ม 1-3 เล่ม02 แสง 2564

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 66

วิทยาศาสตร์ แสง [Light]

1. คลื่นแสง
- แสง เป็น .......................ทีส่ ามารถทาให้นัยน์ตาของคนปกติเกิดความรู้สึกในการมองเห็น
- แสง เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่เป็นคลื่นตาม ...........................
- เกิดจากการเหนี่ยวนาระหว่างสนามแม่เหล็กกับสนามไฟฟ้าต่อเนื่องกันไป

- การเดินทางของแสงไม่ต้องอาศัยตัวกลาง แต่ถ้ามีตัวกลาง ก็สามารถเดินทางผ่านไปได้


- อัตราเร็วของแสงในสุญญากาศมีค่าประมาณ ......................................... m/s
1
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
เราสามารถแบ่งแยกชนิดของตัวกลางทีย่ อมให้แสงเดินทางผ่านไปได้ 3 ประเภทคือ
ชนิดของตัวกลาง ลักษณะของแสงเมื่อเดินทางผ่านตัวกลาง ตัวอย่างเช่น
1. วัตถุทึบแสง
2. วัตถุโปร่งแสง
3. วัตถุโปร่งใส

วัตถุทึบแสง วัตถุโปร่งแสง วัตถุโปร่งใส


2
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
แสงจากดวงอาทิตย์
- แสงจากดวงอาทิตย์เรียกว่า แสงขาว เมื่อผ่านปริซึมจะแยกออกเป็นแสงสี
ต่างๆ เพราะในแสงขาวประกอบไปด้วยแสงสีชนิดต่างๆ

3
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]

- อัตราเร็วของแสงในสุ ญญากาศมีค่าประมาณ
4
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2. การสะท้อนแสงของพื้นผิว

การสะท้อนของแสงเป็นไปตามกฎการสะท้อน 2 ข้อ 1)

2)

5
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2.1 การสะท้อนแสงของกระจก [Mirror]
กระจกที่พิจารณามีทั้งหมด 3 ชนิด แบ่งตามลักษณะของกระจก
กระจก [Mirror]

6
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2.1 กระจกเงาราบ
- กระจกเงาราบคือ .....................................................................................

7
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
หลักการเขียนภาพจากกระจกเงาระนาบ
1. ลากรังสีของแสงขนานกับเส้นในแนวนอนผ่านวัตถุ ตกกระทบตั้งฉากกับผิวของ
กระจก แล้วสะท้อนออกในแนวเดิม (มุมตกกระทบกาง...................องศา)
2. ลากรังสีของแสงผ่านวัตถุในแนวใดก็ได้แล้วตกกระทบกระจกด้วยมุมตกกระทบค่า
หนึ่งแล้วสะท้อนออกโดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน (เป็นไปตามกฎการสะท้อน)
3. สังเกตดูรังสีสะท้อนทั้งสองเส้น
4. วาดรูปที่เกิดจากการตัดกันของรังสีทงั้ สอง

กระจก

วัตถุ

8
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
สรุปลักษณะภาพที่เกิดจากกระจกเงาระนาบ
1. เป็น .......................................................
2. มี ...........................................................
3. มี ...........................................................
4. ภาพมีลักษณะกลับซ้ายเป็นขวา ขวาเป็นซ้าย เรียกว่า ........................................

9
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
การหาจานวนภาพทีเ่ กิดจากกระจกเงาระนาบ 2 บานวางทามุม  ต่อกัน
360
จำนวนภำพ: 𝑛 = −1
𝜃


𝜃 = 90𝑂

𝜃 = 60𝑂 𝜃 = 45𝑂 10
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
การหาความสูงที่น้อยที่สุดของกระจกทีส่ ามารถมองเห็นภาพวัตถุได้เต็มตัว

สรุปขนาดของกระจกทีส่ ั้นทีส่ ุดที่มองเห็นภาพของวัตถุเต็มตัว =

วัตถุ

11
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
1. กระจกเงาระนาบ 2 บานวางทามุมต่อกัน  วางวัตถุระหว่างกระจกนับภาพได้
8 ภาพ จงหาค่าของมุม 

12
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2. จากรูปจงหามุมสะท้อนจากกระจกบานที่ 2

13
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3. กระจกเงาราบ M1 และ M2 วางทามุมฉากกัน มีรังสีตกกระทบทีก่ ระจก M1 ทา
มุมตกกระทบ 35 องศาดังรูป รังสีสะท้อนออกจากกระจกเงาราบ M2 ทามุม
สะท้อนเท่าใด

14
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
4. กระจกเงาราบ 2 บานหันหน้าเข้าหากันทามุม 70 องศา ถ้ารังสีของแสงตก
กระทบกระจกบานแรกเป็นมุม 30 องศากับกระจก รังสีของแสงที่สะท้อนออกจาก
กระจกบานทีส่ องทามุมกี่องศากับกระจกบานทีส่ อง

15
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2.2. การสะท้อนแสงบนกระจกโค้งทรงกลม
กระจกโค้งทรงกลม เป็นกระจกทีม่ ีผิวสะท้อนแสงเป็นผิวโค้งทรงกลม ซึ่งแบ่งเป็น
2 ชนิดคือ
1. กระจกโค้งเว้า Concave Mirrors 2. กระจกโค้งนูน Convex Mirrors
มีสมบัติในการ............................... มีสมบัติในการ.................................

16
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
ส่วนประกอบของกระจกโค้ง

17
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
หลักการเขียนทางเดินของแสงผ่านกระจกโค้ง
กระจกเว้า 1. รังสีของแสงเดินทางขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญ
ผ่านวัตถุตกกระทบผิวกระจก สะท้อน
วัตถุ
2. รังสีของแสงเดินผ่านวัตถุในแนวที่ผ่านจุดศูนย์กลาง
วัOตถุ
c F F C
ความโค้งตกกระทบผิวกระจก สะท้อน
c F O F
3.C รังสีของแสงถ้าตัดกันจริง ภาพจริง
กระจกนู
วัตถุ
น ถ้าตัดกันไม่จริง ภาพเสมือน
วัตถุ
4. ภาพจริง หัวกลับอยู่ด้านเดียวกับวัตถุ
c F O F C

F
ภาพเสมือน หัวตั้งอยู่คนละด้านกับวัตถุ
c F O C

18
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
1. S= 4. f<S<2f

C F O F C C F O F C

2. 2f<S< 5. S=f

C F O F C C F O F C

3. S=2f 6. 0<S<f

C F O F C C F O F C
19
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]

1. S= 4. f<S<2f

C O F C C F O F C
F

2. 2f<S< 5. S=f

C O F C C F O F C
F

3. S=2f 6. 0<S<f

C O F C C F O F C
F
20
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
สรุปสูตรที่ใช้ในการคานวณสาหรับกระจกเว้าและกระจกนูน
ตัวแปรมีการกาหนดเครื่องหมาย
ตัวแปร ความหมาย การกาหนดเครื่องหมาย
f ความยาวโฟกัส
R รัศมีความโค้ง
s ระยะวัตถุ
O ขนาดวัตถุ
s/ ระยะภาพ
I ขนาดภาพ
m กาลังขยาย

21
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
1. วางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้าดังภาพ จงเขียนทางเดินของและภาพทีเ่ กิดขึ้น

22
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2. จงหาตาแหน่ง ลักษณะและขนาดของภาพทีเ่ กิดจากการนาเอาวัตถุมาวางไว้
หน้ากระจกเว้าทีม่ ีรัศมีความโค้ง 30 เซนติเมตรเป็นระยะ 10 เซนติเมตร

23
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งซึ่งมีความยาวโฟกัส 20 เซนติเมตร ได้ภาพเสมือน
ขนาดเป็น 0.1 เท่าของวัตถุ จงคานวณหาระยะวัตถุและระยะภาพ

24
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
4. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งอันหนึ่งเป็นระยะ 20 เซนติเมตร เกิดภาพมีขนาด
เท่ากับวัตถุพอดี ถ้าเลื่อนวัตถุเข้าหากระจกห่างจากจุดเดิม 5 เซนติเมตร จะเกิด
ภาพห่างจากกระจกเป็นระยะเท่าใด

25
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
5. วางวัตถุไว้หน้ากระจกเว้า ทาให้เกิดภาพจริง มีขนาดเป็น 2 เท่าของวัตถุ เมื่อ
เลื่อนวัตถุเข้าใกล้กระจกอีก 10 เซนติเมตร ภาพที่ปรากฏเป็นภาพเสมือนขนาด 2
เท่าของวัตถุ จงหารัศมีความโค้งของกระจกและระยะวัตถุครัง้ แรก

26
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
6. เทียนไขสูง 4 cm ตั้งอยู่บนเส้นแกนมุขสาคัญของกระจกเว้าที่มีความยาวโฟกัส 10 cm ทาให้เกิดภาพ
หน้ากระจกเว้า ห่างจากกระจกเว้า 15 cm เทียนไขอยู่ห่างจากกระจกเว้ากี่เซนติเมตร และภาพเทียนไข
สูงกี่เซนติเมตร

27
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
7. วัตถุหนึ่งอยู่หน้ากระจกโค้งนูน 25 cm เกิดภาพหลักกระจก 20 cm ถ้าวัตถุอยู่ที่ 18 cm จะเกิดภาพที่
ใด

28
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
8. วางวัตถุไว้หน้ากระจกโค้งเว้าที่มีความยาวโฟกัสเท่ากับ 10.0 cm ทาให้เกิดภาพจริงขนาดขยาย 4
เท่า วัตถุน้ีอยู่ห่างจากกระจกเป็นระยะเท่าใด

29
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
9. ชายคนหนึ่งยืนริมฝัง่ แม่น้า และฝั่งตรงข้ามมีตน้ ไม้ต้นหนึง่ เขาให้กระจกบานหนึ่งหาความสูงของ
ต้นไม้ และระยะทางระหว่างต้นไม้กับตัวเขา พบว่า กระจกเงาทาให้เกิดภาพของดวงอาทิตย์ที่ระยะ 0.80
m จากหน้ากระจก เกิดภาพของต้นไม้ที่มีความสูง 0.10 m และอยู่ที่ 0.81 m จากหน้ากระจก จงหา
9.1) กระจกเงาที่ใช้เป็นกระจกโค้งเว้าหรือกระจกโค้งนูน
9.2) ต้นไม้อยู่ห่างจากชายคนนั้นประมาณเท่าใด
9.3) ต้นไม้สูงประมาณเท่าใด

30
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
10. จงหาตาแหน่ง ลักษณะและขนาดของภาพที่เกิดจากการนาเอาวัตถุมาวางไว้หน้ากระจกเว้าที่มีรัศมี
ความโค้ง 30 cm เป็นระยะ 10 cm

31
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3. การหักเหของแสง
- การหักเหของแสงเกิดจาก............................................................................

- การเปลี่ยนแปลงทิศทางของการหักเห เปลี่ยนแปลงได้ 2 แบบคือ เบนเข้า


หาเส้นปกติ และ เบนออกจากเส้นปกติ โดย
- พิจารณาจากความหนาแน่นของตัวกลางทีแ่ สงเดินทางผ่าน

32
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
เบนเข้าหาเส้นปกติ เบนออกจากเส้นปกติ
เดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่น น้อยไปมาก เดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแน่น มากไปน้อย

รังสีตกกระทบ รังสีตกกระทบ

1 1
ตัวกลางที่ 1 ตัวกลางที่ 1
ตัวกลางที่ 2 ตัวกลางที่ 2 2
2
รังสีหักเห
 2  1  2  1
รังสีหักเห 33
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3.1 ดัชนีหักเหของแสง (Index of refraction; n)
หมายถึง อัตราส่วนระหว่างอัตราเร็วของแสงในอากาศหรือสุญญากาศต่อ
อัตราเร็วของแสงในตัวกลางนั้น ๆ
เขียนเป็นสูตรความสัมพันธ์ได้คือ
หมายเหตุ
1. ค่าดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางไม่มีหน่วย
2. อัตราเร็วของแสงในอากาศหรือสุญญากาศมีคา่ ประมาณ 3108 เมตร/วินาที
3. ดัชนีของแสงในอากาศหรือสุญญากาศมีเท่ากับ

34
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]

ตารางแสดงค่าดัชนีหักเหของตัวกลางบางชนิด
ตัวกลาง อัตราเร็วของแสงในตัวกลาง ดัชนีหักเห
อากาศ 3  108 1.00
น้า 4
3
เอทิลแอลกอฮอล์ 4.08  108
แก้ว 1.50
เพชร 7.26  108

35
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3.2 การคานวณเกี่ยวกับการหักเหโดยกฏของสเนล์

เส้นปกติ : N การหักเหแบ่งออก 2 แบบคือ


รังสีตกกระทบ 1. เบนออก แสงเดินทางจากตัวกลาง
มาก น้อย
มุมตกกระทบ 2. เบนเข้า แสงเดินทางจากตัวกลาง
1 น้อย มาก
ตัวกลางที่ 1
ตัวกลางที่ 2
2
มุมหักเห

sin 1 v1 1 n2
   รังสีหักเห
sin  2 v2 2 n1 36
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3.3 การเกิดมุมวิกฤติของแสงและการเกิดการสะท้อนกลับหมด
- มุมวิกฤติ [Critical Angle : C] มุมตกกระทบที่ทาให้เกิดมุมหักเหกาง 90 องศา

เส้นปกติ : N
รังสีตกกระทบ

มุมตกกระทบ
1= C
ตัวกลางที่ 1 รังสีหักเห
ตัวกลางที่ 2 2= 90

sin 1 n2 sin  C n2  sin  C  n2


  
sin  2 n1 sin 90 n1 n1
37
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
ข้อสรุปของการเกิดมุมวิกฤติและการสะท้อนกับหมดของแสง
ลักษณะของตัวกลางที่แสงเดินทาง ลักษณะของการหักเห
ความหนาแน่นน้อย  ความหนาแน่นมาก
ความหนาแน่นมาก  ความหนาแน่นน้อย
ถ้ามุมตกกระทบ 1 < C
ถ้ามุมตกกระทบ 1 = C
ถ้ามุมตกกระทบ 1 > C

38
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
1. มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่งใสชนิดหนึ่งในอากาศ มีค่าเท่ากับ 45 องศา ความเร็ว
แสงในสารโปร่งใสนี้มีค่าเท่าใด

เส้นปกติ : N
รังสีตกกระทบ

ตัวกลางที่ 1 =
ตัวกลางที่ 2 =

39
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2. มุมวิกฤติต่อแสงในของเหลวชนิดหนึ่งมีค่าเท่ากับ 60 องศา ความยาวคลื่นของ
แสงนั้นในของเหลวจะเป็นกี่เท่าของความยาวคลื่นในอากาศ

40
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3. ถ้าความเร็วในน้าลึกมีค่าเป็น 2 เท่าของความเร็วในน้าตื้น หากต้องการให้เกิด
การสะท้อนกลับหมด คลื่นจะต้องตั้งต้นเคลื่อนที่จากบริเวณไหนและมีมุมวิกฤต
เท่าใด

41
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
4. คลื่นน้าในถาดคลื่น เคลื่อนที่จากบริเวณน้าลึกไปสู่บริเวณน้าตื่น โดยมีมุมตก
กระทบ 45 และมุมหักเห 30 ถ้าระยะห่างของหน้าคลื่นหักเหที่ติดกันวัดได้ 2 2
เซนติเมตร และแหล่งกาเนิดคลื่นมีความถี่ 20 Hz จงหาอัตราเร็วคลื่นตกกระทบ

42
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3.4 เลนส์
คือ ตัวกลางโปร่งใส ที่สามารถรวมแสงหรือกระจายแสง โดยอาศัยการหักเห แบ่งออกเป็น
2 ชนิด ดังนี้
1. เลนส์นูน ทาหน้าที่ 2. เลนส์เว้า ทาหน้าที่
........................ ..............................

43
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
ส่วนประกอบของเลนส์นูนและเลนส์เว้า

1. เลนส์นูน 2. เลนส์เว้า

o o
C F F C C F F C

44
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
คุณสมบัติของเลนส์นูนและเลนส์เว้า

1. เลนส์นูน 2. เลนส์เว้า

เลนส์นูนรวมแสง เลนส์นูนกระจายแสง

45
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
ขั้นตอนการเขียนทางเดินของแสงผ่านเลนส์นูนและเลนส์เว้า

1. เขียนรังสีจากปลายวัตถุขนานกับเส้นแกนมุขสาคัญ ไปตกกระทบตรงกลางเลนส์
แล้วลากรังสีหักเหผ่านจุดโฟกัส
2. เขียนรังสีจากปลายวัตถุที่ไม่ขนานกับแกนมุขสาคัญผ่านจุดกึ่งกลางเลนส์ รังสีจะ
ผ่านออกไปแนวเดิม (ไม่หักเห)
3. รังสีในข้อ 1 และ ข้อ 2 ตัดกันเกิดภาพดังรูป 46
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]

1. S= 4. f<S<2f

C F O F C C F O F C

2. 2f<S< 5. S=f

C F O F C C F O F C

3. S=2f 6. 0<S<f

C F O F C C F O F C

47
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]

1. S= 4. f<S<2f

C F O F C C F O F C

2. 2f<S< 5. S=f

C F O F C C F O F C

3. S=2f 6. 0<S<f

C F O F C C F O F C

48
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
สรุปสูตรที่ใช้ในการคานวณสาหรับเลนส์นูนและเลนส์เว้า

1 1 1 ตัวแปรมีการกาหนดเครื่องหมาย
 
f s s ตัวแปร ความหมาย การกาหนดเครื่องหมาย
s f ความยาวโฟกัส + เลนส์นูน
s  s
m f  R รัศมีความโค้ง - เลนส์เว้า
s s  s
s ระยะวัตถุ
I R + เสมอ
m f  O ขนาดวัตถุ
O 2 s/ ระยะภาพ + ภาพจริง
f I ขนาดภาพ
m - ภาพเสมื อ น
s f m กาลังขยาย
m > 1 ภาพใหญ่กว่าวัตถุ
s  f
m m = 1 ภาพเท่ากับวัตถุ
f m < 1 ภาพเล็กกว่าวัตถุ 49
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
1. ค่าดัชนีหักเหของน้าเท่ากับ 1.33 จงหาอัตราเร็วของแสงในน้า

50
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2. แสงเดินทางจากอากาศไปยังน้าด้วยมุมตกกระทบเท่ากับ 60 องศา มุมหักเห
เท่ากับ 30 องศา จงหาค่าดัชนีหักเหของน้า

51
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3. วัตถุสูง 3.00 เซนติเมตร วางห่างจากเลนส์นูนเป็นระยะ 24 เซนติเมตรแล้วได้
ภาพจริงห่างจากเลนส์ 8 เซนติเมตร จงหา
3.1) ความยาวโฟกัสของเลนส์
3.2) ความสูงของภาพ

52
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
4. วัตถุหนึ่งวางไว้หน้าเลนส์เว้าที่มีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร เป็นระยะ 15
เซนติเมตร จงหาตาแหน่ง ลักษณะ และขนาดของภาพที่เกิดขึ้น

53
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
5. ถ้าระยะทางจากเลนส์นัยน์ตาถึงเรตินา (จอรับภาพในนัยน์ตา) เป็น 19
มิลลิเมตร จงหาความยาวโฟกัสของเลนส์นัยน์ตาขณะอ่านตัวหนังสือซึ่งห่างจาก
เลนส์นัยน์ตา 40 เซนติเมตร

54
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
6. วางวัตถุไว้หน้าเลนส์ 24 เซนติเมตร เกิดภาพจริงมีขนาดใหญ่ขึ้นเป็น 3 เท่าของ
วัตถุ จงหาชนิดและความยาวโฟกัสของเลนส์นี้

55
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
7. วางวัตถุห่างจากเลนส์นูน 36 เซนติเมตร เกิดภาพจริงขนาด 4 เท่าของวัตถุ ถ้า
ต้องการภาพเสมือนขนาด 3 เท่าของวัตถุ จะต้องวางวัตถุห่างจากเลนส์เท่าใด

56
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
8. จะต้องวางวัตถุไว้ตาแหน่งใดบ้างจึงจะได้ภาพจากเลนส์นูน ความยาวโฟกัส 9
เซนติเมตร มีขนาดขยายเป็น 3 เท่า

57
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
9. วางเข็มหมุดห่างจากเลนส์ 30 เซนติเมตร จะมองเห็นภาพอยู่ด้านเดียวกับเข็ม
หมุด แต่มีขนาดครึ่งหนึ่งของขนาดเดิม เลนส์นี้เป็นเลนส์ชนิดใด ความยาวโฟกัส
เท่าใด

58
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
10. เลนส์อันหนึ่งวางห่างจากจอ 30 เซนติเมตร มีวัตถุสูง 3 เซนติเมตร อยู่หน้า
เลนส์ ปรากฏว่าได้ภาพบนจอสูง 12 เซนติเมตร เลนส์นี้เป็นเลนส์อะไร ความยาว
โฟกัสเท่าใด

59
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3.5 การเกิดเหตุการณ์ลึกจริง ลึกปรากฏ
- เกิดจากผู้สังเกต [ผู้มอง] และวัตถุที่มอง ไม่ได้อยู่ในตัวกลางเดียวกัน
- ทาให้แสงจากวัตถุที่จะเดินทางเข้ามายังตาของผู้มอง เกิดการหักเห
- ทาให้มองเห็นวัตถุอยู่ที่ตาแหน่งคลาดเคลื่อนไปจากตาแหน่งที่วัตถุอยูจ่ ริง ๆ
- ตัวกลางที่มักจะออกสอบ คือ
น้าคู่กับอากาศ
สูตรคานวณ

nตา s

nวัตถุ s
60
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3.5.1 ผู้สังเกตอยู่ในอากาศ สังเกตวัตถุซึ่งอยู่ในน้า เช่น คนอยู่บนบกมองปลาที่ว่า
ยอยู่ในน้า
เส้นปกติ : N
น้า ไป อากาศ

ตัวกลางที่ 2 = อากาศ
ตัวกลางที่ 1 = น้า

61
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3.5.2 ผู้สังเกตอยู่ในน้า สังเกตวัตถุซึ่งอยู่ในอากาศ เช่น คนอยู่ในน้ามองนกที่บินอยู่ใน
อากาศ
เส้นปกติ : N
อากาศ ไป น้า

ตัวกลางที่ 1 = อากาศ
ตัวกลางที่ 2 = น้า

62
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
1. มุมวิกฤติสาหรับสารโปร่งใสชนิดหนึง่ ในอากาศ มีค่าเท่ากับ 45O ความเร็วแสงในสารโปร่งใสนี้มีค่า
เท่าใด

เส้นปกติ : N
รังสีตกกระทบ

ตัวกลางที่ 1 =
ตัวกลางที่ 2 =

63
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
2. มุมวิกฤติต่อแสงในของเหลวชนิดหนึง่ มีค่าเท่ากับ 60 องศา ความยาวคลื่นของแสงนั้นในของเหลวจะ
เป็นกี่เท่าของความยาวคลื่นในอากาศ

64
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
3. ถ้าความเร็วในน้าลึกมีค่าเป็น 2 เท่าของความเร็วในน้าตื้น หากต้องการให้เกิดการสะท้อนกลับหมด
คลื่นจะต้องตั้งต้นเคลื่อนที่จากบริเวณไหนและมีมุมวิกฤตเท่าใด

65
วิทยาศาสตร์ แสง [Light]
4. แสงเดินทางจากอากาศเข้าสู่วัตถุโปร่งแสงดังรูป จงหาดัชนีหักเหของวัตถุน้ี

66

You might also like