Slide 2475-2500

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 85

สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (ตัวแปรสาคัญ)

บริบททางการเมือง
- ภาวะไร้ เสถียรภาพทางการเมื อ งในยุ โรปและเอเชี ย
ส่งผลให้เกิดบรรยากาศที่ไม่น่าไว้วางใจต่อกัน สภาวะที่
โลกไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ คือ การเกิดเศรษฐกิจตกต่่า
ทั่วโลก ที่เรียกกันว่า “ เศรษฐกิจตกต่่าทศวรรษ 1930 ”
พ.ศ.2473-2483 (1930’s depression)
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง (ตัวแปรสาคัญ)
- การรั ด ตั ว ของเศรษฐกิ จ ต้ อ งอาศั ย ตลาดในการ
สภาพเศรษฐกิจ
ระบายสินค้ า น่าไปสู่ การตั้ง ก่า แพงภาษี จนสิ นค้ า
ขายไม่ออกผลที่ตามมาคือ ผลผลิตลดลงท่าให้เกิด
การชะงักชะงันของการขยายตัวของการผลิต จึงต้อง
มีคนงานโดนปลดจ่านวนมาก เศรษฐกิจตกต่่าทั่วโลก
การค้าระหว่างประเทศลดลง และเงินเฟ้อ

- ไทยได้รับผลกระทบ เพราะสินค้าของไทยส่วนใหญ่
เป็นสินค้าการเกษตร เช่น ข้าว อุตสาหกรรม เช่ น
ดีบุก ยางพารา และไม้สัก สิ่งที่ตามมา คือ ร.7 ปลด
ข้ า ราชการออกเพื่ อ ลดจ่ า นวนค่ า ใช้ จ่ า ย เงิ น
ท้องพระคลังร่อยหรอ เพราะ ใช้จ่ายสูงในสมัย ร.6
น่าไปสู่การท่าลายขวัญและก่าลังใจของข้าราชการ
สร้างบรรยากาศความไม่พ อใจสภาพการเมืองการ
ปกครองมากขึ้น
ความขัดแย้งระหว่างสถาบันเก่าและสถาบันใหม่ (ตัวแปรภายใน)

- ผลของการปฏิ รู ป ในสมั ย ร.5 ท่ า ให้ ส ถาบั น แบบ


สมั ย ใหม่ คื อ ตะวั น ตก การปกครองบริ ห าร ระบบ
ราชการ ทหาร พลเรือนมีความทันสมัย คัดสรรบุคคล
ที่สอดคล้องกบความต้องการตามยุคสมัย

- สถาบั นเก่า (เล่น พรรคเล่ นพวก) VS สถาบั นใหม่


(ระบบคุณธรรม+ใช้ความสามารถเลื่อนต่าแหน่ง)

- คนรุ่นเก่า VS คนรุ่นใหม่ สถาบัน และบุคลากรใน


สถาบันเก่าไม่สามารถปรับตัวกับสภาพการณ์ใหม่ได้
1. ความตืน่ ตัวทางการปกครองแบบประชาธิปไตย
2. ความขัดแย้งระหว่าง เจ้านาย + ข้าราชการผูใ้ หญ่ vs ข้าราชการผูน้ อ้ ย
3. เศรษฐกิจตกต ่า (The Great Crisis 1929)
4. แรงกระตุน้ จากสื่อมวลชน วิจารณ์รฐั บาล ร.7
อาจแบ่งแนวทางการอธิบายเป็ น 2 แนวทาง คือ
1. ความขัดแย้งระหว่างเจ้านายกับขุนนาง ขุนนางแย่ง
อานาจ ชิงสุกก่อนห่าม ฯลฯ
2. ปั จจัยเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ-การเมืองและ
วัฒนธรรม ความรับรูเ้ กี่ยวกับประชาธิปไตยและการ
เติบโตของปั ญญาชน, คนชั้นกลาง, ปั ญหาเศรษฐกิจและ
สังคม
- ความไม่พอใจต่อนโยบายตัดทอนรายจ่ายรัฐบาล
- บรรดานายทหารชั้นนาถูกลดขั้นเงินเดือน
- ลดจานวนข้าราชการ
เนื่ องจากการคลังประสบปั ญหาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 6 เพราะ
การผลิตข้าวล้มเหลว จากการถูกน้ าท่วมและฝนแล้งติดต่อกัน และไม่
สามารถส่งข้าวไปขายต่างประเทศได้ ทาให้รฐั ขาดรายได้จานวนมาก
จึงต้องจัดสรรงบประมาณช่วงเหลือชาวนา ข้าราชการ และผูส้ บกับ
ภาวะค่าครองชีพที่สงู ขึ้ น และรายจ่ายอื่นๆ ที่เพิ่มขึ้ นจนเกินรายได้
รัชกาลที่ 6 ทรงแก้ปัญหาด้วยการกูเ้ งินจากต่างประเทศ เพื่อให้
มีเงินเพียงพอกับงานประมาณรายจ่าย ทาให้เกิดเสียงวิพากษ์วจิ ารณ์
ว่ารัฐบาลใช้จา่ ยเงินงบประมาณอย่างไรไม่ประหยัดในขณะที่เศรษฐกิจ
ของประเทศกาลังคับขัน
รัชกาลที่ 7 ทรงดาเนิ นนโยบายตัดทอนรายจ่ายของรัฐบาล
และตัดทอนงบประมาณรายจ่ายส่วนพระองค์ให้น้อยลง พ.ศ.2469
ทาให้รฐั บาลมีรายได้เพิ่มขึ้ นปี ละ 3 ล้านบาท
1. การเติบโตของแนวคิดประชาธิปไตยตะวันตกของบรรดาชั้นนาในสังคมไทย
- ความต้องการเปลี่ยนเป็ นแบบตะวันตก (Westernization)
- การศึกษาของบุตรหลานเจ้านาย – ขุนนาง – คหบดี เป็ นแบบตะวันตก
(นับแต่การพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงในสมัยรัชกาลที่ 5)
- ความคิดประชาธิปไตย แพร่ส่สู งั คมไทย
2. การเติบโตของสังคม ปั ญญาชน และพรมแดนความรูค้ วามคิดประชาธิปไตย
- สื่อมวลชน เป็ นบทบาทกระตุน้ ให้เกิดความตื่นตัวทางการเมืองแบบใหม่
• หนังสือพิมพ์ตุลวิภาคพจนกิจ (พ.ศ.2443-2449)
• หนังสือพิมพ์ศิริพจนภาค (พ.ศ.2451)
• หนังสือพิมพ์จีนโนสยามวารศัพท์ (พ.ศ.2446-2450)
• หนังสือพิมพ์บางกอกการเมือง (พ.ศ.2464)
ต่างมีขอ้ เขียนและบทความเรียกร้องให้รฐั ธรรมนูญ ชี้ ความงามของประชาธิปไตย
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็ นจุดเปลี่ยนแปลงมาสูร่ ะบบเศรษฐกิจ
การเมืองและสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ
ด้านการเมือง ระบอบรัฐธรรมนูญ นามาสู่การจากัดอานาจพระมหากษัตริย์ การปกครองภายใต้
หลักกฎหมาย เกิดหลักสิทธิและความเสมอภาค ฯลฯ
ดังปรากฏในธรรมนูญการปกครอง มาตรา 1
อานาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็ นของราษฎรทั้งหลาย
และเกิดโครงสร้าง สถาบัน และกระบวนการทางการเมืองสมัยใหม่
(จาแนกอานาจเป็ น 3 ส่วน คือ บริหาร นิ ติบญ
ั ญัติ ตุลาการ)
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็ นจุดเปลี่ยนแปลงมาสูร่ ะบบเศรษฐกิจ
ด้านการเมือง การเมืองและสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ
ทางด้านอานาจบริหารนั้นในรัฐธรรมนูญได้บญ ั ญัติไว้ซึ่งตาแหน่ งที่สาคัญ คือ
ประธานคณะกรรมการราษฎร (เทียบเท่านายกรัฐมนตรี)
ซึ่งจะต้องเป็ นบุคคลที่สามารถประสานความเข้าใจระหว่างคณะราษฎรกับ
พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั เป็ นอย่างดี และเพื่อความราบรื่นในการ
บริหารประเทศต่อไป คณะราษฎรจึงตกลงเห็นชอบให้
พระยามโนปกรณ์นิตธิ าดา (ก้อน หุตะสิงห์)
เป็ นประธานคณะกรรมการราษฎร
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็ นจุดเปลี่ยนแปลงมาสูร่ ะบบเศรษฐกิจ
ด้านการเมือง การเมืองและสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ
กล่าวโดยสรุป การเปลี่ยนแปลงส่งผลกระทบต่อสถานภาพของสถาบันพระมหากษัตริยเ์ ป็ นอย่างมาก เพราะ
เป็ นการสิ้ นสุดพระราชอานาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และนาไปสู่ความขัดแย้งทางการเมือง
จนกระทัง่ รัชกาลที่ 7 ทรงมีพระราชหัตถเลขาสละสมบัติ ลงวันที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2477 มีความว่า
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็ นจุดเปลี่ยนแปลงมาสูร่ ะบบเศรษฐกิจ
ด้านเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ
นักวิชาการโดยทั่วไปมองว่า ผลกระทบทางเศรษฐกิจมีไม่มากนัก ทั้งนี้เป็นเพราะความพยายามที่
จะเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ที่คณะราษฎรได้มอบหมายให้ นายปรีดี พนมยงค์ เป็นคนร่าง
เค้าโครงการเศรษฐกิจเพื่อนาเสนอนั้น มิได้รับการยอมรับจากคณะราษฎรส่วนใหญ่ ดังนั้นระบบเศรษฐกิจ
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จึงยังคงเป็นแบบทุนนิยมเช่นเดิมและโครงสร้างทางเศรษฐกิจยังคง
เน้นที่การเกษตรกรรมมากว่าอุตสาหกรรม แต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ก็เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อที่
ส าคั ญ ของทุ น นิ ย ม โดยเกิ ด ระบบทุ น นิ ย มโดยรั ฐ ก่ อ นการขยายตั ว ของระบบทุ น นิ ย มในเวลาต่ อ มา
(ในยุคจอมพลสฤษดิ์)
ด้านเศรษฐกิจ รองอามาตย์เอก พลโท ประยูร ภมรมนตรี
(ข้าหลวงทูลกระหม่อมบริพัตร, มหาดเล็กรัชกาลที่ 6)
(ผู้ริเริ่มแนวความคิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองคู่กับนายปรีดี พนมยงค์หรือหลวง
ประดิษฐ์มนูธรรมโดยในเช้าวันที่ทาการเปลี่ยนแปลงนั้น พลโทประยูรรับหน้าที่ตัด
สายโทรศัพท์และสายโทรเลข ที่สานักงานใหญ่กรมไปรษณีย์โทรเลข)
ได้ เ คยกล่ า วไว้ ห ลั ง การเปลี่ ย นแปลงการปกครองว่ า ในการพู ด คุ ย กั น เรื่ อ งการ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะราษฎรคุยกันในเรื่องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ด้านการเมืองเท่านั้น มิได้คุยกันในเรื่องเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็ นจุดเปลี่ยนแปลงมาสูร่ ะบบเศรษฐกิจ
ด้านสังคม การเมืองและสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ
หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
- มีการยกเลิกระบบศักดินา ยกเลิกฐานันดรศักดิ์
-กาหนดให้บุคคลเท่าเทียมกันตามกฎหมาย
ประชาชนเริ่มได้รับเสรีภาพและมีสิทธิต่าง ๆ ตลอดจนความเสมอภาคภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ
และได้รับสิทธิในการปกครองตนเอง ในขณะที่บรรดาเจ้าขุนมูลนาย ขุนนาง ซึ่งมีอานาจภายใต้ระบอบการ
ปกครองดั้งเดิมได้ สูญเสียอานาจและสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ที่เคยมีมาก่อน โดยที่คณะราษฎรได้เข้าไปมี
บทบาทแทนบรรดาเจ้านายและขุนนางในระบบเก่าเหล่านั้น
หลวงพิบูลสงคราม

แปลก พิบูลสงคราม
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็ นจุดเปลี่ยนแปลงมาสูร่ ะบบเศรษฐกิจ
ด้านสังคม การเมืองและสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ

คณะราษฎรมี น โยบายส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาของราษฎรอย่ า งเต็ ม ที่ ตามหลั ก 6 ประการของ


คณะราษฎร รัฐบาลจึงได้โอนโรงเรียนประชาบาลที่ตั้งอยู่ในเขตเทศบาลที่รัฐบาลได้จัดตั้งขึ้นให้เทศบาล
เหล่านั้นรับไปจัดการศึกษาเอง
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง เป็ นจุดเปลี่ยนแปลงมาสูร่ ะบบเศรษฐกิจ
ด้านสังคม การเมืองและสังคมสมัยใหม่ กล่าวคือ

พ . ศ . 2 4 7 9 รั ฐ บ า ล ข อ ง พ . อ . พ ร ะ ย า พ ห ล พ ล พ ยุ ห เ ส น า ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ใ ช้
แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2479 โดยกาหนดเป็น 2 ประเภท คือ สายสามัญศึกษาและสายอาชีวศึกษา
โดยได้กาหนดความมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมให้ผู้ที่เรียนจบการศึกษาในสายสามัญแตะละประโยคแต่ละระดับ
การศึกษา ได้เรียนวิชาอาชีพเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากเรียนวิชาสามัญ ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการที่จะ
ออกไปประกอบอาชีพต่อไป
1. จะต้องรักษาความเป็ นเอกราชทั้งหลายของประเทศไว้ให้มั ่นคง
2. จะต้องรักษาความปลอดภัยภายในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก
3. ต้องบารุงความสุขสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้ราษฎรทุกคนทา จัดวางโครงสร้าง
เศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
4. จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน (ไม่ใช่พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็ นอยู่)
5. จะต้องให่ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็ นอิสระ เมื่อเสรีภาพไม่ขดั ต่อหลัก 5 ประการข้างต้น
6. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
รายวิชา ส30220 การเมืองการปกครองไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ภาคเรี ย นที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา 2562 โรงเรี ย นเทพศิ ริ น ท ร์
ในช่วง 25 ปี ระหว่าง 2475-2500 ได้มีรัฐธรรมนูญ 6 ฉบับ มีการเลือกตั้ง 9 ครั้ง
มีการรัฐประหารและการกบฏ 10 ครั้ง ดังนั้นหากคิดเฉลี่ยอาจกล่าวได้ว่า มีรัฐธรรมนูญ 1
ฉบับต่อ 4.1 ปี / มีการเลือกตั้ง 1 ครั้งต่อ 2.7 / และมีการขัดแย้งทางการเมืองในรูปแบบ
ของรัฐประหารหรือการกบฏทุก ๆ 2.5 ปี ซึ่งแสดงให้เห็นดังนี้
รัฐประหาร 1เมษายน 2476 รัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476 กบฏบวรเดช 11ตุลาคม 2476
กบฏพระยาทรงสุรเดช
กบฏนายสิบ 3 สิงหาคม 2478
29มกราคม 2481
รัฐประหาร 8พฤศจิกายน 2490 กบฏเสนาธิการ 1ตุลาคม 2491

กบฏแมนฮัตตัน
กบฏวังหลวง 26 กุมภาพันธ์ 2492
29 มิถุนายน 2494

รัฐประหาร 16 กันยายน 2500 คณะปฏิวัติ 20 ตุลาคม 2501


ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 –2500
ในขณะเดียวกัน หากพิจารณาจะเห็นว่า ทหารได้กุมอานาจในฐานะนายกรัฐมนตรีถึง
21 ปีครึ่ง ซึ่งแสดงได้ ดังนี้
นายกรัฐมนตรี ภูมิหลัง ช่วงเวลาในการดารงตาแหน่ง
1. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พลเรือน 11 เดือน 23 วัน
2.พระยาพหลพยุหเสนา ทหาร 5 ปี 5 เดือน 23 วัน
3. จอมพล ป.พิบูลสงคราม ทหาร 14 ปี 11 เดือน 11 วัน
4. นายควง อภัยวงศ์ พลเรือน 1 ปี 6 เดือน 17 วัน
5. นายทวี บุณยเกตุ พลเรือน 17 วัน
6. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พลเรือน 10 เดือน 13 วัน
7. นายปรีดี พนมยงค์ พลเรือน 4 เดือน 17 วัน
8. พลเรือตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ ทหาร 1 ปี 2 เดือน 17 วัน
เค้าโครงเศรษฐกิจ ของปรีดี พนมยงค์

ทาให้ “คณะราษฎร” แตกแยกกัน

รัชกาลที่ 7 และนายกรัฐมนตรีไม่เห็นด้วย

ออก พรบ.คอมมิวนิสต์ ปรีดีต้องออกนอกประเทศ

พระยาพหลพลพยุหเสนา ทารัฐประหาร ขึ้นเป็นนายกฯ


กบฎบวรเดช

คณะราษฎร มีอานาจสมบูรณ์ กลุ่มเจ้าถูกกาจัด

พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ก่อการกบฎ

กองทหาร หลวงพิบูลสงคราม ปราบคณะกบฎได้

พระองค์เจ้าบวรเดช เสด็จลี้ภัยไปต่างประเทศ
• ท่ามกลางความกลัวที่ฝ่ายเจ้า (น่าการปกครองแบบเก่ามาใช้ ) พระยาพหลฯ จึงได้ท่าการ
รัฐประหาร ซึ่งสองสามเดือนต่อมาพระองค์เจ้าบวรเดชได้เคลื่อนทัพจากโคราช แต่ถูก พันโท
หลวงพิบูลสงครามปราบได้
• ภายหลังการปราบกบฏบวรเดช กลุ่มอนุรักษ์นิยมหรือฝ่ายเจ้าได้เสื่อมอ่านาจลง คู่แข่งจอมพล ป.
ตอนนี้คือ ปรีดี พนมยงค์ แต่มีพระยาพหลฯเป็นนายกรัฐมนตรี ที่สามารถออมชอมไกล่เกลี่ย
ถ่วงดุลอ่านาจของสองคนได้

ประชาชนจ่านวนมากพากันมาต้อนรับทหารที่ไปปราบกบฏกลับถึงกรุงเทพฯ
ที่หน้าสถานีหัวล่าโพง เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2476 อนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ
กบฏบวรเดช ทาให้คณะราษฎร กับ ร.7 ไม่ถูกกัน

ต้นปี 2477 ทรงเสด็จไป ลอนดอน, อังกฤษ

ทรงร้องขอให้คณะราษฎรคานึงถึงอานาจแท้จริง

ทรงประกาศสละราชสมบัติ 2 มีนาคม 2477


พระยาพหลพลพยุหเสนา ลาออก จอมพลแปลก พิบูลสงครามขึ้นต่อ

เน้นชาตินิยม + War II

เน้นความเชื่อชนชาติไทย + วัฒนธรรมไทย “รัฐนิยม”

เปลี่ยน “สยาม” เป็น “ไทย”

เข้าร่วมสงครามโลก ครั้งที่ 2 เป็นฝ่ายอักษะ (ญี่ปุ่น)


• ภายหลังพระยาพหลฯ ลาออก จอมพล ป. ได้รับต่าแหน่งนายกรัฐมนตรี ท่าให้
ทหารได้เข้ามามีอ่านาจ
• นโยบายที่ ส่ า คั ญ เช่ น รัฐ นิ ย ม ซึ่ ง เป็ น นโยบายรั ก ชาติ และรณรงค์ แ สดงการ
ต่อต้านคนจีน ที่คุมเศรษฐกิจของไทย ปิดโรงเรียนจีน ไม่ก็แกล้งโรงเรียนจีน ให้
ด่าเนินการยาก ๆ ในช่วง พ.ศ. 2481 – 2487
• ชาตินิยมทางเศรษฐกิจ เช่น ชักจูงให้คนไทยใช้ของที่ไทยท่าเอง
• ชาติ นิ ย มทางสั ง คม เพื่ อ ส่ ง เสริ ม ความมี อ ารยะ เช่ น การเข้ า แถว ให้ เ กี ย รติ
สุภาพสตรีและคนแก่ สวมหมวก เลิกกินหมาก
• นโยบายที่อันตรายที่สุด คือการตัดสินใจร่วมสงครามกับญี่ปุ่น นโยบายเป็นมิตรกับญี่ปุ่น โดยจอมพล ป. มองตอน
นั้นว่าไทยได้ผลประโยชน์ แต่การตัดสินใจนี้น่าไปสู่การเสียต่าแหน่งนายกรัฐมนตรีเมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2
ภายหลังที่อเมริกาทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ
เหตุการณ์หลังสงครามโลกครั้งที่ 2
1. 2 ปัจจัยที่ผู้น่าไทยสามารถจัดการกับสถานการณ์เพื่อหลุดพ้นจาก
วิกฤตการณ์ครั้งนี้ คือ
- ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช เอกอัครราชทูตไทยประจ่ากรุงวอชิงตัน
ปฏิเสธที่จะส่งสาสน์ประกาศสงครามกับ USA
- ขบวนการเสรีไทยซึ่งประกอบด้วยคนไทยที่อยู่นอกประเทศ
ม.ร.ว.เสนีย์ ร่วมมือกับนายปรีดี ผู้ส่าเร็จราชการแทนพระองค์

2. ประเทศไทยได้รัฐบาลพลเรือนซึ่งน่าโดยพวกเสรีนิยม เช่น ม.ร.ว.


เสนีย์ และนายปรีดี ความรุ่งเรืองของทหารชาตินิยม และการรวมชาติ
ของจอมพล ป. ได้คลายความส่าคัญลงไป ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช
ลักษณะสาคัญของประเทศไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ประการที่ 1
- ฝ่า ยเสรี นิยมได้ก ลับคืนมา ฝ่ ายทหารสู ญเสีย อ่า นาจ และความน่า เชื่ อถือ เพราะแพ้สงคราม
จอมพลป. ถูกขึ้นศาลในฐานะอาชญากรสงคราม แต่ตอนหลังก็ถูกปล่อยตัว
- ดูเหมือนฝ่ายเสรีนิยมจะมีโอกาสในการสร้างประชาธิปไตย เพราะอ่านาจทหารโดนกันไว้ แต่ก็ไม่
เป็นไปตามที่คาดหวังไว้ เสรีนิยมไม่สามารถพัฒนาระบอบประชาธิปไตยได้ดีเท่าที่ควร จะเห็นว่ารัฐบาลฝ่าย
เสรีนิยมจะอยู่ได้ช่วงเวลาสั้น ๆ

VS
ช่วงหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475 –2500
ในขณะเดียวกัน หากพิจารณาจะเห็นว่า ทหารได้กุมอานาจในฐานะนายกรัฐมนตรีถึง 21 ปีครึ่ง ซึ่งแสดงได้ ดังนี้
นายกรัฐมนตรี ภูมิหลัง ช่วงเวลาในการดารงตาแหน่ง
1. พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พลเรือน 11 เดือน 23 วัน
2. พระยาพหลพยุหเสนา ทหาร 5 ปี 5 เดือน 23 วัน
3. จอมพล ป.พิบูลสงคราม ทหาร 14 ปี 11 เดือน 11 วัน
4. นายควง อภัยวงศ์ พลเรือน 1 ปี 6 เดือน 17 วัน
5. นายทวี บุณยเกตุ พลเรือน 17 วัน
6. หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช พลเรือน 10 เดือน 13 วัน
7. นายปรีดี พนมยงค์ พลเรือน 4 เดือน 17 วัน
8. พลเรือตรี ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ ทหาร 1 ปี 2 เดือน 17 วัน
9. นายควง อภัยวงศ์ พลเรือน 6 เดือน
10. จอมพล ป.พิบูลสงคราม ทหาร 9 ปี 6 เดือน
ลักษณะสาคัญของประเทศไทยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
ประการที่สอง
สงครามเย็นเริ่มส่งกระแสมายังทวีปเอเชีย จึงท่าให้ USA ต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับการ
ขัดแย้งทางการเมืองโดยเริ่มจากสงครามเย็นและต่อด้วยสงครามเกาหลีและสงครามเวียดนาม

ประการที่สาม
ระบบเศรษฐกิจไทยเมื่อแพ้สงคราม ไทยต้องส่งค่าปฏิกรรมสงครามในรูปของการจัดหา
ข้ า วสู่ น อกประเทศ ยิ่ ง ช่ ว งหลั ง สงครามไทยต้ อ งพบกั บ การขาดแคลนสิ น ค้ า และเงิ น เฟ้ อ
ช่วงเวลานี้เป็นช่วงที่ทหารเริ่มก้าวขึ้นมาอีกครั้งอย่างช้า ๆ
คาเตือนของทูตอังกฤษ “เซอร์ โจเซีย ครอสบี”้
• “ถ้าไม่จ่ากัดอ่านาจทหาร องค์กรทหารจะขัดขวางพัฒนาการของ
ประชาธิปไตยซึ่งก่าลังจะเจริญงอกงาม”

• ตั้ง แต่ 2475 เป็ น ต้ น มา จอมพล ป. ได้ เ ข้ า มามี บ ทบาทในการ


เมืองไทยในการท่ารัฐประหารถึง 2 ครั้ง การสกัดกั้นไม่ให้ทหารเข้า
มายุ่งการเมืองจึงเป็นเรื่องยาก ท่าให้พวกเสรีนิยมจึงมีอายุงานสั้น ๆ
บางครั้งถูกจี้ให้ลาออก ซึ่งการรัฐประหารที่ส่าคัญที่โด่งดังที่สุดใน
ประวัติศาสตร์ไทย คือ การรัฐประหารปี 2490 เป็นจุดเริ่มต้นของ
การปกครองโดยทหารซึ่งยาวนานกว่า 25 ปี จงถึง พ.ศ. 2516
การเสื่อมอานาจของพวกเสรีนิยม
• ประการที่ 1
- ทหารเป็นองค์กรที่มีอ่านาจ การจัดการดีกว่า พลเรือน มีวินัย และอาวุธ จึงท่าให้อ่านาจทางการ
เมืองในแง่นี้ตรงกับค่าว่า “อ่านาจทางการเมืองมาจากปลายกระบอกปืน ” USA ไม่สามารถคุม
อ่านาจของทหารไทยได้ ฝ่ายเสรีนิยมซึ่งมีคนสนับสนุนน้อย เพราะความตื่นตัวทางการเมืองของ
ประชาชนมีน้อย นอกจากนี้สถานภาพของทหารยังถูกหนุนโดยศาลฎีกาตัดสินปล่อยตัวจอมพล
ป. ได้กลับมามีอ่านาจอีกครั้ง
การเสื่อมอานาจของพวกเสรีนิยม
• ประการที่ 2
- มรสุมหนักที่ท่าให้ฝ่ายเสรีนิยมเสียเปรียบคือ กรณีการสวรรคตของ รัชกาลที่ 8 ท่าให้
การเมืองร้อนแรง และอ่านาจตกต่่า เหตุการณ์ดังกล่าวถูกใช้เป็นเครื่องมือต่อต้านนายปรีดี
ถูกสงสัยว่าเกี่ยวข้องกับการปลงพระชนม์ในหลวง
การเสื่อมอานาจของพวกเสรีนิยม
• ประการที่ 3
- ปัญหาทางเศรษฐกิจซึ่งเกิดจากสงคราม เช่น เงินเฟ้อ การขาดแคลนสินค้าอุปโภค และ
บริโภค การฉ้อราษฎร์บังหลวง การค้าก่าไรเกินควร ปัญหาทั้งหมดนี้เป็นเรื่องยากที่ฝ่ายเสรีนิยมจะ
แก้ไขปัญหาและท่าการฟื้นฟูให้เศรษฐกิจดีในช่วงเวลาอันสั้นย่อมเป็นไปได้ยาก จึงเป็นเรื่องธรรมดา
ที่ท่าให้ฝ่ายตรงข้าม คือ ทหาร จะฉวยโอกาสล้มรัฐบาลนายปรีดี เพื่อปูทางขึ้นมาครองอ่านาจ
สยามแพ้สงครามโลก ครั้งที่ 2จอมพลป.พิบูลสงคราม ลาออก

นายควง อภัยวงศ์ ขึ้นเป็น นรม.

ได้ประกาศสันติภาพกับฝ่ายสัมพันธมิตร (โมฆะต่อญี่ปุ่น)
16 สิงหาคม 2488 จากวันรุ่งขึ้นจึงลาออก

นายทวี บุญยเกตุขึ้นเป็น นรม.


เปลี่ยน “ไทย” เป็น “สยาม”

รอ มรว.เสนีย์ ปราโมช มาเป็น นรม.


มรว.เสนีย์ ปราโมช ขึ้นเป็น นรม.

แก้สถานการณ์บ้านเมืองหลังแพ้สงคราม

มีการร่าง รธน. 2489 เกิดพรรคการเมืองต่างๆ

ปรีดี พนมยงค์ ได้รับการเลือกตั้งขึ้นเป็น นรม.


ปรีดี พนมยงค์ ได้รับการเลือกตั้งขึ้นเป็น นรม.

เกิดเหตุการณ์สวรรคต รัชกาลที่ 8

ปรีดี พนมยงค์ ลาออก

ถวัลย์ ธารงนาวาสวัสดิ์ (นายกลิ้นทอง) ขึ้นเป็น นรม.ทหารเรือ


คนแรกและคนเดียวจนถึงปัจจุบัน ที่ได้ดารงตาแหน่ง
นายกรัฐมนตรี
รัฐประหาร ปี พ.ศ. 2490
• รัฐประหารน่าโดย 1.พันเอกหลวงกาจสงคราม และ2.พลโทผิน
ชุ ณ หะวั ณ ผู้ ว างแผนคื อ 3.พั น เอกเผ่ า ศรี ย านนท์ และ
4.พันเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์
• การรัฐประหารครั้งนี้ส่งผลให้จอมพล ป. ได้กลับมามีอ่านาจอีก
ครั้ ง ในเวลาต่ อ มา หลั ก ของการรั ฐ ประหารมี อ ยู่ ว่ า การยึ ด 1 2
อ่านาจต้องสมเหตุสมผล มีความชอบธรรม ดังนั้น ทหารที่ยึด
อ่านาจ จึงให้นายควง อภัยวงศ์ ให้เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ต่อมา
นายควง ก็โดนบีบให้ออกจากต่าแหน่ง เป็นเวลา 6 เดือน
• ช่วงนี้ทหารมีอ่านาจ นายปรีดีซึ่งพัวพันกับคดีลอบปลงพระชนม์
ร.8 ถูกบีบให้หนีออกนอกประเทศ
3 4
8 พฤศจิกายน 2490 พลโทผิน ชุณหะวัณ ก่อรัฐประหาร
นายควง อภัยวงศ์ ขึ้นเป็น นรม.
มีการเลือกตั้งใหม่ พรรคประชาธิปัตย์ชนะ
นายควง อภัยวงศ์ ขึ้นเป็น นรม. อีกครั้ง
กลุ่มนายทหารบังคับให้ลาออก
จอมพลป.
กลุ่มนายทหารบั
พิบูลสงครามขึ
งคับให้้นลเป็
าออก
น นรม.
• นายปรีดีแอบเข้าประเทศและพยายามท่ารัฐประหาร โดยอาศัยการสนับสนุนของกองทัพเรือ และพรรคพวก
เสรีไทย
- ภายหลังก่อกบฏแมนฮัตตันของ นายปรีดี ที่ล้มเหลว ยิ่งเพิ่มอ่านาจให้กับคณะรัฐประหารยิ่งขึ้น
เนื่องจากจอมพล ป. เป็นที่นิยมของ USA ท่าให้ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาคณะรัฐประหารสามารถท่าลายอ่านาจฝ่าย
ตรงข้ามทุกกลุ่มได้ แต่ภายหลังจากนี้เป็นการขัดแย้งกันเองภายในกลุ่ม
- จอมพลป. หลังจากนี้เข้ากับฝ่ายตะวันตก เพื่อต่อต้านคอมมิวนิสต์ เช่น การเข้าร่วม SEATO การเข้า
ร่วมกับตะวันตก เพื่อให้ USA สนับสนุนและเพื่อสร้างความชอบธรรมของอ่านาจ ในขณะเดียวกันก็พยายาม
ถ่วงดุลอ่านาจของบุคคลในรัฐบาล เช่น พลต่ารวจเอกเผ่า และจอมพลสฤษดิ์
ในช่วง 25 ปี ระหว่าง 2475-2500 ได้มีรัฐธรรมนูญ 6 ฉบับ มีการเลือกตั้ง 9 ครั้ง
มีการรัฐประหารและการกบฏ 10 ครั้ง ดังนั้นหากคิดเฉลี่ยอาจกล่าวได้ว่า มีรัฐธรรมนูญ 1
ฉบับต่อ 4.1 ปี / มีการเลือกตั้ง 1 ครั้งต่อ 2.7 / และมีการขัดแย้งทางการเมืองในรูปแบบ
ของรัฐประหารหรือการกบฏทุก ๆ 2.5 ปี ทหารกุมอานาจในฐานะนายกรัฐมนตรีถึง 21 ปี
ครึ่ง
รัฐประหาร
วิกฤตการณ์ การปกครองใน
ระบอบเผด็จ
การทหาร

ข้อขัดแย้ง วงจรอุบาทว์ การประกาศใช้


รัฐธรรมนูญ

กระบวนการ
รัฐสภา การเลือกตั้ง
เมื่อเกิดข้อขัดแย้งการหาค่าตอบโดยใช้ก่าลังจึงเป็นวิถีทางสุดท้าย การใช้ก่าลังทหารในการแก้ไข
ปัญหาความขัดแย้ง แสดงให้เห็นถึงการขาดพัฒนาการทางการเมืองในประเทศไทย “รัฐประหาร”
อุปสรรคที่ทาลายเสถียรภาพทางการเมือง ในช่วง 25 ปี (2475-2500)

1. การขัดแย้งกันทางอ่านาจ
2. การขัดแย้งกันในทางนโยบาย
3. การขัดแย้งกันระหว่างพวกกลุ่มเก่าและ
พวกกลุ่มใหม่
4. ข้อขัดแย้งระหว่างทหารด้วยกัน
5. ข้อขัดแย้งระหว่างทหารบกกับต่ารวจ

You might also like