Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

การแยกสารผสม

คือ การทำให้องค์ประกอบของสารแยกตัวออกจากกัน ซึ่งการแยกสารนั้นมีอยู่หลายวิธี จึงต้องเลือก


วิธีที่ง่ายและเหมาะสมในการแยกสาร
1. การระเหยแห้ง
หลักการ: ตัวละลายเป็ นของแข็งที่ละลายอยู่ในตัวทำละลายที่เป็ นของเหลว เมื่อให้ความร้อนกับ
สารละลาย ตัวทำละลายจะระเหยกลายเป็ นไอ
เช่น

2. การกลั่นธรรมดา
หลักการ: แยกสารผสมที่เป็ นของเหลว กับ ของแข็ง โดยการให้ความร้อน อาศัยหลักการของ
จุดเดือด ของสารผสมที่ต่างกัน
ความเหมาะสม: จุดเดือดของสารผสม ต้องต่างกันอย่างน้อย 20 องศา

เช่น ของผสม X,Y


X มีจุดเดือด 100 °C
Y มีจุดเดือด 50 °C
คำถาม
กลั่นธรรมดาได้ไหม

สารใดจะแยกออกมาก่อน

3. การตกผลึก
หลักการ:
 เป็ นการแยกตัวถูกละลายที่เป็ นของแข็งออกจากตัวทำละลายที่เป็ นของเหลว ในสภาพ
สารละลายอิ่มตัว ซึ่งสารที่ต้องการตกผลึกจะละลายได้น้อยในตัวทำละลายที่อุณภูมิปกติ
แต่จะละลายได้ดีที่อุณภูมิสูง
 เมื่อให้ความร้อนกับตัวทำละลาย ตัวถูกละลายจะสามารถละลายได้ในตัวทำละลายได้เพิ่ม
ขึ้น จนกลายเป็ นสารละลายอิ่มตัวที่อุณภูมิสูง แต่เมื่ออุณภูมิของสารละลายลดลง ตัวทถูก
ละลายก็จะตกผลึกแยกออกมาจากสารละลาย

เช่น
การตกผลึกเกลือ, น้ำตาลทราย

4. การสกัดด้วยตัวทำละลาย
หลักการ:
 เป็ นการแยกของผสมที่เป็ นของแข็งออกจากของแข็ง โดยอาศัยความสามารถในการละลาย
ในตัวทำละลาย
เช่น การแยกพิมเสน + เกลือ

5. โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ
หลักการ:
 อาศัยความสามารถในการลาย
อาศัยความสามารถในการดูดซับ

 ถ้าละลายได้ดี ถูกดูดซับได้น้อย
 ถ้าละลายได้ไม่ดี จะถูกดูดซับได้มาก
การคำนณหาค่า Rf

ระยะทางที่สารเคลื่อนที่
Rf=
ระยะทางที่ตัวทำละลายเคลื่อนที่

You might also like