองดี จิตชั่วโลกก็ตองชั่ว”
ฉะนั้นจึงไดเขียนแนวทางอบรมดวงจิตเพื่อสรางความรมเย็นตอไป.

๏ ทิพยมนต มนตของทานพอลี๏
(บทสวดธาตุ)
๏ สวดมนตดวยพระพุทธคุณตั้งธาตุทั้ง ๖
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธธัสสะ (๓ จบ)
๏ พุทธัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.
๏ ธัมมัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.
๏ สังฆัง อายุวัฑฒะนัง ชีวิตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ.
(แลววา ทุติยัมป, ตติยัมป, ฯลฯ ใหครบ ๓ รอบ)
234 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๏ หมวดธาตุลม ๓ ขอ ดังนี้
๑. วาโย จะ พุทธะคุณัง อะระหัง พุทโธ อิติปโส ภะคะวา นะมามิหัง.
๏ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติฯ
๒. วาโย จะ ธัมเมตัง อะระหัง พุทโธ อิติปโส ภะคะวา นะมามิหัง.
๏ ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปสสิโก
โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ\ู หีติฯ
๓. วาโย จะ สังฆานัง อะระหัง พุทโธ อิติปโน ภะคะวา นะมามิหัง.
๏ สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ ญายะปฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปนโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิ-
กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ
๏ ธาตุปะริสุทธานุภาเวนะ, สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วิมุจจันติ,
อิติอุทธะมะโธ ติริยัง สัพพะธิ สัพพัตตะตายะ สัพพาวันตัง โลกัง, เมตตา
กะรุณา มุทิตา อุเปกขา สะหะคะเตนะ เจตะสา, จะตุททิสัง ผะริต๎วา วิหะระติ,
สุขัง สุปะติ สุขัง ปะฏิพุชฌะติ, นะ ปาปะกัง สุปนัง ปสสะติ, มะนุสสานัง
ปโย โหติ, อะมะนุสสานัง ปโย โหติ, เทวะตา รักขันติ, นาสสะ อัคคิ วา วิสงั
วา สัตถัง วา กะมะติ, ตุวะฏัง จิตตัง สะมาธิยะติ, มุขะวัณโณ วิปปะสีทะติ,
อะสัมมุฬ๎โห กาลัง กะโรติ, อุตตะริง อัปปะฏิวิชฌันโต พ๎รัห๎มะโลกูปะโค โหติ,
อิติ อุทธะมะโธ ติริยัง อะเวรัง อะเวรา สุขะชีวโิ น, กะตัง ปุญญะผะลัง มัยหัง
สัพเพ ภาคี ภะวันตุ เต, ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สัพพะธัมมานุภาเวนะ สัพพะสังฆานุภาเวนะ โสตถี
โหนตุ นิรันตะรัง, อะระหัง พุทโธ อิติป โส ภะคะวา นะมามิหังฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 235

(วิธีเปลี่ยนธาตุ เหมือนขอตนทั้งหมด)
คือ ขอ ๑ พุทธคุณ ขอ ๒ ธรรมคุณ และขอ ๓ สังฆคุณ แลวตอดวยบท
“ธาตุปริสุทธานุภาเวนะ ฯลฯ” เปนการเปลี่ยนแตชื่อธาตุเทานั้น.

๏ หมวดธาตุไฟ
๑. เตโช จะ พุทธะคุณัง ฯลฯ
๒. เตโช จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
๓. เตโช จะ สังฆานัง ฯลฯ
๏ หมวดธาตุนํ้า
๑. อาโป จะ พุทธะคุณัง ฯลฯ
๒. อาโป จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
๓. อาโป จะ สังฆานัง ฯลฯ
๏ หมวดธาตุดิน
๑. ปะฐะวี จะ พุทธะคุณัง ฯลฯ
๒. ปะฐะวี จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
๓. ปะฐะวี จะ สังฆานัง ฯลฯ
๏ หมวดอากาศธาตุ
๑. อากาสา จะ พุทธะคุณัง ฯลฯ
๒. อากาสา จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
๓. อากาสา จะ สังฆานัง ฯลฯ
๏ หมวดวิญญาณธาตุ
๑. วิญญาณัญ จะ พุทธะคุณัง ฯลฯ
๒. วิญญาณัญ จะ ธัมเมตัง ฯลฯ
๓. วิญญาณัญ จะ สังฆานัง ฯลฯ
236 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ใหสนใจทองในหมวดตนใหแมนยํา สวนธาตุที่ตอมานั้นจะเขาใจและ
จํางาย เพราะเปนเรื่องเดียวกัน เพียงแตเปลี่ยนธาตุเทานั้น ธาตุทั้ง ๖ หมวดนี้
มีอยูในตัวของเราผูสวดทุกคน เพราะฉะนั้นเวลาสวดใหนึกถึงธาตุนั้นๆ ดวย
เชน ลม-สวนที่พัด ไปมา มีลมหายใจเปนตน ไฟ-ความอบอุน นํ้า-มีอาการ
เหลว ๆ ดิน-แข็ง อากาศ-ชองวาง วิญญาณ-ความรู ดังนี้เปนตน การสวดจึง
จะเปนประโยชนมาก.
อนึ่ง เมื่อจะสวดธาตุในพิธีอื่น เชนการสวดธาตุเพื่อเปนการเจริญอายุ
และจิตใจของผูปวย หรือสวดสลับในพิธีพุทธาภิเษกเปนตน นิยมสวดขันธ ๕
อายตนะ ๑๒ และ อาการ ๓๒ เพิ่มเติมดวย การสวดทํานองเดียวกับการสวด
ธาตุทกุ อยาง เปลีย่ นแต ชือ่ ขันธ อายตนะ และอาการ ๓๒ ไปดวยลําดับเทานัน้ .
๏ หมวดขันธ ๕
๑. รูปญจะ
๒. เวทะนา จะ
๓. สัญญา จะ
๔. สังขารา จะ
๕. วิญญาณัญจะ
๏ หมวดอายตนะ ๑๒
๑. จักขุ จะ
๒. โสตัญ จะ
๓. ฆานัญจะ
๔. ชิวหา จะ
๕. กาโย จะ
๖. มะโน จะ
๗. รูปญจะ
๘. สัทโท จะ
๙. คันโธ จะ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 237

๑๐. ระโส จะ
๑๑. โผฏฐัพพา จะ
๑๒. ธัมมารัมมะณัญจะ
๏ หมวดอาการ ๓๒
๑. เกสา จะ ๑๗. อันตะคุณัญจะ
๒. โลมา จะ ๑๘. อุทะริยัญจะ
๓. นะขา จะ ๑๙. กะรีสัญจะ
๔. ทันตา จะ ๒๐. มัตถะลุงคัญจะ
๕. ตะโจ จะ ๒๑. ปตตัญจะ
๖. มังสัญ จะ ๒๒. เสมหัญจะ
๗. นะหารู จะ ๒๓. ปุพโพ จะ
๘. อัฏฐี จะ ๒๔. โลหิตัญจะ
๙. อัฏฐิมิญชัญจะ ๒๕. เสโท จะ
๑๐. วักกัญจะ ๒๖. เมโท จะ
๑๑. หะทะยัญจะ ๒๗. อัสสุ จะ
๑๒. ยะกะนัญจะ ๒๘. วะสา จะ
๑๓. กิโลมะกัญจะ ๒๙. เขโฬ จะ
๑๔. ปหะกัญจะ ๓๐. สิงฆาณิกา จะ
๑๕. ปปผาสัญจะ ๓๑. ละสิกา จะ
๑๖. อันตัญจะ ๓๒. มุตตัญจะ

พระคาถาอาการวัตตาสูตร แบบสมบูรณ
(พุทธคุณแบบพิศดารและพระคาถาอาการวัตตาสูตร)
พระอาการวัตตาสูตรนี้ มีคณ ุ เกินพรรณนา เมือ่ บุคคลใดไดสวดทองสาธยาย
อยางตั้งมั่นตั้งใจทุกๆ วัน ก็จะมีอานุภาพมีมหาตบะเดชะตลอดทั้งยศอํานาจ
ลาภเมตตามหานิยมทัว่ ทุกสารทิศบัลดาลใหเกิดโภคสมบัติ บริวารสมบัตปิ ระกอบ
238 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ด ว ยอายุ วรรณะ สุ ข ะ พละตลอดจนบั ล ดาลตนเองให มี ฤ ทธิ์ มี โ ชค
มีสติปญญา และสามารถที่จะปองกันภัยอันตรายทั้งหลายไมใหมาแผวพาล
ผูเจริญสาธยายได จะคิดอะไรก็สําเร็จสมความปรารถนา ดวยอํานาจแหง
พระอาการวัตตาสูตรที่ตนไดสาธยายตลอดกาลนาน
(เพื่อความสมบูรณยิ่ง จึงสวดบทพระพุทธคุณโดยพิศดารคูกัน)
เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ คิชฌะกูเฏ
ปพพะเต เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ สัพพะสัตตานัง พุทธะคุโณ ธัมมะคุโณ
สังฆะคุโณ อายัส๎มา อานันโท อะนุรุทโธ สารีปุตโต โมคคัลลาโน มะหิทธิโก
มะหานุภาเวนะ สัตตานัง เอตะทะโวจะฯ

พระพุทธคุณโดยพิศดาร
(บทสวดคู พระอาการวัตตาสูตร)
อิติป โส ภะคะวา กัมมัฏฐานัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน (บางแหงวา
อะสุภะราปะ)
อิติป โส ภะคะวา ยะมะโลกา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะฐะวีธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อาโปธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา เตโชธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วาโยธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อากาสะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วิญญาณะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา โลกะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จักกะวาฬะธาตุ สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จาตุมหาราชิกา เทวา สัมมาวิชาจะระนะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ตาวะติงสา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ยามา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 239

อิติป โส ภะคะวา ตุสิตา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ


อิติป โส ภะคะวา นิมมานะระตี เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัมมาวิชชาจะระณะ สัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา พ๎รัห๎มะปะริสัชชา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา พ๎รัห๎มะปะโรหิตา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา มะหาพ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปะริตตาภา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา อัปปะมาณาภา พ๎รหั ม๎ า เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อาภัสสะรา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปะริตตะสุภา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา อัปปะมาณาสุภา พ๎รหั ม๎ า เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สุภะกิณหะกา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะสัญญิสัตตา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา เวหัปผะลา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะวิหา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะตัปปา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สุทัสสา พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สุทัสสี พ๎รัห๎มา เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา อะกะนิฏฐะกา พ๎รหั ม๎ า เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ พ๎รหั ม๎ าเทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโน ฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะ พ๎รหั ม๎ า เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะพ๎รหั ม๎ า เทวา สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ พ๎รหั ม๎ า เทวา สัมมาวิชชา-
จะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา โสตาปตติมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา โสตาปตติผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
240 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิติป โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะนาคามิมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะนาคามิผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคโค สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะระหัตตะผะโล สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา นิพพานัง ปะระมัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา นะโม เม สัพพะพุทธานัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา นะโม โพธิมุตตะนัง สัมมาวิชชาจะระณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ตัณหังกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา เมธังกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สะระนังกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ทีปงกะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา โกญฑัญโญ นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา มังคะโล นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สุมะโน นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา เรวะโต นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา โสภิโต นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อะโนมะ ทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปะทุโม นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา นาระโท นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปะทุมุตตะโร นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สุเมโธ นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สุชาโต นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปยะทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา อัตถะทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 241

อิติป โส ภะคะวา ธัมมะทัสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ


อิติป โส ภะคะวา สิทธัตโถ นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ติสโส นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปุสโส นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา วิปสสี นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สิขี นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา เวสสะภู นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา กะกุสันโธ นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา โกนาคะมะโน นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา กัสสะโป นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา โคตะโม นามะ ภะคะวา สะมาธิปญญาคุณะสัมปนโนฯ
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพพุคคะโต อิติป โส
ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระนะสัมปนโน ฯ สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ
โส อิมัง โลกัง สะเทวะวัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง
ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ โส ภะคะวา
จักขุภโู ต ญาณะภูโต ธัมมะภูโต ตัสสะทา ตัสสะทา ปะวัตตา อัสสะ ชะเนนตา
อะมะตัสสะ ทาตา ธัมมะสามิ ธัมมะราชา ธังมัง เทเสสิ อาทิกัล๎ยาณัง
มัชเฌกัลย๎ าณัง ปะริโยสานะกัลย๎ าณัง สาตถัง สะพ๎ยญ
ั ชะนัง เกวะละปะริปณ
ุ ณัง
ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ สาธุ โข ปะนะ ตะถารูปา
(หยุด)

๏คาถาอาการวัตตาสูตร๏
๑. อิติป โส ภะคะวา อะระหัง
อิติป โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ
อิติป โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สุคะโต
242 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิติป โส ภะคะวา โลกะวิทู
อิติป โส ภะคะวา อะนุตตะโรปุริสะธัมมะสาระถิ
อิติป โส ภะคะวา สัตถาเทวะมะนุสสานัง
อิติป โส ภะคะวา พุทโธ
อิติป โส ภะคะวา ภะคะวาติ
(พุทธะคุณะวัคโค ปะฐะโม)
๒. อิติป โส ภะคะวา อะภินิหาระ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อุฬารัชฌาสะยะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะณิธานะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา มะหากะรุณา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะโยคะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ยุติ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ชุติ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา คัพภะโอกกันติ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา คัพภะฐิติ ปาระมิสัมปนโน
(อะภินิหาระวัคโค ทุติโย)
๓. อิติป โส ภะคะวา คัพภะวุฏฐานะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา คัพภะมะละวิระหิตะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อุตตะมะชาติ ปาระมิสัมปนโน
(คัพภะวุฏฐานะวัคโค ตะติโย)
๔. อิติป โส ภะคะวา คะติ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะภิรูปะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สุวัณณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา มะหาสิริ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อาโรหะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะริณาหะ ปาระมิสัมปนโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 243

อิติป โส ภะคะวา สุนิฏฐะ ปาระมิสัมปนโน


(อะภิสัมโพธิวัคโค จะตุฏโฐ)
๕. อิติป โส ภะคะวา อะภิสัมโพธิ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สีละขันธะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สะมาธิขันธะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปญญาขันธะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ทะวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา มะหาปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปุถุปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา หาสะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ชะวะนะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ติกขะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา นิพเพธิกะปญญา ปาระมิสมั ปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปญจะจักขุ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะกะระ ปาระมิสัมปนโน
(มะหาปญญาวัคโค ปญจะโม)
๖. อิติป โส ภะคะวา ทานะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สีละ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วิริยะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ขันตี ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สัจจะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะธิษฐานะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา เมตตา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อุเปกขา ปาระมิสัมปนโน
244 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(ปาระมิวัคโค ฉัฏโฐ)
๗. อิติป โส ภะคะวา ทะสะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ทะสะอุปะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ทะสะปะระมัตถะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สะมะติงสะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ตังตังฌานะฌานังคะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะภิญญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สะติ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สะมาธิ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วิมุตติ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วิมุตติญาณะ ปาระมิสัมปนโน
(ทะสะปาระมิวัคโค สัตตะโม)
๘. อิตปิ  โส ภะคะวา วิชชาจะระณะวิปส สะนาวิชชา ปาระมิสมั ปนโน
อิติป โส ภะคะวา มะโนมะยิทธิวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อิทธิวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ทิพพะโสตะวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะระจิตตะวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จะระณะวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วิชชาจะระณะธัมมะวิชชา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะนุปุพพะวิหาระ ปาระมิสัมปนโน
(วิชชาวัคโค อัฏฐะโม) (หยุด)
๙. อิติป โส ภะคะวา ปะริญญานะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะหานะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปนโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 245

อิติป โส ภะคะวา ภาวะนา ปาระมิสัมปนโน


อิตปิ  โส ภะคะวา ปะริญญาปะหานะสัจฉิกริ ยิ าภาวะนา ปาระมิสมั ปนโน
อิติป โส ภะคะวา จะตุธัมมะสัจจะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปะฏิสัมภิทาญาณะ ปาระมิสัมปนโน
(ปะริญญานะวัคโค นะวะโม)
๑๐. อิติป โส ภะคะวา โพธิปกขิยะธัมมะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สะติปฏฐานะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สัมมัปปะธานะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อิทธิปาทะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อินท๎รียะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา พะละปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา โพชฌังคะปญญา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อัฏฐังคิกะมัคคะธัมมะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา มะหาปุริสะสัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะนาวะระณะวิโมกขะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละวิมุตติ ปาระมิสัมปนโน
(โพธิปกขิยะวัคโค ทะสะโม)
๑๑. อิติป โส ภะคะวา ทะสะพะละญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ฐานาฐานะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา กัมมะวิปากะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา นานาธาตุญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา นานาธิมุตติกะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อินท๎รียะปะโรปะริยัตติญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา นิโรธะวุฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
246 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อิติป โส ภะคะวา ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จุตูปะปาตะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
(ทะสะพะละญาณะวัคโค เอกาทะสะโม)
๑๒. อิติป โส ภะคะวา โกฏิสะหัสสานังปะโกฏิสะหัสสานังหัตถีนัง
พะละธะระปาระมิสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา ปุรสิ ะโกฏิทะสะสะหัสสานัง พะละธะระ ปาระมิสมั ปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปญจะจักขุญาณะ ปาระมิสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ยะมะกะญาณะ ปาระมิสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา สีละคุณะ ปาระมิสัมปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา คุณะปาระมิสะมาปตติ ปาระมิสัมปนโนฯ
(กายะพะละวัคโค ทะวาทะสะโม)
๑๓. อิติป โส ภะคะวา ถามะพะละ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ถามะพะละญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา พะละ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา พะละญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปุริสะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะตุละยะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อุสาหะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา คะเวสีญาณะ ปาระมิสัมปนโน
(ถามะพะละวัคโค เตระสะโม)
๑๔. อิติป โส ภะคะวา จะริยา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จะริยาญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยา ปาระมิสัมปนโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 247

อิติป โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปนโน


อิติป โส ภะคะวา ญาณัตถะจะริยา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ญาณัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา พุทธะจะริยา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา พุทธะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ติวิธะจะริยา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ปาระมิอุปะปาระมิปะระมัตถะ ปาระมิสัมปนโน
(จะริยาวัคโค จะตุระสะโม)
๑๕. อิติป โส ภะคะวา ปญจุปาทานักขันเธสุ อะนิจจะลักขะณะ
ปาระมิสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา ปญจุปาทานักขันเธสุ ทุกขะลักขะณะปาระมิสมั ปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา ปญจุปาทานักขันเธสุ อะนัตตะลักขะณะ ปาระมิ
สัมปนโน ฯ
อิติป โส ภะคะวา อายะตะเนสุ ติลักขะณะ ญาณะ ปาระมิสัมปนโนฯ
อิตปิ  โส ภะคะวา อัฏฐาระสะธาตูสุ ติลกั ขะณะญาณะปาระมิสมั ปนโนฯ
อิติป โส ภะคะวา วิปะริณามะลักขะณะ ปาระมิสัมปนโนฯ
(ลักขะณะวัคโค ปณณะระสะโม)
๑๖ . อิติป โส ภะคะวา คะตัฏฐานะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา คะตัฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วุสิตะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา วุสิตะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สิกขา ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สิกขาญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สังวะระ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สังวะระญาณะ ปาระมิสัมปนโน
248 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(คะตัตถานะวัคโค โสฬะสะโม)
๑๗ . อิติป โส ภะคะวา พุทธะปะเวณิ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา พุทธะปะเวณิญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จะตุพ๎รัห๎มะวิหาระ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะนาวะระณะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา อะปะริยันตะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา สัพพัญ\ุ ตะญาณะ ปาระมิสัมปนโน
อิติป โส ภะคะวา จะตุวีสะติโกฏิสะตะวะชิระญาณะ ปาระมิสัมปนโน
(ปะเวณิวัคโค สัตตะระสะโม) (หยุด)

อานุภาพของอุปปาตะสันติ (มหาสันติงหลวง)
ผูใดสวดหรือฟงอุปปาตะสันติ อันกลาวแลวดวยประการฉะนี้ บุคคล
นัน้ จะพึงชนะจากสิง่ ชัว่ รายทัง้ ปวง จะเจริญดวยคุณ ๕ ประการ คือ อายุ วรรณะ
สุขะ พละ และปฏิภาณ ความวิบัติยอมไมมาแผวพาน ยอมไดรับความอิ่มใจ
ในกาลทุกเมือ่ ยาพิษและศาสตราวุธยอมไมมากลํา้ กราย ยอมชนะขาศึกทัง้ มวล
โรคาพยาธิยอ มไมเบียดเบียน ยอมเจริญดวยทรัพยศฤงคาร ภัยจากมนุษย อมนุษย
และสัตวรายนอยใหญยอมสงบไปดวยเสียงแหงการสวดอุปปาตะสันติ ผูที่สวด
อุปปาตะสันติแลวอุทศิ ใหผทู ลี่ ว งลับไปก็ดี ทีย่ งั มีชวี ติ อยูก ด็ ี จะชวยใหเขาเหลา
นั้นพนจากมหันตทุกข ยอมเขาถึงสุขในกาลทุกเมื่อ ทวยเทพเทวดาทั้งหลาย
ทาวพระยามหากษัตริยทั้งหลาย จักเปนผูเจริญดวยเดชและสิริมงคล
ดวยกฤตยานุภาพแหงพระคาถาอุปปาตะสันติ เหตุรายอันเกิดจาก
ภัยธรรมชาติ มีแผนดินไหวและนํ้าทวม เปนตน เหตุรายอันเกิดจากฟากฟา
เหตุรายอันเกิดจากสุริยุปราคา จันทรุปราคา เหตุรายอันเกิดจากบาปกรรม
เหตุรายทั้งปวงจักพินาศไปดวยเดชแหงอุปปาตะสันติ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 249

๏บทสวดพระคาถาอุปปาตะสันติ (มหาสันติงหลวง)๏
๏บทสวดสงบเหตุราย๏
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ คันถารัมภะ
(คําเริ่มตนคัมภีร)
(ก) สุทุททะโส อะยัง ธัมโม โลกัตถัง ชินะเทสิโต
มะหาสันติกะโร โลเก สัพพะสัมปตติทายะโก
(ข) สัพพุปปาตูปะสะมะโณ ภูตะยักขะนิวาระโณ
อะกาละมัจจุสะมะโณ โสกะโรคะวินาสะโน
(ค) ปะระจักกะปะมัททะโน รัญโญ วิชะยะวัฑฒะโน
สัพพานิฏฐะหะโร สันโต ธัมมัง วักขามิ ภูตะโต
(ฆ) วัตถุตตะยัสสะ โย ยัตถะ สังวัณเณติ คุณุตตะเม
ตัสสะ ตัตถะ สุขาโรค๎ยะ- โสตถิโย โหนติ สัพพะทา

(พระพุทธเจาในอดีต ๒๘ พระองค)
(ในสารมัณฑกัปป ๔ พระองค)
๑. ตัณหังกะโร มะหาวีโร สัพพะโลกานุกัมปะโก
วันตะสังสาระคะมะโน สัพพะกามะทะโท สะทา
๒. สัพพาภิภู สัพพะวิทู สัพพะเทวะคะรุตตะโม
สัพพาสะวะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๓. วะระลักขะณะสัมปนโน เมธังกะโร มะหามุนิ
ชุตินธะโร มะหาสิรี สุวัณณะคิริสันนิโภ
๔. ทิพพะรูโป มะหากาโย มะหานาโถ มะหัพพะโล
มะหาการุณิโก สัตถา มะหาสันติง กะโรตุ โน
๕. มะหาโมหะตะมัง หันต๎วา โย นาโถ สะระณังกะโร
เทวาเทวะมะนุสสานัง โลกานัญจะ หิตังกะโร
250 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๖. พ๎ยามัปปะภาภิรุจิโต นิโค๎รธะปะริมัณฑะโล
นิโค๎รธะปกกะพิมโพฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๗. อะสีติระตะนุพเพโธ ทีปงกะโร มะหามุนิ
ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ ฐาเน ท๎วาทะสะ โยชะเน
๘. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก วินายะโก
โลกาโลกะกะโร สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(ในสารกัปป ๑ พระองค)
๙. อัฏฐาสีติหัตถุพเพโธ โกณฑัญโญ นามะ นายะโก
สัพพะธัมเมหิ อะสะโม สัพพะปาระมิตาคะโม
๑๐. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
โมเจตุ โส สัพพะภะยา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(ในสารมัณฑกัปป ๔ พระองค)
๑๑. อัฏฐาสีติระตะนานิ อัจจุคคะโต ชุตินธะโร
มังคะโล นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก
๑๒. ฉัพพัณณะรังสิโย ทะสะ สะหัสสะโลกะธาตุโย
ผะรันตา ตัสสะ ฉาเทนติ เอสะ โสตถิง กะโรตุ โน
๑๓. นะวุติระตะนุพเพโธ สุมะโน นามะ นายะโก
กัญจะนาจะละสังกาโส นะวุติสะหัสสายุโก
๑๔. อุเปโต พุทธะคุเณหิ สัพพะสัตตะหิเตสะโก
กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคะยัญจะ สุขัง สะทา
๑๕. อะสีติระตะนุพเพโธ สัฏฐีสะหัสสะอายุโก
เรวะโต นามะ สัมพุทโธ สัพพะโลกุตตะโร มุนิ
๑๖. ตัสสะ สะรีเร นิพพัตตา ปะภามาลา อะนุตตะรา
ผะรันตา โยชะเน นิจจัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๗. โสภิโต นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก
สังสาระสาคะเร สัตเต พะหู โมเจติ ทุกขะโต
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 251

๑๘. อัฏฐะปญญาสะระตะนัง อัจจุคคะโต มะหามุนิ


โอภาเสติ ทิสา สัพพา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(ในวรกัปป ๓ พระองค)
๑๙. อะโนมะทัสสี สัมพุทโธ เตชัสสี ทุระติกกะโม
อัฏฐะปณณาสะระตะโน โอภาเสนโต สะเทวะเก
๒๐. นิพพานะปาปะโก โลเก วัสสัสสะตะสะหัสสายุ
กะโรตุ โน มะหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา
๒๑. ปะทุโม นามะ สัมพุทโธ โลกะเชฏโฐ นะราสะโภ
อัฏฐะปญญาสะระตะโน อาทิจโจวะ วิโรจะติ
๒๒. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
โสป พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๒๓. อัฏฐาสีติระตะนุพเพโธ นาระโท สัพพะกามะโท
นิรันตะรัง ทิวารัตติ โยชะนัง ผะระเต ปะภา
๒๔. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก วินายะโก
โมเจติ ทุกขะโต สัตเต โสป โสตถิง กะโรตุ โน
(ในสารกัปป ๑ พระองค)
๒๕. อัฏฐะปณณาสะระตะโน ปะทุมุตตะโร มะหามุนิ
ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ ท๎วาทะสะ โยชะเน
๒๖. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเกมะตันทะโท
โมเจติ พันธะนา สัตเต โสป ปาเลตุ โน สะทา
(ในมัณฑกัปป ๒ พระองค)
๒๗. อัฏฐาสีติระตะนานิ อัจจุคคะโต มะหามุนิ
สุเมโธ นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก
๒๘. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา
ปาเลตุ โน สะทา พุทโธ ภะเยหิ วิวิเธหิ จะ
252 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๒๙. ปญญาสะระตะนุพเพโธ สุชาโต นามะ นายะโก
เหมะวัณโณ มะหาวีโร มะหาตะมะวิโนทะโน
๓๐. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
โสป พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(ในวรกัปป ๑ พระองค)
๓๑. อะสีติระตะนุพเพโธ ปยะทัสสี มะหามุนิ
นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลกัคคะนายะโก
๓๒. โสป สัพพะคุณูเปโต สัพพะโลกะสุขัปปะโท
สัพพะโทสัง วินาเสนโต สัพพัง โสตถิง กะโรตุ โน
๓๓. อะสีติระตะนุพเพโธ อัตถะทัสสี นะราสะโภ
วัสสัสสะตะสะหัสสานิ โลเก อัฏฐาสิ นายะโก
๓๔. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา
นิรันตะรัง ทิวารัตติง นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน
๓๕. ธัมมะทัสสี จะ สัมพุทโธ อะสีติหัตถะมุคคะโต
อะติโรจะติ เตเชนะ สะเทวาสุระมานุเส
๓๖. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก มะหายะโส
สัพพะสัตเต ปะโมเจติ ภะยา รักขะตุ โน สะทา
(ในสารกัปป ๑ พระองค)
๓๗. สิทธัตโถ นามะ สัมพุทโธ สัฏฐิระตะนะมุคคะโต
ติภะเว โสตถิชะนะโก สะตัสสะหัสสะ อายุโก
๓๘. สังสาระสาคะรา โลเก สันตาเรต๎วา สะเทวะเก
นิพพาเปสิ จะ โส สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(ในมัณฑกัปป ๒ พระองค)
๓๙. สัฏฐิระตะนะมุพเพโธ ติสโส โลกัคคะนายะโก
อะนูปะโม อะสะทิโส อะตุโล อุตตะโม ชิโน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 253

๔๐. วัสสัสสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน


อาโรคะยัญจะ มะหาสุขัง โหตุ โน ตัสสะ เตชะสา
๔๑. อัฎฐะปณณาสะระตะโน ผุสโส โลกัคคะนายะโก
ชะนัมพุชัง วิโพเธนโต นิพพาเปนโต สะเทวะเก
๔๒. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก มะหายะโส
อุทธะรันโต พะหู สัตเต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(ในสารกัปป ๑ พระองค)
๔๓. อะสีติระตะนุพเพโธ วิปสสี โลกะนายะโก
ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา สัตตะ โยชะเน
๔๔. โสป เทวะมะนุสสานัง พันธะนา ปะริโมจะยิ
อะสีติสะหัสสายุโก นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน
๔๕. สัตตะตีหัตถะมุพเพโธ สิขี นาเมสะ นายะโก
ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา โยชะนัตตะเย
๔๖. โสป อะตุละโย สัมพุทโธ สัตตะตีสะหัสสายุโก
กะโรตุ โน มะหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา
๔๗. เวสสะภู นามะ สัมพุทโธ เหมะรูปะสะมูปะโม
สัฏฐีระตะนะมุพเพโธ สัฏฐี จะ สะหัสสายุโก
๔๘. พ๎รัห๎มะเทวะมะนุสเสหิ นาคาสุระทิเชหิ วา
ปูชิโตป สะทา นาโถ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน

ในภัทรกัปนี้ ๕ พระองค
(ผานไปแลว ๓ พระองค)
๔๙. ตาฬสะระตะนุพเพโธ กะกุสันโธ มะหามุนิ
ตัสสะ กายา นิจฉะรันติ ปะภา ท๎วาทะสะ โยชะเน
๕๐. จัตตาฬสะสะหัสสานิ ตัสสะ อายุ อะนุตตะโร
กะโรตุ โส สะทา นาโถ อายุง สุขัง พะลัญจะ โน
254 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๕๑. โกนาคะมะนะ สัมพุทโธ ติงสะหัตถะสะมุคคะโต
ติงสะวัสสะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน
๕๒. ธัมมามะเตนะ ตัปเปตา เทวะสังฆัง สุราละเย
มะหีตะเล จะ ชะนะตัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๕๓. กัสสะโป นามะ สัมพุทโธ ธัมมะราชา ปะภังกะโร
วีสะตีหัตถะมุพเพโธ วีสัสสะหัสสะอายุโก
๕๔. อะนูปะโมสะมะสะโม เทวะสัตถา อะนุตตะโร
กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา
(พระพุทธเจาในปจจุบัน ๑ พระองค)
๕๕. อัฏฐาระสะหัตถุพเพโธ โคตะโม สักกะยะวัฑฒะโน
สัพพัญ\ู สัพพะติละโก สัพพะโลกะสุขัปปะโท
๕๖. สัมพุทโธ สัพพะธัมมานัง ภะเคหิ ภาค๎ยะวา ยุโต
วิชชาจะระณะสัมปนโน โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน
๕๗. อัพภาตีตา จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏิโย
สัพพะโลกะมะภิญญายะ สัพพะสัตตานุกัมปโน
๕๘. สัพพะเวระภะยาตีตา สัพพะโลกะสุขัปปะทา
สัพพะโทสัง วินาเสนตา สัพพะโสตถิง กะโรนตุ โน
(พระพุทธเจาในอนาคต ๑ พระองค)
๕๙. อะนาคะเต จะ สัมพุทโธ เมตเตยโย เทวะปูชิโต
มะหิทธิโก มะหาเทโว มะหาสันติง กะโรตุ โน
(พระปจเจกพุทธเจา)
๖๐. สัพเพ ปจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา
นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มะเหสะโย
๖๑. ทูเรป วิเนยเย ทิส๎วา สัมปตตา ตังขะเณนะ เต
สันทิฏฐิกะผะเล กัต๎วา สะทา สันติง กะโรนตุ โน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 255

(นวโลกุตตรธรรม ๙ และปริยัติธรรม ๑)
๖๒. ส๎วากขาตาทิสัมปนโน ธัมโม สะปะริยัตติโก
สังสาระสาคะรา โลเก ตาเรติ ชินะโคจะโร
๖๓. กิเลสะชาละวิทธังสี วิสุทโธ พุทธะเสวิโต
นิพพานะคะมะโน สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(พระสังฆรัตนะ)
๖๔. สีลาทิคุณะสัมปนโน สังโฆ มัคคะผะเล ฐิโต
ชิตินท๎ริโย ชิตะปาโป ทักขิเณยโย อะนุตตะโร
๖๕. อะนาสะโว ปะริสุทโธ นิราสาโส ภะวาภะเว
นิพพานะโคจะโร สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
(พระเถระชั้นผูใหญ ๑๐๘ องค)
๖๖. อัญญาตะโกณฑัญญัตเถโร รัตตัญ\ู นัง อัคโค อะหุ
ธัมมะจักกาภิสะมะโย สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๖๗. วัปปตเถโร มะหาปญโญ มะหาตะมะวิโนทะโน
มะหาสันติกะโร โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน
๖๘. ภัททิโย ภัททะสีโล จะ ทักขิเณยโย อะนุตตะโร
โลกัตถะจะริโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๖๙. มะหานาโม มะหาปญโญ มะหาธัมมะวิทู สุโต
มะหาขีณาสะโว เถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน
๗๐. อัสสะชิตเถโร มะหาปญโญ ชิตะมาโร ชิตินท๎ริโย
ชิตะปจจัตถิโก โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๗๑. อะนุปุพพิกะถัง สุต๎วา ยะโส เอกัคคะมานะโส
อัคคะธัมมะมะนุปปตโต โสตถาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน
๗๒. จัต๎วาธิกา จะ ปญญาสะ เถรา คิหิสะหายะกา
ปต๎วานะ ปะระมัง สันติง สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
256 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๗๓. เย ติงสะ ภัททะวัคคิยา รูเปนาตุละวัณณิโน
ขีณาสะวา วะสีภูตา เต กะโรนตุ อะนามะยัง
๗๔. อุรุเวละกัสสะโปป มะหาปะริสานะมุตตะโม
ฐะปโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๗๕. โย นะทีกัสสะปตเถโร ปุญญักเขตโต อะนุตตะโร
สะสังโฆ สีละสัมปนโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๗๖. ธัมมะปชชะลิโต สันโต โย เถโร คะยากัสสะโป
สังยุตโต ภะวะนิสฺเนเห สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๗๗. โลกะนาถัง ฐะเปต๎วานะ ปญญะวันตานะ ปาณินัง
ปญญายะ สาริปุตตัสสะ กะลัง นาคฆะติ โสฬะสิง
๗๘. สาริปุตโต มะหาปญโญ ปะฐะโม อัคคะสาวะโก
ธัมมะเสนาปะตี เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๗๙. ปาทังคุลิกะมัตเตนะ เวชะยันตะปะกัมปะโน
ปะฐะวิง มะหะติง สัพพัง สะมัตโถ ปะริวัตติตงุ
๘๐. โมคคัลลาโน มะหาเถโร ทุติโย อัคคะสาวะโก
อิทธิมันตานัง โส อัคโค สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๘๑. มะหากัสสะปตเถโรป อุตตัตตะกะนะกันนิโภ
ธุตะคุณัคคะนิกขิตโต ตะติโย สัตถุสาวะโก
๘๒. อะรัญญะวาสาภิระโต ปงสุกูละธะโร มุนิ
สุคะตัสสาสะนะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๘๓. อาปตติอะนาปตติยา สะเตกิจฉายะ โกวิโท
วินะเย อัคคะนิกขิตโต อุปาลิ สัตถุวัณณิโต
๘๔. วินะเย ปาระมิปปตโต วินะยัคโคจะโร มุนิ
กะโรตุ โน มะหาสันติง โสตถะยาโรคะยัง ทะทาตุ โน
๘๕. อะนุรุทธะมะหาเถโร ทิพพะจักขูนะมุตตะโม
ญาติเสฏโฐ ภะคะวะโต โสตถะยาโรคะยัง ทะทาตุ โน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 257

๘๖. อุจจากุลิกานัง อัคโค ภัททิโย สุสะมาหิโต


กาฬโคธายะ ปุตโต จะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๘๗. อานันโท พุทธุปฏฐาโก สังคีติสาธุสัมมะโต
พะหุสสุโต ธัมมะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๘๘. กิมิโล สิริสัมปนโน มะหาสุขะสะมัปปโต
มะหาขีณาสะโว ชาโต มะหาสันติง กะโรตุ โน
๘๙. คะรุวาสัง วะสิต๎วานะ ปะสันโน พุทธะสาสะเน
ภะคุ จาระหะตัง ปตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๙๐. กุลัปปะสาทะชะนะโก กาฬุทายี มะหิทธิโก
เอตะทัคคัฏฐิโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๙๑. เสฏโฐ ธัมมะกะถิกานัง ติณณัง เวทานะ ปาระคู
ปุณโณ มันตานิยา ปุตโต เถโร โสตถิง กะโรตุ โน
๙๒. ภาระท๎วาโช มะหาเถโร สีหะนาทานะมุตตะโม
ฐะปโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๙๓. สังขิตตะภาสิตะมัตถัง วิต๎ถาเรนะ วิชานะโก
กัจจาโน ภะวะนิส๎เนโห เถโร โสตถิง กะโรตุ โน
๙๔. ละกุณฏะภัททิโย เถโร มัญชุสสะรานะมุตตะโม
ฐะปโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๙๕. อะระณะวิหารินัง อัคโค ทักขิเณยโย อะนุตตะโร
สุภูติ ภูตะทะมะโน เถโร โสตถิง กะโรตุ โน
๙๖. อะรัญญะวาสินัง อัคโค เรวะโต ขะทิระวะนิโย
วิเวกาภิระโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๙๗. ฌายีนัง อุตตะโม เถโร กังขาเรวะตะนามะโก
สะมาธิฌานะกุสะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๙๘. โสโณ จะ โกฬวีโสป อารัทธะวีริยานะมุตตะโม
ปะหิตัตโต สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน
258 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๙๙. กัล๎ยาณะวากกะระณานัง โสโณ กุฏิกัณโณป จะ
อัคโคติ วัณณิโต เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน
๑๐๐. ลาภีนะมุตตะโม เถโร สีวะลิ อิติ วิสสุโต
โสระโต ปจจะยาทิมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๐๑. สัทธาธิมุตตานัง อัคโค วักกะลิ อิติ นามะโก
ปาโมชชะพะหุโล เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๐๒. ราหุโล พุทธะปุตโตป สิกขากามานะมุตตะโม
ทายาโท สัพพะธัมเมสุ มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๐๓. สัทธายะ ปพพะชิต๎วานะ รัฏฐะปาโล ปะรักกะมี
เอตะทัคเค ฐิโตเยวะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๐๔. กุณฑะธาโน มะหาเถโร สะลากัง ปะฐะมัง คะโต
ฐะปโตเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๐๕. ปะฏิภาณะวันตานัมป อัคโคติ พุทธะวัณณิโต
วังคีโส อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๐๖. สะมันตะปาสาทิกานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปโต
อุปะเสโน วังคันตะปุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๐๗. ทัพโพ มัลละปุตโต เถโร เสนาสะนะปญญาปะโก
ฐะปโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๐๘. ปลินทะวัจฉะสะมะโณ เทวะตานัง ปโย อะหุ
ฐะปโต อัคคัฏฐานัมหิ โสตถ๎ยาโรคะยัง ทะทาตุ โน
๑๐๙. พาหิโย ทารุจีริโย ขิปปาภิญญานะมุตตะโม
กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา
๑๑๐. กุมาระกัสสะปตเถโร จิตตะกะถีนะมุตตะโม
มิจฉาวิตักกุปจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๑๑. ปะฏิสัมภิทาปตตานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปโต
โกฏฐิโต อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 259

๑๑๒. อัปปาพาโธ มะหาเถโร อัปปาพาธานะมุตตะโม


พากุโล อะระหาชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๑๓. ปุพเพนิวาสะเวทีนัง อัคโคติ พุทธะวัณณิโต
โสภิโต นามะ โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๑๔. มะหากัปปนัตเถโรป ภิกขุโอวาทะโก อะหุ
กุสะโล โอวาทะทาเน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๑๕. ภิกขุโนวาทะกานัคโค นันทะโก อิติ วิสสุโต
ปาเลตุ โน สะทา เถโร โส ตถิง ผาสุง กะโรตุ โน
๑๑๖. อินท๎ริเยสุ คุตตะท๎วาโร อัคคัฏฐาเน ฐิโต อะหุ
นันทัตเถโร วะสิปปตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๑๗. เตโชธาตุกุสะลานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปโต
สาคะโต นามะ โส เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน
๑๑๘. สัญญาวิวัฏฏะกุสะโล ปะธาโน ภาวะนาระโต
พุทธะสิสโส มะหาปนโถ มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๑๙. จูฬะปนถะกัตเถโรป มะโนมะยาภินิมมิโต
ฐะปโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๒๐. ปะฏิภาเณยยะกานัง ตุ อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปโต
ราโธ เถโร มะหาโสตถิง กะโรตุ โน อะนามะยัง
๑๒๑. ลูขะจีวะระธะรานัง ภิกขูนัง อุตตะโม อะหุ
โมฆะราชะมะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๒๒. วิมะโล วิมะลัปปญโญ สุรูโป สุสะมาหิโต
ระโช นะ ลิมปะติ ขันเธ มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๒๓. ธัมมะปาโล มะหาปาโล มะหาธัมมะธะโร ยะติ
มะหาขีณาสะโว โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๒๔. จักขุปาโล มะหาเถโร ปะธาโน สีละสังวุโต
ปะหิตัตโต มะหากาโย มะหาสันติง กะโรตุ โน
260 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑๒๕. สัพพะเวระภะยาตีโต นาระโท อาสะวักขะโย
มะหาสันติกะโร โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๒๖. พุทธะปูชายะ นิระโต ชินะภัตติปะรายะโน
สัทธัมมะสะวะโน เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๒๗. ปจฉิมะภะวะสัมปตโต โคตะโม ภาวะนาระโต
ราคักขะยะมะนุปปตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๒๘. เสนาสะเนสุ สัปปายัง ลัทธา ฌานัง สะมาระภิ
โคธิโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๒๙. พุทเธ ปะสันนะมานะโส สุพาหุ อัญชะลีกะโต
ขีณาสะโว วะสีภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๓๐. วิปสสะนายะ ปะสุโต วัลลิโย สุสะมาหิโต
สะโต ฌายี วะเนวาสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๓๑. อุตติโย วินะยะธะโร อะติกกันโต นะรามะเร
ธาเรนโต อันติมัง เทหัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๓๒. วิมะโล วิระโชชัลโล ชาโต ปณฑะระเกตุนา
พิมพิสารัทธะโช เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๓๓. รัมมารัญเญ วะสิต๎วานะ ภาเวนโต กุสะลัง พะหุง
โยคักเขมะมะนุปปตโต สะภิโย สันติง กะโรตุ โน
๑๓๔. ปุพเพนิวาสัง ชานันโต ทิพพะจักขุวิโสธะโน
นาคิโตระหะตัง ปตโต โสตถ๎ยาโรคะยัง ทะทาตุ โน
๑๓๕. ปาติโมกขะมะนุปปตโต วิชะโยรัญญะโคจะโร
ลาภาลาภี ตะถาสังสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๓๖. ตัณหาชะฏัง วิชะเฏต๎วา วัฑเฒต๎วานะ วิปสสะนัง
สังฆะรักขิโต มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๓๗. อรัญญะวาสาภิระโต ภะวะเนตติสะมูหะโต
ธัมมานัง ปาระมิปปตโต อุตตะโร ปาตุ โน ภะยา
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 261

๑๓๘. ปุพเพ ปุญญานิ กัต๎วานะ ปุพพะโยคัง สะมาระภิ


อุสะโภระหะตัง ปตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๓๙. สะมาปตติสะมาปนโน ฉะฬะภิญโญ มะหิทธิโก
สิวะโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๐. สัตตาริยะธะโน เถโร ธะนิโย ธัมมะสาคะโร
วันตะสังสาระคะมะโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๑. ปญจักขันเธ ปะริญญายะ ภาวะยิต๎วานะ นิพพุติง
ปต๎วานะ ปะระมัง สันติง โปสิโย ปาตุ โน ภะยา
๑๔๒. อุปะนิสสะยะสัมปนโน อุชชะโย พุทธะมามะโก
โลกัตถะปะสุโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๓. พุทธัปปะสาทะสัมปนโน ปพพะชี ชินะสาสะเน
สัญชะโย นามะ โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๔. มารัญชะโย มะหาเถโร รามะเณยโย มะหิทธิโก
นิพพานะนินนะจิตโต โส สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๕. อุโภ ปาปญจะ ปุญญัญจะ วีติวัตโต อะนาสะโว
วีรตั เถโร ระหัปปตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๖. ปุณณะมาสะมะหาเถโร ปงสุกูละธะโร ยะติ
ปุพพะกิจจะวิธิง กัต๎วา มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๔๗. ปญจะฉินโน ปญจะชะโห ปญจะจุตตะริภาวะโน
ปญจะสังคาติโค เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๘. ปุพเพ ราคัง วิจาเรนโต ชินะภัตติปะรายะโน
เพลัฏฐะสีโส วังสะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๔๙. ปญจุปปนนานิ อะภะโย นิกันติ นัตถิ ชีวิเต
อะชิโต โส มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๕๐. วิวัฏฏะนิสสะเย ปุญเญ กัต๎วา สัมพุทธะภัตติมา
กุละลัตเถโร ระหัปปตโต มะหาสันติง กะโรตุ โน
262 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑๕๑. วิปสสี ธัมมะทายาโท เถโร นิโค๎รธะนามะโก
นิพพานาคะมะสันทิฏโฐ สะทา สันติง กะโรตุ โน
๑๕๒. ติสโส วิชชา อะนุปปตโต สุคันโธ นามะ โสระหา
สัพพะปาปะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๕๓. นันทิโย สัทธาสัมปนโน ชิตะกเลโส มะหาเถโร
อะภิญญาปาระมิปปตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๕๔. กิเลสา ฌาปตา เยนะ ชิตะธัมมะระเตนะ โส
กัมมาระปุตตะวิมะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๕๕. เทวะโลกะมะนุสเสสุ อะนุภุต๎วา วิภูติโย
ติสสัตเถโร มะหาภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๕๖. สุวิมุตโต มะหานาโค ตีหิ วังเกหิ มุตตะโก
สุมังคะโล มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน
๑๕๗. นิรัคคะโฬ นิราสาโส มะละขีละวิโสธะโน
วิเวกาภิระโต คุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๕๘. ปะวิเวกะมะนุปปตโต คิริมานันทะนามะโก
ภาเวนโต กุสะเล ธัมเม สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๕๙. พุทธะสาสะนะมารัทโธ สะมิทธิ ภาวะนาระโต
สะมิทธิคุณะสัมปนโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๐. อาราธิตะชิโน สันโต โชติตเถโร มะหาระหา
วิมุตโต สัพพะสังสารา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๑. เสนาสะนานิ ปนตานิ เสวันโต ฌานะมาระภิ
ฉะฬะภิญโญ มะหาจุนโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๒. ฉันนัตเถโร สะหะชาโต สุณันโต ชินะสาสะนัง
โยคักเขมะมะนุปปตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๓. เมฆิโย พุทธุปปฏฐาโก ชินะภัตติปะรายะโน
มิจฉาวิตักกุปจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 263

๑๖๔. อุปะวาโณ มะหาเถโร มะหากาโย มะหาระหา


มะหิทธิโก มะหาเตโช สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๕. สังกิจโจ โจระทะมะโน สัพพะสังโยชะนักขะโย
ปาเลตุ โน สัพพะภะยา โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน
๑๖๖. ปญหะพ๎ยากะระเณ เฉโก เมตตาฌานะระโต ยะติ
โสปาโกปายะสัมปนโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๗. เขตตะสัมปตติสัมปตโต วัฑฒะมาโนวะ โสตถินา
สุมะโน อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๘. ปโย เทวะมะนุสสานัง สานุตเถโร พะหุสสุโต
เมตตาฌายี ตะโมฆาตี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๖๙. โย จะ ปุพเพ กะตัง ปาปง กุสะเลนะ ปธียะติ
อังคุลิมาโล โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๗๐. วิปสสะนาธุรา เยป เถรา สะมะถะยานิกา
ขีณาสะวา มะหาเตชา มะหาตะมะวิโนทะนา
๑๗๑. ฌานิกาฌานิกา เยป ธัมมาภิสะมะยาทะโย
สัพเพ โสตถิง สะทา เทนตุ ชะยะมาโรค๎ยะมายุ โน
๑๗๒. รัตตัญ\ู นัง ภิกขุนีนัง โคตะมี ชินะมาตุจฉา
ฐะปตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๗๓. มะหาปญญานะมัคคัฏฐา เขมาเถรีติ ปากะฏา
สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๑๗๔. เถรี อุปปะละวัณณา จะ อิทธิมันตีนะมุตตะมา
สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๗๕. วินะยัทธะรีนัง อัคคา ปะฏาจาราติ วิสสุตา
ฐะปตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๗๖. ธัมมักกะถิกะปะวะรา ธัมมะทินนาติ นามิกา
ฐะปตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
264 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑๗๗. ฌายิกานัง ภิกขุนีนัง นันทาเถรีติ นาเมสา
อัคคัฏฐาเน ฐิตา อะหุ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๗๘. อารัทธะวีริยานัง อัคคา โสณาเถรีตินามิกา
ฐะปตา ตัตถะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๗๙. ทิพพะจักขุกานัง อัคคา พะกุลา อิติ วิสสุตา
วิสุทธะนะยะนา สาป สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๘๐. กุณฑะละเกสี ภิกขุนี ขิปปาภิญญานะมุตตะมา
ฐะปตาเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๘๑. เถรี ภัททะกาปลานี ปุพพะชาติมะนุสสะรี
ตาสังเยวะ ภิกขุนีนัง อัคคา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๘๒. เถรี ตุ ภัททะกัจจานา มะหาภิญญานะมุตตะมา
ชิเนนะ สุขะทุกขัง สา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๘๓. ลูขะจีวะระธารีนัง อัคคา กิสาป โคตะมี
ฐะปตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๑๘๔. สิงคาละมาตา ภิกขุนี สัทธาธิมุตตานะมุตตะมา
กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรค๎ยัญจะ สุขัง สะทา
๑๘๕. อัญญา ภิกขุนิโย สัพพา นานาคุณะธะรา พะหู
ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา โสกะโรคาทิสัมภะวา
๑๘๖. โสตาปนนาทะโย เสกขา สัทธาปญญาสีลาทิกา
ภาคะโส ก๎เลสะทะหะนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
(พญานาค)
๑๘๗. สุมะโน สุมะนะจะโล อะระวาเฬระปตตะโก
จัมเปยโย มุจะลินโท จะ กัมพะโล ภุชะคิสสะโร
๑๘๘. กาละนาโค มะหากาโฬ สังขะปาโล มะโหทะโร
มะณิกัณโฐ มะณิอักขิ นันทะนาโคปะนันทะโก
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 265

๑๘๙. วะรุโณ ธะตะรัฏโฐ จะ กุงคุวิโลปะลาละโก


จิต๎ระนาโค มะหาวีโร ฉัพ๎ยาปุตโต จะ วาสุกี
๑๙๐. กัณหาโคตะโม ภุชะคินโท อัคคิธูมะสิโข ตะถา
จูโฬทะโร อะหิจฉัตโต นาคา เอราปะถาทะโย
๑๙๑. อาสีวิสา โฆระวิสา เย สัพเพ นะยะนาวุธา
ชะลัฏฐา วา ถะลัฏฐา วา ปพพะเตยยา นะทีจะรา
กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อายุมาโรคิยัง สะทา
(เปรต)
๑๙๒. นิชฌามะตัณหิกา เปตา อุสุสัตติ จะ โลมะกา
มังสะปณฑาทะโย เปตา เปตา เวมานิกาทะโย
ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา สะทา เต สุขิโน สะทา
(อสูร)
๑๙๓. เย ปะหาราทะสัมพะระ พะล๎ยาสุระคะณา จะ เย
เวปะจิตตาสุระคะณา จันทาสุระคะณาทะโย
๑๙๔. สัพเพ เตป มะหาเตชา ภูตะยักขะนิวาระณา
กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรค๎ยัญจะ ชะยัง สะทา
(เทวดา)
๑๙๕. เย ยักขา สัตตะสะหัสสา ภุมมา กาปละวัตถุกา
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
๑๙๖. สัพเพ ติสะระณา ยักขา มะเหสักขา ชุตินธะรา
กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรค๎ยัญจะ ชะยัง สะทา
๑๙๗. ฉะสะหัสสา เหมะวะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน
พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน.
๑๙๘. สาตาคิรา ติสะหัสสา ยักขา นีลาทิวัณณิโน
นานาปะภายะ สัมปนนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
266 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑๙๙. เวสสามิตตา ปญจะสะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา อะภิกกามุง สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๐๐. กุมภีโร ราชะคะหิโก เวปุลลัสสะ นิเวสะนัง
ภิยโย นัง สะตะสะหัสสัง ยักขานัง ปะยิรุปาสะติ
โส ยักเขหิ ปะริวาโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๒๐๑. ปุริมัญจะ ทิสัง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ
คันธัพพานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
๒๐๒. ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
โส ราชา สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๒๐๓. ทักขิณัญจะ ทิสัง ราชา วิรุฬ๎โห ตัง ปะสาสะติ
กุมภัณฑานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
๒๐๔. ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
วิรุฬ๎โห สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๒๐๕. ปจฉิมัญจะ ทิสัง ราชา วิรูปกโข ปะสาสะติ
นาคานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
๒๐๖. ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
วิรูปกโข สะปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๒๐๗. อุตตะรัญจะ ทิสัง ราชา กุเวโร ตัง ปะสาสะติ
ยักขานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส
๒๐๘. ปุตตาป ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา
กุเวโร สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๒๐๙. ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก
ปจฉิเมนะ วิรูปกโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง
๒๑๐. จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา
ทัททัฬหะมานา อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 267

๒๑๑. เตสัง มายาวิโน ทาสา อาคุง วัญจะนิกา สะฐา


มายา กุเฏณฑุ วิเฏณฑุ วิตุจจะ วิตุโฏ สะหะ
๒๑๒. จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ
ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ
๒๑๓. จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ นะโฬราชา ชะเนสะโภ
วะโร ปญจะสิโข เจวะ ติมพะรู สูริยะวัจฉะสา
๒๑๔. เอเต จัญเญ จะ ราชาโน คันธัพพา จะ มะหัพพะลา
โมทะมานา สะทา โสตถิง โน กะโรนตุ อะนามะยัง
๒๑๕. มะหันตา นาคะสา นาคา เวสาลา สะหะ ตัจฉะกา
กัมพะลัสสะตะรา จาป เมรุปาทะสิตา พะลา
๒๑๖. ยามุนา ธะตะรัฏฐา จะ สัพเพ นาคา ยะสัสสิโน
เอราวะโณ มะหานาโค โน กะโรนตุ อะนามะยัง
๒๑๗. มะหิทธิกา สุปณณา เย นาคะราเช มะหัพพะเล
คะเหต๎วา ชินะเขตเตวะ ปกขันทิงสุ นะเภ พะลา
เต พุทธะสะระณา สัพเพ โสตถิง กะโรนตุ โน สะทา
๒๑๘. ปะฐัพ๎ยาโป จะ เตโช จะ วาโย เทวา มะหิทธิกา
อุปะจาเรนะ นิพพัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๑๙. วะรุณา วาระณา เทวา โสโม จะ ยะสะสา สะหะ
เมตตาการุณิกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๒๐. ปณณาสะโยชะนายาเม วิมาเน ระตะนามะเย
ฐิโต ตะเม วิหันต๎วานะ สูริโย โสตถิง กะโรตุ โน
๒๒๑. จันโท สีตะกะโร โลเก ปะภายุชชะลิโตทะโย
มะหันธะการะวิทธังสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน
๒๒๒. เวณฑุ จะ สะหะสี เทวา อะสะมา จะ ทุเว ยะมา
จันทัสสูปะนิสา เทวา เทวา สูริยะนิสสิตา
พุทธัสสะ มามะกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
268 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๒๒๓. นักขัตตานิ ปุรักขัต๎วา เทวา มันทะวะลาหะกา
สักโก ปุรินทะโท เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๒๔. มะหันตา สะหะภู เทวา ชะละมัคคิสิขาริวะ
อะริฏฐะกา จะ โรชา จะ อุมมาปุปผะนิภาสิโน
๒๒๕. วะรุณา สะหะธัมมา จะ อัจจุตา จะ อะเนชะกา
สูเลยยะรุจิรา เทวา เทวา วาสะวะเนสิโน
ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๒๖. สะมานา มะหาสะมานา มานุสา มานุสุตตะมา
ขิฑฑาปะโทสิกา เทวา เทวา มะโนปะโทสิกา
๒๒๗. อะถาป หะระโย เทวา เทวา โลหิตะวาสิโน
ปาระคา มะหาปาระคา สัพเพ เทวา ยะสัสสิโน
ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๒๘. สุกกา กะรัมภา อะรุณา อาคุง เวฆะนะสา สะหะ
โอทาตะคัยหา ปาโมกขา อาคุง เทวา วิจักขะณา
๒๒๙. สะทามัตตา หาระคะชา มิสสะกา จะ ยะสัสสิโน
ถะนะยัง อาคะปชชุนโน โย ทิสาสวะภิวัสสะติ
๒๓๐. ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน
อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน
โมทะมานา ชินะทานา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๓๑. โลกะธาตุสะหัสเสสุ ทะสะสเววะ สะมันตะโต
เทวาทะโย ปาณะคะณา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๓๒. เขมิยา กัฏฐะกายา จะ โชตินามา มะหิทธิกา
ลัมพีตะกา ลามะเสฏฐา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๓๓. ชะลัฏฐา จะ ถะลัฏฐัญเญ เทวากาสัฏฐะกาทะโย
ยักขะคันธัพพะกุมภัณฑา ปสาจา เย มะโหระคา
เมตตะจิตตา จะ สัพเพ เต โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 269

๒๓๔. ตาวติงสา จะ เย เทวา ยามา เทวา มะหิทธิกา


ตุสิตา จะ มะหาเทวา นิมมานะระติโนมะรา
๒๓๕. วะสะวัตตีสุ ระติโน สัพเพ เทวา สะวาสะวา
พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
(พรหม)
๒๓๖. พ๎รัห๎มาโน ปาริสัชชา จะ เย จะ พ๎รัห๎มะปุโรหิตา
มะหาพ๎รัห๎มา จะ สัพเพ เต ปะฐะมัชฌานะสัณฐิโน
๒๓๗. เมตตาวิหาริโน สันตา สัมพุทธัสสะ ปะรายะนา
กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง เสกขาเสกขะปุถุชชะนา
๒๓๘. ปะริตตาภัปปะมาณาภา พ๎รัห๎มา จาภัสสะรา ตะถา
พุทธะปูชายะ นิระตา ทุติยัชฌานะสัณฐิโน
๒๓๙. เมตตาการุณิกา สัพเพ สัพพะสัตตะหิเตสิโน
กะโรนตุ โน มะหาสันติง โสตถิมาโรค๎ยะมายุวัง
๒๔๐. ปะริตตะสุภาพ๎รัห๎มาโน อัปปะมาณะสุภา จะ เย
สุภะกิณหา จะ พ๎รัห๎มาโน ตะติยัชฌานะสัณฐิโน
๒๔๑. ปะภายะ ผะระณา โลเก พุทธะฌานะระตา สะทา
อะหิงสา สัพพะสัตเตสุ สะทา สันติง กะโรนตุ โน
๒๔๒. เวหัปผะลาป พ๎รัห๎มาโน จะตุตถัชฌานะสัณฐิโน
เสกขะปุถุชชะนาเสกขา สะทา สันติง กะโรนตุ โน
๒๔๓. สัมปตติยา นะ หายันติ พ๎รัห๎มาโน ชินะสาวะกา
อะวิหานามะกา สัพเพ สะทา สันติง กะโรนตุ โน
๒๔๔. อะตัปปา นามะ พ๎รหั ม๎ าโน จะตุตถัชฌานะสัณฐิโน
พ๎รัห๎มะวิหาริกา สัพเพ โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน
๒๔๕. สุทัสสา นามะ พ๎รัห๎มาโน ภิรูปา ฌานะโภคิโน
อะปุนาคะมะนา กาเม สันติง ผาสุง กะโรนตุ โน
270 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๒๔๖. พ๎รัห๎มะวิหาระสัมปนนา ชินะภัตติปะรายะนา
พ๎รัห๎มาโน สุทัสสี นามะ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๔๗. อะกะนิฏฐา จะ พ๎รัห๎มาโน เชฏฐา สัพพะคุเณหิ จะ
ปะหีนะภะวะนิสเนหา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๔๘. ปะฐะมารูปะพ๎รัห๎มาโน สัพพะรูปะวิราคิโน
ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๔๙. ทุติยารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน
ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๕๐. ตะติยารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน
ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
๒๕๑. จะตุตถารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน
ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
(บุคคลประเภทรวม)
๒๕๒. เวเทเหปะระโคยาเน ชัมพูทีเป กุรุมหิ จะ
เทวะยักขะปสาเจหิ สัทธิง วิชชาธะราทะโย
๒๕๓. อากาสัฏฐา จะ พ๎รัห๎มาโน ชะลัฏฐา จันตะลิกขะชา
ทวิปะทาทะโย เย สัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน
(อานุภาพแหงพระรัตนตรัย)
๒๕๔. มาระเสนะวิฆาตัสสะ ชินัสสะ สุขะฌายิโน
เตโชพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน
๒๕๕. นานาคุณะวิจิตตัสสะ รูปะกายัสสะ สัตถุโน
สัพพะเทวะมะนุสสานัง มาระพันธะวิโมจิโน
เมตตาพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน
๒๕๖. สัพพัญ\ุ ตาทิกายัสสะ ธัมมะกายัสสะ สัตถุโน
จักขาทยะโคจะรัสสาป โคจะรัสเสวะ ภูริยา
เตโชพะเลนะ มะหะตา สัพพะมังคะละมัตถุ โน
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 271

๒๕๗. รูปะกายะสะทิสัสสะ นิมมิตัสสะ มะเหสิโน


ธัมมัสสะ วัตตุโน สัคเค เทวานัง สุคะตา ปะติ
เตโชพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน
๒๕๘. สิกขิตฺ๎วา มานุเส เทเว โมจะยิต๎วา สะเทวะเก
สังขาเร ปะชะหันตัสสะ นิพพุตัสสะ มะเหสิโน
มะหันเตนานุภาเวนะ สัพพะมังคะละมัตถุ โน
๒๕๙. จะตุราสีติสะหัสสะ- ธัมมักขันธัสสะ เตชะสา
นะวังคะสาสะนัสสาป นะวะโลกุตตะรัสสะ จะ
สัพพะปาปะปะวาเหนะ สัพพะมังคะละมัตถุ โน
๒๖๐. มะหะโตริยะสังฆัสสะ ปุญญักเขตตัสสะ ตาทิโน
ปะหีนะสัพพะปาปสสะ สีลาทิกขันธะธาริโน
มะหาเตชานุภาเวนะ สัพพะมังคะละมัตถุ โน
(อานุภาพของเทวดาตาง ๆ)
๒๖๑. ปาตาเล ภูตะลากาเส เทวะยักขะปสาจะกา
วิชชาธะรา จะ คันธัพพา นาคะกุมภัณฑะรักขะสา
สัพเพสะมานุภาเวนะ สัพพะมังคะละมัตถุ โน
(อานุภาพของอุปปาตะสันติ)
๒๖๒. อิจเจวะมุปปาตะสันติง โย วะเทยยะ สุเณยยะ วา
วิเชยยะ สัพพะปาปานิ วุทธัตตัญจะ ภะวิสสะติ
ผูใดสวด หรือฟงคัมภีร อุปปาตะสันติ อันกลาวแลวดวยประการฉะนี้ จะพึงชนะบาป
ทั้งปวง และจักเจริญดวยคุณ ๕ ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ และปฏิภาณ

๒๖๓. โสตถิกาโม ละเภ โสตถิง สุขะกาโม สุขัง ละเภ


อายุกาโม ละเภยยายุง ปุตตะกาโม ละเภ ปุตเต
ผูใดปรารถนาความสวัสดี พึงไดความสวัสดี ผูปรารถนาความสุข พึงไดความสุข
ผูปรารถนาอายุ พึงไดอายุ ผูประสงคบุตร พึงไดบุตร
272หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๒๖๔. นะ ตัสสะ โรคา พาเธนติ วาตะปตตาทิสัมภะวา
อะกาละมะระณัง นัตถิ นะ เทโว วิสะโมสะเร
โรคที่เกิดจากลม จากดีเปนตน ยอมไมเบียดเบียนบุคคลนั้น ความตายในกาลอัน
ไมสมควร ยอมไมมีแกบุคคลนั้น มิจฉาเทวดายอมไมรังแกตาง ๆ นา ๆ

๒๖๕. นะ จุปปาตะภะยัง ตัสสะ โนป ปตตะภะยัง ตะถา


นัสสันติ ทุนนิมิตตานิ ปาปะกัมมัฏฐิตานิ จะ
ทีฆะมายุ มะหาโสตถิง อาโรค๎ยัญจะ สะทา ภะเว
เคราะหรายและภัยยอมไมมีแกเขา นิมิตรายและสิ่งที่ตั้งขึ้นเพราะบาปกรรมยอม
พินาศไป ความมีอายุยืน ความสวัสดี อันประเสริฐ และความไมมีโรคจะพึงมีแกเขา
ในกาลทุกเมื่อ

๒๖๖. โย สุต๎วาป มะหาสันติง สังคามัง ปะวิเส นะโร


วิชะเย เวริโน สัพเพ นะ สัตเถหะยะภิภูยะเต
ผูใดฟงคัมภีรอุปปาตะสันติอันประเสริฐแลว พึงเขาไปสูสมรภูมิ
บุคคลนั้นอันศาสตราไมกลํ้ากราย ยอมชนะขาศึกทั้งมวล

๒๖๗. สัพพะทา ละภะเต ปติง วิปตติง นาวะคาหะติ


โรเคหิ นาภิภูยะเต สะวัตถูหิ วิวัฑฒะเต
เขายอมไดซึ่งความอิ่มใจในกาลทุกเมื่อ ความวิบัติ ยอมไมมากลํ้ากราย ยอมไรโรคา
ยอมเจริญดวยทรัพยศฤงคาร

๒๖๘. ยัต๎ระ เทเส วะโกวะกา พาฬหะกา รักขะสาทะโย


อุปปาตะสันติโฆเสนะ สัพเพ ตัตถะ สะมันติ เต
สัตวรายนอยใหญ และรากษสเปนตน ผูอยูในปาเขาลําเนาไพรทั้งหลายทั้งปวง
ยอมสงบดวยเสียงแหงการสวดคาถาอุปปาตะสันติ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 273

๒๖๙. ยะมุททิสสะ วะเท สันติง สะชีวัญจาปยะชีวิตัง


โส มุจจะเต มะหาทุกขา ปปโปติ สุคะติง สะทา
บุคคลสวดคัมภีรอุปปาตะสันติ อุทิศใหผูใดที่มีชีวิตอยูหรือไมมีชีวิตอยู
บุคคลนั้นยอมพนจากมหันตทุกข ยอมเขาถึงสุคติภพ ในกาลทุกเมื่อ

๒๗๐. เทวัฏฐาเน นะคะเร วา นิจจะมุปปาตะสันติยา


ปาละกา เทวะราชาโน เตชะสิรีวิวัฑฒะนา
ทาวเทวราชทั้งหลายผูปกปกรักษาเนืองนิจ ในสถานที่อันศักดิ์สิทธิ์ หรือในพระนคร
เปนผูเจริญดวยเดชและสิริมงคลดวยคัมภีรอุปปาตะสันตินี้

๒๗๑. ปะฐัพ๎ยาปาทิสัญชาตา อุปปาตา จันตะลิกขะชา


อินทาทิชะนิตุปปาตา ปาปะกัมมะสะมุฏฐิตา
สัพพุปปาตา วินัสสันติ เตชะสุปปาตะสันติยาติ
เหตุรายอันเกิดจากแผนดินไหวและนํ้าทวมเปนตน เหตุรายที่เกิดจากฟากฟา
เหตุรายอันเกิดจาก จันทรุปราคาเปนตนเหตุรายที่เกิดจากบาปกรรม เหตุราย
ทั้งปวงเหลานั้นจักพินาศไปดวยเดชแหงอุปปาตะสันติ

อุปปาตะสันติ นิฏฐิตา ๚๛
๏ จบอุปปาตะสันติ มนตสําหรับระงับเหตุรายทั้งปวง ๏

๏ บทสวดคาถารัตนมาลา ๏
( อิติปโสรัตนมาลา ๑๐๘ )
คาถารัตนมาลานี้ นับเปนปฐมบททีส่ าํ คัญยิง่ เพราะการเสกหรือลงอักขระนัน้
บางทีทา นก็วางคาถาปลุกเสกกํากับไวดว ยบางทีกไ็ มมี เชนจะลงคําวานะ ถาหาก
มิไดวางคาถาปลุกเสกไว ก็ใหนําคัมภีรรัตนมาลานี้ไปใชปลุกเสก อันไดแก
คําวา
274 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
นะรา นะระหิตัง เทวัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง
นะรานัง กามะปงเกหิ นะมามิ สุคะตัง ชินัง
หรือจะเปนอักขระตัวอื่นก็ใหใชทํานองนี้ เชนจะลงคําวา อิ กะ วิ ติ ก็ให
เอาคาถาที่ตรงกับคําวา อิ ตรงกับคําวา กะ ตรงกับคําวา วิ ตรงกับ คําวา ติ
ปลุกเสก คัมภีรนี้เปนคัมภีรเกาแกดั้งเดิม เกรงจะสาบสูญไปเสียจึงไดนํ้ามา
ประมวลกล า วไว ณ ที่ นี้ เริ่ ม คาถาขึ้ น จาก นะโมพุ ท ธายะ สิ ท ธั ง
อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ กะ ขะ คะ ฆะ งะ ฯลฯ สะ หะ ฬะ อัง แลวตอไปก็
เปนพระพุทธคุณ ๕๖ คาถา พระธรรมคุณ ๓๘ คาถา พระสังฆคุณ ๑๔ คาถา
ดังนี้ อันพระคาถารัตนมาลานีม้ พี ระคุณสุดทีจ่ ะพรรณนาได ถาผูใ ด เลาบนไวได
เสมือนมีขมุ ทองธรรมชาติบงั เกิดขึน้ ในบานเรือนตน อุปเทหว ธิ ใี ชสดุ จะคณานับ
ใชปลุกเสกไดทุกอยาง ใชสวดทํานํ้าพระพุทธมนตก็ได อนึ่ง
ใหจารึกพระอักขระเหลานีใ้ สแผนโลทะทําเปนตะกรุดก็ได (ตะกรุดพระพุทธ
คุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ ตามตําหรับวัดประดูโรงธรรมกรุงศรีอยุธยา ให
ลงใสผาทําเปนประเจียดทําเปนธงก็ได ทรงคุณานุภาพวิเศษยิ่งนักแล๚

คาถาสรรเสริญคุณพระเจา ๕ พระองค
นะ๏ นะรานะระหิตัง เทวัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง
นะรานัง กามะปงเกหิ นะมามิ สุคะตัง ชินัง๚๛
โม๏ โมหะมาณัง ปะริชินัง โมหะมะตัง ปะกาสิตัง
โมหะสัพพัญ\ุ ตตะญาณัง โมหะธิตัง นะมามิหัง๚๛
พุท๏ พุทโธ พุทธานัง พุทธะตัง พุทธั\จ พุทธะภาสิตัง
พุทธะตัง สะมะนุปปตโต พุทธะโชตัง นะมามิหัง๚๛
ธา๏ ธาตานัง สัพพะธัมมานัง ธาตุภูตัง ปะกาสิตัง
ธาตานัง สัคคะนิพพานัง ธาตุภูตัง นะมามิหัง๚๛
ยะ๏ ยะทะชันติ สังวิธานะ ยะทะธัมมา สะป\ญานะ
ยะทะสังฆา อนุปปตโต ยะทะติณณัง นะมามิหัง๚๛
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 275

สิท๏ สิทธิกิจจัง สิทธิกัมมัง สิทธิการัง ตะถาคะตัง


สิทธิกัญเจวะ สัมภารัง สิทธิกิจจัง นะมามิหัง๚๛
ธัง๏ ธัมมัฎฐิโต ธัมมะคะรุ ธัมมะธัมโม ตะถาคะโต
ธัมมะทัสสี ธัมมะธะโร ธัมมะสามิ จะเตนะโม๚๛

คาถานมัสการบูชาสระ
อะ๏ อะระหัง ปูชา สักการัง อะระโห ปาปะการะเย
อะระหัตตะผะลัปปตโต อะระโห นามะ เต นะโม
อา๏ อาคะโม ญาณะสีเลนะ อาคะโม เนกขัมมายะวา
อาคะโม เมตตุเปกขา จะ อาทิฏฐานัญจะ อาคะโม
อิ๏ อิทธิวิกุพพะกัตตาโร อิทธิกาโร ปะกาสิโต
อิทธิริทธิกะโร กะโร อิทธิการัง นะมามิหัง
อี๏ อีทิสัง พุทธะวัจจะนัง อีทีสัง ธัมมะมุตตะมัง
อีทิสัง สัคคะโมกชัญ จะ อีทิสันตัง นะมามิหัง
อุ๏ อุตตาโร จัตตาโร พุทโธ อุตตะโร ธัมมะเทสะยิ
อุตตะโร สัคคะโมกขัญจะ อุตตะมันตัง นะมามิหัง
อู๏ อูณะโต ราคะโทสัญจะ อูณะโต ราคะโมหะกัง
อูณะโต ทิฏฐิชาสัญจะ อูณะตันตัง นะมามิหัง
เอ๏ เอสะติ สัพพะพุทธานัง เอสะติ ธัมมะมุตตะมัง
เอสะติ สัคคะโมกขัญจะ เอสะสันตัง นะมามิหัง
ไอ๏ ไอโยเค นาคะสุปณณานัง ไอโยเคนะอุรักชิตัง
ไอโยเคนะชิตะมารัง ไอยะทิฏฐิงนะมามิหัง
โอ๏ โอหิโตสัพพะกิเลสัง โอหิโตจะสัพพะมะลัง
โอหิโตสัพพะทิฏฐิญจะ โอหิจิตตังนะมามิหัง
เอา๏ เอาวะหะโยโลกะสัมภูโต เอาวะหะโยเชฏฐะกาชิโน
เอาวะหะโยพุทธะเสฎโฐจะ เอาวะทะโยตังนะมามิหัง
276 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อัง๏ อังคะสัมปนโนพุทโธจะ อังคะยุโกสุเทสิโต
อังคะเสฎโฐจะปะวะโร อังคะภูตังนะมามิหัง
อะ๏ อะตีตานาคะตะโชติ อะธิกังธัมมะมุตตะมัง
อะทิฏฐะธัมมะระสัญจะ อะตุทธานัญจะโคจะรัง
จบสระ ๑๒ อันเปนอักขระสวนเทียบคุณพระมารดาเพียงเทานี้๚๛

กะ๏ กะโรกะระธิโรกะโร กะรากะรังหิตังกะโร


กะรากะรังกะโรกะโร ตัณหังกะรังนะมามิหัง
ขะ๏ ขะราขะระขีระขะโณ ขะราขะรังขะเณปตเต
ขะราขะรังกะเรเมธัง เมธังกะรังนะมามิหัง
คะ๏ คะราคะระคิรังมัคคุ คะริคะระคะรุคะรู
คะริกะระกะรากะรัง นะมามิสะระรังกะรัง
ฆะ๏ ฆะระฆะระฆะนะฆะฏิ ฆะราฆะรุฆะฏิฆะฏิ
ฆะราฆะระฆะเรทีปง ปะทีปงกะรัง นะมามิหัง
งะ๏ งะรางะรังวุตตัง กะโร งะรา งะระ นิพพินทะโก
งะรา งะระ ทิพพะโกญฑัง โกญฑัญญังปะนะมามิหัง
จะ๏ จะรา จะรัง จะระ จาโร จะรา จะเร จะโร จะโร
จะรา จะรัง จะรัง สุภัง สุมังคะลัง นะมามิหัง
ฉะ๏ ฉันทา ฉันทัง ฉิรา เฉรัง ฉันทา ฉันทะ วะรา วะรา
ฉันทา ฉันทะวะรัง วะรัง นะมามิ สุมะนังพุทธัง
ชะ๏ ชะรา ชะระ ชิโน ชิโน ชะรา ชะระ ชินุตตะโม
ชะรา ชะระ ชิโน โมจัง นะมามิ พุทธะเรวัตตัง
ฌะ๏ ฌะณะ ฌานะกะระโต ชิโน ฌะณะ ฌานะกะโร กะโร
ณะณะ ฌานะกะรัง สุภัง นะมามิ พุทธะโสภิตัง
ญะ๏ ญาณา ญาเร สุกุสะโล ญาณา ญาเณ สุปากะโต
ญาณา ญาเณ สุภัง กัมมัง นะมามิ อะโนมะทัสสิง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ277

ฏะ๏ ฏะฏา ฏะเฏ สุวิยะโน ฏะภา ฏะเฏ สุโกวิโท


ฏะภา ฏะเฎ สุภังกัมมัง นะมามิ ปะทุมัง ชินัง
ฐะ๏ ฐะฐา คะเต ฐะฐา ฐิโต ฐะฐา มัคโค ฐะฐาวะโร
ฐัปปฏฐานะฐิรังวะรัง นะมามินาระทังชินา
ฑะ๏ ฑะรา ฑะระ ธิโร ธีโร ฑะราทะระทิโตหิโต
ฑะรา ฑะรัง กะรัง รัตตัง ฒะธา ฒะธะระโณ ระโณ
ฒะ๏ ฒะธา ฒะธัง อัคโฆ นัคโฆ นะมามิ สุเมธัง ชินัง
ฒะธา ฒะธะ ธะระ เอชะ นะมามิ สุเมธัง ชินัง
ณะ๏ ณะมะ มาโณ ฐิโต ธีโร ณะมะเชยโย สุเมธะโส
ณะมะ โมเจติ สังสารัง นะมามิ สุชาตัง ชินัง
ตะ๏ ตะรา ตะระ ตะรันโต โสตะระมาโน ตะโร ตะโร
ตะรันตะระตะรับปายัง ปยะทัสสี นะมามิหัง
ถะ๏ ถัปปะมาโน ถิโต ถิโร ถัปปะมาโน ถิโต ถิโต
ถับปะมานัง กะรัง สุภัง อัตถะทัสสีนะมามิหัง
ทะ๏ ทะทะมาโน ลิโต ทินโน ทะทะมานา อะเสสะโต
ทะทะมานัง สุภังปุญญัง ธัมมะทัสสี นะมามิทัง
ธะ๏ ธะรา ธะระ ธะรา ธะโร ธะระ ธะรัง ธิโร ธิโร
ธะรา ธะรัง ธุรัง ธิริ สิทธัตถัญจะนะมามิหัง
นะ๏ นะรา นะระ รัตตัญญาณัง นะรา นะระรัตตะหิตัง
นะรา นะระ รัตตะเขมัง ติสสะชินันนะมามิหัง
ปะ๏ ปะทา ปะเทสุ ปะชันโต ปะทา ปะเท สุปากะโฏ
ปะทา ปะเทสุ เชตุมป ปุสสะชินันนะมามิหัง
ผะ๏ ผะลา ผะเลสุ กัมเมสุ ผะละผะเล สุโพธิงสุ
ผะลา ผะละกัตตัง การัง วิปสสิญจะนะมามิหัง
พะ๏ พัพภาพัพเภ สุพัทธันโต พัพภา พัพเภ สุพันทะโก
พัพภา พัพเภ สุภัง ปุญญัง พุทธะสิขินะมามิหัง
278หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ภะ๏ ภะวาภะเว สุละภันโต ภะวาภะเว สุกุสะโล
ภะวาภะเว สุเฉกัมป เวสสะกุญจะ นะมามิหัง
มะ๏ มันตามันเต สุทโธ มัทโธ มัทธะมาโน มะโน มะโน
มะนุญญะภาสะมานัมป กุกกุสันทันนะมามิหัง
ยะ๏ ยัตถะ ยัตถะ คะโต ธิโร ยัตถะ ยัตถะ คะโต สุโภ
ยัตถะ ยัตถะ คะโต ญาณัง โกนาคะมะนันนะมามิหัง
ระ๏ รัตตา รัตตัง กะโร กะโร รัตตารัตตัง กะโร ชิโน
รัตตารัตตังกะระชะรัง นะมามิ กัสสะปงชินัง
ละ๏ ลัคคาลัคคังลิโตลิโล ลัคคาลัคคังละยาละโย
ลัคคาลัคคังตะรังวะรัง นะมามิ โคตะมังชินัง
วะ๏ วัชชาวัชชะคะโตธิโร วัทธาวัทธะวิโรวิโน
วะทะวะทังตุวะตะวัง นะมามิ วะทัตตังชินัง
สะ๏ สันตาสันโต โกสกาโร สันโต สันตะธิโร สันโต
สันโต สะการะณะธิรัง นะมามิ สุคะตังชินัง
หะ๏ หะราหะรังหะโรหะโร หะระหะริง หิโร หิโร
หะราหะระหะรังหะรัง นะมามิ ทะรันตังชินัง
ฬะ๏ ฬะทาฬะทะกะโรกาโร ฬะทะฬะทังกะโรญาณัง
ฬะทาฬะทิฬะทังฬะทัง นะมามิ ฬะทันตังชินัง
อัง๏ อัมหากังพุทธะวะจะนัง อัมหากัง ธัมมะมุตตะมัง
อัมหากังสัคคะโมกขัญจะ นะมามิ อะระหังชินัง
จบพยัญชนะอันเปนรัตนมาลาฝายบิดาแตเทานี้แล

หองพระพุทธคุณ ๕๖
อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปนโน
สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง
พุทโธ ภะคะวาติ.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 279

๑. (อิ.) อิฏโฐ สัพพัญ\ุตัญญานัง อิจฉันโต อาสะวักขะยัง


อิฏฐัง ธัมมัง อะนุปปตโต อิทธิมันตัง นะมามิหัง
๒. (ติ.) ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัม๎หา ติณณัง โลกานะมุตตะโม
ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณัง โอฆัง นะมามิหัง
๓. (ป.) ปโย เทวะมะนุสสานัง ปโย พ๎รัห๎มานะมุตตะโม
ปโย นาคะสุปณณานัง ปณินท๎ริยัง นะมามิหัง
๔. (โส.) โสกา วิรัตตะจิตโต โย โสภะนาโม สะเทวะเก
โสกัปปตเต ปะโมเทนโต โสภะวัณณัง นะมามิหัง
๕. (ภะ.) ภะชิตา เยนะ สัทธัมมา ภัคคะปาเปนะ ตาทินา
ภะยะสัตเต ปะหาเสนโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง
๖. (คะ.) คะมิโต เยนะ สัทธัมโม คะมาปโต สะเทวะกัง
คัจฉะมาโน สิวงั รัมมัง คะตะธัมมัง นะมามิหัง
๗. (วา.) วานา นิกขะมิ โย ตัณ๎หา วาจัง ภาสะติ อุตตะมัง
วานะนิพพาปะนัตถายะ วายะมันตัง นะมามิหัง
๘. (อะ.) อะนัสสา สะกะสัตตานัง อัสสาสัง เทติ โย ชิโน
อะนันตะคุณะสัมปนโน อันตะคามิง นะมามิหัง
๙. (ระ.) ระโต นิพพานะสัมปตเต ระโต โย สัตตะโมจะเน
รัมมาเปตีธะ สัตเต โย ระณะจาคัง นะมามิหัง
๑๐. (หัง.) หัญญะเต ปาปะเก ธัมเม หังสาเปติ ปะรัง ชะนัง
หังสะมานัง มะหาวีรัง หันตะปาปง นะมามิหัง
๑๑. (สัม.) สังขะตาสังขะเต ธัมเม สัมมา เทเสสิ ปาณินัง
สังสารัง สังวิฆาเฏติ สัมพุทธันตัง นะมามิหัง
๑๒. (มา.) มาตาวะ ปาลิโต สัตเต มานะถัทเธ ปะมัททิโน
มานิโต เทวะสังเฆหิ มานะฆาฏัง นะมามิหัง
๑๓. (สัม.) สัญจะยัง ปาระมิง สัมมา สัญจิต๎วา สุขะมัตตะโน
สังขารานัง ขะยัง กัต๎วา สันตะคามิง นะมามิหัง
280 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑๔. (พุท.) พุชฌิต๎วา จะตุสัจจานิ พุชฌาเปติ มะหาชะนัง
พุชฌาเปนตัง สิวัง มัคคัง พุทธะเสฏฐัง นะมามิหัง
๑๕. (โธ.) โธติ ราเค จะ โทเส จะ โธติ โมเห จะ ปาณินัง
โธติสะวังมะหาวีรัง โธตะเก๎ลสัง นะมามิหัง
๑๖. (วิช.) วิวิจเจวะ อะสัทธัมมา วิจิตะวา ธัมมะเทสะนัง
วิเวเก ฐิตะจิตโต โย วิทิตันตัง นะมามิหัง
๑๗. (ชา.) ชาติธัมโม ชะราธัมโม ชาติอันโต ปะกาสิโต
ชาติเสฏเฐนะ พุทเธนะ ชาติโมกขัง นะมามิหัง
๑๘. (จะ). จะยะเต ปุญญะสัมภาเร จะเยติ สุขะสัมปะทัง
จะชันตัง ปาปะกัมมานิ จะชาเปนตัง นะมามิหัง
๑๙. (ระ.) ระมิตัง เยนะ นิพพานัง รักขิตัง โลกะสัมปะทัง
ระชะโทสาทิเก๎ลเสหิ ระหิตันตัง นะมามิหัง
๒๐. (ณะ.) นะมิโตเยวะ พ๎รัห๎เมหิ นะระเทเวหิ สัพพะทา
นะทันโต สีหะนาทัง โย นะทันตัง ตัง นะมามิหัง
๒๑. (สัม.) สังขาเร ติวิเธ โลเก สัญชานาติ อะนิจจะโต
สัมมา นิพพานะสัมปตโต สัมปตสันตัง นะมามิหัง
๒๒. (ปน.) ปกกะเต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โส สะเทวะเก
ปญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันนัง ตัง นะมามิหัง
๒๓. (โน.) โน เทติ นิระยัง คันตุง โน จะ ปาปง อะการะยิ
โน สะโม อัตถิ ปญญายะ โนนะธัมมัง นะมามิหัง
๒๔. (สุ.) สุนทะโรวะ ระรูเปนะ สุสะโร ธัมมะภาสะเน
สุทุททะสัง ทิสาเปติ สุคะตันตัง นะมามิหัง
๒๕. (คะ.) คัจฉันโต โลกิยัง ธัมมัง คัจฉันโต อะมะตัง ปะทัง
คะโต โส สัตตะโมเจตุง คะตัญญาณัง นะมามิหัง
๒๖. (โต.) โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฏฐาเน สิเว วะเร
โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตละจิตตัง นะมามิหัง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 281

๒๗. (โล.) โลเภ ชะหะติ สัมพุทโธ โลกะเสฏโฐ คุณากะโร


โลเภ สัตเต ชะหาเปติ โลภะสันตัง นะมามิหัง
๒๘. (กะ.) กันโต โย สัพพะสัตตานัง กัต๎วา ทุกขักขะยัง ชิโน
กะเถนโต มะธุรัง ธัมมัง กะถาสัณ๎หัง นะมามิหัง
๒๙. (วิ.) วินะยัง โย ปะกาเสติ วิทธังเสต๎วา ตะโย ภะเว
วิเสสัญญาณะสัมปนโน วิปปะสันนัง นะมามิหัง
๓๐. (ทู.) ทูเส สัตเต ปะหาเสนโต ทูรัฏฐานัง ปะกาสะติ
ทูรัง นิพพานะมาคัมมะ ทูสะหานัง นะมามิหัง
๓๑. (อะ.) อันตัง ชาติชะราทีนัง อะกาสิ ทิปะทุตตะโม
อะเนกุสสาหะจิตเตนะ อัสสาเสนตัง นะมามิหัง
๓๒. (นุต.) นุเทติ ราคะจิตตานิ นุทาเปติ ปะรัง ชะนัง
นุนะ อัตถัง มะนุสสานัง นุสาสันตัง นะมามิหัง
๓๓. (ตะ.) ตะโนติ กุสะลัง ธัมมัง ตะโนติ ธัมมะเทสะนัง
ตัณ๎หายะ วิจะรันตานัง ตัณ๎หาฆาฏัง นะมามิหัง
๓๔. (โร.) โรเสนโต เนวะ โกเปติ โรเสเหวะ นะ กุชฌะติ
โรคานัง ราคะอาทีนัง โรคะสันตัง นะมามิหัง
๓๕. (ปุ.) ปุณันตัง อัตตะโน ปาปง ปุเรนตัง ทะสะปาระมิง
ปุญญะวันตัสสะ ราชัสสะ ปุตตะภูตัง นะมามิหัง
๓๖. (ริ.) ริปุราคาทิภูตัง วะ ริทธิยา ปะฏิหัญญะติ
ริตตัง กัมมัง นะ กาเรตา ริยะวังสัง นะมามิหัง
๓๗.(สะ.) สัมปนโน วะระสีเลนะ สะมาธิปะวะโร ชิโน
สะยัมภูญาณะสัมปนโน สัณ๎หะวาจัง นะมามิหัง
๓๘. (ทัม.) ทันโต โย สะกะจิตตานิ ทะมิต๎วาป สะเทวะกัง
ทะทันโต อะมะตัง เขมัง ทันตินท๎ริยัง นะมามิหัง
๓๙.(มะ.) มะหุสสาเหนะ สัมพุทโธ มะหันตัง ญาณะมาคะมิ
มะหิตัง นะระเทเวหิ มะโนสุทธัง นะมามิหัง
282 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๔๐. (สา.) สารัง เทตีธะ สัตตานัง สาเรติ อะมะตัง ปะทัง
สาระถี วิยะ สาเรติ สาระธัมมัง นะมามิหัง
๔๑. (ระ.) รัมมะตาริยะสัทธัมเม รัมมาเปติ สะสาวะกัง
รัมเม ฐาเน วะสาเปนตัง ระณะหันตัง นะมามิหัง
๔๒. (ถิ.) ถิโต โย วะระนิพพาเน ถิเร ฐาเน สะสาวะโก
ถิรัง ฐานัง ปะกาเสติ ถิตะธัมมัง นะมามิหัง
๔๓. (สัต.) สัทธัมมัง เทสะยิต๎วานะ สันตังนิพพานะปาปะกัง
สะมาหิตัง สะสาวะกัง สันตะจิตตัง นะมามิหัง
๔๔. (ถา.) ถานัง นิพพานะสังขาตัง ถาเมนาธิคะโต มุนิ
ถาเน สัคคะสิเว รัมเม ถาเปนตัง ตัง นะมามิหัง
๔๕. (เท.) เทนโต โย สัคคะนิพพานัง เทวะมะนุสสะปาณินัง
เทนตัง ธัมมะวะรัง ทานัง เทวะเสฏฐัง นะมามิหัง
๔๖. (วะ.) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง อะนาสะวัง
วันทิตัง เทวะพ๎รัห๎เมหิ วะรังพุทธัง นะมามิหัง
๔๗. (มะ.) มะหะตา วิริเยนาป มะหันตัง ปาระมิง อะกา
มะนุสสะเทวะพ๎รัห๎เมหิ มะหิตันตัง นะมามิหัง
๔๘. (นุส.) นุนะธัมมัง ปะกาเสนโต นุทะนัตถายะ ปาปะกัง
นุนะ ทุกขาธิปนนานัง นุทาปตัง นะมามิหัง
๔๙. (สา.) สาวะกานังนุสาเสติ สาระธัมเม จะ ปาณินัง
สาระธัมมัง มะนุสสานัง สาสิตันตัง นะมามิหัง
๕๐. (นัง.) นันทันโต วะระสัทธัมเม นันทาเปติ มะหามุนิ
นันทะภูเตหิ เทเวหิ นันทะนียัง นะมามิหัง
๕๑. (พุท.) พุชฌิต๎วาริยะสัจจานิ พุชฌาเปติ สะเทวะกัง
พุทธะญาเณหิ สัมปนนัง พุทธัง สัมมา นะมามิหัง
๕๒. (โธ.) โธวิตัพพัง มะหาวีโร โธวันโต มะละมัตตะโน
โธวิต๎วา ปาณินัง ปาปง โธคะเก๎ลสัง นะมามิหัง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 283

๕๓. (ภะ.) ภะยะมาปนนะสัตตานัง ภะยัง หาเปติ นายะโก


ภะเว สัพเพ อะติกกันโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง
๕๔. (คะ.) คะธิโต เยนะ สัทธัมโม คะตัญญาเณนะ ปาณินัง
คัณหะนียัง วะรัง ธัมมัง คัณหาเปตัง นะมามิหัง
๕๕. (วา.) วาปตัง ปะวะรัง ธัมเม วานะโมกขายะ ภิกขุนัง
วาสิตัง ปะวะเร ธัมเม วานะหานัง นะมามิหัง
๕๖. (ติ.) ติณโณ โส สัพพะปาเปหิ ติณโณ สัคคา ปะติฏฐิโต
ติเร นิพพานะสังขาเต ติกขะญาณัง นะมามิหังฯ
ฉัปปญญาสะ พุทธะคาถา พุทธะคุณา สุคัมภิรา
เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา.

หองพระธรรมคุณ ๓๘
ส๎วากขาโต ภะคะวาตา ธัมโม , สันทิฏฐิโก อะกาลิโก
เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญ<ู หีติ.
๑. (ส๎วาก.) ส๎วาคะตันตัง สิวัง รัมมัง ส๎วานะยัง ธัมมะเทสิตัง
ส๎วาหุเนยยัง ปุญญะเขตตัง ส๎วาสะภัง นะมามิหัง
๒. (ขา.) ขาเทนโต โส สัพพะปชชัง ขายิตัง มะธุรัง ธัมมัง
ขาทันตัง ติวิธัง โลกัง ขายิตันตัง นะมามิหัง
๓. (โต.) โตเสนโต สัพพะสัตตานัง โตเสนติ ธัมมะเทสะนัง
โตสะจิตตัง สะมิชฌันตัง โตสิตันตัง นะมามิหัง
๔. (ภะ.) ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห อะนุตตะโร
ภัคคะกิเลสะสัตตานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง
๕. (คะ.) คัจฉันโต รัมมะเก สิเว คะมาปโต สะเทวะเก
คัจฉันโต พ๎รัห๎มะจะริยัง คัจฉันตันตัง นะมามิหัง
๖. (วะ.) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง วันตะปาปง
วันตัง พาละมิจฉาทีนัง วันตะตันตัง นะมามิหัง
284 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๗. (ตา.) ตาเรสิ สัพพะสัตตานัง ตาเรสิ โอริมังติรัง
ตาเรนตัง โอฆะสังสารัง ตาเรนตันตัง นะมามิหัง
๘. (ธัม.) ธะระมาเนป สัมพุทเธ ธัมมะเทสัง นิรันตะรัง
ธะเรยยะ อะมะตัง ฐานัง ธะเรนตันตัง นะมามิหัง
๙. (โม.) โมหัญจะ ทะมะโต สัตเต โมหะชิเต อะการะยิ
โมหะชาเต ธัมมะจารี โมหะชิตัง นะมามิหัง
๑๐. (สัน.) สัพพะสัตตะตะโมนุโท สัพพะโสเกวินาสะโก
สัพพะสัตตะหิตักกะโร สัพพะสันตัง นะมามิหัง
๑๑. (ทิฏ.) ทิฏเฐ ธัมเม อะนุปปตโต ทิฏฐิกังขาราคะลุเต
ทิฏฐิ ท๎วาสัฏฐี ฉินทันเต ทิฏฐิสันตัง นะมามิหัง
๑๒. (ฐิ.) ฐิติสีละสะมาจาเร ฐิติเตระสะธุตังเค
ฐิตธิ ัมเม ปะฎิปตติ ฐิติปะทัง นะมามิหัง
๑๓. (โก.) โกกานัง ราคัง ปเฬติ โกโธป ปะฏิหัญญะติ
โกกานัง ปูชิโต โลเก โกกานังปะนะมามิหัง
๑๔. (อะ.) อัคคะเสฏโฐ วะโร ธัมโม อัคคะปุญโญป พุชฌะติ
อัคคะธัมมัง สุนิปุณัง อัคคะสันตัง นะมามิหัง
๑๕. (กา.) กาเรนโต โส สิเวรัชเช การะเย ธัมมะจาริเย
กาตัพเพสุสิกขากาเม กาเรนตันตัง นะมามิหัง
๑๖. (ลิ.) ลิโต โย สัพพะทุกเขสุ ลิกขิเต ปฎะกัตตะเย
ลิมปเตป สุวัณเณนะ ลิกขันตันตัง นะมามิหัง
๑๗. (โก.) โก ปุคคะโลสะทิโสมัง โก ธัมมัง อะภิปูชะยิ
โก วันทะติ ธัมมะระสัง โกสัลโลตัง นะมามิหัง
๑๘. (เอ.) เอสะติ พุทธะวะจะนัง เอสะติ ธัมมะมุตตะมัง
เอสะติ สัคคะโมกขัญจะ เอสะสันตัง นะมามิหัง
๑๙. (หิ.) หิเน ฐาเน นะ ชายันเต หิเน ปาเปติ สุคะติง
หิเน โมหะสะเม ชาเล หินะตันตัง นะมามิหัง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 285

๒๐. (ปส.) ปกกะโต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โส สะเทวะเก


ปญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง
๒๑. (สิ.) สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ สีละธะรัง นะมามิหัง
๒๒. (โก.) โก โย อัคคะปญโญ ปุพเพ โกธะชะเห อะธิคัจฉิ
โก ธัมมัญจะ วิชานาติ โกธะวันตัง นะมามิหัง
๒๓. (โอ.) โอนะโต สัพพะกิเลสัง โอนะโต สัพพะมะมะลัง
โอนะโต ทิฏฐิชาลัญจะ โอนะโต ตัง นะมามิหัง
๒๔. (ปะ.) ปญญา จะเสฏโฐ โลกัส๎มิง ปญญา อะปะฎิปคคะโล
ปญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันโน ตัง นะมามิหัง
๒๕. (นะ.) นะรานะระหิตัง เทวัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง
นะรานัง กามะปงเกหิ นะมามิ สุคะตัง ชินนัง
๒๖. (ยิ.) ยิชชะเต สัพพะสัตตานัง ยิชชะตัง เทวะพ๎รัห๎มุนา
ยิชชิสสะติ จะ ปาณินัง ยิชฌะตันตัง นะมามิหัง
๒๗. (โก.) โกธัง ชะหะติ ปาปะกัง โกธะนังโกธะนะนาสสะติ
โกธัง ชะเห สุขัปปตติ โกธะนุทัง นะมามิหัง
๒๘. (ปจ.) ปะปญจาภิระตา ปะชา ปะชะหิตา ปาปะกาโย
ปปโปติ โสติวิปุโล ปชโชตันตัง นะมามิหัง๚
๒๙. (จัต.) จะริต๎วา พ๎รัห๎มะจะริยัง จะชันตังสุวิหัญญะติ
จะชันตัง สัพพะทาเนนะ จะชันตันตัง นะมามิหัง
๓๐. (ตัง.) ตะโนติ กุสะลัง กัมมัง ตะโนติ สัพพะวิริยัง
ตะโนติ สีละสะมาธิง ตันตะรายัง นะมามิหัง
๓๑. (เว.) เวรันโน ทินนะพันธันติ เวรัง เตสังปะสัมปะติ
เวรัง เวเรนะ เวรานิ เวระสันตัง นะมามิหัง
๓๒. (ทิ.) ทีฆายุโก พะหุปุญโญ ทีฆะรัตโต มะหาสาโร
ทีฆาโภเคนะ ปญเญนะ ทีฆะรัตตัง นะมามิหัง
286 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๓๓. (ตัพ.) ตะโต ทุกขา ปะมุญจันโต ตะโต โมเจติ ปานิโย
ตะโต ราคาทิกิเลโส ตะโตโมหัง นะมามิหัง
๓๔. (โพ.) โภนโต เทวะสังฆาโยติ โภคาเสฎโฐ จะปาปะโก
โภคานิ ปะริปุณณะโส โภคะสันตัง นะมามิหัง
๓๕. (วิญ.) วิระติ สัพพะทุกขัส๎มา วิริยันนาป ทุลละภา
วิริยาสุกขะสัมปนนา วิริยันตัง นะมามิหัง
๓๖. (\ู.) \ูตัญญาเณหิ สัมปนนัง \ูตะโยคะปะสัมปะติ
\ูตัญญาณะทัสสะนัญจะ \ูตะโยคัง นะมามิหัง
๓๗. (หี.) หีสันติ สัพพะโทสานิ หีสันติ สัพพะภะยานิ
หีสะโมหา สัตตาคะตา หีสันตันตัง นะมามิหัง
๓๘. (ติ.) ติณโณ โย วัฏฏะทุกขัม๎หา ติณณา โลกานะมุตตะโม
ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณะโอฆัง นะมามิหัง
อัฏฐัตติงสะ ธัมมะคาถา ธัมมะคุณา สุคัมภิรา
เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา.

หองพระสังฆคุณ ๑๔
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆฯ
๑. (สุ.) สุทธะสีเลนะ สัมปนโน สุฏฐะ โย ปะฏิปนนะโก
สุนทะโร สาสะนะกะโร สุนทะรันตัง นะมามิหัง
๒. (ปะ.) ปะฏิสัมภิทัปปตโต โย ปะสัฏโฐ วะ อะนุตตะโร
ปญญายะ อุตตะโร โลเก ปะสัฏฐันตัง นะมามิหัง
๓. (ฏิ.) ฏิตถิปะราชิโต สัตถา ฏิตถาชิราจะ สาสะเน
ฏิตถิถิยา พุทธวะจะเน ฏิตถะตันตัง นะมามิหัง
๔. (ปน.) ปะสัฏโฐ ธัมมะคัมภีโร ปญญะวา จะ อะวังกะโต
ปสสันโต อัตถะธัมมัญจะ ปะสัฏฐังป นะมามิหัง
๕. (โน.) โน เจติ กุสะลัง กัมมัง โน จะ ปาปง อะการะยิ
โนนะตัง พุชฌะติ ธัมมัง โนทิสันตัง นะมามิหัง
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 287

๖.(ภะ.) ภะคะราโค ภะคะโทโส ภะคะโมโห จะ ปาณินัง


ภะคะกิเลสะสัตตานัง ภะคะตันตัง นะมามิหัง
๗.(คะ.) คัจฉันโต โลกิยัง ธัมมัง คัจฉันโต โลกุตตะรัมปจะ
คะโตเยวะ กิเลเสหิ คะมิตันตัง นะมามิหัง
๘.(วะ.) วัณเณติ กุสะลัง ธัมมัง วัณเณติ สีละสัมปะทัง
วัณเณติ สีละรักขิตัง วัณณิตันตัง นะมามิหัง
๙.(โต.) โตเสนโต เทวะมะนุสเส โตเสนโต ธัมมะเทสะยิ
โตเสติ ทุฏฐะจิตเตป โตเสนตันตัง นะมามิหัง
๑๐.(สา.) สาสะนัง สัมปะฏิจฉันโน สาสันโต สิวะคามินิง
สาสะนะมะนุสาสันโต สาสันตันตัง นะมามิหัง
๑๑.(วะ.) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง สุทิฏฐิกัง
วันตัญจะ สัพพะปาปานิ วันตะเก๎ลสัง นะมามิหัง
๑๒.(กะ.) กะโรนโต สีละสะมาธิง กะโรนโต สาระมัตตะโน
กะโรนโต กัมมะฐานานิ กะโรนตันตัง นะมามิหัง
๑๓.(สัง.) สังสาเร สังสะรันตานัง สังสาระโต วิมุจจิ โส
สังสาระทุกขา โมเจสิ สังสุทธันตัง นะมามิหัง
๑๔.(โฆ.) โฆระทุกขักขะยัง กัต๎วา โฆสาเปติ สุรัง นะรัง
โฆสะยิ ปฏะกัตตะยัง โฆสะกันตัง นะมามิหัง
จะตุททะสะ สังฆะคาถา สังฆะคุณา สุคัมภิรา
เอเตสะมานุภาเวนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา๚๛

ฉัปปญญาสะ พุทธะคุณา ธัมมะคุณา อัฏฐะติงสะติ


สังฆะคุณา จะ จุททะสะ อัฏgุตตะระสะเต อิเม
ทิเน ทิเน สะระเตป โสตถี โหนติ นิรันตะรันติ๚๛
๏ จบพระคาถาอิติปโสรัตนมาลา ๑๐๘๚๛
288 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ยันทุน ๙ ชั้น (สูตรเสียเคราะหหลวง)
๑. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท อาทิตตายะ เทวะ พ๎ยกั ขะนาคะมุสกิ ะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ า ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ.
๒. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท จันทะ เทวะ พ๎ยักขะนาคะมุสิกะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ า ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๓. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท อังคารจะ เทวะ พ๎ยกั ขะนาคะมุสกิ ะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ า ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๔. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท พุทธะ เทวะ พ๎ยักขะนาคะมุสิกะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ า ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๕. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท พะหัสสะ เทวะ พ๎ยกั ขะนาคะมุสกิ ะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ า ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๖. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท ศุกกะ เทวะ พ๎ยักขะนาคะมุสิกะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ า ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 289

๗. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท


อะมะนัสสะสัทโท เสารจะ เทวะ พ๎ยกั ขะนาคะมุสกิ ะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ าปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๘. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท พระราหูจะ เทวะ พ๎ยกั ขะนาคะมุสกิ ะละหัตถิ โกนะคะลุทะ
มันสะลิสหิ า ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ
สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๙. ยันทุนนิมติ ตัง อวมังคลัญจะ โย จามะนาโป สะกุณสั สะสัทโท มะนัสสะสัทโท
อะมะนัสสะสัทโท พระลักขะณาจะ เทวะ พ๎ยักขะนาคะมุสิกะละหัตถิ
โกนะคะลุทะ มันสะลิสิหา ปาปคคะโห ทุสสุปนัง อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ
ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ

นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา,
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปททะเว
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปททะเว
นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปคคะหะนิวาระณา
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันต๎วา เตสัง อุปททะเว
290 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คาถายันทุนเกาชั้น
๑. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “อาทิตย” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๒. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “จันทร” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๓. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “อังคาร” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๔. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “พุธ” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๕. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “พฤหัสบดี” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๖. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “ศุกร” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๗. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “เสาร” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๘. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “ราหู” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ
๙. ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ โย “เกตุ” ทะโสโร ราหุจันโท
ราหูราลักขะณา ปาปคคะโห ทุสสุปน งั อะกันตัง สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 291

หมวดวินัยกรรม
ทําพินทุกัปปะ (๑) (๒) (๔)
ใชดินสอดํา หรือสีอยางอื่นก็ได วาดเปนจุดหรือวงกลมที่ เอกเทศแหงผา พึง
เปลงวาจา หรือผูกใจในขณะที่ทําอยูวา “อิมัง พินทุกัปปง กะโรมิ

อธิษฐาน (๑)(๓)(๔)
อธิษฐาน มี ๒ แบบ คือ
๑. อธิษฐานดวยกาย คือ เอามือจับหรือลูบบริขารที่จะ อธิษฐาน แลวทํา
ความผูกใจตามคําอธิษฐาน
๒. อธิษฐานดวยวาจา คือ ลั่นคําอธิษฐานนั้น ไมถูกของดวย
กายก็ไดแจกออกไปเปน ๒ คือ
๒.๑ อธิษฐานในหัตถบาส คือ ของอยูภายใน ๒ ศอก
คืบ หรือ ศอก ๑ ในระหวาง
๒.๒ อธิษฐานนอกหัตถบาส คือ ของอยูหางตัวเกิน๒ ศอกคืบ หรือ
ศอก ๑ ในระหวาง
คําอธิษฐานบริขารสิ่งเดียวในหัตถบาส วาดังนี้
สังฆาฏิ (ผาทาบ) “อิมัง สังฆาฏิง อะธิฏฐามิ
อุตตราสงค (ผาหม) “อิมัง อุตตะราสังคัง อะธิฏฐามิ”
อันตรวาสก (ผานุง) “อิมัง อันตะระวาสะกัง อะธิฏฐามิ
บาตร “อิมัง ปตตัง อะธิฏฐามิ”
ผานิสีทนะ “อิมัง นิสีทะนัง อะธิฏฐามิ”
ผาปดฝ “อิมัง กัณฑะปะฏิจฉาทิง อะธิฏฐามิ
ผาอาบนําฝน “อิมัง วัสสิกะสาฏิกัง อะธิฏฐามิ
---------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๒๒๓, ๔๔๐ - ๔๖๖
(๒) วินัยมุข เลม ๑ หนา ๑๖๔ - ๑๖๕
(๓) วินัยมุข เลม ๒ หนา ๑๖๐ - ๑๖๕
(๔) อุปสมบทวิธี หนา ๕๑ – ๕๔
292หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ผาปูนอน “อิมัง ปจจัตถะระณัง อะธิฏฐามิ
ผาเช็ดหนา เช็ดปาก “อิมัง มุขะปุญฉะนะโจลัง อะธิฏฐามิ
ผาเปนบริขาร “อิมัง ปะริกขาระโจลัง อะธิฏฐามิ
ถาจะอธิษฐานผาหลายผืนควบกันใหวาดังนี้
ผาปูนอน “อิมานิ ปจจัตถะระณานิ อะธิฏฐามิ
ผาเช็ดหนา เช็ดปาก “อิมานิ มุขะปุญฉะนะโจลานิ อะธิฏฐามิ
ผาเปนบริขาร “อิมานิ ปะริกขาระโจลานิ อะธิฏฐามิ”
ถาของอยูหางตัว จึงใชคําอธิษฐานนอกหัตถบาส ลั่นวาจาตาม แบบนั้น แต
เปลี่ยนบทวา “อิมัง” เปน “เอตัง” เปลี่ยนบทวา “อิมานิ เปน “เอตานิ
เมื่อจะอธิษฐาน ถาเปนบริขารที่กําหนดใหมีแตสิ่งเดียว ของเดิมมีอยู จะ
เปลี่ยนใหม ตองเลิกของเดิมเสียกอน ยกเลิกบริขาร เดิมเสีย เรียกวา ปจจุท
ธรณ หรือถอนคําอธิษฐาน มีแบบวางไวแสดง สังฆาฏิเปนตัวอยางวา
“อิมัง สังฆาฏิง ปจจุทธะรามิ”
ยกเลิกบริขารอื่น จึงเปลี่ยนตามชื่อ ถาเปนบริขารที่จะใชนุงหมพึงยอมใหไดสี
และทําพินทุกัปปะ ตามแบบอันกลาวแลวกอนจึงอธิษฐาน

วิกัป (๑) (๒) (๓) (๔)


ผานอกจากของอธิษฐานมีประมาณเพียงยาว ๔ นิ้ว กวาง ๔ นิ้ว พอเปน
ชิ้นใชประกอบเปนจีวรได เรียกวาอติเรกจีวร ภิกษุมีเปนสิทธิ ของตนไดเพียง
๑๐ วันมีเกินกําหนดนั้นไป มีสิกขาบทปรับอาบัติ ปาจิตตียที่ใหสละของนั้นเสีย
ภิกษุปราถนาจะเอาไวใช นอกจากการ อธิษฐาน จึงทําใหเปนของ ๒ เจาของ
ในระหวางตนกับภิกษุอื่น เรียกวา วิกัป วิกับแกสามเณร ทานก็อนุญาต แตทํา
กันมาในระหวางภิกษุ ดวยกัน วิกัปมี ๒ คือ
๑. วิกัปตอหนา คือ วิกัปตอหนาผูรับในหัตถบาส
--------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๔๕๔ - ๔๖๖
(๒) วินัยมุข เลม ๑ หนา ๑๖๖ – ๑๖
(๓) วินัยมุข เลม ๒ หนา ๑๖๕ - ๑๖๓
(๔) อุปสมบทวิธี หนา ๕๔ – ๕๖
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 293

จีวรผืนเดียว วา “อิมัง จีวะรัง ตุยหัง วิกัปเปมิ” จีวรหลายผืน วา “อิมานิ จี


วะรานิ ตุยหัง วิกัปเปมิ บาตรใบเดียว วา อิมัง ปตตัง ตุยหัง วิกัปเปมิ
บาตรหลายใบ วา “อิเม ปตเต ตุยหัง วิกัปเปมิ”
๒. วิกัป ลับหลัง คือ วิกัปใหสหธรรมิกรูปใดรูปหนึ่งผูไมไดอยู เฉพาะหนา
ลั่นวาจาตอหนาสหธรรมิกรูปอื่น ในที่นี้ จักไม ขอกลาวโดยละเอียด ในทาง
ปฏิบัติที่ทํากันมา ใชวิกัปตอหนาก็เพียงพอใหสําเร็จประโยชนตามตองการได
แลว วิกัปตอหนา ถาของอยูนอกหัตถบาส ใหวา
“เอตัง” แทน “อิมัง”
“เอตานิ” แทน “อิมานิ”
“เอเต” แทน “อิเม”
จีวรทีว่ กิ ปั ไว จะบริโภค ตองขอใหผรู บั ถอนกอน ไมทาํ อยางนัน้ แลวบริโภค
มีสิกขาบทปรับอาบัติปาจิตตีย คําถอนวิกัปตอหนา ในหัตถบาส วาดังนี้:
ผูถอนแกกวา
จีวรผืนเดียว “อิมัง จีวะรัง มัยหัง สันตะกัง ปะริภุญชะ วา วิสัชเชหิ วา
ยะถาปจจะยัง วา กะโรหิ”
จีวรหลายผืน “อิมานิ จีวะรานิ มัยหัง สันตะกานิ ปะริภญ ุ ชะ วา วิสชั เชหิ วา
ยะถาปจจะยัง วา กะโรหิ”
ผูถอนออนกวา
จีวรผืนเดียว “อิมัง จีวะรัง มัยหัง สันตะกัง ปะริภุญชะถะ วา
วิสัชเชถะ วา ยะถาปจจะยัง วา กะโรถะ”
จีวรหลายผืน “อิมานิ จีวะรานิ มัยหัง สันตะกานิ ปะริภญ ุ ชะถะ วา
วิสัชเชถะ วา ยะถาปจจะยัง วา กะโรถะ”
ถาถอนนอกหัตถบาส พึ่งเปลี่ยน
“เอตัง” แทน “อิมัง” “เอตานิ” แทน “อิมานิ
นอกจากนัน้ คงวาอยางเดียวกันกับถอนในหัตถบาสบาตรทีว่ กิ ปไวแลว ไมมกี าํ
หนดใหถอนกอนจึงบริโภค จึงใช เปนของวิกปั เถิด แตเมือ่ จะอธิษฐาน พึง่ ใหถอน
กอน แลวถือเอาเปน สิทธิของตนกอนคําทีจ่ ะพึงใช เปลีย่ นแปลงไปตามชือ่ ของก็ดี
294 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ตามจํานวนของก็ ดีตามฐานะทีข่ องตัง้ อยูก ด็ ี พึง่ เทียบเคียงกับคําถอนวิกปั จีวรเถิด
คําเสียสละไตรจีวรลวงราตรี (๑)
จีวรเปนนิสสัคคีย เพราะอยูป ราศจากเขตลวงราตรีนนั้ พึงสละ แกสงฆกไ็ ด
แกคณะก็ได แกบุคคลก็ได
คําเสียสละแกบุคคล วาดังนี้
“อิทัง เม ภันเต จีวะรัง รัตติวิปปะวุตถัง อัญญัตระ ภิกขุสัมมะติยา
นิสสัคคิยัง อิมาหัง อายัส๎มะโต นิสสัชชามิ”
ถาเสียสละจีวร ๒ ผืน วา “ทะวิจีวะรัง”
ถาเสียสละทั้ง ๓ ผืน วา “ติจีวะรัง”
ถาผูเสียสละแกกวา พึ่งวา “อาวุโส” แทน “ภันเต”
จีวรเปนนิสสัคคีย ยังไมไดสละ บริโภคตองทุกกฏ สละแลวได คืนมา ยัง
ปราถนาอยู จึงอธิษฐานเปนไตรจีวรใหม เมื่อสละนั้น จึงตั้งใจสละใหขาด
แลวจึงแสดงอาบัติ ภิกษุผูรับเสียสละนั้น หากจะถือเอาเสียที่เดียว เจาของ
เดิมก็ไมมีกรรมสิทธิ์ที่จะเรียกคืนได แตเปนธรรมเนียมอันดีของเธอ เมื่อรับ
แลวคืนใหเจาของเดิม ไมทําอยางนั้นตองทุกกฎ
คําคืนใหวาดังนี้ จีวรผืนเดียว “อิมัง จีวะรัง อายัส๎มะโต ทัมมิ
จีวรหลายผืน “อิมานิ จีวะรานิ อายัส๎มะโต ทัมมิ

คําเสียสละอติเรกจีวรลวง ๑๐ วัน (๑) (๒)


คําเสียสละแกบุคคล ของอยูในหัตถบาส มีดังนี้
จีวรผืนเดียว “อิทัง เม ภันเต จีวะรัง ทะสาหาติกกันตัง นิสสัคคิยัง อิมาหัง
อายัส๎มะโต นิสสัชชามิ
จีวรหลายผืน “อิมานิ เม ภันเต จีวะรานิ ทะสาหาติกกันตานิ นิสสัคคิยานิ,
อิมานาหัง อายัส๎มะโต นิสสัชชามิ
---------------------------------------------------
(๑) วินัยมุข เลม ๑ หนา ๘๔ - ๕๕
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 295

ถาสละของอยูนอกหัตบาส วา
“เอตัง” แทน “อิทัง”
“เอตาหัง” แทน “อิมาหัง”
“เอตานิ” แทน “อิมานิ
“เอตานาหัง” แทน “อิมานาหัง”
ถาผูเสียสละแกพรรษากวาผูรับใหวา “อาวุโส” แทน “ภันเต”
คําคืน ใหวาดังนี้:
จีวรผืนเดียว “อิมัง จีวะรัง อายัส๎มะโต ทัมมิ”
จีวรหลายผืน “อิมานิ จีวะรานิ อายัส๎มะโต ทัมมิ
ถาของอยูนอกหัตถบาส จึงเปลี่ยนโดยนัยดังกลาวแลวนั้น
---------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๔๕๔ – ๔๔๒
(๒) วินัยมุข เลม ๑ หนา ๔๑ – ๕๔

คําเสียสละอติเรกบาตรลวง ๑๐ วัน (๑)


บาตรเปนของทรงอนุญาตใหเปนบริขารของภิกษุเฉพาะใบเดียวเรียก
บาตรอธิษฐาน บาตรตั้งแตใบที่ ๒ ขึ้นไป เรียกอติเรกบาตร ภิกษุใหลวง ๑๐
วันไป เปนนิสสัคคิย-ปาจิตตีย
คําเสียสละแกบุคคล ของอยูในหัตถบาส วาดังนี้
บาตรใบเดียว “อะยัง เม ภันเต ปตโต ทะสาหาติกกันโต นิสสัคคิโย,
อิมาหัง อายัส๎มะโต นิสสัชชามิ”
ถาผูเ สียสละแกพรรษากวาผูร บั ใหวา “อาวุโส” แทน “ภันเต” คําคืน ใหวา ดังนี:้
บาตรใบเดียว “อิมงั ปตตัง อายัส๎มะโต ทัมมิ
---------------------------------------------------
(๑) วินัยมุข เลม ๑ หนา ๑๐๔ - ๑๐๕
296 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ

คําแสดงอาบัติผูมีพรรษาออนกวา
( ผูแสดงวา ) อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ถุลลัจจะยาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะสิ อาวุโส.
( ผูแสดงวา ) อามะ ภันเต ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ ภันเต สังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
( ผูแสดงวา ) อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ปาจิตติยาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะสิ อาวุโส.
( ผูแสดงวา ) อามะ ภันเต ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ ภันเต สังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
( ผูแสดงวา ) อะหัง ภันเต สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ทุกกะฏาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะสิ อาวุโส.
( ผูแสดงวา ) อามะ ภันเต ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ ภันเต สังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
( ผูแสดงวา ) อะหัง ภันเต สัมพะหุลา,
ทุพภาสิตาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะสิ อาวุโส.
( ผูแสดงวา ) อามะ ภันเต ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง อาวุโส สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ ภันเต สังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 297

คําแสดงอาบัติผูมีพรรษาแกกวา
( ผูแสดงวา ) อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ถุลลัจจะยาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะถะ ภันเต.
( ผูแสดงวา ) อามะ อาวุโส ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ อาวุโส สังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
( ผูแสดงวา ) อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ปาจิตติยาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะถะ ภันเต.
( ผูแสดงวา ) อามะ อาวุโส ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ อาวุโส สังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
( ผูแสดงวา ) อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา นานาวัตถุกาโย,
ทุกกะฏาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะถะ ภันเต.
( ผูแสดงวา ) อามะ อาวุโส ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ อาวุโสสังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
( ผูแสดงวา ) อะหัง อาวุโส สัมพะหุลา,
ทุพภาสิตาโย อาปตติโย อาปนโน ตา ปะฏิเทเสมิ.
( ผูรับวา ) ปสสะถะ ภันเต.
( ผูแสดงวา ) อามะ อาวุโส ปสสามิ.
( ผูรับวา ) อายะติง ภันเต สังวะเรยยาสิ.
( ผูแสดงวา ) สาธุ สุฏgุ อาวุโสสังวะริสสามิ. ( วา ๓ ครั้ง )
หมายเหตุ : อาบัติวัตถุเดียวกัน ภิกษุตองเหมือนกัน เชน มีอติเรกจีวรลวง
๑๐ วันดวยกัน เรียกวา สภาคาบัติ แปลวา อาบัติมีสวนเสมอกัน หามไมให
แสดง หามไมใหรบั ตอกัน ถาขืนทําทานปรับทุกกฏทัง้ ผูแ สดงและผูร บั แตทา น
298 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ยอมรับวาอาบัตินั้นเปนอันแสดงแลว
อนึง่ การแสดงอาบัติ ทานใหแสดงโดยควรแกชอื่ แกวตั ถุ แกจาํ นวน แสดง
ผิดชื่อใชไมได แสดงผิดวัตถุ และผิดจํานวนขางมาก แสดงเปนนอยใชไมได
ขางนอยพลั้งเปนมาก เชน อาบัติตัวเดียวหรือ ๒ ตัว แสดงวา “สัมพะหุลา”
หรือวัตถุเดียวแสดง “นานาวัตถุกาโย” เชนนี้ใชได
อาการที่ภิกษุจะตองอาบัติมี ๖ อยาง คือ
๑. ตองดวยไมละอาย
๒. ตองดวยไมรูวาสิ่งนี้จะเปนอาบัติ
๓. ตองดวยสงสัยแลวขืนทํา
๔. ตองดวยสําคัญวาควรในของที่ไมควร
๕. ตองดวยสําคัญวาไมควรในของที่ควร
๖. ตองดวยลืมสติ

นิสัย (๑) (๒) (๓)


ภิกษุมีพรรษาหยอน ๕ จัดเปนนวกะผูใหม ตองถือภิกษุรูปใด รูปหนึ่งเปน
อุปช ฌายะ และอาศัยภิกษุรปู นัน้ อยู รับโอวาทอนุศาสนของภิกษุนนั้ ในครัง้ แรก
ที่ทรงอนุญาตอุปชฌายะ ภิกษุผูอุปสมบทอยูแลวแตหยอน ๕ พรรษา ก็จําถือ
อุปชฌายะ
คําขอนิสัยอุปชฌายะ วาดังนี้
“อุปชฌาโย เม ภันเต โหหิ” ๓ หน
เมือ่ ภิกษุผทู นี่ วกะนัน้ ขออาศัยรับวา “สาหุ”, “ละหุ” “โอปายิกงั ”, “ปะฏิรปู ง ,
“ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ” บทใดบทหนึง่ ๓ ครัง้ เวนระยะใหภกิ ษุผข ู อนิสยั ตอบรับวา
“สาธุ ภันเต” ทุกบทไป เปนอันถืออุปชฌายะแลว
-------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๓๕๓ - ๔๐๑
(๒) วินัยมุข เลม ๒ หนา ๔๒ – ๕๑
(๓) อุปสมบทวิธี หนา ๑๐
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 299

ภิกษุผูรับใหพึ่งพิง ไดชื่อวา “อุปชฌายะ”


ภิกษุผูพึ่งพิงได ชื่อวา “สัทธิวิหาริก”
กิริยาที่พึ่งพิง เรียกวา “นิสัย”
แตนั้น ผูขอนิสัยจึงกลาวรับเปนธุระใหทานสืบไปวา
“อัชชะตัคเคทานิ เถโร มัยหัง ภาโร, อะหัมป เถรัสสะ ภาโร” ๓ หน
ภิกษุผูไมไดอยูในปกครองของอุปชฌายะ ตองถือภิกษุอื่นเปนอาจารย และ
อาศัยทานแทนอุปชฌายะ
วิธีถืออาจารย ก็เหมือนกับวิธีถืออุปชฌายะ ตางแตคําขอวา
“อาจะริโย เม ภันเต โหติ, อายัส๎มะโต นิสสายะ วัจฉามิ” ๓ หน
ภิกษุผูรับใหพึ่งพิงไดชื่อวา “อาจารย” ภิกษุผูอิงอาศัย ไดชื่อวา“อันเตวาสิก”
ภิกษุมีพรรษาหยอน ๕ เปนนวกะอยู แมเปนผูมีความรูทรงธรรมทรง
วินัย จะไมถือนิสัยอยูในปกครองของอุปชฌายะหรือของอาจารยไมชอบ ทรง
หามไว ภิกษุเดินทาง ภิกษุผูใช ภิกษุผูพยาบาลผู ไดรับขอของคนไขเพื่อให
อยู ภิกษุผูเขาปาเพื่อเจริญสมณธรรมชั่วคราว ในที่ใด หาทานผูใหนิสัยไมได
และมีเหตุขัดของที่จะไปอยูในที่อื่น ไมได จะอยูในที่นั้นดวยผูกใจวา เมื่อใด
มีทานผูใหนิสัยไดมาอยู จักถือ นิสัยในทานนั้น ก็ใชได ภิกษุผูมีพรรษาได ๕
แลว แตยังหยอน ๑๐ มีองคสมบัติพอ รักษาตนผูอยูตามลําพังได ทรง
อนุญาตใหพนจากนิสัยอยูตามลําพังได เรียกวา นิสสัยมุตตะกะ ฝายภิกษุผูมี
ความรูไมพอจะรักษาตน แมพน ๕ พรรษาแลวก็ตองถือนิสัย
จําพรรษา (๑)(๒)(๓)
เปนธรรมเนียมของภิกษุ เมื่อถึงฤดูฝน ใหหยุดอยูที่เดียว ไมเที่ยวไป
ไหน ๓ เดือนตลอดฤดู เรียกวา จําพรรษา ถึงวันเขาพรรษา จึงเขาไปประชุม
อธิษฐานพรรษาพรอมดวยสงฆในอุโบสถหรือในวิหาร
--------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๕๐๑ - ๕๐๘
(๒) วินัยมุข เลม ๒ หนา ๘๑ - ๘๕
(๓) อุปสมบทวิธี หนา ๑๐๐ – ๑๐๒
300 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คําอธิษฐานพรอมกัน วาดังนี้
“อิมัส๎มิง อาวาส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมะ”
คําอธิษฐานที่ละรูป วาดังนี้
“อิมัส๎มิง อาวาเส อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ”
เมื่ออธิษฐาน พึ่งผูกใจวา จักอยูคางคืนในเขตอาวาสตลอด ๓ เดือน ถาภิกษุ
ทํากุฎีอยูจําพรรษาในปาเฉพาะรูป ควรกําหนดเขต เฉพาะกุฎีกับบริเวณ แลว
กลาว
คําอธิษฐานพรรษาวา
“อิมัส๎มิง วิหาเร อิมัง เตมาสัง วัสสัง อุเปมิ”
ถึงวันเขาพรรษา ไมเขาพรรษา เที่ยวเรรอนไปเสีย ไมสมควร เขาพรรษา
แลวตองอยูแรมคืนตลอด ๓ เดือน ถามีเหตุจําเปน ทรงอนุญาตใหไปได แตให
กลับมาภายใน ๗ วัน เรียกวาไปดวย สัตตาหกรณียะเชนนี้ พรรษาไมขาด
ถาไปเสียดวยไมคิดกลับ หรือคิดจะกลับ แตเกิน ๓ วัน ไป พรรษาขาด ไมเขา
พรรษาหรือขาดพรรษาเพราะมีเหตุไมจําเปน เปน ละเมิดธรรมเนียมถูกปรับ
อาบัติทุกกฎ

อานิสงสแหงการจําพรรษา
ภิกษุผูอยูจําพรรษาตลอดกาลจนไดปวารณาแลว ยอมได อานิสงสแหงการจํา
พรรษา นับแตวันปาฏิบทไปเดือนหนึ่ง คือ
๑. เที่ยวไปไมตองบอกลาตามสิกขาบทที่ ๖ แหงอเจลกวรรคในปาจิตติยกัณฑ
๒. เที่ยวจาริกไปไมตองถือเอาไตรจีวรไปครบสํารับ
๓. ฉันคณโภชนและปรมปรโภชนได
๔. เก็บอติเรกจีวรไดตามปราถนา
๕. จีวรอันเกิดขึ้นในที่นั้น เปนของไดแกพวกเธอทั้งหลายทั้งไดโอกาสเพื่อจะ
กรานกฐิน และไดรบั อานิสงส ๕ ขางตน นัน้ เพิม่ ออกไปอีก ๔ เดือน ตลอด
ฤดูเหมันต
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 301
ขอขมา (๑)
ในพระพุทธศาสนา มีนิยมวา ผูใดทําลวงเกินผูอื่น ผูนั้นไมควร ทําเลยตาม
เลย รูสึกตัวแลว จึงขอโทษ เรียกวา ขอขมา แปลวา ขอใหอด โทษ และผูใด
ถูกลวงเกินและไดรบั ขอขมาผูน นั้ ไมควรถือโกรธไมรหู าย พึงรับขมายอมอดโทษ
ให การขอขมาจึงเปนธรรมเนียมทํากันสืบมาใน วันเขาพรรษาและในวันตอจาก
นั้น ตามกาลอยูในวัดเดียวกันหรือในตาง วัด เปนกิจอันผูนอยทําแกผูใหญ
แมไมเคยไดลวงเกินกันก็ยังทําอยู
คําขอขมา วาดังนี้
ผูขอขมารูปเดียววา
“เถเร ปะมาเทนะ, ทะวารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม
ภันเต.” ผูรับขมาวา “อะหัง ขะมามิ, ตะยาป เม ขะมิตัพพัง”
ผูขอขมารูปเดียวรับวา “ขะมามิ ภันเต.”
ผูขอขมาหลายรูปวา
“เถเร ปะมาเทนะ, ทะวารัตตะเยนะ กะตัง, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต.”
ผูรับขมาวา “อะหัง ขะมามิ, ตุมเหหิป เม ขะมิตัพพัง”
ผูขอขมาหลายรูปรับวา “ขะมามะ ภันเต.”
ถาผูรับขมา เปนพระมหาเถระผูมีอาวุโสมาก ถึงใชคําวา “มหาเถเร” รอง
จากนั้นลงมาวา“เถเร รองลงมาอีกวา “อาจะริเย” ตํ่ากวา นั้นวา “อายัส๎มัน
เต” จึงเลือกใชคําใหเหมาะสมกับบุคคลผูรับขมาเปนธรรมเนียมที่ผูรับขมาตอ
งกลาวคําใหพร ฉะนั้น เมื่อขอขมา แลว ผูขอขมาพึ่งหมอบรอรับพรจากทาน
เมื่อทานใหพรจบ รับวา “สาธุ ภันเต.”
คําใหพรเมื่อมีผูขอขมา
“เอวัง โหตุ เอวัง โหตุ, โย จะ ปุพเพ ปะมัชชิต๎วา ปจฉา โส นัปปะมุจจะติ,
โสมัง โลกัง ปะภาเสติ อาภา มุตโต วะ จันทิมา, ยัสสะ ปาปง กะตัง กัมมัง
กุสะเลนะ ปะหิยยะติ, โสมัง โลกัง ปะภาเสติ อาภา มุตโต วะ จันทิมา,
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ
อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง”
---------------------------------------------------
(๑) อุปสมบทวิธี หนา ๑๐๒ – ๑๐๓
302 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คําขอขมารวม
ระตะนัตตะเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน
ภันเต อาจะริเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน
ภันเต มาตาปตะเร ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง
ขะมะตุ โน ภันเต ฯ
กรรมชั่วอันใดที่เปนบาปอกุศล อันขาพเจาไดประมาทพลาด พลั้งลวงเกิน
ในคุณพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ ในครูบาอาจารย ตลอดทั้งบิดามาดา
ปูยา ตายาย สามีภรรยา ของขาพเจา ดวย กาย วาจา ใจ ทั้งตอหนาและลับ
หลัง จําไดหรือจําไมไดก็ดี ทั้งที่มีเจตนาหรือหา เจตนาไมได ขอใหทานผูมี
พระคุณทั้งหลายเหลานั้นจงลุแกโทษ โปรด อโหสิกรรมใหขาพเจา เพื่อไมให
เปนบาป เปนเวร เปนกรรม ตอไปอีก ขอความสุขความเจริญ ความปราศจาก
โรคภัยไขเจ็บ เสนียดจัญไร อันตรายใดๆ อยาไดมาพองพาน ความมีโชคมีชัย
จงเกิดจงมีแกขาพเจา ตั้งแตวันนี้เปนตนไปตลอดกาลนาน เทอญ ฯ สาธุ

ระเบียบคําขอขมาโทษตอทานผูควรเคารพ
คําขอขมาพระรัตนตรัย
ระตะนัตตะเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ
โน ภันเต
คําขอขมาพระเถระ
เถเร ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
คําขอขมาพระอุปชฌาย
อุปช ฌาเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
คําขอขมาพระอาจารย
อาจะริเย ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
คําขอขมาพระสงฆ
สังเฆ ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 303

คําขอขมาบุคคลทั่วไป
อายัสม๎ นั เต ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
คําขอขมาโทษบิดามารดา
มาตาปตะเร ปะมาเทนะ ทะวาระตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต
(ถาวาคนเดียว คําวา ขะมะตุ โน เปน ขะมะถะ เม)
เมือ่ จะขอขมาโทษจากผูใ ด ใหกราบ ๓ ครัง้ กอน แลววา นะโม ๓ จบ ตอไปกลาว
คําขอขมา ๓ จบ แลวหมอบลงวา “ขะมามะ ภันเต” ตามระยะคําบาลี ทานอโหสิ
วา “อะหัง ขะมามิ ตุมเหหิป เม ขะมิตพั พัง”

ทํากัปปยะ (๑)(๒)
มีพระพุทธานุญาตใหบริโภคผลไมดวยสมณกัปปกรรม ที่ควรแกสมณะ ๕ คือ
๑. ผลจดดวยไฟ ๒. ผลจดดวยศัสตรา
๓. ผลจดดวยเล็บ ๔. ผลไมไมมีพืช
๕. ผลมีพืชจะพึงปลอนเสียได
พืช มีรากไมเปนตนซึง่ เกิดอยูใ นทีช่ อื่ วา ภูตคาม เปนวัตถุแหง ปาจิตตีย พืช
นัน้ เมือ่ พรากใหพน จากทีแ่ ลว ชือ่ วา พืชคาม เปนวัตถุแหง ทุกกฏ พืชคามนัน้
เมื่อจะบริโภคจึงบังคับอนุปสัมบันวา “กัปปยัง กะโรหิ” ทานจงทํากัปปยะดังนี้
เสียอีก แลวจึงบริโภค เมื่อเปนเชนนี้ ชื่อ วาใหพนจากพืชคาม ก็แลจะทํากัป
ปยะนัน้ พึง่ ทําดวยไฟ หรือศัสตรา หรือเล็บ โดยการจดหรือแทงหรือตัดดวยจงอย
เขาในประเทศอันหนึ่ง แหงพืชนั้น ในทางปฏิบัติ มักใหอนุปสัมบันใชเล็บจิก
หรือเด็ดใหขาด กลาววา “กัปปยัง ภันเต” ทํากัปปยะผลมะขวิด เปนตน พืช
ขางในหลุด จากกะลาคลอนอยู จึงใหตอ ยออกทํากัปปยะ ถาติดกันอยูไ ซร จะทํา
แม ในกะลาก็ควร ก็แลผลอันใดเปนของออนไมมีพืชและผลใดที่มีพืช ปลอน
ออกเสียบริโภคไดกิจที่จะทํากัปปยะในผลไมนั้นไมมี
--------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๔๔๑ - ๔๔๓
(๒) วินัยมุข เลม ๑ หนา ๑๓๐
304 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
กาลิก ๔
ของที่จะพึงกลืนกินใหลวงลําคอลงไป ทานเรียกวา กาลิก เพราะเปน
ของมีกําหนดใหใชชั่วคราว จําแนกเปน ๔ อยาง
๑. ยาวะกาลิก เปนของที่ใชบริโภคเปนอาหาร ตั้งแตเชาถึงเที่ยงวัน มี
โภชนะทั้ง ๕ คือ ขาวสุกที่หุงจากธัญญชาติทั้งหลาย ๑ ขนมกุมมาส เปนของ
ทําดวยแปงหรือถั่วงา มีอันจะบูดหรือลวงคืนแลว ๑ สัตตุ คือ ขนมแหง เปน
ของไมบูด ๑ ปลา ๑ เนื้อ ๑ นอกจากนี้ยังมี นมสด นมสม ของขบเคี้ยว คือ
ผลไมและเงามีมัน เปนตน
ยาวะกาลิกนี้ พนกําหนดเวลาแลว ภิกษุฉนั ใหลว งลําคอ ตองอาบัตปิ าจิตตีย
ดวยวิกาลโภชนสิกขาบท รับประเคนแรมคืนแลวฉันในกาลแหงวันรุงขึ้นเปน
ตนไป ตองอาบัติปาจิตตียดวยสันนิธิการสิกขาบท
๒. ยามะกาลิก เปนของที่ใหบริโภคไดวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง ไดแก ปานะ
คือ นํ้าสําหรับดื่ม ที่คั้นออกจากนํ้าลูกไม ๘ ชนิด คือ นํ้ามะมวง ๑ นํ้าชมพู
หรือนํ้าหวา ๑ นํ้ากลวยมีเม็ด ๑ นํ้ากลวยไมมีเม็ด ๑ นํ้ามะซาง ๑ นํ้าลูกจันทร
หรือองุน ๑ นํ้าเงาอุบล ๑ นํ้ามะปรางหรือลิ้นจี่ ๑
วิธีทําปานะ ปอกหรือควานผลไมเหลานี้ที่สุก เอาผาหอ บิดผาใหตึงอัด
เนื้อผลไมใหคายนํ้าออกจากผา หรืออาจใชท่คี ั้นนํ้าผลไมแลวเอาผากรองนํ้า
ผลไม ระวังอยาใหมีเนื้อหรือกากผลไมเจือปน เติมนํ้าลงไปใหพอดี ประกอบ
ของอื่นเปนตนวา นํ้าตาลและเกลือพอเขารส
ปานะนี้ ใหใชของสด หามมิใหตมดวยไฟ เปนของที่อนุปสัมบันทําจึงควร
ในวิกาล ถาภิกษุทําทานวามีคติอยางยาวะกาลิก เพราะรับประเคนทั้งผล ยา
มะกาลิกนี้ลวงกําหนดคืนหนึ่ง คือ อรุณใหมขึ้นแลว ทานหามไมใหฉัน ปรับ
เปนอาบัติทุกกฏ
๓. สัตตาหะกาลิก เปนของที่ใหบริโภคได ๗ วัน ไดแก เภสัช ๕ อยาง
คือ เนยใส เนยขน นํ้ามัน นํ้าผึ้ง นํ้าออย
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 305

สัตตาหะกาลิกทีภ่ กิ ษุไมไดทาํ เอง รับประเคนในเชา ฉันแมกบั อาหารในวัน


นั้นก็ได ตั้งแตวิกาลแหงวันนั้นไปฉันกับอาหารไมได ฉันไดโดยฐานเปนเภสัช
ตลอดกาล ลวงคราวคือ ๗ วันแลวไป เปนนิสสัคคีย ภิกษุตองอาบัติปาจิตตีย
ดวยสิกขาบทที่ ๓ แหงปตตวรรค ในนิสสัคคิยกัณฑ ฉันเภสัชที่เปนนิสสัคคีย
ตองทุกกฏ
๔. ยาวะชีวิก เปนของที่ใหบริโภคไดเสมอไป ไมมีจํากัดกาล ใชประกอบ
เปนยา นอกจากกาลิก ๓ อยางนั้น จัดเปนยาวชีวิก ดังนี้
รากไม ขมิ้น ขิง วานนํ้า วานเปราะ อุตพิต ขา แฝก แหวหมู เปนตน
นํ้าฝาด เชน นํ้าฝาดสะเดา นํ้าฝาดมูกมัน นํ้าฝาดกระดอมหรือมูลกา
นํ้าฝาดบอระเพ็ดหรือพญามือเหล็ก นํ้าฝาดกระถินพิมาน
ใบไม เชน ใบสะเดา ใบมูกมัน ใบกระดอมหรือมูลกา ใบกะเพราหรือ
แมงลัก ใบฝาย ใบชะพลู ใบบัวบก ใบสมลม ใบสมกบ
ผลไม เชน ลูกพิลังกาสา ดีปลี พริก สมอไทย สมอพิเภก มะขามปอม
ผลแหงโกฐ
ยางไม เชน ยางที่ไหลออกจากตนหิงคุ หรือเคี่ยวออกจากกานและใบแหง
ตนหิงคุ
เกลือตาง ๆ เชน เกลือจากนํ้าทะเล เกล็ดดํา เกลือสินเธาว หรือเกลือที่
เขาเอาดินโปงมาเคี่ยวทําขึ้น

กาลิกระคนกัน
๑. ยามะกาลิก สัตตาหะกาลิก ยาวะชีวิก ๓ นี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งรับประเคน
ไวในวันนั้นดวยกันกับ ยาวะกาลิก ยอมควรในกาล ไมควรในวิกาล
๒. สัตตาหะกาลิก ยาวะชีวิก ๒ นี้ สิ่งใดสิ่งหนึ่งรับประเคนในวันนั้น
ดวยกันกับ ยามะกาลิก ยอมควรในยาม คือวันหนึ่งไปจนชั่วรุง ลวงยามไปคือ
ถึงอรุณใหม ไมควร
๓. ยาวะชีวกิ รับประเคนกับ สัตตาหะกาลิก ควร ๗ วัน ลวง ๗ วันไปไมควร
306 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
กาลิกใด ๆ มีรสไมระคนปนกัน กาลิกนัน้ ๆ แมรบั ประเคนดวยกันจะบริสทุ ธิ์
อยางใด ลางหรือปอกเสียอยางนั้นแลว และบริโภคตามกาลแหงกาลิกนั้นๆ
ก็ควร ถาแลมีรสอันเจือระคนกันไซร ไมควร
ยาวะกาลิก ยามะกาลิก ๒ นี้ เก็บไวในอกัปปยะกุฎี แมเปนของสงฆ
ชื่อวา อันโตวุฏฐะ แปลวา อยูในภายใน หุงตมใหสุกในอกัปปยะกุฎี ชื่อวา
อันโตปกกะ แปลวา สุกในภายใน ภิกษุหุงตมใหสุกเอง ชื่อวา สามะปกกะ
แปลวา ใหสุกเอง ทั้ง ๓ อยางนี้ เปนวัตถุแหงทุกกฏ หามไมใหฉัน
ยาวกาลิกที่เก็บไวในกัปปยกุฎีไมเปนอันโตวุฏฐะ หุงตมในนั้นไมเปนอัน
โตปกกะ แตทําเองในนั้นคงเปนสามะปกกะ ทานหาม แตจะอุนของที่คนอื่น
ทําสุกแลว ทานอนุญาต.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 307

ภิกษุไมฉันเนื้อ ๑๐ อยาง
๑.เนื้อมนุษย ๒.เนื้อชาง ๓.เนื้อมา ๔.เนื้อสุนัข ๕.เนื้องู
๖.เนื้อราชสีห ๗.เนื้อหมี ๘.เนือ้ เสือโครง ๙.เนื้อเสือดาว ๑๐.เนือ้ เสือเหลือง
เนือ้ มนุษย เปนของหามโดยกวดขัน เปนวัตถุแหงถุลลัจจัย เลือดก็สงเคราะห
เขาในเนือ้ ดวยเหมือนกัน เนือ้ อีก ๙ อยางนัน้ เปนวัตถุแหงทุกกฏ เนือ้ นอกจาก
ที่ระบุชื่อไวนี้เปนของไมหามโดยกําเนิด แตหามโดยความเปนของดิบ ยังไม
ทําใหสุกดวยไฟ และตองเปนเนื้ออันบริสุทธิ์โดยสวน ๓ คือ ภิกษุไมไดเห็น
ไมไดยิน ไมไดสงสัย วาเขาฆาเฉพาะตนเชนนี้ ฉันไมมีโทษ.

คําชักผาบังสุกุล (ผาปา)
“อิมัง ปงสุกูละจีวะรัง อัสสามิกัง มัย๎หัง ปาปุณาติ.”
ผาบังสุกุลจีวร อันหาเจาของมิไดนี้ ยอมถึงแกเรา

คําอปโลกนสังฆทาน
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ชานาตุ , อะยัง ปะฐะมะภาโค เถรัสสะ ปาปุณาติ,
อะวะเสสา ภาคา อัมหากัง ปาปุณันตุ. ภิกขู จะ สามะเณรา จะ คะหัฏฐา จะ
ยะถา สุขัง ปริภุญชันตุ. (๓ หน) (รับพรอมกันวา สาธุ)
อุโบสถ (๑) (๒)
อุโบสถ วาโดยบุคคลผูทํามี ๓
๑. สังฆอุโบสถ คือมีภิกษุประชุมกันตั้งแต ๔ รูปขึ้นไป มีพระพุทธานุญาต
ใหสวดปาติโมกขภิกษุผูจะเขาฟงปาติโมกข ตองชําระตนใหบริสุทธิ์จากอาบัติ
ที่ เปนเทสนาคามินี คือแกไดดวยการแสดง สวนอาบัติที่เปนวุฏฐานคามินี
จะพนไดดวยอยูกรรม คือ สังฆาทิเสส ทานใหบอกไวแกภิกษุแมรูปหนึ่งวา
ขาพเจาตองอาบัติสังฆาทิเสสมีวัตถุอยางนั้นๆ แลวฟงปาติโมกขไดกําลังสวด
ปาติโมกขคางอยู มีภิกษุพวกอื่นมาถึงเขา
-------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๔๕๑ - ๕๐๐
(๒) วินัยมุข เลม ๒ หนา ๕๐ – ๑๐
308 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ถามากกวา ภิกษุผชู มุ นุมอยู ทานใหสวดตัง้ ตนใหม ถาเทากันหรือนอยกวา
ใหเธอผู มาใหมฟง สวนยังเหลือตอไป ถาสวดจบแลวจึงมีภกิ ษุอนื่ มา แมมากกวา
ไมตอ งกลับสวดอีก เธอผูม าใหมพงึ่ บอกปาริสทุ ธิในสํานักผูส วดผูฟ ง ปาติโมกข
แลว
คําแสดงปาริสุทธิเปนการสงฆ วาดังนี้
“ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง สังโฆ ธาเรตุ”
ถาผูแสดงมีพรรษาแกกวาภิกษุทั้งหมด ใหวา “อาวุโส” แทน “ภันเต”
คําขอโอกาสแสดงปาติโมกข วาดังนี้
๑. “โอกาสัง เม ภันเต เถโร เทตุ, ปาฏิโมกขัง อุทเทสิตุง”
๒ “โอกาสัง เม ภันเต เถโร เทตุ, วินะยะกะถัง กะเถตุง”
เมื่อมีเหตุฉุกเฉิน ที่เรียกวาอันตรายเกิดขึ้น ทานใหสวดปาติโมกขยอได

วิธีสวดปาติโมกขยอ (๑) (๒)


สวดนิทานุทเทสตัง้ แต “สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ” ไปจนถึง ผาสุ โหติ แลวสวด
อุททิฏฐัง โข อายัส๎มันโต นิทานัง
ตัตถายัส๎มันเต ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา ?
ทุติยัมป ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา ?
ตะติยัมป ปุจฉามิ : กัจจิตถะ ปะริสุทธา ?
ปะริสุทเธตถายัส๎มันโต : ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิ
จบนิทานุทเทส ดังนี้แลว อุทเทสนอกนั้นประกาศเอาดวยสุตะ
สุตา โข อายัส๎มันเตหิ จัตตาโร ปาราชิกา ธัมมา,
สุตา โข อายส๎มันเตหิ เตระสะ สังฆาทิเสสา ธัมมา,
สุตา โข อายส๎มันเตหิ เท๎ว อะนิยะตา ธัมมา,
สุตา โข อายัส๎มันเตหิ ติงสะ นิสสัคคิยา ปาจิตติยา ธัมมา,
สุตา โข อายัส๎มันเตหิ เท๎วนะวุติ ปาจิตติยา ธัมมา,
สุตา โข อายส๎มันเตหิ จัตตาโร ปาฏิเทสะนียา ธัมมา,
-------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๔๕๓ - ๕๕๕
(๒) วินัยมุข เลม ๒ หนา ๑๐๒ – ๑๐๔
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 309

สุตา โข อายส๎มันเตหิ เสขิยา ธัมมา,


สุตา โข อายส๎มันเตหิ สัตตาธิกะระณะสะมะถา ธัมมา,
เอตตะกัง ตัสสะ ภะคะวะโต สุตตาคะตัง สุตตะปะริยาปนนัง
อัน๎วัฑฒะมาสัง อุทเทสัง อาคัจฉะติ, ตัตถะ สัพเพเหวะ สะมัคเคหิ
สัมโมทะมาเนหิ อะวิวะทะมาเนหิ สิกขิตัพพัง.
อนึง่ ไมมอี นั ตราย ถาสวดปาติโมกขโดยยอ ทานปรับอาบัตทิ กุ กฏอุทเทสใด
สวดคางอยู อันตรายมีมา แมอุทเทสนั้นจึงประกาศ ดวยสุตะ แต นิทานุทเทส
สวดยังไมจบ อยาพึงประกาศ ดวยสุตะ ฟงสวดเสียใหจบอุทเทส นอกนั้นพึง
ประกาศเอาดวยสุตะ เมื่อ ไมมีอันตรายจึงสวดโดยพิสดารจนจบ
๒. คณะอุโบสถ คือ มีภกิ ษุเพียง ๓ รูป ๒ รูป ทานหามไมให สวดปาติโมกข
ใหบอกความบริสุทธิ์ของตนแกกันและกันถาภิกษุอยูดวยกัน ๓ รูป ใหรูปหนึ่ง
สวดประกาศดวยญัตติวา
“สุณันตุ เม ภันเต อายัส๎มันตา อัชชุโปสะโถ ปณณะระโส, ยะทายัส๎มัน
ตานัง ปตตะกัลลัง, มะยัง อัญญะมัญญัง ปาริสุทธิอุโปสะถัง กะเรยยามะ”
ถาทานผูสวดแกกวาเพื่อน พึงกลาววา “อาวุโส” แทน “ภันเต”
ถาเปนวัน ๑๔ คํา พึงกลาววา “จาตุททะโส” แทน “ปณณะระโส”
ในลําดับนั้น ภิกษุผูเถระ พึงบอกความบริสุทธิ์ของตน วา
“ปะริสุทโธ อะหัง อาวุโส, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ” ๓ หน
ภิกษุนอกนี้ก็พึงทําอยางนั้นตามลําดับพรรษา พึงบอกวา
“ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ” ๓ หน
ถาภิกษุอยูดวยกัน ๒ รูป ไมตองตั้งญัตติ เปนแตบอกปาริสุทธิแกกัน
ผูแกบอกวา “ปะริสุทโธ อะหัง อาวุโส, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรหิ” ๓ หน
ผูออนบอกวา “ปะริสุทโธ อะหัง ภันเต, ปะริสุทโธติ มัง ธาเรถะ” ๓ หน
๓. บุคคลอุโบสถ คือ ภิกษุอยูรูปเดียว ถึงวันอุโบสถ ทานใหรอ ภิกษุอื่น
จนสิ้นเวลา เห็นวาไมมาแลว ใหอธิษฐานวา
“อัชชะ เม อุโปสะโถ”
310 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ปวารณา (๑) (๒) (๓)
ในวันเพ็ญแหงเดือนกัตติกาตน ทีเ่ ต็ม ๓ เดือนแตวนั จําพรรษา มีพระพุทธ
านุญาตใหภิกษุผูอยูจําพรรษาถวนไตรมาส ทําปวารณาแทน อุโบสถ ปวารณา
ดวยที่ ๓ สถาน คือ ดวยไดเห็น ดวยไดยิน ดวยรังเกียจ ปวารณานั้นจักเปน
ความอนุโลมแกกันและกัน และจักเปนความยังกัน และกันใหออกจากอาบัติ
และจักเปนความทําวินัยในเบื้องหนาแกกัน และกันแหงทานทั้งหลายปวารณา
วาโดยบุคคลผูทํามี ๓
๑. สังฆปวารณา คือ ปวารณาเปนการสงฆ จํานวนภิกษุ ผูประชุมตองมี ๕
รูปเปนอยางนอย มีจํานวนมากกวาอุโบสถ ๑ รูป เขาใจวาเมื่อเปนผูปวารณา ๑
รูป อีก ๔ รูปจะไดครบองคเปนสงฆ ทํา ปวารณาเปนการสงฆ โดยปกติให
ปวารณารูปละ ๓ หน แตถามี เหตุขัดของจะปวารณารูปละ ๒ หนหรือ ๑ หน
ก็ได หรือพรรษา เทากัน ใหวาพรอมๆ กันก็ได จะปวารณาอยางไร จึงประกาศ
แกสงฆ ใหรูดวยญัตติกอนวิธีตั้งญัตตินั้น พึงรูอยางนี้
๑. ถาจะปวารณา ๓ หน พึงตั้งญัตติวา
“สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา ปณณะระสี, ยะทิ สังฆัสสะ
ปตตะกัลลัง, สังโฆ เตวาจิกัง ปะวาเรยยะ”
๒. ถาจะปวารณา ๒ หน พึงตั้งญัตติวา
“สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา ปณณะระสี, ยะทิ สังฆัสสะ
ปตตะกัลลัง, สังโฆ เทว๎วาจิกัง ปะวาเรยยะ”
๓. ถาจะปวารณาหนเดียว พึงตั้งญัตติวา
“สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา ปณณะระสี, ยะทิ สังฆัสสะ
ปตตะกัลลัง, สังโฆ เอกะวาจิกัง ปะวาเรยยะ”
๔. ถาจะจัดภิกษุมีพรรษาเทากัน ใหปวารณาพรอมกัน พึงตั้งญัตติวา
“สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา ปณณรสี, ยะทิ สังฆัสสะ
ปตตะกัลลัง, สังโฆ สมานะวัสสิกัง ปวาเรยยะ”
-------------------------------------------------
(๑) บุพพสิกขาวรรณนา หนา ๕๐๔ - ๕๑๕ (๓) อุปสมบทวิธี หนา ๑๐๓ – ๑๐๕
(๒) วินัยมุข เลม ๒ หนา ๑๐๐ – ๑๑๓
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 311

จะปวารณาพรอมกัน ๓ หน ๒ หนหรือหนเดียวไดทั้งนั้น
๕. จะไมระบุประการ พึงตั้งญัตติครอบทั่วไปวา
“สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อัชชะ ปะวาระณา ปณณรสี, ยะทิ สังฆัสสะ
ปตตะกัลลัง, สังโฆ ปวาเรยยะ” จะปวารณากี่หนก็ไดแตทานหามไมให
ผูมีพรรษาเทากันปวารณาพรอมกัน
อนึ่ง ถาผูตั้งญัตติมีพรรษามากกวาเพื่อน พึงวา “อาวุโส” แทน “ภันเต”
และถาเปนวันปวารณาที่ ๑๔ พึงวา “จาตุททะสี” แทน “ปณณะระสี”
ครัน้ ตัง้ ญัตติแลว ภิกษุผเู ถระพึงนัง่ คุกเขาประนมมือกลาวปวารณา ตอสงฆวา
“สังฆัง อาวุโส ปะวาเรมิ ทิฏเฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสังกายะ วา,
วะทันตุ มัง อายัส๎มันโต อะนุกัมปง อุปาทายะ, ปสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ,
ทุติยัมป อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ ... ฯลฯ... ปะฏิกกะริสสามิ
ตะติยัมป อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ ... ฯลฯ... ปะฏิกกะริสสามิ”
ภิกษุนอกนี้ พึงปวารณาตามลําดับพรรษาทีละรูป เวนไวแตตงั้ ญัตติใหผมู พี รรษา
เทากันปวารณาพรอมกัน โดยนัยนั้นเปลี่ยนใชคําวา “ภันเต” แทน “อาวุโส
ถามีภิกษุ ๔ รูป ใหรูปหนึ่งประกาศดวยญัตติวา
“สุณันตุ เม อายัส๎มันโต, อัชชะ ปะวาระณา ปณณะระสี,
ยะทายัส๎มันตานัง ปตตะกัลลัง , มะยัง อัญญะมัญญัง ปะวาเรยยามะ”
ถาเปนวันปวารณาที่ ๑๔ พึงวา “จาตุททะสี” แทน “ปณณะระสี”
ถามีภิกษุ ๓ รูป ใหรูปหนึ่งประกาศดวยญัตติวา
“สุณันตุ เม อายัส๎มันตา, อัชชะ ปะวาระณา ปณณะระสี,
ยะทายัส๎มันตานัง ปตตะกัลลัง, มะยัง อัญญะมัญญัง ปะวาเรยยามะ”
ครั้นตั้งญัตติแลว พึงกลาวปวารณาตอกันและกันตามลําดับพรรษา ดังนี้
“อะหัง อาวุโส อายัสม๎ นั เต ปะวาเรมิ ทิฏฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสงั กายะ วา,
วะทันตุ มัง อายัสสะมันโต อะนุกมั ปง อุปาทายะ, ปสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ,
ทุติยัมป อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ ... ฯลฯ... ปะฏิกกะริสสามิ
312 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ตะติยัมป อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ ... ฯลฯ... ปะฏิกกะริสสามิ”
ถารูปออนกวา พึงวา “ภันเต” แทน “อาวุโส
ถามีภิกษุ ๒ รูป ไมตองตั้งญัตติ ใหกลาวปวารณาตอกันเลย ดังนี้
“อะหัง อาวุโส อายัสม๎ นั ตัง ปะวาเรมิ ทิฏฐนะ วา สุเตนะ วา ปะริสงั กายะ วา,
วะทันตุ มัง อายัส๎มา อะนุกัมปง อุปาทายะ, ปสสันโต ปะฏิกกะริสสามิ,
ทุติยัมป อาวุโส อายัส๎มันตัง ปะวาเรมิ ... ฯลฯ... ปะฏิกกะริสสามิ
ตะติยัมป อาวุโส อายัสม๎ ันตัง ปะวาเรมิ ... ฯลฯ... ปะฏิกกะริสสามิ”
ถารูปออนกวา พึ่งวา “ภันเต” แทน “อาวุโส
๓. ปุคคลปวารณา คือ อธิษฐานเปนการบุคคล ภิกษุผอู ยูจ าํ พรรษารูปเดียว ครัน้
ถึงวันปวารณา ทานใหรอ ภิกษุอื่นจนสิ้นเวลา เห็นวาไมมาแลว ใหอธิษฐานวา
“อัชชะ เม ปะวาระณา”

กฐิน (๑)(๒)
เดือนหนึ่งทายฤดูฝน ตั้งแตแรมคํา ๑ เดือน ๑๑ ถึงวันเพ็ญเดือน ๑๒
เปนคราวที่ภิกษุทั้งหลายหาผาทําจีวรเปลี่ยนของเดิม เปนคราวที่ทายกถวายผา
แกสงฆเพื่อประโยชนนี้ มีพระพุทธานุญาตเปนพิเศษไว เพื่อสงฆยกผาอันไม
พอแจกกันใหแกภิกษุรูปหนึ่งรับเอาไปทําจีวรผืนใด ผืนหนึ่งในไตรจีวร ภิกษุ
นั้นทําตั้งแตซัก กะ ตัด เย็บ ยอมเสร็จในวันนั้น ทําพินทุกัปปะอธิษฐานเปน
จีวรครองเปนจีวรกฐิน เรียกวา กรานกฐิน แปลวายิ่งไมสะดึง อธิบายวา ครั้ง
กอนพระไมชํานาญในการเย็บจีวร ตองเอาเขายิ่งที่ไมสะดึงเย็บ เสร็จแลวบอก
แกภิกษุทั้งหลายผูรวมใจกัน ยกผาใหในนามของสงฆเพื่ออนุโมทนาภิกษุ
เหลานั้นอนุโมทนา ทั้ง ภิกษุผูกราน ทั้งภิกษุผูอนุโมทนา ยอมไดอานิสงส
แหงการกรานกฐิน เลื่อนเขตอานิสงสจําพรรษาทั้ง๕ ออกไปไดอีก ๔ เดือน
ตลอดฤดูเหมันต
-------------------------------------------------
(๑) อุปสมบทวิธี หนา ๑๐๕ - ๑๐๗
(๒) กฐินนัตถารวิธี หนา ๕ – ๑๘
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 313

วิธีกฐินอยางธรรมยุติกา คําถวายผากฐินทาน
(วา นะโม ๓ หน)
“อิมงั ภันเต สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง สังฆัสสะ โอโณชะยามะ, สาธุ โน
ภันเต สังโฆ, อิมงั สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ปะฏิคคัณหาตุ, ปะฏิคคะเหต๎วา จะ,
อิมนิ า ทุสเสนะ กะฐินงั อัตถะระตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
คําแปล “ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลายถวายผากฐินกับทั้ง บริวารนี้
แกสงฆ, ขอสงฆจงรับผากฐิน กับทั้งบริวารนี้ของขาพเจา ทั้งหลาย, ก็แลครั้น
รับแลว จงกรานกฐินดวยผานี,้ เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข แกขา พเจาทัง้ หลาย
สิ้นกาลนาน เทอญ.”
(สงฆรับวา “สาธุ” พรอมกัน)

คําอปโลกนกฐิน
(องคที่ ๑ วา)
“อิทานิ โข อาวุโส, (หรือ อิทานิ โข ภันเต) อิทงั สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง
สังฆัสสะ กะฐินตั ถาราระหะกาเลเยวะ อุปปนนัง, อีทเิ ส จะ กาเล เอวัง อุปปนเน
ทุสเสนะ กะฐินตั ถาโร วัสสัง วัตถานัง ภิกขูนงั ภะคะวะตา อะนุญญาโต, เยนะ
อากังขะมานัสสะ สังฆัสสะ ปญจะ กัปปสสันติ, อะนามันตะจาโร อะสะมาทานะจาโร
คะณะโภชะนัง ยาวะ ทัตถะจีวะรัง โย จะ ตัตถะ จีวะรุปปาโท โส เนสัง ภะวิสสะติ
จะตูสปุ  เหมันติเกสุ มาเสสุ จีวะระกาโล มะหันตีกะโต ภะวิสสะติ. อิทานิ ปะนะ
สังโฆ อากังขะติ นุ โข กะฐินัตถารัง, อุทาหุ นากังขะติ”
ภิกษุทั้งหลายพึงรับวา “อากังขามะ ภันเต”ผูแกพรรษากวาผู สวด พึงวา
แตบท “อากังขามะ” ถึงบท “ภันเต” จึงนิ่ง ถึงบทตอไปทิ้ง รูโดยนัยนี้
คําแปล “ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย (หรือ ขาแตทานผูเจริญ ทั้งหลาย)
บัดนีแ้ ล ผากฐินกับทัง้ บริวารอันนี้ เกิดขึน้ แลวแกสงฆในกาล อันควรกรานกฐิน
นั่นแหละ (ในกาลอันควรแกลาดไมสะดึงทีเดียว), ก็ พระผูมีพระภาคเจาได
ทรงอนุญาตการกรานกฐินแกภิกษุทั้งหลาย ผูได อยูจําพรรษาแลวดวยผาที่เกิด
314 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ขึ้นแลวอยางนี้ ในกาลเชนนี้, อาศัยการ กรานกฐินไรเลาเปนเหตุ อานิสงส ๕
จักสําเร็จแกสงฆผูปรารถนาอยู คือเที่ยวไปดวยไมตองบอกลา ๑ เที่ยวจาริกไป
ดวยไมตองถือเอาไตรจีวร ไปครบสํารับ ๑ ฉันคณะโภชนได ๑ เก็บอติเรกจีวร
ไวไดตามปรารถนา ๑ จีวรลาภเกิดขึ้นในอาวาสนั้นจักเปนของไดแกพวกเธอ ๑
ทั้งจีวรกาล เธอเหลานั้นจักไดทําใหเปนกาลมาก ยืดออกไปในฤดูเหมันต ๔
เดือน ก็บัดนี้สงฆปรารถนาจะกรานกฐิน, หรือไมปรารถนา ? ภิกษุทั้งหลายพึง
รับวา ขาแตทานผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ปรารถนาจะกรานกฐินนั้นอยู”

(องคที่ ๒ วาดังนี้)
“โส โข ปะนะ ภันเต กะฐินตั ถาโร, ภะคะวะตา ปุคคะลัสสะ อัตถาระวะเส
เนวะ อะนุญญาโต, นาญญัตตะระ ปุคคะลัสสะ อัตถารา อัตถะตัง โหติ กะฐินนั ติ
หิ วุตตัง ภะคะวะตา, นะ สังโฆ วา คะโณ วา กะฐินงั อัตถะระติ, สังฆัสสะ จะ
คะณัสสะ จะ สามัคคิยา ปุคคะลัสเสวะ อัตถารา สังฆัสสะป คะณัสสะป
ตัสเสวะ ปุคคะลัสสะป อัตถะตัง โหติ กะฐินัง, อิทานิ กัสสิมัง กะฐินะทุสสัง
ทัสสามะ กะฐินัง อัตถะริตุง, โย ชิณณะจีวะโร วา ทุพพะละจีวะโร วา, โย
วา ปะนะ อุสสะหิสสะติ อัชเชวะ จีวะระกัมมัง นิฏฐาเปต๎วา,สัพพะวิธานัง
อะปะริหาเปต๎วา กะฐินัง อัตถะริตุง สะมัตโถ ภะวิสสะติ”

(สงฆจึงนิ่งอยู)
คําแปล “ขาแตทานผูเจริญ ก็การกรานกฐินนั่นแล พระผูมีพระ ภาคเจาได
ทรงอนุญาต ดวยอํานาจแหงความกรานของบุคคลอยางเดียว เพราะพระผูม พี ระ
ภาคเจาไดตรัสไววากฐินไมเปนอันกรานแลว นอกจากการกรานแหงบุคคลดังนี้
สงฆหรือคณะก็หากรานไดไม เพราะอาศัยความกรานกฐินแหงบุคคล โดยความ
พรอมเพรียงแหงสงฆ ดวย แหงคณะดวย กฐินแหง สงฆแหงคณะแหงบุคคล
นัน้ เปนอันสงฆ และคณะและบุคคลนัน้ ไดกรานแลว. ก็บดั นีเ้ ราทัง้ หลายจักให
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 315

ผากฐินนี้ แกภิกษุรูปใดเพื่อจะกรานกฐิน, ภิกษุใดมีจีวรเกาครําคราหรือมีจีวร


ทุพพลภาพ, ก็หรือวาภิกษุใดจักอาจหาญ จักเปนผูส ามารถ เพือ่ จะให จีวรกรรม
สําเร็จในวันนี้นี่แหละไมใหวิธีทั้งปวงเสื่อมแลวกราน กฐิน ได”

(องคที่ ๓ วาดังนี้
“อิธะ อัมเหสุ อายัส๎มา (อิตถันนาโม) สัพพะมะหัลละโก พะหุสสุโต
ธัมมะธะโร วินะยะธะโร, สะพ๎รัห๎มะจารีนัง สันทัสสะโก สะมาทะปะโก
สะมุตเตชะโก สัมปะหังสะโก, พะหุนนัง อาจะริโย วา อุปชฌาโย วา หุต๎วา
โอวาทะโก อะนุสาสะโก, สะมัตโถ จะ ตัง ตัง วินะยะกัมมัง อะวิโกเปต๎วา กะฐินงั
อัตถะริตงุ , มัญญามะหะเมวัง สัพโพยัง สังโฆ อิมงั สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง
อายัสม๎ ะโต (อิตถันนามัสสะ) ทาตุกาโม, ตัสม๎ งิ กะฐินงั อัตถะรันเต สัพโพยัง
สังโฆ สัมมะเทวะ อะนุโมทิสสะติ,อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสเสวะ) อิมัง
สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ทาตุง, รุจจะติ วา โน วา, สัพพัสสิมัสสะ
สังฆัสสะ?”
สงฆพึงรับวา “รุจจะติ ภันเต
คําแปล “บรรดาเราทั้งหลาย ทานผูมีอายุ (ชื่อนี้) ทานมี พรรษายุกาล
มากกวาสงฆทั้งปวง เปนพหูสูตรทรงธรรมทรงวินัย, แสดง ใหเพื่อพรหมจรรย
เห็นจริง ใหรบั ปฏิบตั ิ ใหอาจหาญ ใหรนื่ เริง (ในสัมมาปฏิบตั )ิ , และเปนอาจารย
หรือเปนอุปชฌายะ เปนผูใหโอวาทสั่ง สอนแกคฤหัสถ บรรพชิตเปนอันมาก,
อนึ่ง สามารถเพื่อจะกรานกฐิน ไมใหวินัยกรรมนั้นๆ กําเริบ ขาพเจาสําคัญวา
สงฆทงั้ ปวงนีป้ รารถนาจะ ใหผา กฐินกับทัง้ บริวารนี้ แกทา นผูม อี ายุ (ชือ่ นี.้ เมือ่
ทานนัน้ กรานกฐิน อยู สงฆทงั้ ปวงนีจ้ กั อนุโมทนาโดยชอบทัว่ กัน การใหผา กฐิน
กับทั้ง บริวารนี้แกทาน (ชื่อนี้), ยอมชอบหรือไมชอบแกสงฆทั้งปวง?”
“ชอบละ เจาขา”
316 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
(องคที่ ๔ วาดังนี้)
“ยะทิ อายัสม๎ ะโต (อิตถันนามัสสะ) อิมงั สะปะริวารัง กะฐินะทุสสัง ทาตุง,
สัพพัสสิมสั สะ สังฆัสสะ รุจจะติ,สาธุ ภันเต สังโฆ อิมงั กะฐินะทุสสะปะริวาระภูตงั
ติจวี ะรัง วัสสาวาสิกฏั ฐิตกิ ายะ อะคาเหต๎วา, อายัสม๎ ะโต (อิตถันนามัสเสวะ) อิมนิ า
อะปะโลกะเนนะ ทะทาตุ, กะฐินะทุสสัง ปะนะ อะปะโลกะเนนะ ทิยยะมานังป
นะ รูหะติ, ตัสม๎ า ตัง อิทานิ ญัตติทตุ เิ ยนะ กัมเมนะ อะกุปเปนะ ฐานาระเหนะ
อายัสมะโต (อิตถันนามัสสะ) เทมาติ กัมมะสันนิฏฐานัง กะโรตุ”
สงฆพึงรับวา “สาธุ ภันเต”
คําแปล “ถาการใหผา กฐินกับบริวารนีแ้ กทา น (ชือ่ นี)้ , ควรชอบ แกสงฆทงั้
ปวงนีไ้ ซร,ขอสงฆจงใหผา ไตรซึง่ เปนบริวารของผากฐินไตรนีแ้ กทา น (ชือ่ นี)้ ดวย
การอปโลกนนเี้ ถิด อยาใหตอ งถือเอาตามลําดับ พรรษาเลย. ก็แลผากฐิน แมสงฆ
จะใหดว ยอปโลกนกไ็ มขนึ้ . (ตองให ดวยญัตติทตุ ยิ กรรมนัน้ จึงขึน้ ) เพราะฉะนัน้
บัดนี้ ขอสงฆจงทํากรรมสันนิษฐานวา เราทัง้ หลายใหผา กฐินนัน้ แกทา น (ชือ่ นี)้
ดวยญัตติทตุ ยิ กรรมอันไมกาํ เริบอันควรแกฐานะ ณ กาลบัดนีแ้ ล
“ดีละ เจาขา”
อธิบาย ๒ บทวา “อิตถันนาโม” และ “อิตถันนามัสสะ” ที่วงเล็บไวนั้น
ใหเปลี่ยนตามชื่อฉายาทานผูจะกรานกฐิน ตัวอยาง เชน ทานผูกราน กฐินชื่อ
สุมังคะโล ถาในวงเล็บวา “อิตถันนาโม” ก็เปลี่ยนเปน “สุมังคะโล”ถาใน
วงเล็บวา “อิตถันนามัสสะ” ก็เปลี่ยนเปน”สุมังคะลัสสะ” ดังนี้ทุกแหงไป แต
ถาทานผูจะกรานกฐินมีราชทินนาม เปนพระราชาคณะหรือพระครูเปนตน ก็ให
ใชชื่อราชทินนามนั้นๆแทน ชื่อฉายา
บทวา “สัพพะมะหัลละโก” นี้ สําหรับทานผูกรานกฐินแก พรรษาในสงฆ
ถาในสงฆมีภิกษุผูมีพรรษาแกกวาทานใหยกเสียไมตอง คําวา “พะหุนนัง
อาจะริโย วา อุปชฌาโย วา หุต๎วา” ดังนี้นั้น ถาทานผูกรานนั้นเปนแตอาจารย
ของภิกษุทั้งหลายจงวา “พะหุนนัง อาจะริโย หุต๎วา” ถาเปนอุปชฌายะจงวา
“พะหุนนัง อุปชฌาโย หุต๎วา” ถาเปนทั้ง ๒ อยางคงวาตามแบบ
คําอปโลกนจบแตเทานี้
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 317

ญัตติทุติยกรรมวาจา
(๑) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ
(๒) ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
(๓) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
(๔) อะระหะโต สัมมา
(๕) สัมพุทธัสสะ
“สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปนนัง,
ยะทิ สังฆัสสะ ปตตะกัลลัง, สังโฆ อิมัง กะฐินะทุสสัง, อายัส๎มะโต
(อิตถันนามัสสะ), ทะเทยยะ กะฐินัง อัตถะริตุง, เอสา ญัตติ,
สุณาตุ เม ภันเต สังโฆ, อิทัง สังฆัสสะ กะฐินะทุสสัง อุปปนนัง, สังโฆ
อิมัง กะฐินะทุสสัง, อายัส๎มะโต (อิตถันนามัสสะ), เทติ กะฐินัง อัตถะริตุง,
ยัสสายัสม๎ ะโต ขะมะติ, อิมสั สะ กะฐินะทุสสัสสะ, อายัสม๎ ะโต (อิตถันนามัสสะ),
ทานัง กะฐินงั อัตถะริตงุ ,โส ตัณหัสสะ, ยัสสะ นะ ขะมะติ, โส ภาเสยยะ,ทินนัง
อิทงั สังเฆนะ กะฐินะทุสสัง, อายัสม๎ ะโต (อิตถันนามัสสะ), กะฐินงั อัตถะริตงุ
ขะมะติ สังฆัสสะ, ตัส๎มา ตุณ๎หี, เอวะเมตัง ธาระยามิ”
คําแปล “ขาแตทานผูเจริญ ขอสงฆจงฟงขาพเจา, ผากฐินนี้ เกิดขึ้นแลว
แกสงฆ, ถาความพรอมพรั่งของสงฆถึงที่แลว, สงฆพึ่งใหผา กฐินนี้แกทาน
(ชื่อนี้) เพื่อจะกรานกฐิน,นี้เปน ญัตติ, (คือคําเสนอ)
ขาแตทานผูเจริญ ขอสงฆจงฟงขาพเจา, ผากฐินนี้เกิดขึ้นแลวแก สงฆ,
สงฆใหผากฐินนี้แกทาน (ชื่อนี้, เพื่อจะกรานกฐิน. การใหผากฐิน นี้แกทาน
(ชือ่ นี)้ , เพือ่ จะกรานกฐินชอบแกทา นผูใ ด, ทานผูน นั้ เปนผูน งิ่ ไมชอบแกทา น
ผูใด, ทานผูนั้นพึ่งพูด. ผากฐินนี้อันสงฆใหแลวแกทาน (ชื่อนี้), เพื่อกราน
กฐิน, ยอมชอบแกสงฆ, เหตุนนั้ สงฆจงึ นิง่ อยู ขาพเจาทรงความนีไ้ วดว ยอาการ
อยางนี้
จบญัตติทุติยกรรมวาจาเทานี้
318 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คํากรานกฐิน ถากรานดวยผาสังฆาฏิวา
“อิมายะ สังฆาฏิยา กะฐินัง อัตถะรามะ”
“ขาพเจากรานกฐินดวยผาสังฆาฏิผืนนี้”
ถากรานดวยผาหม (จีวร) วา
“อิมินา อุตตะราสังเคนะ กะฐินัง อัตถะรามะ”
“ขาพเจากรานกฐินดวยผาหมผืนนี้”
ถากรานดวยผานุง (สบง) วา
“อิมินา อันตะระวาสะเกนะ กะฐินัง อัตถะรามะ”
“ขาพเจากรานกฐินดวยผานุงผืนนี้”

คําเสนออนุโมทนากฐิน
“อัตถะตัง อาวุโส สังฆัสสะ กะฐินัง, ธัมมิโก กะฐินัตถาโร อะนุโมทะถะ”
ถาออนกวาผูอนุโมทนา แมรูปหนึ่งวา “ภันเต” แทน “อาวุโส” ถาวากับ
ภิกษุรูปเดียวที่ออนกวา พึงวา “อะนุโมทาหิ แทน “อะนุโมทะถะ”
คําแปล “ดูกอนทานผูมีอายุทั้งหลาย กฐินของสงฆ ขาพเจา กรานเสร็จแลว
การกรานกฐินชอบธรรม ขอทานทั้งหลายอนุโมทนา เถิด”
คําอนุโมทนากฐิน วาทีละรูป “อัตถะตัง ภันเต สังฆัสสะ กะฐินัง, ธัมมิโก
กะฐินัตถาโร อะนุโมทามิ วาพรอมกัน “อัตถะตัง ภันเต สังฆัสสะ กะฐินัง,
ธัมมิโก กะฐินัตถาโร อะนุโมทามะ”
ถาแกกวาผูกรานกฐินใหวา “อาวุโส” แทน “กันเต”
คําแปล “ขาแตทานผูเจริญ กฐินของสงฆทานกรานเสร็จแลว การกรานกฐิน
ชอบธรรม ขาพเจาอนุโมทนา”
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 319
วิธีเปลี่ยนบุพพกิจพระปาติโมกข (๑)
“ฤดูปกติ”
๑. อัฏฐะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
สัตตะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา,
๒. อัฏฐะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
เอโก อุโปสะโถ อะติกกันโต ฉะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๓. อัฏฐะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
เท๎ว อุโปสะถา อะติกกันตา ปญจะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๔. อัฏฐะ อุโปสะกา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
ตะโย อุโปสะถา อะติกกันตา จัตตาโร อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๕. อัฏฐะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
จัตตาโร อุโปสะถา อะติกกันตา ตะโย อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๖. อัฏฐะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
ปญจะ อุโปสะถา อะติกกันตา เท๎ว อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๗. อัฏฐะ อุโปสะกา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
ฉะ อุโปสะถา อะติกกันตา เอโก อุโปสะโถ อะวะสิฏโฐ.
๘. อัฏฐะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต
สัตตะ อุโปสะถา อะติกกันตา อัฏฐะ อุโปสะถา ปะริปุณณา

“ฤดูปวารณา ไมมีอธิกมาส”
(หมายถึงกลางพรรษา)
๑. สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สั ม ป ต โต จะ จะ อุ โ ปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิ ฏ ฐา.
๒. สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมนิ า ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต เอโก อุโปสะโถ อะติกกันโต ปญจะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ
ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
-------------------------------------------------
(๑) คูมือบุพพกิจพระปาติโมกขฯ หนา ๑-๕
320 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๓. สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต เท๎ว อุโปสะถา อะติกกันตา จัตตาโร จะ อุโปสะถา เอกา จะ
ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๔. สัตตะ จะ อุโปสะกา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต ตะโย อุโปสะถา อะติกกันตา ตะโย จะ อุโปสะถา เอกา จะ
ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๕. สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต จัตตาโร อุโปสะถา อะติกกันตา เท๎ว จะ อุโปสะถา เอกา จะ
ปะวาระณา อะวะสิฏฐา.
๖. (วันปวารณา) สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมนิ า ปกเขนะ เอกา
ปะวาระณา สัมปตตา ปญจะ อุโปสะถา อะติกกันตา เท๎ว อุโปสะถา
อะวะสิฏฐา
๗. สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมนิ า ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต ปญจะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะติกกันตา เอโก
อุโปสะโถ อะวะสิฏโฐ.
๘. สัตตะ จะ อุโปสะกา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต ฉะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะติกกันตา สัตตะ จะ
อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา ปะริปุณณา

“ฤดูมีอธิกมาส ไมมีปวารณา”
(หมายถึงนอกพรรษา)
๑. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต นะวะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๒. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต เอโก อุโปสะโถ อะติกกันโต อัฏฐะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๓. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต เท๎ว อุโปสะถา อะติกกันตาสัตตะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 321

๔. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ


สัมปตโต ตะโย อุโปสะถา อะติกกันตา ฉะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๕. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต จัตตาโร อุโปสะถา อะติกกันตา ปญจะ อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๖. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต ปญจะ อุโปสะถา อะติกกันตา จัตตาโร อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๗. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะกา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต ฉะ อุโปสะถา อะติกกันตา ตะโย อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๘. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโต
สัมปตโต สัตตะ อุโปสะถา อะติกกันตา เท๎ว อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๙. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต อัฏฐะ อุโปสะถา อะติกกันตา เอโก อุโปสะโถ อะวะสิฏโฐ.
๑๐. อะธิกะมาสะวะเสนะ ทะสะ อุโปสะถา อิมินา ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ
สัมปตโต นะวะ อุโปสะถา อะติกกันตา ทะสะ อุโปสะถา ปะริปุณณา

“ฤดูที่มีอธิกมาสและปวารณาดวย”
(หมายถึงกลางพรรษา)
๑. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะปะวาระณา อิมนิ า ปกเขนะ
เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต อัฏฐะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๒. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา
ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต เอโก อุโปสะโถ อะติกกันโต สัตตะ จะ
อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๓. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา
ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต เท๎ว อุโปสะถา อะติกกันตา ฉะ จะ
อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๔. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา
ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต ตะโย อุโปสะถา อะติกกันตา ปญจะ
จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา,
322 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๕. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา
ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต จัตตาโร อุโปสะถา อะติกกันตา
จัตตาโร จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๖.อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา
ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต ปญจะ อุโปสะถา อะติกกันตา ตะโย
จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๗. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณาอิมนิ า ปกเขนะ
เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต ฉะ อุโปสะถา อะติกกันตา เท๎ว จะ อุโปสะถา เอกา
จะ ปะวาระณา อะวะสิฏฐา
๘. (วันปวารณา) อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา
อิมินา ปกเขนะ เอกา ปะวาระณา สัมปตตา สัตตะ อุโปสะถา อะติกกันตา เท๎ว
อุโปสะถา อะวะสิฏฐา
๙. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมนิ า ปกเขนะ
เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อะติกกันตา
เอโก อุโปสะโถ อะวิสิฏโฐ.
๑๐. อะธิกะมาสะวะเสนะ นะวะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา อิมินา
ปกเขนะ เอโก อุโปสะโถ สัมปตโต อัฏฐะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ ปะวาระณา
อะติกกันตา นะวะ จะ อุโปสะโถ เอกา จะ ปะวาระณา ปะริปุณณา

“บุพพกิจแหงปวารณา”
ปะวาระณากะระณะโต ปุพเพ นะวะวิธงั ปุพพะกิจจัง กาตัพพัง โหติ ตัณฐ๎ านะ-
สัมมัชชะนัญจะ ตัตถะ ปะทีปชุ ชะละนัญจะ อาสะนะปญญะปะนัญจะ ปานียะปะริโภ-
ชะนียูปฏฐะปะนัญจะ ฉันทาระหานัง ภิกขูนัง ฉันทาหะระณัญจะ เตสัญเญวะ
อะกะตะปะวาระณานัง ปะวาระณายาป อาหะระณัญจะ อุตุกขานัญจะ
ภิกขุคะณะนา จะ ภิกขุนีนะโมวาโท จาติ ตัตถะ
เปลี่ยนกลางวัน กลางคืน... ฉันทาหะระณะ ปะวาระณา อะหะระณานิ ปะนะ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 323

อิมิสสัง สีมายัง หัตถะปาสัง วิชหิต๎วา นิสินนานัง ภิกขูนัง อะภาวะโต นัตถิ


อุตุกขานัง นามะ เอตตะกัง อะติกกันตัง เอตตะกัง อะวะสิฏฐันติ เอวัง อุตุ
อาจิกขะนัง อุตูนีธะ ปะนะ สาสะเน เหมันตะคิมหะวัสสานานัง วะเสนะ ติณี
โหนติ อะยัง วัสสาโนตุ อิมัส๎มิญจะ อุตุมหิ สัตตะ จะ อุโปสะถา เอกา จะ
ปะวาระณา อิมินา ปกเขนะ เอกา ปะวาระณา สัมปตตา ปญจะ อุโปสะถา
อะติกกันตา เท๎ว อุโปสะถา อะวะสิฏฐา อิติ เอวัง สัพเพ อายัสdมันเตหิ
อุตุกขานัง ธาเรตัพพัง รับ เอวัง ภันเต
ภิกขุคะณะนา นามะ อิมสั ม๎ งิ ปะวาระณัคเค ปะวาระณัตถายะ สันนิปะติตา ภิกขู
เอตตะกาติ ภิกขูนัง คะณะนา อิมัส๎มิมปะนะ ปะวาระณัคเค ทะสะ ภิกขู๑
สันนิปะติตา โหนติ อิติ สัพเพหิ อายัส๎มันเตหิ ภิกขุคะณะนาป ธาเรตัพพา
รับ เอวัง ภันเต
ภิกขุนีนะโมวาโท ปะนะ อิทานิ ตาสัง นัตถิตายะ นัตถิ อิติ สะกะระโณ
กาสานัง ปุพพะกิจจานัง กะตัตตา นิกกะระโณกาสานัง ปุพพะกิจจานัง ปะ
กะติยา ปะรินิฏฐิตัตตา เอวันตัง นะวะวิธัง ปุพพะกิจจัง ปะรินิฏฐิตัง โหติ นิฏฐิ
เต จะ ปุพเพ กิจเจ สะเจ โส ทิวะโส จาตุททะสี ปณณะระสี สามัคคีนะมัญญะ
ตะโร ยะถาชชะ ปะวาระณา จาตุททะสี ๒” ยาวะติกา จะ ภิกขู กัมมัปปต
ตา สังฆะปะวาระณาระหา ปญจะ วา ตะโต วา อะติเรกา ปะกะตัตตา
ปาราชิกัง อะนาปนนา สังเฆนะ วา อะนุกขิตตา เต จะ โข หัตถะปาสัง
อะวิชะหิต๎วา เอกะสีมายัง ฐิตา เตสัญจะ วิกาละโภชะนาทวะเสนะ วัตถุ
สะภาคาปตติโย เจ นะ วิชชันติ เตสัญจะ หัตถะปาเส หัตถะปาสะโต
พะหุกะระณะวะเสนะ วัชเชตัพโพ โกจิ วัชชะนียะปุคคะโล เจ นัตถิ เอวันตัง
ปวาระณากัมมัง อิเมหิ จะตูหิ ลักขะเณหิ สังฆะหิตัง ปตตะกัลลัง นามะ
โหติ กาตุง ยุตตะรูปง ปะวาระณา กัมมัสสะ ปตตะกัลลัตตัง วิทิต๎วา อิทานิ
กะริยะมานา ปะวาระณา สังเฆนะ อะนุมาเนตัพพา รับ สาธุ ภันเต
(๑) เปลี่ยนตามจํานวนภิกษุ
(๒) ปวารณาที่ ๑๕ วา ปณณะระสี
324 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
การนับจํานวนพระภิกษุ
๔ จตฺตาโร ๕ ป\ฺ จ
๖ ฉ ๗ สตฺต
๘ อฏqฐ ๙ นว
๑๐ ทส ๑๑ เอกาทส
๑๒ พารส ๑๓ เตรส
๑๔ จตุตฺทส ๑๕ ปณฺณรส
๑๖ โสฬส ๑๗ สตฺตรส
๑๘ อฏqฐารส ๑๙ เอกูนวีสติ
๒๐ วีสติ ๒๑ เอกวีสติ
๒๒ พาวีสติ ๒๓ เตวีสติ
๒๔ จตุวีสติ ๒๕ ป\ฺ จวีสติ
๒๖ ฉพฺพีสติ ๒๗ สตฺตวีสติ
๒๘ อฏqgวีสติ ๒๙ เอกูนตึส
๓๐ สมตึส ๓๑ เอกตฺตึส
๓๒ ทฺวตฺตึส ๓๓ เตตฺตึส
๓๔ จตุตฺตึส ๓๕ ป\ฺ จตฺตึส
๓๖ ฉตฺตึส ๓๗ สตฺตตฺตึส
๓๘ อฏqgตฺตึส ๓๙ เอกูนจตฺตาฬส
๔๐ จตฺตาฬส ๔๑ เอกจตฺตาฬส
๔๒ ทฺวิจตฺตาฬส ๔๓ เตจตฺตาฬส
๔๔ จตุจตฺตาฬส ๔๕ ป\ฺ จจตฺตาฬส
๔๖ ฉจตฺตาฬส ๔๗ สตฺตจตฺตาฬส
๔๘ อฏqgจตฺตาฬส ๔๙ เอกูนป\ฺ \าส
๕๐ ป\ฺ \าส ๕๑ เอกป\ฺ \าส
๕๒ ทฺวิป\ฺ \าส ๕๓ เตป\ฺ \าส
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 325

๕๔ จตุป\ฺ \าส ๕๕ ป\ฺ จป\ฺ \าส


๕๖ ฉป\ฺ \าส ๕๗ สตฺตป\ฺ \าส
๕๘ อฎqgป\ฺ \าส ๕๙ เอกูนสฏqg ี
๖๐ สฏqg ี ๖๑ เอกสฏqg ี
๖๒ ทฺวิสฏqg ี ๖๓ เตสฏqg ี
๖๔ จตุสฏqg ี ๖๕ ป\ฺ จสฏqg ี
๖๖ ฉสฏqg ๖๗ สตฺตสฏqg ี
๖๘ อฏqgสฏqg ๖๙ เอกูนสตฺตติ
๗๐ สตฺตติ ๗๑ เอกสตฺตติ
๗๒ ทฺวิสตฺตติ ๗๓ เตสตฺตติ
๗๔ จตุสตฺตติ ๗๕ ป\ฺ จสตฺตติ
๗๖ ฉสตฺตติ ๗๗ สตฺตสตฺตติ
๗๘ อฏqgสตฺตติ ๗๙ เอกูนาสีติ
๘๐ อสีติ ๘๐ เอกาสีติ
๘๒ ทฺวาสีติ ๘๓ ตยาสีติ
๘๔ จตุราสีติ ๘๕ ป\ฺ จาสีติ
๘๖ ฉฬาสีติ ๘๗ สตฺตาสีติ
๘๘ อฏqgาสีติ ๘๙ เอกูนนวุติ
๙๐ นวุติ ๙๑ เอกนวุติ
๙๒ เทฺวนวุติ ๙๓ เตนวุติ
๙๔ จตุนวุติ ๙๕ ป\ฺ จนวุติ
๙๖ ฉนวุติ ๙๗ สตฺตนวุติ
๙๘ อฏqgนวุติ ๙๙ เอกูนภิกฺขุสตํ
๑๐๐ ภิกฺขุสตํ ๑๐๑ เอกุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๐๒ ทฺวยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๐๓ ตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๐๔ จตุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๐๕ ป\ฺ จุตฺตรภิกฺขุสตํ
326 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๑๐๖ ฉุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๐๗ สตฺตุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๐๘ อฏqgุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๐๙ นวุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๑๐ ทสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๑๑ เอกาทสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๑๒ ทฺวาทสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๑๓ เตรสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๑๔ จตุตฺทสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๑๕ ป\ฺ จทสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๑๖ โสฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๑๗ สตฺตรสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๑๘ อฏqgารสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๑๙ เอกูนวีสตยุตฺตรภิกขฺ ุสตํ
๑๒๐ วีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๒๑ เอกวีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๒๒ ทฺวาวีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๒๓ เตวีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๒๔ จตุวีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๒๕ ป\ฺ จวีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๒๖ ฉพฺพีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๒๗ สตฺตวีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๒๘ อฏqgวีสตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๒๙ เอกูนตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๓๐ สมตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๓๑ เอกตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๓๒ ทฺวตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๓๓ เตตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๓๔ จตุตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๓๕ ป\ฺ จตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๓๖ ฉตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๓๗ สตฺตตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๓๘ อฏqgตฺตึสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๓๙ เอกูนจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๔๐ จตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๔๑ เอกจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๔๒ ทฺวาจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๔๓ เตจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๔๔ จตุจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๔๕ ป\ฺ จจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๔๖ ฉจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๔๗ สตฺตจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๔๘ อฏqgจตฺตาฬสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๔๙ เอกูนป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๕๐ ป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๕๑ เอกป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๕๒ ทฺวิป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๕๓ เตป\ฺ \าสุตตฺ รภิกฺขุสตํ
๑๕๔ จตุป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๕๕ ป\ฺ จป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๕๖ ฉป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๕๗ สตฺตป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 327

๑๕๘ อฏqgป\ฺ \าสุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๕๙ เอกูนสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ


๑๖๐ สฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๖๑ เอกสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๖๒ ทฺวาสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๖๓ เตสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๖๔ จตุสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๖๕ ป\ฺ จสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๖๖ ฉสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๖๗ สตฺตสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๖๘ อฏqฐสฏqgยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๖๙ เอกูนสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๗๐ สตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๗๑ เอกสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๗๒ ทฺวิสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๗๓ เตสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๗๔ จตุสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๗๕ ป\ฺ จสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๗๖ ฉสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๗๗ สตฺตสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๗๘ อฏqgสตฺตตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๗๙ เอกูนาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๘๐ อสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๘๑ เอกาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๘๒ ทฺวาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๘๓ ตยาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๘๔ จตุราสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๘๕ ป\ฺ จาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๘๖ ฉฬาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๘๗ สตฺตาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๘๘ อฏqgาสีตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๘๙ เอกูนนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๙๐ นวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๙๑ เอกนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๙๒ เทฺวนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๙๓ เตนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๙๔ จตุนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๙๕ ป\ฺ จนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๙๖ ฉนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๙๗ สตฺตนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ
๑๙๘ อฏqgนวุตยุตฺตรภิกฺขุสตํ ๑๙๙ เอกูนสตุตฺตรภิกฺขุสตํ
หมายเหตุ ตัง้ แต ๙๙-๑๙๙ เวลาสวดตองวา สนฺนปิ ติตํ โหติ แทน สนฺนปิ ติตา โหนฺติ
328 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
บทสวดทายพระปาติโมกข
(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส )
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (วา ๓ ครั้ง)

สัจจะกิริยากะถา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โสตถิ เม โหตุ สัพพะทา

สีลุทเทสะปาฐัง
(หันทะ มะยัง สีลุทเทสะปาฐัง ภะณามะ เส.)
ภาสิตะมิตัง เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา
สัมมาสัมพุทเธนะ, สัมปนนะสีลา ภิกขะเว วิหะระถะ สัมปนนะปาฏิโมกขา,
ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะระถะ อาจาระโคจะระสัมปนนา, อะณุมัตเตสุ
วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขะถะ สิกขาปะเทสูติ. ตัส๎มาติหัมเหหิ
สิกขิตัพพัง.
สัมปนนะสีลา วิหะริสสามะ สัมปนนะปาฏิโมกขา,
ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุตา วิหะริสสามะ อาจาระโคจะระสัมปนนา,
อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี สะมาทายะ สิกขิสสามะ สิกขาปะเทสูติ.
เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 329

ตายะนะคาถา
(หันทะ มะยัง ตายะนะคาถาโย ภะณามะ เส.)
ฉินทะ โสตัง ปะรักกัมมะ, กาเม ปะนูทะ พ๎ราห๎มะณะ
นัปปะหายะ มุนิ กาเม, เนกัตตะมุปะปชชะติ.
กะยิรา เจ กะยิราเถนัง, ทัฬ๎หะเมนัง ปะรักกะเม,
สิถิโล หิ ปะริพพาโช, ภิยโย อากิระเตระชัง.
อะกะตัง ทุกกะฏัง เสยโย, ปจฉา ตัปปะติ ทุกกะฏัง,
กะตัญจะ สุกะตัง เสยโย, ยัง กัต๎วา นานุตัปปะติ.
กุโส ยะถา ทุคคะหิโต, หัตถะเมวานุกันตะติ,
สามัญญัง ทุปปะรามัตถัง, นิระยายูปะกัฑฒะติ.
ยังกิญจิ สิถิลัง กัมมัง, สังกิลิฏฐัญจะ ยัง วะตัง,
สังกัสสะรัง พ๎รัห๎มะจะริยัง, นะ ตัง โหติ, มะหัปผะลันติ.

โอวาทะปาฏิโมกขาทิปาฐะ
(หันทะ มะยัง โอวาทะปาฏิโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส.)
อุททิฏฐัง โข เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา อะระหะตา
สัมมาสัมพุทเธนะ, โอวาทะปาฏิโมกขัง ตีหิ คาถาหิ
ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา,
นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา,
นะ หิ ปพพะชิโต ปะรูปะฆาตี,
สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต.
สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง กุสะลัสสูปะสัมปะทา,
สะจิตตะปะริโยทะปะนัง เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
อะนูปะวาโทอะนูปะฆาโต ปาฏิโมกเข จะ สังวะโร,
มัตตัญ\ุ ตา จะ ภัตตัส๎มิง ปนตัญจะ สะยะนาสะนัง,
อะธิจิตเต จะ อาโยโค เอตัง พุทธานะสาสะนันติ ฯ
330 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อะเนกะปะริยาเยนะ โข ปะนะ เตนะ ภะคะวะตา ชานะตา ปสสะตา
อะระหะตา สัมมาสัมพุทเธนะ, สีลัง สัมมะทักขาตัง สะมาธิ สัมมะทักขาโต
ปญญา สัมมะทักขาตา.
กะถัญจะ สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะป ปะริยา
เยนะ, สีลัง สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา.อุปะริเมนะป ปะริยาเยนะ, สีลัง
สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ, สีลัง
สัมมะทักขาตัง ภะคะวะตา. อิธะ อะริยะสาวะโก ปาณาติปาตา ปะฏิวิระโต
โหติ, อะทินนาทานา ปะฏิวิระโต โหติ, กาเมสุ มิจฉาจารา ปะฏิวิระโต
โหติ, มุสาวาทา ปะฏิวิระโต โหติ, สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา
ปะฏิวิระโต โหตีติ. เอวัง โข เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ, สีลัง สัมมะทักขาตัง
ภะคะวะตา. กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ, สีลัง สัมมะทักขาตัง
ภะคะวะตา. อิธะ ภิกขุ สีละวา โหติ, ปาฏิโมกขะสังวะระสังวุโต
วิหะระติ อาจาระโคจะระสัมปนโน, อะณุมัตเตสุ วัชเชสุ ภะยะทัสสาวี
สะมาทายะ สิกขะติ สิกขาปะเทสูติ. เอวัง โข อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ,
สีลัง สัมะทักขาตัง ภะคะวะตา.
กะถัญจะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะป ปะริยาเยนะ, สมาธิ
สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อุปะริเมนะป ปะริยาเยนะ, สะมาธิ สัมมะทักขาโต
ภะคะวะตา. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ, สะมาธิ สัมมะทักขาโต
ภะคะวะตา. อิธะ อะริยะสาวะโก โวสสัคคารัมมะณัง กะริตว๎ า, ละภะติ สะมาธิง
ละภะติ จิตตัสเสกัคคะตันติ. เอวัง โข เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ, สะมาธิ
สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ, สะมาธิ
สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา. อิธะ ภิกขุ วิวิจเจวะ กาเมหิ วิวิจจะ อะกุสะเลหิ
ธัมเมหิ, สะวิตกั กัง สะวิจารัง วิเวกะชัมปตสิ ขุ งั ปะฐะมัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ
วิหะระติ. วิตักกะวิจารานัง วูปะสะมา, อัชฌัตตัง สัมปะสาทะนัง เจตะโส
เอโกทิภาวัง อะวิตกั กัง อะวิจารัง, สะมาธิชมั ปตสิ ขุ งั ทุตยิ งั ฌานัง อุปะสัมปชชะ
วิหะระติ. ปติยา จะ วิราคา อุเปกขะโก จะ วิหะระติ สะโต จะ สัมปะชาโน,
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 331

สุขัญจะ กาเยนะ ปะฏิสังเวเทติ, ยันตัง อะริยา อาจิกขันติ อุเปกขะโก สะติมา


สุขะวิหารีติ, ตะติยัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระติ. สุขัสสะ จะ ปะหานา
ทุกขัสสะ จะ ปะหานา, ปุพเพ วะ โสมะนัสสะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมา,
อะทุกขะมะสุขงั อุเปกขาสะติปาริสทุ ธิง, จะตุตถัง ฌานัง อุปะสัมปชชะ วิหะระตีต.ิ
เอวัง โข อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ สะมาธิ สัมมะทักขาโต ภะคะวะตา.
กะถัญจะ ปญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. เหฏฐิเมนะป ปะริยาเยนะ,
ปญญา สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. อุปะริเมนะป ปะริยาเยนะ, ปญญา
สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. กะถัญจะ เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ, ปญญา
สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. อิธะ อะริยะสาวะโก ปญญะวา โหติ,
อุทะยัตถะคามินิยา ปญญายะ สะมันนาคะโต, อะริยายะ นิพเพธิกายะ
สัมมา ทุกขักขะยะคามินิยาติ. เอวังโข เหฏฐิเมนะ ปะริยาเยนะ, ปญญา
สัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. กะถัญจะ อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ,
ปญญาสัมมะทักขาตา ภะคะวะตา. อิธะ ภิกขุ อิทัง ทุกขันติ ยะถาภูตัง
ปะชานาติ. อะยัง ทุกขะสะมุทะโยติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ, อะยัง ทุกขะนิโร-
โธติ ยะถาภูตัง ปะชานาติ, อะยัง ทุกขะนิโรธะคามินี ปะฏิปะทาติ ยะถาภูตัง
ปะชานาตีติ. เอวัง โข อุปะริเมนะ ปะริยาเยนะ ปญญา สัมมะทักขาตา
ภะคะวะตา.
สีละปะริภาวิโต สะมาธิ มะหัปผะโล โหติ มะหานิสงั โส. สะมาธิปะริภาวิตา
ปญญา มะหัปผะลา โหติ มะหานิสังสา. ปญญาปะริภาวิตัง จิตตัง
สัมมะเทวะ อาสะเวหิ วิมุจจะติ. เสยยะถีทัง. กามาสะวา ภะวาสะวา
อะวิชชาสะวา. ภาสิตา โข ปะนะ ภะคะวะตา ปะรินิพพานะสะมะเย อะยัง
ปจฉิมะวาจา, หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว, วะยะธัมมา สังขารา,
อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ. ภาสิตญ ั จิทงั ภะคะวะตา, เสยยะถาป ภิกขะเว
ยานิ กานิจิ ชังคะลานัง ปาณานัง ปะทะชาตานิ, สัพพานิ ตานิ หัตถิปะเท
สะโมธานัง คัจฉันติ,หัตถิปะทัง เตสัง อัคคะมักขายะติ, ยะทิทงั
332 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
มะหันตัตเตนะ. เอวะเมวะ โข ภิกขะเว เย เกจิ กุสะลา ธัมมา, สัพเพ
เต อัปปะมาทะมูละกา อัปปะมาทะสะโมสะระณา, อัปปะมาโท เตสัง
อัคคะมักขายะตีติ. ตัส๎มาติหัม๎เหหิ สิกขิตัพพัง, ติพพาเปกขา ภะวิสสามะ,
อะธิสีละสิกขาสะมาทาเน, อะธิจิตตะสิกขาสะมาทาเน, อะธิปญญาสิกขาสะ
มาทาเน, อัปปะมาเทนะ สัมปาเทสสามาติ. เอวัญหิ โน สิกขิตัพพัง.

สามเณรสิกขา
บทขัดที่ ๑
สัมพุทโธ โลเก อุปปนโน มะหาการุณิโก มุนิ
ธัมมะจักกัง ปะวัตเตต๎วา โลเก อัปปะฏิวัตติยัง
โลกัสสะ สังคะหัง กาตุง จะริต๎วา โลกะจาริกัง
ติวิธัง โลเก สัทธัมมัง สัมมะเทวะ ปะวัตติยัง
อะนุปุพเพนะ สาวัตถิง ปต๎วา เชตะวะเน วะสัง
สามะเณรานัง นิสสายะ จิตตัง กะถานุสิกขิตุง
อะนุญญาสิ ทะสะ สิกขา สามะเณเรหิ สิกขิตุง
สามะเณรานัง ทะสังคัง สิกขาปะทัง ภะณามะเส.

บทสวดที่๑
(สิกขาบท๑๐)
อะนุญญาสิ โข ภะคะวา, สามะเณรานัง ทะสะ สิกขาปะทานิ เตสุ จะ สามะเณเรหิ
สิกขิตงุ , ปาณาติปาตา เวระมะณี, อะทินนาทานา เวระมะณี, อะพ๎รหั ม๎ ะจะริยา
เวระมะณี, มุสาวาทา เวระมะณี สุรา เมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี, วิกาละ-
โภชนะนาเวระมะณี, นัจจะคีตะวาทิตะวิสกู ะทัสสะนา เวระมะณี, มาลาคันธะวิเล-
ปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภสู ะนัฏฐานา เวระมะณี, อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา
เวระมะณี, ชาตะรูปะระชะตะปะฏิคคะหะณา เวระมะณีติ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 333

บทขัดที่ ๒
เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ สัก๎ยะปุตโต ปะนันทะสะ
สามะเณโร กัณฏะโก นามะ กัณฏะกิง ภิกขุณิง ทุสิ
ญัต๎วา ตะมัตถัง ภะคะวา ภิกขูนัญเญวะ สันติกา
อะนุญญาสิ โข นาเสตุง สามะเณรัง ทะสังคิกัง
สามะเณรานัง นาสะนะ การะณังคัง ภะณามะ เส

บทสวดที่ ๒
(นาสะนังคะ ๑๐)
อะนุญญาสิ โข ภะคะวา, ทะสะหิ อังเคหิ สะมันนาคะตัง สามะเณรัง
นาเสตุง, กะตะเมหิ ทะสะหิ, ปาณาติปาตี โหติ, อะทินนาทายี โหติ, อะพ๎รัห๎
มะจารี โหติ, มุสาวาที โหติ, มัชชะปายี โหติ,พุทธัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ,
ธัมมัสสะ อะวัณณัง ภาสะติ, สังฆัสสะอะวัณณัง ภาสะติ, มิจฉาทิฏฐิโก โหติ,
ภิกขุณี ทูสะโก โหติ, อะนุญญาสิ โข ภะคะวา, อิเมหิ ทะสะหิ อังเคหิ สะ
มันนาคะตัง สามะเณรัง นาเสตุนติ.

บทขัดที่ ๓
เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ สามะเณรา อะคาระวา
ภิกขูสุ อัปปะติสสา เจ- วะ อะสะภาคะวุตติกา
ญัต๎วา ตะมัตถัง ภะคะเว ภิกขูนัญเญวะ สันติกา
อะนุญญาสิ ทัณฑะกัมมัง กาตุง ปญจังคิกัสสะ จะ
สามะเณรานัง ทัณฑะกัมมะ การะณังคัง ภะณามะ เส.
334 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
บทสวดที่ ๓
(ทัณฑกรรม ๕)
อะนุญญาสิ โข ภะคะวา, ปญจะหิ อังเคหิ สะมันนาคะตัสสะ สามะเณรัสสะ
ทัณฑะกัมมัง กาตุง, กะตะเมหิ ปญจะหิ, ภิกขูนัง อะลาภายะ ปะริสักกะติ,
ภิกขูนัง อะนัตถายะ ปะริสักกะติ, ภิกขูนัง อะนาวาสะยะ ปะริสักกะติ,
ภิกขู อักโกสะติ ปะริภาสะติ, ภิกขู ภิกขูหิ เภเทติ, อะนุญญาสิ โข ภะคะวา,
อิเมหิ ปญจะหิ อังเคหิ สะมันนาคะตัสสะ สามะเณรัสสะ ทัณฑะกัมมัง กาตุนติ.

วิธีขอบรรพชาอุปสมบท แบบเอสาหัง
กุลบุตรผูม ศี รัทธามุง อุปสมบท พึงรับผาไตรอุม ประนมมือเขาไปใน สังฆสันนิบาต
วางผาไตรไวขางตัวดานซาย รับเครื่องสักการะถวายพระอุปชฌายะ แลวกราบ
ลงดวยเบญจางคประดิษฐ ๓ ครั้ง แลวนั่งคุกเขาอุม ผาไตร ประนมมือเปลง
วาจา ถึงสรณะและขอบรรพชาดวยภาษามคธ หยุดตามจุดจุลภาควา
เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต,ธัมมะวินะเย
ปพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง
ทุตยิ มั ปาหัง ภันเต,สุจริ ะปะรินพิ พุตมั ป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต,ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย
ปพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง
ตะติยมั ปาหัง ภันเต, สุจริ ะปะรินพิ พุตมั ป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ,
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต,ธัมมะวินะเย
ปพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสังปะทัง
อะหัง ภันเต, ปพพัชชัง ยาจามิ,อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหต๎วา,
ปพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปง อุปาทายะ
ทุติยัมป อะหัง ภันเต, ภันเต, ปพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายามิ วัตถานิ
คะเหต๎วา, ปพพเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปง อุปาทายะ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 335

ตะติยัมป อะหัง ภันเต, ปพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ


คะเหต๎วา, ปพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปง อุปาทายะ
(ถาบวชเปนสามเณร ใหตัดคําวา ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง ออกทุกแหง)
ลําดับนัน้ พระอุปช ฌายรบั ผาไตรจากผูม งุ บรรพชาวางไวตรงหนาตัก แลวให
โอวาทและบอกตะจะปญจะกะกัมมัฏฐาน ใหวาตามไปทีละบท โดยอนุโลม
(ไปขางหนา) และปฏิโลม (ทวนกลับ) ดังนี้
เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ (อนุโลม)
ตะโจ ทันตา นะขา โลมา เกสา (ปฏิโลม)

ครัน้ ใหโอวาทแลว พระอุปช ฌายดงึ อังสะออกจากผาไตรสวมใหผบู วช แลว


สั่งใหออกไปครองผาไตรจีวรตามระเบียบ ครั้นเสร็จแลวเขาไปหาพระกรรมวา
จาจารย รับเครื่องสักการะถวายทานแลวกราบ ๓ ครั้ง นั่งคุกเขา ประนมมือ
เปลงวาจาขอสรณะและศีล ดังนี้
อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิฯ
ทุติยัมป อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิฯ
ตะติยัมป อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิฯ
ลําดับนั้น พระอาจารยกลาวคํานมัสการ ใหผูมุงบรรพชาวาตามไป ดังนี้
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ฯ (วา ๓ หน)
แตนั้น ทานพระอาจารยผูใหศีลจะกลาววา เอวัง วะเทหิ
หรือ ยะมะหัง วะทามิ ตัง วะเทหิ พึงรับวา อามะ ภันเต
ครั้นแลว ทานจะวานําใหเปลงวาจาวา สรณคมน พึงวาตามไปที่ละตอน ดังนี้
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
336 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
เมือ่ จบแลว ทานจะกลาววา ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตงั พึงรับวา อามะ ภันเต
ลําดับนั้น ทานจะบอกใหรูวา การบรรพชาเปนสามเณรสาเร็จดวยสรณคมน
เพียงเทานี้ (ผูม งุ อุปสมบทเปนสามเณรเมือ่ จบไตรสรณคมน) จากนัน้ พึงสมาทาน
สิกขาบท ๑๐ ประการโดยวาตามไปทีละตอน ดังนี้
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะพ๎รัห๎มะจะริยา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
วิกาละโภชะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี
สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
ชาตะรูปะระชะตะปฏิคคะหะณา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อิมานิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิฯ (วา ๓ หน)
ในลําดับนั้น สามเณรพึงรับบาตร อุมเขาไปหาพระอุปชฌายในสังฆ
สันนิบาต วางไวขางตัวดานซาย รับเครื่องสักการะถวายทานแลวกราบ ๓ ครั้ง
นั่งคุกเขาประนมมือกลาวคาขอนิสัย วาดังนี้
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 337

อะหัง ภันเต นิสสะยัง ยาจามิ


ทุติยัมป อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ
ตะติยัมป อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ
อุปชฌาโย เม ภันเต, โหหิ (วา ๓ หน)
พระอุปชฌายกลาววา โอปายิกัง, ปะฏิรูปง, ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ
บทใดบทหนึ่งพึงรับวา สาธุ ภันเต ทุกบทไป แตนั้นสามเณรพึงกลาวรับเปน
ธุระใหกนั และกันวาดังนี้ อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหัง ภาโร, อะหัมป เถรัสสะ
ภาโร ฯ (วา ๓ หน) เสร็จแลวกราบลง ๓ ครั้ง
ลําดับนัน้ พระอุปช ฌายแนะนาสามเณรไปตามระเบียบแลว เอาบาตรมีสาย
คลองตัวผูมุงอุปสมบท และบอกบริขารคือ บาตร ผาสังฆาฏิ จีวร และผาสบง
แกผูมุงอุปสมบท ใหรับวา อามะ ภันเต ๔ หน ดังนี้
คําบอกบริขาร คํารับ
๑. อะยันเต ปตโต อามะ ภันเต
๒. อะยัง สังฆาฏิ อามะ ภันเต
๓. อะยัง อุตตะราสังโค อามะ ภันเต
๕. อะยัง อันตะระวาสะโก อามะ ภันเต
ตอจากนั้น พระอุปชฌายจะบอกใหออกไปขางนอกวา
คัจฉะ อะมุมหิ โอกาเส ติฏฐาหิ
ผูบ วชพึงถอยออกลุกขึน้ ไปยืนอยูใ นทีท่ กี่ าหนดไว (สวนใหญจะเปนบริเวณ
ทางเขาโบสถ) พระคูสวดจะสวดสมมติตนเปนผูสอนซอม (เรียกวาคูสวด
คือ พระกรรมวาจาจารย และพระอนุสาวนาจารย) แลวออกไปสวดถาม
อันตรายิกธรรม พึงรับวา นัตถิ ภันเต ๕ หน และ อามะ ภันเต ๘ หน ดังนี้
ถาม ตอบ
๑. กุฏฐัง นัตถิ ภันเต
๒. คัณโฑ นัตถิ ภันเต
๓. กิลาโส นัตถิ ภันเต
338 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
๔. โสโส นัตถิ ภันเต
๕. อะปะมาโร นัตถิ ภันเต
ถาม ตอบ
๑. มะนุสโสสิ อามะ ภันเต
๒. ปุริโสสิ อามะ ภันเต
๓. ภุชิสโสสิ อามะ ภันเต
๔. อะนะโณสิ อามะ ภันเต
๕. นะสิ ราชะภะโฏ อามะ ภันเต
๖. อะนุญญาโตสิ มาตาปตูหิ อามะ ภันเต
๗. ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ อามะ ภันเต
๘. ปะริปุณณันเต ปตตะจีวะรัง อามะ ภันเต
ถาม ตอบ
๑. กินนาโมสิ อะหัง ภันเต (๑).... นามะ
๒. โก นามะ เต อุปชฌาโย อุปชฌาโย เม ภันเต อายัส๎มา (๒).... นามะ

สวนชองที่ ……………เวนไว ซึง่ พระอุปช ฌายจะตัง้ ชือ่ ของอุปสัมปทาเปกขะ


กรอกลงในชองใหไวกอ นวันบวช และชองที่ …… ไวในชองชือ่ ของพระอุปช ฌาย
ก็เชนเดียวกัน ใหกรอกตามชื่อของพระอุปชฌาย ซึ่งทานจะบอกและกรอกให
ไวกอนวันบวช
ครั้นสวดสอนซอมแลว พระคูสวดจะกลับเขามาสวดขอเรียกอุปสัมปทา
เปกขะเขามา อุปสัมปทาเปกขะพึงเขามาในสังฆสันนิบาต กราบลงตรงหนาพระ
อุปชฌาย ๓ ครั้ง แลวนั่งคุกเขาประนมมือเปลงวาจาขออุปสมบท ดังนี้
สังฆัมภันเต, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต,
สังโฆ อะนุกัมปง อุปาทายะฯ
ทุติยัมป ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต,
สังโฆ อะนุกัมปง อุปาทายะฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 339

ตะติยัมป ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต,


สังโฆ อะนุกัมปง อุปาทายะฯ
(ถาบวชพรอมกันหลายคนใหเปลี่ยนคาวา ยาจามิ เปน ยาจามะ และ
เปลี่ยน มัง เปน โน)
ในลําดับนัน้ พระอุปช ฌายกลาวเผดียงสงฆแลว พระอาจารย (คูส วด) สวด
สมมติตนถามอันตรายิกธรรม อุปสัมปทาเปกขะพึงรับวา นัตถิ ภันเต ๕ หน
อามะ ภันเต ๘ หน บอกชื่อตน และชื่อ พระอุปชฌายรวม ๒ หน แตนั้น พึง
นัง่ ฟงทานสวดกรรมวาจา อุปสมบทไปจนจบ ครัน้ จบแลวทานเอาบาตรออกจาก
ตัว แลวพึงกราบลง ๓ ครัง้ นัง่ พับเพียบประนมมือฟงพระอุปช ฌายบอกอนุศาสน
ไปจนจบ แลวรับวา อามะ ภันเต แลว กราบ ๓ ครั้ง ถวายไทยธรรม กรวดนํ้า
จบวิธีขอบรรพชาอุปสมบทแบบเอสาหัง
340 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
วิธีลาสิกขา
ธรรมเนียมกอนจะลาสิกขา นิยมใหผูลาไดไปทําวัตรขอขมาตออุปชฌาย,
พระอาจารย, และพระพี่เลี้ยง ที่เคารพนับถือ โดยมีดอกไมธูปเทียนเครื่องสัก
การะนําไปถวายดวย (วิธขี อขมาใหดทู หี่ วั ขอคําขอขมา) เมือ่ ถึงกําหนดลาสิกขา
พระสงฆผูจะนั่งเปนพยานเขาประชุมพรอมกัน ภิกษุผูตองการลาสิกขาแสดง
อาบัตหิ มดจดดีแลวพาดผาสังฆาฏินงั่ คุกเขาขึน้ หันหนาตรงตอพระพุทธรูปกราบ
ลงดวย เบญจางคประดิยฐ ๓ หน ประนมมือ เปลงวาจา “นะโม” ฯเปฯ ๓
จบแลว กลาวอตีตะปจจะเวกขะณะทั้ง ๔ ปจจัยพอใหสงฆไดยิน (ถาสึกหลาย
รูปวาพรอมกันได เมื่อจบแลวกราบลง ๓ หนเปลงวาจาทั้งอรรถทั้งแปลพรอม
ดวยเจตนาที่จะลาเพศออกเปนคฤหัสถ (เรียงทีละรูป) วา

“สิกขัง ปจจักขามิ” “ขาพเจาขอลาสิกขา”


“คิหตี ิ มัง ธาเรถะ” “ขอใหทา นทัง้ หลายโปรดจงจําขาพเจาไววา เปนคฤหัสถแลว”
วา ๓ จบ แลวโนมตัวไปใหผเู ปนประธานสงฆชกั ผาสังฆาฏิออก กราบสงฆ ๓ หน
ออกไปเปลี่ยนเครื่องแตงกายเปนคฤหัสถ เสร็จแลวเขามากราบสงฆอีก ๓ หน
จากนั้นกลาวคําแสดงตนเปนอุบาสกวา
“เอสาหัง ภันเต สุจริ ะปรินพิ พุตมั ป, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัญจะ
ภิกขุสังมัญจะ, อุปาสะกัง มัง สังโฆ ธาเรตุ, อัชชะตัคเค ปาณุเปตัง
สะระณัง คะตัง.”
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจา ขอถึงพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น แมเสด็จ
ปรินิพพานแลว ทั้งพระธรรม และพระสงฆเปนสรณะที่ระลึกนับถือ
ขอพระสงฆจงจําขาพเจาทั้งหลายไววาเปนพุทธมามกะ เปนผูรับเอา
พระพุทธเจาเปนของตน คือผูนับถือพระพุทธเจา
เมื่อวาจบแลว พระเถระใหศีล ๕ รับศีลจบแลว กราบพระสงฆ ๓ หน หมอบ
รับนํา้ พระพุทธมนต พระสงฆสวคชัยมงคลคาถา จบลงอุบาสกใหมถวายเครือ่ ง
จตุปจจัยไทยธรรม พระสงฆ ใหพร รับพรพระ (กรวดนํ้า) เปนเสร็จพิธี.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 341

คําบูชาในวันสําคัญตาง ๆ
คําบูชาในวันมาฆปุณณมี
อัชชายัง, มาฆะปุณณะมี สัมปตตา, มาฆะนักขัตเตนะ ปุณณะจันโท
ยุตโต, ยัตถะ ตะถาคะโต, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, จาตุรงั คิเก สาวะกะสันนิปาเต,
โอวาทะปาฏิโมกขัง อุททิส.ิ ตะทา หิ อัฑฒะเตระสานิ ภิกขุสะตานิ,
สัพเพสังเยวะ ขีณาสะวานัง, สัพเพเต เอหิภกิ ขุกา, สัพเพป เต อะนิมนั ติตาวะ,
ภะคะวะโต สันติกงั อาคะตา เวฬุวะเน กะลันทะกะนิวาเป, มาฆะปุณณะมิยงั วัฑฒะ
มานะกัจฉายายะ ตัสม๎ งิ สันนิปาเต, ภะคะวา วิสทุ ธุตตะมุโปสะถัง
อะกาสิ, โอวาทะปาฏิโมกขัง อุททิส.ิ อะยัง อัมหากัง ภะคะวะโต เอโกเยวะ,
สาวะกะสันนิปาโต อะโหสิ จาตุรังคิโก, อัฑฒะเตระสานิ ภิกขุสะตานิ,
สัพเพสังเยวะ ขีณาสะวานัง. มะยันทานิ อิมัง มาฆะปุณณะมีนักขัตตะสะมะ-
ยั ง ตั ก กาละสะทิ สั ง สั ม ป ต ตา, สุ จิ ร ะปะริ นิ พ พุ ตั ม ป ตั ง ภะคะวั น ตั ง
สะมะนุสสะระมานา, (๑ อิเม ทัณฑะทีปะธูปะปุปผาทิสักกาเร คะเหต๎วา
อัตตะโน กายัง สักการูปะธานัง กะริต๎วา ตัสสะ ภะคะวะโต เตสัญจะ
อัฑฒะเตระสานัง, ภิกขุสะตานัง, ยะถาภุจเจ คุเณ อะนุสสะรันตา อิมัง พุทธะ
ปะฏิมัง ติกขัตตุง ปะทักขิณัง กะริสสามะ, ยะถาคะหิเตหิ สักกาเรหิ
ปูชัง กุรุมานา) สาธุ โน ภันเต ภะคะวา, สะสาวะกะสังโฆ สุจิระปะรินิพ-
พุโตป คุเณหิ ธะระมาโน, อิเม สักกาเร ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง
ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
คําแปล
ณ วันนี้ เปนวันพระจันทรเพ็ญเต็มดวง ประกอบดวยฤกษมาฆะมาถึง
ดวยดี ณ วันนีแ้ ลว ในวันใดเลา พระตถาคต อรหันตสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงแสดง
พระปาฏิโมกข ในทามกลางพระภิกษุสงฆ หนึ่งพันสองรอยหาสิบองค ลวนแต
พระขีณาสพ ลวนไดเปนเอหิภกิ ขุปฏิสมั ภิทาญาณ อยูใ นทิศตางๆ ไมมใี ครนิมนต
-------------------------------------------------
(๑) ถาไมเวียนเทียน เปลีย่ นคําในวงเล็บ วา อิเมหิ ทีปะธูปะปุปผาทิสกั กาเรหิ ตัง ภะคะวะตัง
ตานิ จะ อัฒะสานิ อะภิปชู ะยามะ.
342 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
นัดหมาย ไดมาประชุมพรอมกัน ในสํานักพระผูมีพระภาคเจา ที่เวฬุวนาราม
เวลาตะวันบาย ในวันมาฆปุณณมี พระองคไดทรงกระทําวิสุทธิอุโบสถ
ทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข สามพระคาถากึ่ง ณ ที่ประชุมพระอรหันต
หนึง่ พันสองรอยหาสิบองคนนั้ อนึง่ สาวกสันนิบาตของพระผูม พี ระภาคเจาแหง
เราทั้งหลาย หนึ่งพันสองรอยหาสิบองคนั้น ลวนแตพระขีณาสพ ลวนเปน
เอหิภิกขุอุปสมบท มาประชุมพรอมดวยองคสี่ประการ ไดมีคราวเดียวเทานั้น
บัดนี้ ขาพเจาทั้งหลายไดมีชีวิตมาถึง วันมาฆปุณณมีนี้ ซึ่งคลายกับวันสาวก
สันนิบาตนั้น ขาพเจาระลึกถึง พระผูมีพระภาคเจานั้น แมเสด็จปรินิพพานนาน
แลว (๑ไดถือเครื่องสักการะทั้งหลาย มีเทียน ธูป ดอกไมเปนตน กระทํากาย
ของตน ใหเปนเชิงรองเครื่องสักการะ ระลึกถึงพระคุณที่เปนจริง ของพระ
ผูมีพระภาคเจานั้น และของพระภิกษุ ๑,๒๕๐ องคเหลานั้น กระทําการบูชา
ดวยเครื่องสักการะตามที่ถืออยูนี้ จักกระทําประทักษิณซึ่งพระพุทธปฏิมานี้
๓ รอบ)
สาธุ ขาแตพระองคผูเจริญ ขาพระองคขอพระวโรกาส ขอพระผูมีพระภาคเจา
พรอมดวยพระสงฆสาวก แมเสด็จปรินิพพานไปนานแลว แตยังคงดํารงอยูดวย
พระคุณทั้งหลาย ขอจงทรงรับเครื่องสักการะเหลานี้ ของขาพเจาทั้งหลาย
เพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพเจาทั้งหลาย ตลอดกาลนานเทอญ.

คําบูชาในวันวิสาขบูชา
อัชชายัง, วิสาขะปุณณะมี สัมปตตา, วิสาขะนักขัตเตนะ, ปุณณะจันโท,
ยุตโต ยัตถะ ตะถาคะโต, อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิสาขะปุณณะมิยงั , ชาโต,
อันติมะชาติยา, ปตโต จะ, อะภิสัมโพธิง, อะโถป, ปะรินิพพุโต, โลเก ชาโต
จะ, กะรุณาเวคะโจทิโต, เทวานัญเจวะ, มะนุสสานัญจะ, อะเนเกสะมะเนกะธา,
ทิฏฐะธัมมะสัมปะรายะ, ปะระมัตถะปะเภทะโต, ติวธิ ชั เถ, อะสาเธสิ, ธัมเมนะ,
วินะเยนะ จะ, สัทธัมมัง, ติวิธัง, โลเก, สัมมะเทวะ,
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 343

ปะวัตตะยิ มะยันทานิ, อิมัง, วิสาขะปุณณะมีนักขัตตะสะมะยัง, ตักกาละ


สะทิสัง, สัมปตตา, สุจิระปะนิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง, อะนุสสะระมานา,
อิมัส๎มิง, ตัสสะ ภะคะวะโต, สักขิภูเต เจติเย, ยะถาระหัง, อาโรปเตหิ, อิเมหิ,
ทีปะธูปะปุปผาทิสักกาเรหิ, ตัง ภะคะวันตัง, สัทธัมมัง, สะสังฆัง, อะภิปูชะ-
ยามะ, สาธุ โน ภันเต, ภะคะวา, สุจิระปะรินิพพุโตป, กะรุณาทีหิ, คุเณหิ,
ธะระมาโน, อิเม สักกาเร, ทุคคะตะปณณาการะภูเต, ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง,
ทีฆะรัตตัง, หิตายะ, สุขายะ.
คําแปล
วันเพ็ญฤกษวสิ าขะมาถึงดวยดี ณ วันนีแ้ ลว พระจันทรเพ็ญเต็มดวง ประกอบ
ดวยฤกษวิสาขะแลว ในวันใดเลา พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา
ไดบังเกิดขึ้นแลว ในศากยะตระกูลโคตมะวงศ ในมัชฌิมประเทศ ซึ่งเปนที่อยู
ของชาวอริยกะทั้งหลาย พระองคนั้นเปนสุขุมาลชาติ ตั้งอยูในความเปนสุข
อยางยิ่ง ควรจะพิจารณาโดยเอนกประการ พระสัมมาสัมพุทธเจา มีมงคลสมัย
อันพิเศษ ซึ่งบุรพาจารยหากนิยมกําหนดไววา พระองคประสูติ และตรัสรู และ
เสด็จดับขันธปรินพิ พาน สามสมัยกาลนี้ ในวันวิสาขปุณณมี ดิถวี นั เพ็ญพระจันทร
เสวยนักขัตฤกษ เปนมหามงคลกาลพิเศษ พระองคบังเกิดขึ้นแลวในโลก เปน
พระศาสดาสั่งสอนสัตว ใหปฏิบัติในหนทางแหงความสุข และประโยชน
อันกําลังแหงพระกรุณา หากตักเตือนใหทรงสั่งสอนประโยชนทั้งสาม คือ
ประโยชนในชาตินี้ และประโยชนชาติหนา และประโยชนอยางยิ่ง คือพระ
นิพพาน ใหสาํ เร็จแกเทพยดา และมนุษยเปนอันมาก ดวยเทศนาวิธตี า งๆ ผอน
ผันตามจริตและอัธยาศัยแหงสัตวนั้น ๆ ทรงแสดงธรรม และทรงบัญญัติวินัย
ใหพระสัทธรรมทั้งสามประการ คือ พระปริยัติสัทธรรม, พระปฏิบัติสัทธรรม
และพระปฏิเวธสัทธรรม เปนไปในโลกโดยชอบแลว พระองคดบั ขันธปรินพิ พาน
แหงพระสัมมาสัมพุทธเจานั้น ขาพเจาทั้งหลาย มาถึงวันวิสาขะปุณณมีนี้
ซึง่ คลายกับวันประสูต,ิ ตรัสรู และเสด็จดับขันธปรินพิ พาน แหงพระสัมมาสัม-
พุทธเจานั้น ขาพเจาทั้งหลาย ระลึกถึงพระผูมีพระภาคเจานั้น แมเสด็จดับขันธ
344 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ปรินิพพานนานแลว เคารพบูชาพระองคกับพระธรรมและพระสงฆ ดวยเครื่อง
สักการะ มีเทียน ธูป ดอกไม เหลานีเ้ ปนตน ขอพระองคซงึ่ ดํารงอยูโ ดยพระคุณ
ทั้งหลาย มีพระกรุณาคุณ เปนตน จงทรงรับสักการะบรรณาการ ของขาพเจา
คนยากทั้งหลายเหลานี้ เพื่อประโยชนและความสุข แกขาพเจาทั้งหลาย
สิ้นกาลนาน เทอญฯ

คําบูชาในวันอัฏฐะมีบูชา
อัชชายัง,วิสาขะปุณณะมิโต ปะรัง, อัฏฐะมี, สัมปตตา, ยาทิเส, สุนพิ พุตสั สะ,
ภะคะวะโต, อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ, สะรีรัชฌาปะนะกาละ ภูโต,
อะโหสิ, สัทเธหิ, มัลเลหิ, สัพพะคันธานัง,กะตะจีตะกา, ปาฏิเหรัง,ทัสสะยันตี,
สะยะเมวะ, อะปชชะลิ, ตัสสะ ภะคะวะโต, สุนิพพุตัสสะ, อะระหะโต
สัมมาสัมพุทธัสสะ, อันติมะเทหะภูตงั , ทะวัตติงสะปะวะระมะหาปุรสิ ะลักขะณะ,
ปะฏิมณั ฑิตงั , ธาตุภเู ตนะ, เตเชนะ, อัชฌายิตถะ, ตาทิโสวะ, อะภิลกั ขิโต,
มะยันทานิ, ตัสสะ ภะคะวะโต, อิมัง, สะรีรัชฌาปะนะกาละภูตัง, พุทธานุส
สะระณาระหัง, อะนุกาเลนะ สัมปตตา, สุจิระปะรินิพพุตัมป, ตัง ภะคะวันตัง,
อะนุสสะระมานา อิมัส๎มิง,ตัสสะ ภะคะวะโต, สักขิภูเต, เจติเย, ยะถาระหัง,
อาโรปเตหิ, อิเมหิ, ทีปะธูปะปุปผาทิสักกาเรหิ, ตัง ภะคะวันตัง, อะภิปูชะ-
ยามะ,สาธุ โน ภันเต, ภะคะวา, สุจิระปะริพพุโตป,กะรุณาทีหิ, คุเณหิ,
ธะระมาโน, อิเม สักกาเร, ทุคคะตะปณณาการะ ภูเต, ปะฏิคคัณหาตุ,
อัมหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ สุขายะ.
คําแปล
ดิถีที่ ๘ เบื้องหนา แตวันวิสาขปุณณมี มาถึงดวยดี ณ วันนี้แลว ในวัน
เชนไรเลา เปนวันถวายพระเพลิง พระสรีระแหงพระผูมีพระภาคเจาไดมีแลว
จิตตกาธารแหงพระผูมีพระภาคเจา อันกษัตริยมัลลราชทั้งหลายทรงศรัทธาบูชา
แลว ลวนดวยเครื่องหอมสําแดงปาฏิหาริยเปลวเพลิง ไดรุงเรืองขึ้นแลวเอง
ถวายพระเพลิงพระสรีระพระกายทีส่ ดุ ประดับดวยมหาปุรสิ ลักษณะ อันประเสริฐ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 345

สามสิบสองประการ แหงพระผูม พี ระภาคเจา เสด็จปรินพิ พานแลว ดวยอาการ


อันดีพระองคนนั้ วันเชนนีแ้ ล กําหนดวาเปนวันเจริญยิง่ มาถึงดวยดีแลว ขาพเจา
ทั้งหลาย มาถึงกาลซึ่งคลายกันกับวันเชนนั้น ควรระลึกถึงพระพุทธคุณเปน
อารมณ มาระลึกถึงพระผูม พี ระภาคเจานัน้ แมเสด็จปรินพิ พานนานแลว ขาพเจา
ทั้งหลาย เคารพบูชาพระองคดวยเครื่องสักการะ มีเทียน ธูป ดอกไม เหลานี้
เปนตน ขอพระผูมีพระภาคเจานั้น แมปรินิพพานนานแลว ซึ่งดํารงอยูโดย
พระคุณทั้งหลาย มีพระกรุณาคุณเปนตน จงทรงรับ เครื่องสักการะบรรณาการ
เหลานี้ ของขาพเจาคนยากทั้งหลาย เพื่อประโยชน และความสุข แกขาพเจา
ทั้งหลายสิ้นกาลนาน เทอญฯ

คําบูชาในวันอาสาฬหปุณณมี
ยะมัม๎หะ โข มะยัง, ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, โย โน ภะคะวา สัตถา,
ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ,อะโหสิ โข โส ภะคะวา,อะระหัง-
สัมมาสัมพุทโธ, สัตเตสุ การุญญัง ปะฏิจจะ, กะรุณายะโก หิเตสี, อะนุกมั ปง
อุปาทายะ, อาสาฬะหะปุณณะมิยงั ,พาราณะสิยงั อิสปิ ะตะเน มิคะทาเย, ปญจะ-
วัคคิยานัง ภิกขูนัง, อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะฐะมัง ปะวัตเตตตะวา,
จัตตาริ อะริยะสัจจานิ ปะกาเสสิ. ตัส๎มิญจะ โข สะมะเย ปญจะวัคคิยานัง
ภิกขูนัง ปะมุโข, อายัส๎มา อัญญาโกณฑัญโญ, ภะคะวะโต ธัมมัง สุต๎วา,
วิระชัง วีตะมะลัง ธัมมะจักขุง ปะฏิละภิต๎วา, ยังกิญจิ สะมุทะยะธัมมัง
สัพพันตัง นิโรธะธัมมันติ, ภะคะวันตัง อุปะสัมปะทัง ยาจิตตะวา,
ภะคะวะโตเยวะ สันติกา, เอหิภิกขุอุปะสัมปะทัง ปะฏิละภิตตะวา,
ภะคะวะโต ธัมมะวินะเย อะริยะสาวะกะสังโฆ, โลเก ปะฐะมัง อุปปนโน
อะโหสิ. ตัสสะมิญจาป โข สะมะเย, สังฆะระตะนัง โลเก ปะฐะมัง อุปปนนัง
อะโหสิ, พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนันติ, ติระตะนัง สัมปนนัง
อะโหสิ. มะยัง โข เอตะระหิ, อิมงั อาสาฬะหะปุณณะมีกาลัง, ตัสสะ ภะคะวะโต
ธัมมะจักกัปปะวัตตะนัง กาละสัมมะตัง, อะริยะสาวะกะสังฆะอุปปะติกาละ
346 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
สัมมะตัญจะ, ระตะนัตตะ-ยะสัมปุณณะกาละสัมมะตัญจะ ปต๎วา, อิมัง
ฐานัง สัมปตตา, อิเม สักกาเร คะเหต๎วา, อัตตะโน กายัง สักการูปะธานัง
กะริต๎วา, ตัสสะ ภะคะวะโต, ยะถาภุจเจ คุเณ, อะนุสสะรันตา, อิมัง
พุทธะปะฏิมัง, ติกขัตตุง, ปะทักขิณัง กะริสสามะ, ยะถาคะหิเตหิ, สักกา
เรหิ ปูชัง กุรุมานา, สาธุ โน ภันเต ภะคะวา, สุจิระปะรินิพพุโตป, ญาตัพ
เพหิ คุเณหิ, อะตีตารัมมะณะตายะ, ปญญายะมาโน, อิเม อัม๎เหหิ,
คะหิเต สักกาเร ปะฏิคคัณหาตุ, อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
คําแปล
เราทั้งหลาย ถึงแลวซึ่งพระผูมีพระภาค พระองคใด วาเปนที่พึ่ง พระผูมี
พระภาคพระองคใด เปนพระศาสดาของเราทั้งหลาย อนึ่ง เราทั้งหลาย ชอบใจ
ซึ่งธรรมะของพระผูมีพระภาคพระองคใด พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น เปน
พระอรหันตตรัสรูชอบเอง ทรงอาศัยความกรุณาในสัตวทั้งหลาย ทรงพระกรุณา
แสวงหาประโยชนเกือ้ กูล ทรงอาศัยความเอ็นดู ไดยงั พระธรรมจักรอันยอดเยีย่ ม
ใหเปนไป ทรงประกาศอริยสัจสี่เปนครั้งแรก แกพระภิกษุปญจวัคคีย ที่ปาอิสิป
ตนมฤคทายวัน ใกลกรุงพาราณสี ในวันอาสาฬหปุณณมี อนึ่ง ในสมัยนั้นแล
ทานพระอัญญาโกณฑัญญะ ผูเปนหัวหนาของพระภิกษุ ปญจวัคคีย ฟงธรรม
ของพระผูมีพระภาคเจาแลว ไดธรรมจักษุ อันบริสุทธิ์ปราศจากมลทินวา สิ่งใด
สิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งทั้งปวงนั้น มีความดับไปเปนธรรมดา
จึงทูลขออุปสมบทกับพระผูมีพระภาคเจา เปนองคแรกในโลก อนึ่ง ในสมัย
นั้นแล พระสังฆรัตนะไดบังเกิดขึ้นเปนครั้งแรก พระรัตนตรัย คือ พระพุทธ
รัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆรัตนะ ไดสมบูรณแลวในโลก บัดนี้ เราทัง้ หลาย
แล มาประจวบมงคลสมัย อาสาฬหปุณณะมีวนั เพ็ญอาสาฬหมาส ทีร่ พู รอมกัน
วา เปนวันทีพ่ ระผูม พี ระภาคเจาพระองคนนั้ ทรงประกาศพระธรรมจักร เปนวัน
ที่เกิดขึ้นแหงพระอริยสงฆสาวก และ เปนวันที่พระรัตนตรัยสมบูรณ คือ ครบ
สามรัตนะ จึงมาประชุมกันแลว ณ ที่นี้ ถือสักการะเหลานี้ ทํากายของตนให
เปนดังภาชนะ รับเครื่องสักการะ ระลึกถึงพระคุณทั้งหลายของพระผูมีพระภาค
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 347

เจานั้นตามเปนจริง บูชาอยูดวยสักการะอันถือไวแลวอยางไร จักทําประทักษิณ


สิ้นวาระสามรอบ ซึ่งพระพุทธปฏิมานี้ ขาแตพระองคผูเจริญ ขอพระผูมี
พระภาคเจา แมเสด็จปรินิพพานนานมาแลว ยังปรากฏโดยพระคุณสมบัติ อัน
ขาพระพุทธเจาทั้งหลาย จะพึงรูไดโดยความเปนอตีตารมณ จงทรงรับซึ่งเครื่อง
สักการะ อันขาพระพุทธเจาทั้งหลาย ถือไวแลวนี้ เพื่อประโยชน และความสุข
แกขาพระพุทธเจาทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญฯ
348 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
หมวดคําถวายทานตางๆ
คําถวายสังฆทาน (สามัญ)
(ตั้ง นโม ๓ จบ แลวกลาวคําถวายสังฆทาน)
อิมานิ มะยัง ภันเต ภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะยามะ
สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวายภัตตาหารกับทั้งบริวารทั้ง
หลายเหลานี้ แดพระภิกษุสงฆขอพระภิกษุสงฆโปรดจงรับ ภัตตาหารกับทั้งบริวารทั้ง
หลายเหลานี้ ของขาพเจาทั้งหลาย เพื่อประโยชนและความสุข แกขาพเจาทั้งหลาย
สิ้นกาลนานเทอญฯ

คําถวายสังฆทานเพื่ออุทิศใหผูตาย
อิมานิ มะยัง ภันเต มะตะกะภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะ
ยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ มะตะกะภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฎิคคัณ
หาตุ อั ม หากั ญ เจวะ มาตาป ตุ อ าที นั ญ จะ ญาตะกานั ง กาละกะตานั ง
ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวาย มะตะกะภัตตาหาร กับทั้ง
บริวารทัง้ หลายเหลานี้ แดพระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษุสงฆจงรับ มะตะกะภัตตาหาร กับ
ทั้ง บริวารทั้งหลายเหลานี้ ของขาพเจาทั้งหลายเพื่อประโยชนและความสุขแกขาพเจา
ทั้งหลายดวย แกญาติของขาพเจาทั้งหลายมี............(มารดาบิดา) เปนตน หากทาน
ทัง้ หลายมีความทุกข,ขอใหพน จากความทุกข,หากทานทัง้ หลายมีความสุขขอใหมคี วาม
สุขยิ่งๆขึ้นไป, ตลอดกาลนานเทอญฯ
(ที่จุดไวใหเติมชื่อผูที่จะอุทิศเขาไป)

คําถวายภัตตาหาร
(แบบมีพระภิกษุไมครบองคสงฆ คือ ๔ รูปขึ้นไป)
อิมานิ มะยัง ภันเต, ภัตตานิ สะปะริวารานิ, สีละวันตัสสะ, โอโณชะยามะ,
สาธุโน ภันเต, สีละวันโต, อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ, ปะฏิคคัณหาตุ,
อัมหากัง, ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 349

ขาแตทานผูทรงศีลผูเจริญ, ขาพเจาทั้งหลาย, ขอนอมถวายภัตตาหาร, กับทั้ง


สิง่ ของอันเปนบริวาร, ทัง้ หลายเหลานี,้ แดทา นผูท รงศีล, ขอทานผูท รงศีล,โปรดจงรับ
ภัตตาหาร, กับทั้งสิ่งของอันเปนบริวารทั้งหลายเหลานี้, ของขาพเจาทั้งหลาย, เพื่อ
ประโยชนและความสุข, แกขาพเจาทั้งหลาย, ตลอดกาลนานเทอญฯ

คําถวายสังฆะแทน-สังฆะทาน แบบลาวโบราณ
สาธุ สาธุ สาธุ อุกาสะ อุกาสะ ภันเต ขาแตเจากู ตนทรงคุณอันมาก มะยัง อันวาฝูง
ขาทั้งหลาย คือทายก อุบาสก อุบาสิกา มีเจามูละศรัทธาเปนเคา ตราบตอเทาเกาเซน
ตระกูลเปนแดน แสนเซนตระกูลเปนขนาด อันเปนเชื้อชาติพันธุรา เทียนยอมคิดถึง
หา ยังครองอันหยาบชาอันเปนบาดวยตัณหา เปนพาลาคนใบ ดวยใจแทยิ่งหนักหนา
ทิสสวาอันไดเห็นแลว ยังโภชนา สังฆัสสะ แหงสังฆะเจาตางๆ อันบหลางควรกิน จึง
ยินดีซึ่งครองอันฮาย ฝูงขาทั้งหลายจึงบายเอา ยังอาหารหลายหลาก เปนตนวาหมาก
ไมนานา ก็จงึ เปนปาปงคือบาป จึงขนาบตนไปสูว สิ ภั ายตํา่ ดังนีพ้ าํ่ เหิงนาน ก็จงึ เปนการ
อันทุกขยาก ลําบากแทดีหลี ฝูงขาทั้งหลายก็พิจารณาดูเห็นแลว เห็นจักบคลาดแคลว
จากอบาย ยามเมื่อจักใกลตาย มีใจกะติฮักลูก จิตฮายผูกพาเบือน หลอนวาไดเกิดเปน
ผีเฮือนและผีดํ้า เปนทุกซํ้ายอนแกบุตราบุตรี หลอนวาไดเกิดเปนสัตวโตสั้น โตฮี โตพี
โตผอม โตหอม โตเหม็น โตเปน โตตาย โตอยูนํ้า โตอยูบก โตอยูฮก โตอยู
แปน มีนรกตั้งเปนแดน ยอมลงไปไจวๆ
ฝูงขาทัง้ หลาย จึงมาขวานขวายหาไดแลว ยังขาวนํา้ โภชนะอาหาร มาตกแตงแบง
ใหเปน ๒ ประการ ขอหนึ่งนั้น ฝูงขาทั้งหลาย ขอถวายทานแทน แกพระสังฆะเจา
เพื่อใหหายเสียยังปาปะกรรม อันฝูงขาทั้งหลาย หากไดทํามานั้นๆ ขอพระสงฆทั้งปวง
จงอนุโมทนาฮับเอาแลวก็ขอจงอะลุกะโทษใหหายเสีย ยังปาปะกรรมทั้งหลาย ทั้งปวง
นั้นก็ขาเทอญฯ
สุทินนัง วะตะ เม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุ
อิทัง เม ทานัง ปริสุทธายะ สังวัตตะตุฯ
อันวาขอสองนั้น ฝูงขาทั้งหลาย ขอถวายเปนทาน แกพระสังฆะเจาทั้งปวง เพื่อเห็น
แกมัคคะผะละธรรม ภายหนาคือชั้นฟาและนิรพาร อันฝูงขา หากไดกัตตาธิการ มาแต
กอนแลว ขออยาไดคลาดแคลว ใหไดดั่งคํามักคําปรารถนา แดก็ขาเทอญฯ
อิมานิ สังฆะภัตตะทานานิ สะขาทะนียะโภชะนียานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ
เทมะฯ
350 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
อนึ่งของสําหรับจะถวายในพิธีแบบนี้ทานจัดเตรียมเปนเครื่องขบของฉัน ตามอันมักมี
หวานคาว ใสสาํ รับไวจะทํามากนอยก็ตามศรัทธา จะไหวพระรับศีล (นิมนตพระ) ทีม่ า
รับนั้น ตองใหไดรับ ๒ พูด(สวน) คือ พูด ๑ เปนสังฆะแทน พูด ๑ เปนสังฆะทาน
จึงควรแลฯ

คําอุทิศสวนบุญกุศล (ภาษาลาว)
ขอสวนบุญกุศลทั้งหลายที่พวกขาพเจาไดกระทําไปแลวดวยกายวาจาใจ พวก
ขาพเจาทัง้ หลายจะขออุทศิ ใหแกสรรพสัตวทงั้ หลายทุกถวนหนาเบือ้ งบนแต พรหมโลก
ลงมา เบื้องตํ่าตั้งแตอเวจีขึ้นมา เบื้องขวางตลอดอนันตจักรวาล หมายมีบิดามารดา,
ญาติกาวงศา, และครูอุปชฌายอาจารยเปนตน, จงชวนกันมาฮับเอา, สวนบุญกุศลทั้ง
หลาย, ที่พวกขาพเจา, ไดอุทิศไปใหนี้, เหมือนตนไดกระทําเองนั้นเถิด อีกประการ
หนึ่ง ขอเซิญเทพยดาเจาทั้งหลาย ในแสนโกฏิจักรวาล จงมาฮับเอา, สวนบุญกุศลทั้ง
หลาย, ที่พวกขาพเจา, ไดอุทิศไปใหนี้, ขอใหนําไปบอก, แกสรรพสัตวทั้งหลาย,
ที่เขาบฮู,ที่เขามาฮับเอาบได, ถาหากทานทั้งหลายไดตกทุกข,ขอใหพนจากทุกข,ถาได
สุขขอใหสุขยิ่งๆ ขึ้นไป, จนตราบเทา, เขาสูพระนิพพาน, ในปจจุบันกาลนี้ และ
อนาคตกาล, เบื้องหนานั้นเทอญ
ขอเดซะ,กุศลผลบุญทั้งหลาย, ที่พวกขาพเจา, ไดกระทําลงแลว, ดวยกายวาจา
ใจเปนตนวา, ไดใหทาน, ไดฮักษาศีล, ไดเจริญเมตตาภาวนา, ไดสดับฮับฟงพระธรรม
เทศนา, ไดฮักษาศีล และไดทําไวยาวัจจกรมาแลวนั้น, ขอจงเปนอุปนิสัยเปนปจจัย,
ใหไดบรรลุ, ตอเนื่องพระนิพพาน, ถาแมนการจําเปน,ยังบไดเถิงแลว, แมนจะเวียน
วายตายเกิด,อยูในซาติภพใดๆ ก็ดี, ขอใหพวกขาพเจาทั้งหลายนี้, ไดพนจากสรรพะ
ทุกขทั้งปวง, อันขึ้นซื่อวาความเข็ญใจ, ไรทรัพยอับปญญา, เหมือนดั่งซาตินี้, ขออยา
ไดมเี ลย, ขอใหพวกขาพเจาทัง้ หลายนี,้ ไดปราศจากใจทีเ่ ปนบาปอกุศล, นัน้ ดวยเทอญฯ

คําประกาศวัตถุทานอันบริสุทธิ์
สุทินนัง วะตะเม ทานัง ทานัง เม ปะริสุทธัง
อาสะวักขะยาวะหัง นิพพานะสังขาตัง โหตุ
วัตถุทาน, ที่ขาพเจาไดใหดีแลว, ขอจงเปนวัตถุทานอันบริสุทธิ์, ถึงความสิ้นไป
แหงอาสวะกิเลส, เครื่องดองสันดาน, และขอจงถึงซึ่งพระนิพพาน, ในปจจุบันกาล
และอนาคตกาลเบื้องหนานั้นเทอญฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 351
คําถวายผาบังสุกุลจีวร(ผาปา)
อิมานิ มะยัง ภันเต ปงสุกูละจีวะรานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโณชะ
ยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ปงสุกูละจีวะรานิ สะปะริวารานิ
ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวายผาบังสกุลจีวร พรอมทั้ง
บริวารทั้งหลายเหลานี้ แดพระภิกษุสงฆขอพระภิกษุสงฆจงรับ ผาบังสุกุลจีวร พรอม
ทั้งบริวาร ทั้งหลายเหลานี้เพื่อประโยชน เพื่อความสุขแกขาพเจาทั้งหลาย ตลอดกาล
นานเทอญฯ

คําถวายสลากภัตต
เอตานิ มะยัง ภันเต สะลากะภัตตานิ สะปะริวารานิ อะสุกฏั ฐาเนฐะปตานิ
ภิกขุสงั ฆะสะ โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสงั โฆ เอตานิ สะลากะภัตตานิ
สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ อัมหากัญเจวะ มาตาปตุอาทีนัญจะ ญาตะกานัง
ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ อาสะวักขะยาวะหัง นิพพานะปจจะโย โหตุ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวาย ซึ่งสลากภัตและสิ่งของอัน
เปนบริวารทัง้ หลายเหลานัน้ อันตัง้ ไวแลวในทีโ่ นน แดพระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษุสงฆ
โปรดจงรับ ซึ่งสลากภัตกับทั้งสิ่งของอันเปนบริวารทั้งหลายเหลานั้น ของขาพเจา
ทั้งหลาย เพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพเจาทั้งหลายดวย แกญาติทั้งหลาย
มีมารดาบิดาเปนตนดวย และเปนปจจัยใหขาพเจาทั้งหลาย ไดสิ้นอาสวะทั้งปวงจนถึง
ซึ่งพระนิพพาน ดวย เทอญ ฯ

คําบูชาขาวประดับดิน
อิมานิ มะยัง ภันเต,สัพพะโภชะนานิ, นานาวัตถุกานิ รัตตะนัตตะยัสสะ,
อะภิปูเชมะ, อัมหากัง, มาตาปตาทีนัง, คุณะวันตานัญจะ, มัยหัญจะ, ทีฆะรัตตัง,
หิตายะ สุขายะฯ
ขาแตทา นผูเ จริญ, พวกขาพเจาทัง้ หลาย, ขอบูซาซึง่ ขาวประดับดิน, อันประกอบ
ดวยวัตถุตางๆ, ทั้งหลายเหลานี้, แดพระรัตนตรัย, และพระสถูปฮูปพระเจดีย, และ
พระศรีมหาโพธิ,์ เพือ่ ใหเปนประโยชน, และความสุข, และความเจริญ,แกพวกขาพเจา
ทั้งหลาย,และแกเปตะซนทั้งหลาย, ผูมีพระคุณทั้งหลาย, มีบิดามารดา, ญาติกาวงศา,
และครูอุปชฌายอาจารยเปนตน, ที่ลวงลับดับขันธ, ไปสูปรโลกแลวนั้น, ขอจงมา
อนุโมทนาสาธุการ, ฮับเอาผลทาน, ดอมฝูงขาพเจาทั้งหลาย, ทุกคนแดก็ขาเทอญฯ
352 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คําถวายสถานที่สรางวัด
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง เอตัง เขตตะวัตถุง สะปะริวารัง
จาตุ ท ทิ สั ส สะ ภิ ก ขุ สั ง ฆั ส สะ อาคะตานาคะตั ส สะ อาวาสะกะระณั ต ถายะ
สังฆัสสะ นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต อะยัง จาตุททิสัสสะ ภิกขุสังฆัสสะอา-
คะตานาคะตัสสะ อาวาสะกะระณัตถายะ เขตตะวัตถุสสะ ทานัสสะ อานิสังโส
อัมหากัญเจวะ มาตาปตุอาทีนัญจะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
สังวัตตะตุ ฯ
ขาแตพระสงฆผเู จริญ ขอพระสงฆจงรับทราบ ขาพเจาทัง้ หลาย ขอมอบถวายพืน้ ที่
นี้ พรอมกับของบริวารแกสงฆ เพือ่ ประโยชนเปนสถานทีส่ รางวัด สําหรับพระภิกษุสงฆ
ผูอยูในทิศทั้ง ๔ ทั้งที่มาแลวและยังมิไดมา ขออานิสงสแหงการถวายพื้นที่ เพื่อ
ประโยชนเปนสถานที่สรางวัด สําหรับพระภิกษุสงฆผูอยูในทิศทั้ง ๔ ทั้งที่มาแลวและ
ยังมิไดมานี้ ของขาพเจาทั้งหลาย จงเปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพเจา
ทั้งหลายดวย แกปยชนทั้งหลาย มีมารดาบิดาเปนตนดวย ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ

คําถวายผาจํานําพรรษา
อิมานิ มะยัง ภันเต วัสสาวาสิกะจีวะรานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะยามะ
สาธุ โน ภันเต ภิกขุสงั โฆ อิมานิ วัสสาวาสิกะจีวะรานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัญเจวะ มาตาปตอุ าทีนญ ั จะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวายผาจําพรรษา พรอมกับของ
บริวารทัง้ หลายเหลานี้ แกพระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษุสงฆ จงรับผาจําพรรษา พรอมกับ
ของบริวารทัง้ หลายเหลานี้ ของขาพเจาทัง้ หลาย เพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข แกขา พเจา
ทัง้ หลายดวย แกปย ชนทัง้ หลาย มีมารดาบิดาเปนตนดวย ตลอดกาลนาน เทอญฯ
คําถวายผาอาบนํ้าฝน
อิมานิ มะยัง ภันเต วัสสิกะสาฏิกานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสงั ฆัสสะ โอโณชะ-ยามะ
สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ วัสสิกะสาฏิกานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคัณหาตุ
อัมหากัญเจวะ มาตาปตุาทีนัญจะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขาพเจาทั้งหลาย ขอนอมถวายผาอาบนํ้าฝน พรอมกับของ
บริวารทั้งหลายเหลานี้ แกพระภิกษุสงฆ ขอพระภิกษุสงฆ จงรับผาอาบนํ้าฝน พรอม
กับของบริวารทั้งหลายเหลานี้ ของขาพเจาทั้งหลาย เพื่อประโยชน เพื่อความสุขแก
ขาพเจาทั้งหลายดวย แกปยะชนทั้งหลาย มีมารดาบิดาเปนตนดวย ตลอดกาลนาน
เทอญ ฯ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 353

คําถวายพระเจดียทรายเปนพระพุทธบูชา
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง เอตัง วารุการาสิง สะปะริวารัง
เจติยัง กัต๎วา พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ สังฆัสสะ นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต
อะยัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ วาลุกาเจติยัสสะ ทานัสสะ อานิสังโส อัมหากัญเจวะ
มาตาปตุอาทีนัญจะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขอพระสงฆจงรับทราบ ขาพเจาทั้งหลาย กอกองทรายนี้
พรอมกับของบริวารเปนเจดียแลว ขอมอบถวายแกพระสงฆ เพื่อเปนพุทธบูชา
ขออานิสงสแหงการถวายพระเจดียทราย เพื่อเปนพุทธบูชานี้ ของขาพเจาทั้งหลายจง
เปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพเจาทั้งหลายดวย แกปยชนทั้งหลาย
มีมารดาบิดาเปนตนดวย ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ

คําถวายพระเจดียขาวเปลือกเปนพุทธบูชา
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง เอตัง ธัญญะราสิง สะปะริวารัง
เจติยัง กัต๎วา พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ สังฆัสสะ นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต
อะยัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ ธัญญะเจติยัสสะ ทานัสสะ อานิสังโส อัมหากัญ
เจวะ มาตาปตุอาทีนัญจะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุ ฯ
ขาแตพระสงฆผเู จริญ ขอพระสงฆจงรับทราบ ขาพเจาทัง้ หลาย กอกองขาวเปลือก
พรอมกับของบริวารเปนเจดียแลว ขอมอบถวายแกพระสงฆ เพื่อเปนพุทธบูชา
ขออานิสงสแหงการถวายพระเจดียขาวเปลือก เพื่อเปนพุทธบูชานี้ ของขาพเจา
ทั้งหลาย จงเปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพเจาทั้งหลายดวย แกปยชน
ทั้งหลาย มีมารดาบิดาเปนตนดวย ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ

คําถวายพระพุทธรูป
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง อิมงั พุทธปะฏิมงั พุทธะสาสะนิกานัง
พุทธานุสสะติยา อุปปาทะนัตถายะ เจวะ อะภิวาทะนัตถายะ จะ สังฆัสสะ
นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต อะยัง พุทธะปะฏิมายะ ทานัสสะ อานิสงั โส
อัมหากัญเจวะ มาตาปตอุ าทีนญ ั จะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
สังวัตตะตุ ฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขอพระสงฆจงรับทราบ ขาพเจาทั้งหลาย ขอมอบถวาย
พระพุทธรูปปฏิมานี้ แกพระสงฆ เพื่อประโยชนแกการเกิดพุทธานุสสติ และเพื่อ
354 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ประโยชนเปนเครื่องกราบไหว ของพุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ขออานิสงสแหงการมอบ
ถวายพระพุทธปฏิมานี้ ของขาพเจาทัง้ หลาย จงเปนไปเพือ่ ประโยชน เพือ่ ความสุข แก
ขาพเจาทัง้ หลายดวย แกปย ชนทัง้ หลาย มีมารดาบิดาเปนตนดวย ตลอดกาลนาน เทอญฯ

คําถวายผาหมพระพุทธรูป-พระเจดีย
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง อิมงั วัตถัง สะปะริวารัง พุทธัสสะ
ปูชะนัตถายะ สังฆัสสะ นิยยาเทมะ สาธุ โน ภันเต อะยัง อิมนิ า วัตเถนะ
พุทธัสสะ ปูชา อัมหากัญเจวะ มาตาปตุอาทีนัญจะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง
หิตายะ สุขายะ สังวัตตะตุ ฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขอพระสงฆจงรับทราบ ขาพเจาทั้งหลาย ขอมอบถวายผา
ผืนนี้ พรอมกับของบริวาร แกสงฆ เพื่อเปนพุทธบูชา ขอการบูชาพระพุทธเจาดวยผา
ผืนนี้ ของขาพเจาทั้งหลาย จงเปนไปเพื่อประโยชน เพื่อความสุข แกขาพเจาทั้งหลาย
ดวย แกปยชนทั้งหลาย มีมารดาบิดาเปนตนดวย ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ

คําถวายเทียนพรรษา
ยัคเฆ ภันเต สังโฆ ปะฏิชานาตุ มะยัง เอตัง ปะทีปะยุคัง สะปะริวารัง
เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ อิมัส๎มิง อุโปสะถาคาเร นิยยาเทมะ สาธุ โน
ภันเต อะยัง เตมาสัง พุทธัสสะ ปูชะนัตถายะ ปะทีปะยุคัสสะ ทานัสสะ
อานิสังโส อัมหากัญเจวะ มาตาปตุอาทีนัญจะ ปยะชะนานัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ
สุขายะ สังวัตตะตุ ฯ
ขาแตพระสงฆผูเจริญ ขอพระสงฆจงรับทราบ ขาพเจาทั้งหลาย ขอมอบถวาย
เทียนคูนี้ พรอมกับของบริวาร ไว ณ พระอุโบสนี้ เพื่อเปนพุทธบูชา ตลอดพรรษา
ขออานิสงสแหงการถวายคูเทียนนี้ ของขาพเจาทั้งหลาย จงเปนไปเพื่อประโยชน
เพื่อความสุข แกขาพเจาทั้งหลายดวย แกปยชนทั้งหลาย มีมารดาบิดาเปนตนดวย
ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ

คําอาราธนาเทวดา
อุกาสะ อุกาสะ ปวงขาทั้งหลาย พรอมทั้งหญิงชายนอยใหญ..................
ขออาราธนายังเทพยดาเจาทั้งหลาย....อันไดเฝาไดรักษาทั่วทั้งโลกแหงโลกา
ในวัดวาศาสนา ในภูผาและฮองหวยพรอมดวยเหวเขา ทุกแถวเถาเถื่อนถํ้า
ทุกทานํ้าวังปลาในศาลาขวางเขต ในประเทศนานา ในรุกขาแหงตนไมในที่ใกลและ
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 355

ที่ไกล ทั้งภายในและภายนอก ทั่วทุกขอบจักวาฬมีทุกทิศพระวิหารในนิเวศสถาน


ในวิมานแหงปราสาทในอากาศเวหา ในภูผาแมนํ้าใหญ เทพยดาเจาองคใดใจใสดวย
ศรัทธา ขอเชิญมารวมอนุโมทนา ในการ...........................................................
กับปวงขาทั้งหลายเทอญฯ

ปาวเทวดากอนทําบุญใสบาตร
อุกาสะๆ สุณันตุ โภนตุ เย เทวา สังฆะสะมาคะตา
ดูราทานฝูงหมูเทวดาทั้งหลาย อันอยูรักษาวัดวาอารามบานเมืองเฮือนซานสถานที่นี้
จงลงมาชมยังกัปปยะทานแหงฝูงขาทั้งหลาย ฝูงขาทั้งหลายทั้งหญิงชายและใหญนอย
ทั้งขอยขาและทาสีทั้งกุมาราและกุมารีทั้งเศรษฐีและทวยขาถวนหนาหมูชาวเมืองมีใจ
เฮืองลํ่ายิ่ง ทุกสิ่งพรอมนําพา เอากันมาใสบาตรขอแกเทพดาเจาทั้งหลาย จงลงมารับ
เอายังกัปปยะทานแหงฝูงขาทัง้ หลายฝูงขาทัง้ หลายไดคาํ้ จังหันและขันหมากไดอปุ ฏ ฐาก
ในฮีตครองธรรมจงลงมาจํานํายังกัปปยะทานแหงฝูงขาทั้งหลาย ฝูงขาทั้งหลายมีของ
ทานเล็กนอย บอมีใจเครียดคลอยเมามัว แปะใสหัวทานทอดใจเกลี้ยงปลอดใสดี
ขอแกนางธรณีเจาทั้งหลาย กับทั้งนายกุมพันและกุมพลทั้งสี่ ทุกที่พรอมอินทรพรหม
จงลงมาชมยังกัปปยะทานแหงฝูงขาทั้งหลาย ฝูงขาทั้งหลายไดบายเอาขาวขาวๆ ใส
โอลายสองมือบายใสบาตร ขอใหตัดเสียเสี้ยงยังความทุกข ขอใหถึงสุขสามประการ
ขอถึงนิรพานเปนทีแ่ ลว ขอถึงยอดแกวอรหันตา หายโศกแลวเขาสูน ริ พานหมดทุกตน
ทุกคนก็ขาเทอญฯ

คําเวรหอขาวนอย
อิมัส๎มิง เขตเต อัส๎มิง อาราเม อิมานิ อาหารานิ สะปะริวารานิ เปตานัง
ญาตะเกหิ กิญจิ อะละภิสสันติ สะกะฆะรัง อาคะตานัง มาตาปตุอาทีนัญจะ
ญาตะกานัง อากิระตานัง เอถะ ตานิ คะเหตะวา สุคะติง คัจฉะถะฯ
อาหาร คาวหวาน เหลานี้ ที่มีอยูในนานี้ เเละที่มีอยูในอารามโนน ลูกหลานได
กระทํามาให ลูกหลาน ขออัญเชิญดวงวิญญาณ ผูเปนบิดามารดา ปูยาตายาย ลุงปา
อาว อา นาบาว ลูกหลาน เหลน โหลน และญาติๆของผูขา ตั้งแตอดีตชาติ จนถึง
ปจจุบันชาตินี้ จงมารับเอาสิ่งของเหลานี้ไปรับประทาน เมื่อรับแลว มื้ออื่นจงมารับเอา
สวนบุญกุศลที่ลูกหลานจะทําบุญตักบาตร อุทิศสวนบุญกุศล ไปหา เมื่อรับ แลว ถามี
ทุกขขอใหพนจากทุกข ถามีสุข ขอใหมีสุข ยิ่งๆ ขึ้นไปดวย เทอญฯ
356 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
คําหยาดนํ้า(กรวดนํ้า)
อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
สาธุ สาธุ ผูข า ขอหยาดนํา้ ฮาดแผนธรณี ขอใหบญุ ผูข า นีแ้ ผเหลือหลายฝูงตายและ
ฝูงเกิดในโลกโลกา มีมารดาบิดา ปูย า และตายายผูเ พิน่ ตายไปกอนนัน้ เทวดาอยูซ นั้ ฟา
ทาวจะตุโลกะบาลทั้งสี่ อินทาเทวราช พรอมทั้งครุฑนาคนํ้าขอใหไดดั่งกัน สัตวโต
สั้นและโตฮี สัตวโตพีและโตผอม สัตวโตปอมและโตแป สัตวอยูนํ้าและเทิงบก สัตว
นรกทุกขยากทั้งหลาย ทั้งผีเปตรอสุรกายบมีญาติ ขอใหสามารถฮับบุญไดดั่งกัน ยาม
เมื่อผูขานั้น ไดบําเพ็ญสราง ศีลทานทุกประเภท ในอารามเขตกวางวิหารหองแหงสงฆ
ขอใหองคแมธรณีเจา หมายเยี่ยมจําจื่อ จดจื่อไวทานนั้นสูอัน เกิดซาติใดอยาไดพบพอ
เวรฮายหาประการ อยามีมารมาบังเบียดได ขอใหสมความมุงมาดปรารถนาของผูขา
แดถอน สาธุฯ

วิธีนั่งสมาธิ-เดินจงกรม
ตามแบบหลวงปูเสาร-หลวงปูมั่นที่ใชทั้งพระและฆราวาส

วิธีนั่งสมาธิ
๑. นั่งขัดสมาธิ ตามแบบพระพุทธรูป เอาขาขวาทับขาซาย มือขวาทับ
มือซาย วางมือทั้งสองไวบันตัก
๒. ตั้งกายใหตรง อยาใหกมนักเงยนัก อยาใหเอียงซายเอียงขวาจนผิดธรรมดา
ไมกดหรือเก็งอวัยวะสวนใดสวนหนึ่งอันเปนการบังคับใหลําบาก ปลอยวางอวัยวะ
ทุกสวนไวตามปกติ
๓. ระลึก พุทโธ ธัมโม สังโฆ ๓ ครั้ง อันเปนองคพระรัตนตรัย
๔. นึกคําบริกรรมภาวนาโดยกําหนดเอาเพียงบทเดียวติดตอกันไป ดวยความมีสติ
เชน พุทโธ พุทโธ พุทโธ..เปนตน ใหนึก พุทโธ พุทโธ พุทโธ...สืบเนื่องกันไปดวย
ความมีสติและพยายามทําความรูสึกตัวอยูกับพุทโธ พุทโธ พุทโธ อยาใหจิตเผลอตัว
ไปสูอารมณอื่นระหวางจิต สติ กับ คําบริกรรม มีความกลมกลืนกันไดเพียงไร ยิ่งเปน
ความหมุงหมายของการภาวนาเพียงนั้นผลคือความสงบเย็นใจจะพึงเกิดขึ้น
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 357

การเดินจงกรม
๑. พึ ง กํ า หนดทางจงกรมที่ ต นจะพึ ง เดิ น สั้ น หรื อ ยาวเพี ย งไร ความยาว
๒๕-๓๐ กาว เปนความเหมาะสมทั่วไป พึงดูวาเราจะเดินจากที่นี่ไปถึงที่นั้น
หรือถึงที่โนน
สําเหรับทิศทางที่ทานนิยมปฏิบัติ มี ๓ ทิศ คือ
- ตรงตามแนวตะวันออก ตะวันตก
- ตามแนวตะวันออกเฉียงใต
- ตามแนวตะวันออกเฉียงเหนือ
จากนั้นตกแตงทางจงกรมใหเรียบรอย กอนเดินจงกรม
๒. ผูจ ะเดินกรุณาไปเดินทีต่ น ทางจงกรม และพึงยกมือทัง้ สองขึน้ ประนมไวเหนือ
ระหวางคิว้ ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย และระลึกถึงคุณของบิดามารดา อุปช ฌาย อาจารย
ตลอดจนผูเคยมีพระคุณแกตนจบลงแลวรําพึงถึงความมุงหมายแหงความเพียรที่กําลัง
จะทําดวยความตั้งใจเพื่อผลนั้นๆ เสร็จแลวปลอยมือลง เอามือขวาทับมือซายทาบกัน
ไวใตสะดือ ตามแบบพุทธรําพึง เจริญพรหมวิหาร ๔จบแลวทอดตาลงเบือ้ งตํา่ ทาสํารวม
๓. ตั้งสติกําหนดจิตและธรรมที่เคยนํามาบริกรรมกํากับใจ พุทโธ พุทโธ
พุทโธ.. เปนตนแลวออกเดินทางจงกรมจากตนทางถึงปลายทางจงกรมทีก่ าํ หนดไว เดิน
กลับไปกลับมาในทาสํารวมมีสติอยูกับบทธรรมหรือสิ่งที่พิจารณาโดยสมํ่าเสมอ ไมสง
จิตไปอื่นจากงานที่กําลังทําอยูในเวลานั้น
๔. ขณะเดินจงกรม พึงกําหนดสติกับคําบริกรรม พุทโธ พุทโธ พุทโธ....ให
กลมกลืนเปนอันเดียวกันประคองความเพียรดวยสติสัมปชัญญะ มีใจแนวแนตอธรรม
ที่บริกรรม ใหจิตรูอยูกับ พุทโธทุกระยะที่กาวเดินไปและถอยกลับมา

ขอพึงสํารวม
๑. การเดิน ไมพึงเดินไกวแขน
๒. ไมเอามือขัดหลังหรือกอดอก
๓. ไมเดินมองโนนมองนี่ อันเปนทาไมสํารวม
ที่มา หนังสืออนุสรณงานวันบูรพาจารยครบรอบวันถวายเพลิงศพ หลวงปูมั่น ภูริทัตโต
358 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ตามรูจิต ตามรูความคิด
โดย พระราชสังวรญาณ (หลวงพอพุธ ฐานิโย) วัดปาสาลวัน อ.เมือง
จ.นครราชสีมา
ทานทั้งหลายไดปฏิญาณตนถึงพระไตรสรณคมนแลว และไดสมาทานศีล ๕ ศีล
๘ ก็เปนการชําระกายวาจาของตนเองใหบริสุทธิ์ เปนการปรับพื้นฐานของความเปน
มนุษยใหสมบูรณ ความเปนมนุษยที่สมบูรณที่สุดอยูตรงที่มีศีล ๕ ขอ เมื่อทุกทานได
สมาทานศีล ๕ ขอแลว และไมไดละเมิดลวงเกินขอใดขอหนึง่ ทานก็เปนผูม ศี ลี บริสทุ ธิ์
และเปนมนุษยโดยสมบูรณ จึงขอใหเตรียมตัวใหพรอมที่จะนั่งสมาธิภาวนา
ทานจะนั่งทาไหน อยางไร ก็สุดแตที่ทานถนัดที่สุด นั่งในทาที่สบาย อยาเกร็ง
รางกายหรือกลามเนื้อสวนใดสวนหนึ่ง นั่งใหสบาย หายใจใหสบาย บัดนี้ทานทั้งหลาย
ไดเตรียมพรอมแลว ขอไดโปรดประนมมือขึ้น นอมนึกในใจวา บัดนี้ขาพเจาจะนั่ง
สมาธิเพื่อปฏิบัติบูชาพระพุทธ พระธรรม และพระอริยสงฆ ใหจิตของขาพเจาแนวแน
เปนสมาธิมีสติปญญารูแจงแทงตลอดในสภาวธรรมตามความเปนจริง นึกในใจ พุทโธ
ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ พุทโธ ธัมโม สังโฆ นอมจิตนอมใจเชื่อมั่นลงไปวา
พระพุทธเจาอยูที่ใจ พระธรรมอยูที่ใจ พระอริยสงฆอยูที่ใจ อาการที่พระพุทธเจามีอยู
ทีใ่ จคือใจรูส กึ สํานึกผิดชอบชัว่ ดี อาการทีม่ ธี รรมอยูใ นใจคือการทรงไวซงึ่ ความรูส กึ เชน
นั้นตลอดเวลา อาการที่พระสงฆอยูในใจคือความมีสติกําหนดจิตนึกบริกรรมภาวนา
พุทโธไวตลอดเวลาไมใหพรากจากกัน แลวเอามือวางลงบนตัก กําหนดรูลงที่จิต นึก
พุท พรอมลมเขา โธ พรอมลมออกก็ได ถานึกพุทโธพรอมลมเขาลมออก ชวงหายใจ
ยังหาง จิตสามารถสงกระแสออกไปทางอืน่ ได ใหปลอยความรูล มหายใจเสีย นึกพุทโธ
เร็วๆเขา โดยนึกพุทโธดวยความเบาใจ อยาไปขมความรูสึก อยาไปบังคับจิตใหสงบ
นึกพุทโธๆๆเอาไว อยาไปนึกวาเมื่อใดจิตจะสงบ เมื่อใดจิตจะรู เมื่อใดจิตจะสวาง
ใหกําหนดรูลงที่จิตอยางเดียว นึกพุทโธๆ ๆ พุทโธก็อยูกับจิต จิตก็อยูกับพุทโธ
เมื่อมีการตั้งใจนึกพุทโธ สติสัมปชัญญะจะมาเอง หนาที่เพียงนึกพุทโธๆๆ ไวจนกวา
จะถึงเวลาอันสมควร จิตจะสงบหรือไมสงบไมสาํ คัญ ใหเรานึกพุทโธไวโดยไมขาดระยะ
เปนเวลานานๆ จนกระทั่งจิตมันคลองตัวตอการนึกพุทโธ ในที่สุดจิตจะนึกพุทโธๆ ๆ
เองโดยไมไดตงั้ ใจ เมือ่ จิตนึกพุทโธเองโดยไมไดตงั้ ใจ แสดงวาการภาวนาของเรากําลัง
จะไดผลแลว
ในเมือ่ จิตนึกอยูท พี่ ทุ โธๆๆพุทโธก็เปนเครือ่ งรูข องจิต เครือ่ งระลึกของสติ เมือ่ จิต
มีเครื่องรู สติมีเครื่องระลึก ผูปฏิบัติตั้งใจปฏิบัติใหมากๆ กระทําใหมากๆ ในที่สุดจิต
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 359

จะเกิดความสงบ มีอาการหลายๆอยางที่จะพึงเกิดขึ้น ในบางครั้งจะรูสึกวางวงนอน


มีอาการเคลิ้มๆ เหมือนจะหลับ ในตอนนี้ผูภาวนาเกิดกลัววาจะนอนหลับ จึงไปฝน
ความรูสึกเชนนั้น เมื่อฝนแลวความรูสึกก็คืนมาสูสภาวะธรรมดา แลวเราก็บริกรรม
ภาวนากันใหม ถาหากผูใดภาวนาแลวมีอาการเคลิ้มๆ ลงไปเหมือนกับจะงวงนอน ขอ
ใหปลอยใหเปนไปอยางนั้น อยาไปฝน ถาจะเกิดความหลับขึ้นมา ก็ปลอยใหหลับอยู
ในขณะที่นั่งอยูนั่นแหละ เพราะจิตที่จะกาวลงสูสมาธิในเบื้องตนมีอาการคลายกับจะ
หลับ สําหรับผูหัดภาวนาใหมๆ เมื่อภาวนามากเขา จิตจะมีอาการเคลิ้มๆ ลงไป ถาเรา
ปลอยลงไปประคองใหมันเปนไปตามเรื่องตามราวของมัน ในที่สุดจิตของเราจะเกิด
อาการหลับ บางทีมีอาการวูบลงไป บางทีก็คอยเคลิ้มๆ ไป เกิดอาการหลับลงไปจริงๆ
เมื่อมีอาการอยางนั้นเกิดขึ้นแลว หลังจากนั้นจิตจะเกิดความสวางขึ้น พอจิตเกิดความ
สวาง จิตจะเริม่ บรรลุถงึ ความเปน พุทธะ ผูร ู พุทธะ ผูต นื่ พุทธะ ผูเ บิกบาน ในตอนนี้
คําบริกรรมภาวนาจะหายไป ยังเหลือแตจิตผูรูปรากฏสวางอยูเทานั้น
ในระยะแรกๆ เราจะรูส กึ วาความสวางพุง ออกมาทางสายตา เมือ่ กระแสจิตสงออก
ไปขางนอกตามแสงสวาง จะเกิดภาพนิมิตตางๆขึ้นมา เมื่อเกิดภาพนิมิตตางๆขึ้นใหผู
ภาวนากําหนดรูอยูที่จิตเพียงอยางเดียว อยาไปเอะใจหรือตื่นใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นนั้น ให
กําหนดวานิมิตนี้เปนเพียงเครื่องรูของจิต เครื่องระลึกของสติ และนิมิตนี้เกิดขึ้นตอน
ทีจ่ ติ สงบเปนสมาธิ แลวประคองจิตใหอยูใ นสภาพทีส่ งบ นิง่ สวางอยูต ามเดิม ในตอน
นี้สําหรับผูภาวนาใหม สติสัมปชัญญะยังตามเหตุการณไมทัน ในเมื่อเกิดนิมิตขึ้นมา
แลวมักจะหลง หลงติด บางทีก็เกิดความดีใจ บางทีก็เกิดความกลัว และเกิดความ
เอะใจขึ้นมา สมาธิถอน นิมิตนั้นหายไป แตถาสมาธิไมถอน จิตไปอยูที่นิมิตนั้น ถา
นิมิตนั้นแสดงความเคลื่อนไหว เชน เดินไปวิ่งไป จิตของผูภาวนาจะละฐานที่ตั้งเดิม
ละแมกระทั่งตัวเอง จิตจะตามนิมิตนั้นไป คิดวามีตัวมีตน เดินตามเขาไป เขาพาไป
ขึน้ เขาลงหวยหรือไปทีไ่ หนก็ตามเขาไปเรือ่ ยๆ ถาหากวาผูโ ชคดีกไ็ ปเห็นเทวดา เทวดา
ก็พาไปเที่ยวสวรรค ถาหากวาผูโชคไมดีจะไปเห็นสัตวนรก สัตวนรกก็พาไปเที่ยวนรก
อันนี้เพราะผูภาวนามีสติยังออน ยังควบคุมจิตของตนเองใหรูอยูภายในไมได ในเมื่อ
เห็นนิมิตตางๆอยางนั้น อยาไปสําคัญวาสิ่งที่เราเห็นนั้นเปนของดีวิเศษ แทที่จริงเปน
แตเพียงเครื่องรูของจิต เครื่องระลึกของสติเทานั้น นักภาวนาที่ฉลาดจะกําหนดรูอยูที่
จิต ถึงความรูสึกวานิมิตสักแตวานิมิต ไมใชสัตว บุคคล ตัวตน เราเขา แลวก็ประคอง
จิตใหอยูในสภาวะเดิมไมเปลี่ยนแปลง สมาธิจิตจะสงบนิ่งอยู นิมิตเหลานั้นจะทรงตัว
อยูใหเราไดพิจารณาไดนาน บางทีนิมิตนั้นอาจจะเกิดประโยชนแกผูปฏิบัติ ทําใหเปน
360 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
ผูม สี ติสมั ปชัญญะรูเ ทาทันเหตุการณภายใน แตแททจี่ ริงนิมติ นัน้ แมจะเปนสิง่ ทีเ่ ห็นใน
สมาธิก็ตาม เปนเพียงเครื่องรูของจิต เครื่องระลึกของสติ เหมือนมองเห็นรูปดวยตา
ภายนอกเมื่อเรายังไมไดกําหนดจิตทําสมาธิ จะมีคาเหนือกวากันหนอยก็ตรงที่อันหนึ่ง
เห็นดวยตาธรรมดา แตอกี อันหนึง่ เห็นดวยอํานาจสมาธิ แตถา ไปหลงติดนิมติ นัน้ ก็เปน
ผลเสียสําหรับผูปฏิบัติ บางครั้งไปเขาใจวานิมิตนั้นเปนวิญญาณมาจากโลกอื่น เขามา
เพื่อจะขอแบงสวนบุญ และเมื่อเห็นเหตุการณเชนนั้น เราก็ตั้งใจแผสวนบุญสวนกุศล
ในเมื่อคิดแผสวนบุญสวนกุศล ความคิดทําใหสมาธิถอน ในเมื่อสมาธิถอนขึ้นมาแลว
นิมิตนั้นก็หายไปหมด วิญญาณเหลานั้นเลยไมไดรับบุญกุศลที่เราให
ขอทําความเขาใจกันอีกครั้งวา นิมิตที่เกิดขึ้นภายในสมาธินั้น ใหทําความเขาใจ
เพียงแตวาเปนมโนภาพเอาไวกอน อยารีบไปตัดสินวาเปนของจริงของแท ใหนึกวา
เปนมโนภาพทีเ่ ราปรุงแตงขึน้ มาเอง ใหทาํ ความรูส กึ ไวอยางนี้ ทานจะเกิดความเฉลียว
ฉลาด
สมมติวาเมื่อภาวนาแลวจิตมีวิตก วิจาร ปติ มีความสุข และมีความละเอียดสงบ
นิ่งลงไปถึงขั้นอัปปนาสมาธิ และผูภาวนาสามารถที่จะฝกฝนอบรมกาย ทําวิตก วิจาร
ปติ สุข เอกัคคตา ใหคลองแคลว ชํานิชํานาญ ฝกฝนจนมีความคลองตัว นึกอยากจะ
เขาฌานเมื่อใดก็เขาได เมื่อเขาฌานไปแลวจิตจะรูอยูในสิ่งๆเดียว หรือในจุดๆเดียว
ความรูอะไรตางๆ ไมเกิดขึ้นในขณะนั้น ถึงแมวาความรูอะไรไมเกิดขึ้น ผูภาวนาก็ไม
ควรเสียอกเสียใจและไมควรกลัววาจิตของตนจะไปติดสมถะ ความจริง เมือ่ จิตนิง่ สงบ
ลงไปสูความเปนสมถะในขั้นอัปปนาสมาธิ อยูในขั้นฌานที่ ๔ โดยธรรมชาติของจิตที่
อยูใ นฌานขัน้ นี้ จะไมมคี วามรูค วามเห็นอันใดปรากฏขึน้ นอกจากจิตจะไปรูอ ยูใ นสิง่ ๆ
เดียว คือรูเ ฉพาะในจิตอันเดียวเทานัน้ ประกอบพรอมดวยความเบิกบานแจมใส สวางไสว
อยูภายในจิต จิตจะไมมีความรูเกิดขึ้น
ถึงกระนัน้ ก็ตาม ถาผูภ าวนาสามารถทําจิตใหเปนไปดังเชนทีก่ ลาวนีบ้ อ ยๆครัง้ เขา
ถาตองการใหจิตของทานกาวขึ้นสูภูมิแหงวิปสสนา โดยไมตองไปหยิบยกเอาอะไรมา
เปนเครื่องพิจารณา เมื่อจิตถอนออกจากสมาธิขั้นฌานแลวจะมีความรูสึกสัมผัสรูวามี
กาย ในเมื่อกายมีปรากฏขึ้น จิตจะมีความคิด เมื่อเกิดความคิดขึ้น ผูภาวนารีบกําหนด
รู ตามความคิดนัน้ ไป ในตอนนีจ้ ติ ของเราจะคิดเรือ่ งบุญ เรือ่ งบาป เรือ่ งดี เรือ่ งชัว่ เรือ่ ง
กุศล เรื่องอกุศล เรื่องโลก เรื่องธรรม ปลอยใหเขาคิดไปตามลําพังของเขา อยาไปหาม
หนาที่ของเราเพียงทําสติตามรูไปโดยถือเอาความคิดเปนเครื่องรูของจิต เครื่องระลึก
ของสติอีกครั้งหนึ่ง ในเมื่อเราหมั่นอบรมทําสติตามรูความคิดหลังถอนจากสมาธิแลว
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 361

ทําจนคลองแคลว ทําจนชํานิชาํ นาญ จนสามารถทําสติตามทันความคิด เมือ่ สติตามทัน


ความคิดขึ้นมาเมื่อใด จิตก็จะสงบเปนสมาธิ มีปติ มีความสุข แลวก็จะสงบละเอียด
ลงไปเปนเอกัคคตา เชนเดียวกับการภาวนาในเบื้องตน ขอที่ควรสังเกตมีอยูอยางหนึ่ง
เมื่อจิตถอนออกจากอัปปนาสมาธิ พอสัมผัสรูวามีกาย จิตจะมีความรูขึ้นมา เมื่อเราทํา
สติตามรูความคิดนั้นไป สติจะตามความคิดและตามจองดูกันไปตลอดเวลา จิตเมื่อยิ่ง
คิดมากก็ยิ่งมีความสบาย เพราะจิตคิดดวยพลังสมาธิที่ผานมาแลว แลวเมื่อเราทําสติ
ตามรู ตามทันความคิดนั้น ความคิดกลายเปนตัวปญญา ปญญาคือความรูที่เกิดขึ้น
ธรรมชาติของความรูส กึ นึกคิดยอมมีเกิด มีดบั เมือ่ ผูภ าวนาทําสติตามรูค วามคิดอยูอ ยาง
นั้น หนักๆ เขาจิตก็จะรูความเกิด ความดับ อะไรเกิด อะไรดับ ก็คือความคิดนั่นเอง
จิตเปนผูเกิด จิตเปนผูดับ ในเมื่อสติตามรูทันความเกิดดับของจิต จิตก็จะเกิดปญญา
ขึ้นมา มีความรู มีความสําคัญมั่นหมายในสภาวะที่เกิดดับ-เกิดดับนั้นดวยอนิจสัญญา
คําวาอนิจสัญญาคือความสําคัญมั่นหมายวาไมเที่ยง ในเมื่อจิตรูสภาวะความไมเที่ยงที่
เกิดดับ จิตก็กาวขึ้นสูภูมิแหงวิปสสนา
ดังนั้น ในเมื่อผูภาวนาทําจิตใหสงบนิ่งเปนสมาธิบอยๆจิตก็ไดรับผลจากสมาธิ ได
รับความสุขจากสมาธิ หากพอจิตออกจากสมาธิก็รีบลุกออกจากที่นั่ง ถาทําอยางนี้แลว
จิตก็ไปติดอยูแ คขนั้ สมถะ จากทีเ่ คยทดสอบและทดลองมาแลว ควรจะไดใชสติกาํ หนด
ตามความคิดที่เกิดขึ้นหลังจากที่จิตถอนออกมาจากสมาธิแลว ดังที่กลาวแลว การทํา
สติกําหนดตามรูความคิด ผูภาวนาจะตองมีความตั้งใจจดจอง เปนการพิจารณาสภาว
ธรรมในแงวิปสสนากัมมัฏฐาน ขอใหทานนักปฏิบัติทั้งหลายพึงทําความเขาใจอยางนี้
เมื่อทําจิตใหเปนสมาธิ มีปติ มีความสุข มีเอกัคคตา มีความสงบ จิตไปนิ่ง วาง
วางเฉยอยู อยาไปภูมิอกภูมิใจความเปนเพียงแคนั้น เดี๋ยวจิตก็ติดสมถะ ไมกาวขึ้นสู
วิปสสนา เมื่อเปนเชนนั้นจะทําอยางไร ก็ทําอยางที่ไดอธิบายมาแลว คือเมื่อจิตถอน
ออกจากฌานมาสัมผัสรูวามีกาย ก็รีบทําสติตามรูความคิดนี้ทันที ความคิดจะเรื่องโลก
เรื่องบาป เรื่องบุญอะไร ปลอยใหเขาคิดไป อยาไปหาม ตามรูไปจนกวาสติจะตามทัน
ความคิด แมวามันจะคิดไมหยุด ไมเกิดความสงบอีกก็ตาม แตถาหากวาสติตามทันกัน
ไปเรื่อยๆเปนอันใชได ถาความคิดที่เปนจิตฟุงซาน คือจิตธรรมดาที่เราไมมีสติ ยิ่งคิด
ไปยิง่ ยุง ในสมอง คิดไปเทาไรยิง่ หนักอก คิดไปมากเทาใดยิง่ วุน วาย แตถา คิดดวยความ
มีสติสัมปชัญญะ โดยอาศัยพลังของสมาธิ ยิ่งคิดก็ยิ่งปลอดโปรง ยิ่งคิดก็ยิ่งมีความ
เพลิดเพลิน คิดไปเสวยปตแิ ละความสุขไปอีก อันนีเ้ ปนลักษณะของจิตทีเ่ ดินวิปส สนา
กัมมัฏฐาน
362 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
และมีปญหาที่จะพึงทําความเขาใจอีกอยางหนึ่ง นักภาวนาทั้งหลาย ในการเริ่ม
ภาวนาในตอนตนๆ นี้ เชน การบริกรรมภาวนา “พุทโธ” เปนตน ทําไปแลวจิตมีวิตก
วิจาร ปติ สุข เอกัคคตา จิตสงบลงเปนสมาธิ มีความสุขสบายเหลือลน พอทําจิตไป
เรือ่ ยๆ แลวภายหลังจิตไมเปนเชนนัน้ พอกําหนดลงไปนิดหนอยมันมีแตความคิด บาง
ทานก็เขาใจวาภูมจิ ติ ภูมใิ จของตัวเองเสือ่ มแลว เมือ่ กอนนีภ้ าวนาจิตสงบ แตขณะนีจ้ ติ
ไมสงบ จิตฟุงซาน แตขอใหสังเกตใหดี ศีลอบรมสมาธิ สมาธิอบรมปญญา ในเมื่อศีล
ดี สมาธิเกิดขึน้ แลว สมาธิกพ็ ลอยดีไปดวย เรียกวาสัมมาสมาธิ ในเมือ่ สมาธิเปนสัมมา
สมาธิ เปนอุบายใหเกิดปญญา ดังนั้น ผูภาวนาซึ่งเมื่อกอนมีจิตสงบนิ่ง ภายหลังมาทํา
สมาธิมากๆแลวไมเกิด เพียงเปนสมาธิเพียงนิดหนอย สงบนิดเดียวเทานัน้ แลวก็มแี ต
ความคิดเกิดขึน้ ๆไมหยุดหยอน ก็ไปเขาใจวาการทําสมาธิของตนเองนัน้ เสือ่ มแลว บาง
ทานก็พยายามบังคับจิตใหหยุดคิด เมือ่ เกิดมีการบังคับขึน้ ก็เกิดอาการปวดศีรษะ เพราะ
เปนการฝนกฎธรรมชาติที่มันจะเปนไป เพราะฉะนั้น ขอใหทานพึงสังเกตใหดี เมื่อทํา
จิตเปนสมาธิเมื่อใดก็มีแตจิตสงบนิ่งเปนสมถะ มันก็ไมมีความกาวหนา กําหนดจิต
พิจารณาลงไปนิดหนอย จิตสงบ เมื่อสงบแลวมีความคิด อาการเชนนี้แสดงวาจิตกําลัง
กาวหนากําลังอยากคนควาหาความจริงในความเปนไปของสภาวธรรม
สิ่งเหลานี้ไมไดเกิดจากจิตฟุงซาน เปนเรื่องของปญญาที่เกิดมาจากสมาธิ เพราะ
เราไมเห็นวาจิตของเรานี้ฝกไปไดสารพัดอยาง ไมมีขอบเขต เพราะจิตของเราไมไดคิด
เรื่องรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เปนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เราจึงสําคัญวาจิต
ของเราฟุง ซาน แตแททจี่ ริง การพิจารณาธรรม รูธ รรม เห็นธรรมนี้ ก็หมายถึงเห็นความ
คิด รูความคิดของตนนั่นเอง คือความมีสติสัมปชัญญะ เมื่อกําหนดจิตลงไปแลว เกิด
ความคิดขึน้ มา คิดไมหยุด เราก็ทาํ สติตามรูค วามคิดดังทีก่ ลาวแลว นีแ่ สดงวาจิตตองการ
กาวหนา ตองการเดินหนา ตองการพิจารณาคนควา ผูที่ปฏิบัติรูเทาไมถึงการณคิดวาจิต
ของตัวเองฟุงซาน ก็พยายามบังคับจิตของตนเองอยูอยางนั้นแหละ บังคับใหมันหยุด
คิด ในเมื่อบังคับแลวมันจะไมคิด ไมคิดก็กลายเปนจิตที่โง คําวาสมาธิอบรมปญญาก็
ไมเกิด เพราะฉะนั้น อยาพยายามไปบังคับจิตใหหยุดคิด หนาที่ของเราคือทําสติตามรู
ความคิดไปทําสติตามรูไป ความคิดนั่นแหละคือเครื่องรูของจิต เครื่องระลึกของสติ
ความคิดเปนฐานที่ตั้งอันมั่นคงของสติ ตราบใดที่จิตยังมีความคิด สติยังมีความระลึก
สิ่งที่เราจะพึงไดจากการภาวนาคือความที่สติมีพลังแกกลาขึ้นจนเปนมหาสติ เปนสติที่
มีฐานที่ตั้งอยางมั่นคง แลวกลายเปนสติพละ เปนสติที่มีพละกําลังอันเขมแข็ง กลาย
เปนสตินทรีย สติเปนใหญในธรรมทั้งปวง เมื่อเปนสติพละ เปนสตินทรีย เมื่อสติตัวนี้
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 363

เพิง่ พลังแกกลาขึน้ จึงกลายเปนสติวนิ โย จิตของเราจะมีสติเปนผูน าํ แมจะตัง้ ใจก็ตาม


ไมตงั้ ใจก็ตาม จิตจะมีความสํานึกรูผ ดิ ชอบชัว่ ดีอยูต ลอดเวลา ในเมือ่ จิตกระทบอารมณ
อันใดขึ้นมา สติตัวนี้จะออกไปรับและพิจารณาใหเกิดรูเหตุรูผลขึ้นมา เมื่อรูเหตุรูผล
แลวจิตมันก็จะปลอยวางไปเอง
____________________

อิทัปปจจยตาและปฏิจจสมุปบาท
- บาลี นิทาน. สํ. ๑๖/๘๕/๑๕๙.
ภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ยอมกระทําไวในใจ
โดยแยบคายเปนอยางดี ซึ่งปฏิจจสมุปบาทนั่นเทียว ดังนี้วา
เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้ยอมมี
เพราะความเกิดขึ้นแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น.
เมื่อสิ่งนี้ไมมี สิ่งนี้ยอมไมมี
เพราะความดับไปแหงสิ่งนี้ สิ่งนี้จึงดับไป
ไดแกสิ่งเหลานี้ คือ
เพราะมีอวิชชาเปนปจจัย จึงมีสังขารทั้งหลาย
เพราะมีสังขารเปนปจจัย จึงมีวิญญาณ
เพราะมีวิญญาณเปนปจจัย จึงมีนามรูป
เพราะมีนามรูปเปนปจจัย จึงมีสฬายตนะ
เพราะมีสฬายตนะเปนปจจัย จึงมีผัสสะ
เพราะมีผัสสะเปนปจจัย จึงมีเวทนา
ผูประสงคการสาธยายธรรม
เพราะมีเวทนาเปนปจจัย จึงมีตัณหา
เพราะมีตัณหาเปนปจจัย จึงมีอุปาทาน
เพราะมีอุปาทานปจจัย จึงมีภพ
เพราะมีภพเปนปจจัย จึงมีชาติ
เพราะมีชาติ เปนปจจัย ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ
โทมนัสอุปายาสะทั้งหลายจึงเกิดขึ้นครบถวน
ความเกิดขึ้นพรอมแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.
เพราะความจางคลายดับไปโดยไมเหลือแหงอวิชชานั้นนั่นเทียว
364 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
จึงมีความดับแหงสังขาร
เพราะมีความดับแหงสังขาร จึงมีความดับแหงวิญญาณ
เพราะมีความดับแหงวิญญาณ จึงมีความดับแหงนามรูป
เพราะมีความดับแหงนามรูป จึงมีความดับแหงสฬายตนะ
เพราะมีความดับแหงสฬายตนะ จึงมีความดับแหงผัสสะ
เพราะมีความดับแหงผัสสะ จึงมีความดับแหงเวทนา
เพราะมีความดับแหงเวทนา จึงมีความดับแหงตัณหา
เพราะมีความดับแหงตัณหา จึงมีความดับแหงอุปาทาน
เพราะมีความดับแหงอุปาทาน จึงมีความดับแหงภพ
เพราะมีความดับแหงภพ จึงมีความดับแหงชาติ
เพราะมีความดับแหงชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะ
โทมนัสอุปายาสะทั้งหลาย จึงดับสิ้น
ความดับลงแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้ ยอมมี ดวยอาการอยางนี้.
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 365
รายนามผูบริจาคสรางหนังสือสวดมนตเพื่อใชในงานปฏิบัติธรรม
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน
คุณอุมา แครอลล ๙๙ ๑๑,๘๘๐ แมสีดา นาลาด ๕๐๐
แมนวลฉวี สายสิงห พอสุวรรณ บันหาร ๕๐๐ แมหา นันอุมาลี
คุณพอเต็ม-แมพุทรา ปจจัยโคนัง ๕ ๖๐๐ นางสาว พวงทอง นันอุมาลี
คุณเมตตา ด.ญ. ลลิตา ปจจัยโคนัง ๕ ๖๐๐ นายอานนท นันอุมาลี ๑๐ ๑,๐๘๐
คุณอนุเดช ปจจัยโคนัง ๕ ๖๐๐ นางทองจันทร เตาะไธสง
แมพัด ปาโสรักษ แมสุเนตร นาโส ๑๐ ๑๒๐
นายชัยวิวัฒน ปาโสรักษ พอพรมมา นาโส ๑๐ ๑๒๐
น.ส.มุขฟา บุญวิชิต คุณปวีณา กัณโสภา คุณณัฐพล ทบวอ ๒,๐๐๐
ด.ญ.สุชาดา อินทรทอง ๑๐ ๑,๒๐๐ พรอมครอบครัว
นายธาดา ปาโสรักษ แมบุญมา เติมสวัส ๑๐ ๑,๒๐๐
น.ส.จันทิรา สุระมณี พอบุญกรม แมทองลา กัณโสภา พรอมครอบครัว ๑,๐๐๐
ด.ช.รังสิมัน ไขขุนทด พอหนูเหล็ก แมทองคํา เสาะไธสง พรอมครอบครัว ๑๐ ๑,๒๐๐
ด.ญ.พิมพพาขวัญ ปาโสรักษ พอวิจิน แมสายฝน โฉมศิริ ๑๐ ๑,๒๐๐
ด.ช.ปรัชญา ปาโสรักษ คุณกนกพิชญ กนกนุช, คุณกิตติศักดิ์ ๕๐๐
แมแหล ปะโคทัง ๕ ๖๐๐ ชัยวิทวรกุล, คุณกิตติพงศ ประทุมมา
แมสมบูรณ นาลาด ๑ ๑๒๐ แมเตียง ยาทองทิพย ๖๐๐
คุณทองใบ กันโสภา ๑ ๑๒๐ พอสมพาน แมหนูเติม นาหนอง ๑๐ ๑,๒๐๐
คุณพอเริง สังเสรี ๑ ๑๒๐ แมคําผาย โพธิ์ไพร ๓ ๓๖๐
คุณแมทองพูน สังเสรี ๑ ๑๒๐ นายสายชล นางมาริสา เยี่ยงไธสง ๕๐๐
คุณแมสํา อันทะยัน ๑ ๑๒๐ ร.ต.อ. ธนบดี ลาภยิ่งยง ๕๐๐
แมสมจิต ศรีภูวงษ ๑ ๑๒๐ นางจุฬาภรณ บุญศรี (เงินโอน) ๑๐ ๑,๒๐๐
แมวงจัน นาวิเศษ ๑ ๑๒๐ นางจันทา แพงอนันต (เงินโอน) ๑๐ ๑,๒๐๐
คุณทองมวน สอนงาย ๑ ๑๒๐ แมทมุ มา นาลาด พรอมครอบครัว ๕ ๖๐๐
แมเขียน เมืองแสน ๑ ๑๒๐ พอสมพงษ แมหนูเจียม บันหาร พรอม ๑๐ ๑,๒๐๐
แมไพ บุคํา ๑ ๑๒๐ ครอบครัว ๒ ๒๔๐
แมเขียว ปกกาโร ๕ ๖๐๐ แมพันธ บันหาร (แมเอน) ๒ ๒๔๐
แมทองใบ ชาสุทธศรี ๕ ๖๐๐ แมพัด ปาโสรักษ ๑ ๑๒๐
แมทองสา ปกกาเวสุ ๓ ๓๖๐ นายชัยวิวัฒน ปาโสรักษ ๑ ๑๒๐
แมบัวเเพน ประธรรมเรือง ๑ ๑๒๐ น.ส. มุขฟา บุญวิชิต ๑ ๑๒๐
แมดวน มาตรนอก ๒ ๒๔๐ ด.ญ สุชาดา อินทรทอง ๑ ๑๒๐
แมสมบูรณ บันหาร ๕ ๖๐๐ ด.ช. ลังสิมันต ไขขุนทด ๑ ๑๒๐
นายกฤษณารักษ สุวรรณศรี ๑๐ ๑,๒๐๐ น.ส. จันทิรา สุระมะณี ๑ ๑๒๐
แมสวย พาชื่นใจ ๕ ๖๐๐ ด.ญ. พิมพาขวัญ ปาโสลักษ ๑ ๑๒๐
พอสุรัตน แมโสภา ใหญจันอัก ๕ ๖๐๐ ด.ช. ปรัชญา ปาโสลักษ ๑ ๑๒๐
แมสีดา งิ้วไธสง ๑ ๑๒๐ นายธาดา ปาโสลักษ ๑ ๑๒๐
แมจวน งิ้วไธสง ๑ ๑๒๐ แมอําไพ ชื่นตา ๕ ๖๐๐
366 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน
นายอุทัย ชื่นตา ๑๐๐ คุณอจลญา ศักดิ์พงศพึ่งตน ๑ ๑๒๐
แมบัวสอน นวนมี ๕ ๖๐๐ คุณพลอยพิชชา พงศจีน ๑ ๑๒๐
แมบุญโฮม ลุนสร ๕ ๖๐๐ พอทองบน สอนงาย แมนอย สอนงาย ๕๐๐
แมปน โพธิ์จันทร นายชาตรี โพธิ์จันทร ๕ ๖๐๐ แมบุญโฮม หงษวิไล ๑๐ ๑,๒๐๐
พรอมครอบครัว แมจันศรี ใจกลา ๓ ๓๖๐
นายสมชาย ทดบุญ ๕ ๖๐๐ แมนอย บุญพลี ๓ ๓๖๐
นายสถาพร สุขโสด ๑ ๑๒๐
นางสุวรรณ ทดบุญ พอปน ดวงจิตร แมอิทธิยา ดวงจิตร ๖ ๗๒๐
นายบุลวัชร ทดบุญ พรอมครอบครัว
นายณัฐวุฒ ทดบุญ คุณอําพร ดีจะมาลา ๑ ๑๒๐
พอบุญสง เยี่ยงไธสง แมจําป เยี่ยงไธสง ๑,๐๐๐ คุณสําเนียง โกศล ๓ ๓๖๐
พรอมครอบครัว แมบุญโฮม ริมไธสง ๑,๐๐๐
พอบุญชู รัตนวิชัย แมทองดี รัตนวิชัย ๕ ๖๐๐ คุณสิรินญา ชัยวิทวรกุล ๒๐ ๒,๔๐๐
พรอมครอบครัว คุณณภัทร กอพงษ ๕ ๖๐๐
แมสมใจ ปาสารักษ ๕ ๖๐๐ คุณวิยะดา ลูอิส พรอมครอบครัว ๓ ๓๖๐
พอสายตา ปนะกาเส ๑ ๑๒๐ เด็กชายจิรวัฒน โตไธสง ๑๐๐
แมสมศรี ปนะกาเส ๑ ๑๒๐ สุกัลยา ดีจะมาลา ๒๔๐
พอทองสุข วนไธสง พรอมครอบครัว ๑ ๑๒๐ คุณพอแสง-แมสมจิตร แข็งขัน พรอมครอบครัว ๑,๒๐๐
คุณออมใจ ภูวงษ พรอมครอบครัว ๕๐๐
พอทองจันทร ปจจัยยะเก แมสงวน ๑๐ ๑,๒๐๐ คุณมธุรส เกษมสุข พรอมครอบครัว ๓ ๓๖๐
ปจจัยยะเก พรอมครอบครัว ธนิดา คณาเจริญสุข พรอมครอบครัว ๑ ๑๒๐
พอประสิทธิ์ อินเต็ม แมวรรณี ปะวันนา ๕ ๖๐๐ คุณครูอนันตชัย-คุณครูอุไรรัตน รุงโรจน ๑๐ ๑,๒๐๐
พอประมวล กาขาว แมคําพันธ นาลาด ๕ ๖๐๐ พรอมครอบครัว
พอณรงค สวัสดี แมพัฒทะนี กิตติพันธ ๑,๐๐๐ คุณครูทิพวรรณ แข็งขัน พรอมครอบครัว ๒ ๒๔๐
น.ส.สุพรรณี สบายใจ,นาย วิทยา นนทชัย ๕๐๐ คุณณัฐพล ปะโคทัง อุทศิ ใหหลวงพอพระครู ๑๐ ๑,๒๐๐
คุณแมสุนัยพร และลลิดา นิติศฤงคาริน ๕๐๐ เกษมบุญวัตรหลวงพอบุญมี ปะโคทัง
คุณเพ็ญศรี อิทธิวัฒนะ ๑๐๐ ທ່ ານສິນດາມອນ ສອນພັ ນ ນາງເວິນ ສປປ.ລາວ ๔,๐๐๐
คุณณัญรัช สหรัตพณ ๑๐ นายวิทวัฒน หนูชัย ๒ ๒๔๐
คุณไชยสิทธิ์ พงษธนภิรมย ๑๐ "นางทองแกว อภัยแสน
คุณแมประคอง พงษไพโรจน ๑ ๑๒๐ นางสาวอุลัย อภัยแสน ๑๐ ๑,๒๐๐
นางสาวอนัญญา อภัยแสน พรอมบุตร"
คุณมัทธิพาธา พงษไพโรจน ๑ ๑๒๐ คุณอมรรัตน พินไธสง ๕๐๐
คุณสุพัฒน อัญญโพธิ์ ๑ ๑๒๐ คุณพิชามญช ไพชยนต ๒ ๒๔๐
คุณพลอยนิล อัญญโพธิ์ ๑ ๑๒๐ คุณทองสุข ถนัดไร ๓๐๐
คุณอิศรา พงษไพโรจน ๑ ๑๒๐ แมยุพา นาโส ๒ ๒๔๐
คุณนันทวดี พงษไพโรจน ๑ ๑๒๐ นายพิทยา นาโส ๑ ๑๒๐
คุณพงศอมร พงษไพโรจน ๑ ๑๒๐ นางสาวพรทิวา นาโส ๑ ๑๒๐
คุณอิศนันท พงษไพโรจน ๑ ๑๒๐ นายเฉลิมชัย ฉลาดเยี่ยม ๑ ๑๒๐
คุณมงคล ศักดิ์พงศพึ่งตน ๑ ๑๒๐ เด็กหญิง กมลพรรณ ศรีงาม ๑ ๑๒๐
คุณอารีวรรณ พงษไพโรจน ๑ ๑๒๐ คุณสิรินาถ แกวออน ๕๐๐
คุณอสมา ศักดิ์พงศพึ่งตน ๑ ๑๒๐ นายชัยพล ๑๐๐
หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ 367
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน
นางสาวกําไล แหลมไธสง ๒ ๒๔๐ น.ส.ไสว คําพิมูล ๑ ๑๒๐
น.ส.ชรินทรทิพย สัมภวะผล ๒ ๒๔๐ น.ส.อําพร คําพิมูล ๑ ๑๒๐
นางสุธา สัมภวะผล นาง ทองยอด โยทัยเหลี่ยม ๑ ๑๒๐
คุณนัทธวรรณ - กนกรัตน - สิทธิพร - นาง ปราณีต เทือกสม ๕ ๖๐๐
อัถคุณ - อนุสรณ - แขไข ศรลัมภ และ ๓๖๐ นาง ลําพิง ปะนาธรรมา ๔๐๐
ชนิดา สุวรรณนอย น.ส. พิเศษ โพธิจันทร ๔๐๐
นายวิรัตน ขอวางกลาง ๒๐๐ ด.ช. ชัยพัฒน สุภาพันธ ๑๐๐
คุณมณี ปกกาโร ๑๐ ๑,๒๐๐ ด.ญ. ประภาวรินทร โพธิจันทร ๑๐๐
นายสมบัติ นาลาด ๑ ๑๒๐ นาง สมพอน นอยตาแสง ๒ ๒๔๐
นางนารี บุญหลาย ๑ ๑๒๐ น.ส. เยาวลี ปูคะภาค ๑ ๑๒๐
นางสุวีรยา ทาคํานิล ๒ ๒๔๐ น.ส. พัทธนันท ชูแกว ๕๐๐
นายบุญแทน ยางสูงสุด ๑ ๑๒๐ นาง มิ่ง จําเริญเนาว ๒ ๒๔๐
น.ส.กุลปาลี พงศกิจวัฒนะ ๒,๙๙๙ นาง วิไลวรรณ เกิดสิน ๑ ๑๒๐
นายนิยม ศรีภูวงศ นางตันหยง ศรีภูวงศ ๒๐๐ แม ตวน แกนมั่น ๑ ๑๒๐
น.ส. อรอุมา กัณโสภา นายสงคราม มาศนอก ๕ ๖๐๐ น.ส.รัตนา บรรหาร ๒ ๒๔๐
"นางจิดาภา เสาะไธสง นายธีรไนย พาชื่นใจ ๕ ๖๐๐
Mr.Jouko Tonteri พอสมหมาย เสาะไธสง
น.ส. ปภาวดี ยังวรรณ ๕๐๐ แมหนูจันทร เสาะไธสง
น.ส. อารียา ยังวรรณ" นายนพพงศ เสาะไธสง ๑,๐๐๐
แมบุญมา ชื่นชม ๑,๐๐๐ นางสาว ทมิตา ฉวีวงศ
พอหนูแดง แมทองบุ สายสุด ๑,๐๐๐ นางสาว นาริน เสาะไธสง
พ.ท.บุญทัน ชื่นชม ๑,๐๐๐ นายสุบัญ สุกใส ๑ ๑๒๐
นางอัญชลี พัฒนโพธิ์ ๑,๐๐๐ น.ส.สองหลา เขียวจันทร ๑ ๑๒๐
คุณศิริลักษณ คงวุฒิ ๑,๐๐๐ คุณวรรณรัตน การุณยวนิช ๕ ๖๐๐
คุณสมปอง สมวงศ ๑๕๐ คุณจินตนา ลีรงุ เรือง ๕ ๖๐๐
คุณเพ็ญโฉม สีแสด ๕๐๐ คุณอัญชลี อัสสรัตนกุล ๑๐ ๑,๒๐๐
คุณภาวินี ทนงอาจ ๕๐๐ คุณธิรดา อิทธิศักดิ์ ๕ ๖๐๐
ด.ญ.มุทิดา ชื่นชม ๑๐๐ คุณดลหทัย จิรวิวรรธน, คุณนารีรัตน ๑๐ ๑,๒๐๐
คุณอนงค คุณคําพันธ เยี่ยงไธสง ๕๐๐ มหัทธนะเกียรติ และ คุณอรอินทุ ศรุตศิ าสตร
คุณเชาวัฒน คุณถาปณี ชื่นชม ๔๐๐ คุณภัทรภร จันทรสมิตมาศ ๑ ๑๒๐
พอคํา แมทองสุข สมวงค ๗๐๐ คุณปารณัท จิตตสําเริง และครอบครัว ๕ ๖๐๐
คุณระออง สมวงค ๓๐๐ คุณสุวรรณา วรจิตร, คุณอนงค วรจิตร ๑๘ ๒,๑๖๐
ด.ญ.ปวริศา สมวงค ๑๐๐ และ คุณมาลี เจียรวนนท
แมชู ใจเที่ยง ๑๐๐ คุณชลิต วรนันทศิริ ๕ ๖๐๐
แมคําปอน เพียงพอ ๑ ๑๒๐ คุณเก็จวลี วรนันทศิริ ๕ ๖๐๐
คุณธีรวุฒิ คุณปราณีย สงางาม ๓๐๐ คุณณิชกานต วรนันทศิริ ๕ ๖๐๐
นายกิตติพงษ สงางาม ๑๐๐ คุณภัทรภร โสตารัตน ๑ ๑๒๐
ด.ญ.นัฐกาณต สงางาม ๑๐๐ คุณมากร วรนันทศิริ ๕ ๖๐๐
น.ส.มนัสนันท โยทัยเหลี่ยม ๒ ๒๔๐ นายธนวัฒน เชื้อโคกกรวด ๒ ๒๔๐
368 หนังสือสวดมนตวัดปาสบายใจ
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน รายชื่อ - นามสกุล เลม เงิน
นางอุไร ทิพยมัจฉาชัย น.ส.อนุธิดา สิงหลี พรอมครอบครัว ๖๐๐
นายชลิต ปติสิริกุล นางสุชาดา พวงไธสง พรอมครอบครัว ๑๒๐
นายจิรภัทร บุญชูสุวรรณสุข ๙๙๙ นาย ประดิษฐ ชื่นจันทร นาง สนั่น ชื่นจันทร ๑,๐๘๐
น.ส.กานตนภัส ปติอัครวัชร พรอมครอบครัว
พอสําอาง แมไสว ปะวันนา พรอมครอบครัว ๕ ๖๐๐ นาย อิทรักษ นาง กฤษณา รัตนไธสง ๓๖๐
แมประคองทรัพย พิมพขนิษฐ พรอมครอบครัว ๒ ๒๔๐ พรอมครอบครัว
พอบุญมา แมทองสุข ละอองทอง อุทิศ ๕ ๖๐๐ พอ สมนึก บุญประดิษฐ แม ละมัย บุญประดิษฐ ๒๔๐
ให น.ส.จุฑาทิพย ละอองทอง นายประสิทธิ์ จริยะมา พรอมครอบครัว ๕๐๐
นายอุทัย เพิ่มไธสง ๑ ๑๒๐ แมบุบผา ทองเกี้ยง อุทิศใหแมบัว กาขาว ๕๐๐
แมใบ สอนศรี พรอมครอบครัว ๕๐๐ แมพรม เหียมไธสง ๑,๘๐๐
แมบุญเสาร นาบุญ ๓๖๐ แมกรกนก ตรัยศีลานันท ๕๐ ๖,๐๐๐
น.ส. ธิดารัตน นาบุญ ๓๖๐ แมนุน แกมมาศ ๑๒๐
แมหนูลา ลุนไธสง พรอมครอบครัว ๑๐๘๐ แมออน มะธิมะตุ ๑๒๐
นางปราณี ศรีสุข พรอมครอบครัว ๒๐๐ นางประมวล ภูตะดา ๒๔๐
นายเกรียงศักดิ์ ประเสนเกาะ นางสุธาศิณี ๒๐๐ นายอรัญ นางพูนสิน รอดวินิจ ๑๒๐
ประเสนเกาะ พรอมครอบครัว น.ส.อริสลา ดวงจิตร ๑๒๐
นางปทมา เลิศการคาสุข ๔๐๐ แมคํา เฟองไธสง ๑๒๐
คุณพอนี สิงหลี ๑๒๐ พอเลื่อน เติมสวัสดิ์ ๑๒๐
คุณแมทองอินทร สิงหลี ๑๒๐ น.ส.ภัชนก เวียงสิมา ๑๒๐
นายอาทิตย สนโศก ๑๒๐ นายพุทธชาติ เติมสวัสดิ์ ๑๒๐
น.ส.อัญชนาพร สิงหลี ๑๒๐ แมเรือง ชัยวิทวรกุล ๑๒๐
ด.ญ.วรวลัญช สนโศก ๑๒๐ นายมังกร ชัยวิทวรกุล ๑๒๐
ด.ญ.มนตวลี สนโศก ๑๒๐ พอทองสุข แมจันทรศรี วนไธสง พรอม ๑๒๐
น.ส.กัลยารัตน ตุลากูล ๑๒๐ ครอบครัว
น.ส.อนุสรา สิงหลี น.ส.นิตยา ชายกลาง ๒๔๐ พอสนั่น แมปด ดวงจิตร ๖๐๐

You might also like