Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 132

โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง สารบัญ

ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สารบัญ

หนา
บทที่ 1 บทนํา 1-1
1.1 ความเปนมา 1-1
1.2 องคประกอบของรายงาน 1-1
บทที่ 2 แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา 2-1
2.1 องคประกอบของแบบจําลอง 2-1
2.2 ขั้นตอนการพัฒนาแบบจําลอง 2-3
2.3 การจัดแบงพื้นที่ยอย 2-5
2.4 การทบทวนขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคม 2-8
2.4.1 จํานวนประชากร 2-8
2.4.2 จํานวนครัวเรือน 2-10
2.4.3 รายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือน 2-12
2.4.4 จํานวนการจางงาน 2-13
2.4.5 จํานวนนักเรียน-นักศึกษา 2-15
2.5 การรวบรวมขอมูลแผนงานโครงการดานการจราจรและขนสงในอนาคต 2-16
2.6 การพัฒนาโครงขายการจราจรและขนสงในแบบจําลอง 2-30
2.7 การปรับปรุงมูลคาเวลาในการเดินทาง 2-31
2.8 การปรับปรุงคาใชจายในการใชรถ 2-32
2.8.1 เครื่องมือที่ใชในการวิเคราะห 2-32
2.8.2 ขอมูลนําเขา 2-33
2.8.3 ผลการปรับปรุงมูลคาใชจายในการใชรถ 2-42
บทที่ 3 การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน 3-1
3.1 แบบจําลองการเกิดการเดินทาง 3-1
3.2 แบบจําลองการกระจายการเดินทาง 3-3
3.3 แบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทาง 3-3
3.4 แบบจําลองการเลือกเสนทางการเดินทาง 3-6
3.5 การปรับเทียบแบบจําลอง 3-7
3.5.1 ปริมาณจราจรผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา 3-7
3.5.2 ปริมาณจราจรที่ใชทางดวน 3-8
3.5.3 ปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา 3-8
3.5.4 ปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานแนวที่กําหนด 3-9
3.5.5 ปริมาณผูใชบริการเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยา 3-11
3.5.6 ปริมาณผูใชบริการเรือโดยสาร 3-12
3.5.7 ปริมาณผูใชบริการรถไฟฟาบีทีเอส 3-12
3.5.8 ปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางของ 3-12
องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ
3.5.9 สรุปผลการปรับเทียบแบบจําลอง 3-13

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 1 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง สารบัญ
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

หนา

บทที่ 4 การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคต 4-1


4.1 ปริมาณความตองการเดินทางปอนาคต 4-1
4.2 สัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางปอนาคต 4-2
4.3 การพัฒนาแบบจําลองสภาพจราจรเพื่อการคาดการณ 4-3

ภาคผนวก ก ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง จําแนกตามพื้นที่ยอยปปจจุบัน

ภาคผนวก ข ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง จําแนกตามพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549

ภาคผนวก ค ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง จําแนกตามพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

ภาคผนวก ง ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง จําแนกตามพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง สารบัญตาราง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สารบัญตาราง

หนา

ตารางที่ 2.4-1 อัตราการเติบโตของจํานวนประชากรภายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-9


ตารางที่ 2.4-2 การคาดประมาณจํานวนประชากรภายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-9
ตารางที่ 2.4-3 แนวโนมของขนาดครัวเรือนเฉลี่ยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-11
ตารางที่ 2.4-4 การคาดประมาณขนาดครัวเรือนเฉลี่ยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-11
ตารางที่ 2.4-5 การคาดประมาณจํานวนครัวเรือนในปอนาคต 2-11
ตารางที่ 2.4-6 มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมระดับภาคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-12
ณ ราคาประจําป พ.ศ. 2543
ตารางที่ 2.4-7 การคาดประมาณรายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือนในเขตกรุงเทพมหานคร 2-12
และปริมณฑล
ตารางที่ 2.4-8 สัดสวนจํานวนการจางงานตอจํานวนประชากร 2-14
ตารางที่ 2.4-9 การคาดประมาณจํานวนการจางงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-14
ตารางที่ 2.4-10 การคาดประมาณจํานวนการจางงานภาคการเกษตรในเขตกรุงเทพมหานคร 2-14
และปริมณฑล
ตารางที่ 2.4-11 การคาดประมาณจํานวนการจางงานนอกภาคการเกษตรในเขตกรุงเทพมหานคร 2-15
และปริมณฑล
ตารางที่ 2.4-12 การคาดประมาณจํานวนการจางงานภาคบริการในเขตกรุงเทพมหานคร 2-15
และปริมณฑล
ตารางที่ 2.4-13 การคาดประมาณจํานวนนักเรียน-นักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร 2-16
และปริมณฑล
ตารางที่ 2.5-1 แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนของกรุงเทพมหานคร 2-17
ตารางที่ 2.5-2 แผนพัฒนาระบบโครงขายทางดวนของการทางพิเศษแหงประเทศไทย 2-20
ตารางที่ 2.5-3 แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-21
ของกรมทางหลวงชนบท
ตารางที่ 2.5-4 แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-22
ของกรมทางหลวง
ตารางที่ 2.5-5 แผนพัฒนาโครงการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานคร 2-23
และปริมณฑล
ตารางที่ 2.6-1 สมมติฐานอัตราคาผานทางสําหรับระบบทางดวน 2-30
ตารางที่ 2.7-1 มูลคาเวลาในการเดินทาง 2-31
ตารางที่ 2.8-1 สรุปคุณลักษณะของโครงขายถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-34
(ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา)
ตารางที่ 2.8-2 ขอกําหนดคุณสมบัติทางดานเทคนิคของยานพาหนะตัวแทน 2-35
ตารางที่ 2.8-3 ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของยานพาหนะตัวแทน 2-36
ตารางที่ 2.8-4 ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของน้ํามันเชื้อเพลิง 2-37
ตารางที่ 2.8-5 ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของน้ํามันหลอลื่น 2-38
ตารางที่ 2.8-6 ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของยางรถยนต 2-39

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง สารบัญตาราง
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

หนา

ตารางที่ 2.8-7 ตนทุนทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของพนักงานประจํารถและการเดินรถ 2-40


ตารางที่ 2.8-8 สรุปขอมูลตัวแปรและพารามิเตอร 2-41
ตารางที่ 2.8-9 ผลการปรับปรุงมูลคาใชจายในการใชรถ (ราคาทางเศรษฐศาสตร) 2-42
ตารางที่ 3.1-1 ปริมาณการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ศึกษาปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) 3-3
ตารางที่ 3.3-1 สัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) 3-6
ตารางที่ 3.4-1 ปริมาณความตองการเดินทางปปจจุบันแยกตามชวงเวลา 3-7
ตารางที่ 3.5-1 ผลการเปรียบเทียบปริมาณจราจรผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา 3-7
ตารางที่ 3.5-2 ผลการเปรียบเทียบปริมาณจราจรที่ใชทางดวน 3-8
ตารางที่ 3.5-3 ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานสะพาน 3-9
ขามแมน้ําเจาพระยา
ตารางที่ 3.5-4 ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานแนวที่กําหนด 3-11
ตารางที่ 3.5-5 ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยา 3-11
ตารางที่ 3.5-6 ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการเรือโดยสาร 3-12
ตารางที่ 3.5-7 เปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถไฟฟาบีทีเอส 3-12
ตารางที่ 3.5-8 เปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางของ 3-13
องคการขนสงมวลชนกรุงเทพ
ตารางที่ 4.1-1 ปริมาณความตองการเดินทางปอนาคต 4-1
ตารางที่ 4.2-1 สัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางปอนาคต 4-2
ตารางที่ 4.2-2 ปริมาณความตองการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะปอนาคต 4-2
ตารางที่ 4.2-3 ปริมาณความตองการเดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคลปอนาคต 4-2

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 4 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง สารบัญรูป
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สารบัญรูป

หนา

รูปที่ 2-1 โครงสรางแบบจําลองสภาพการจราจร 2-2


รูปที่ 2.2-1 แสดงขั้นตอนการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร 2-4
รูปที่ 2.3-1 พื้นที่ยอยในเขตจังหวัดปริมณฑล 2-6
รูปที่ 2.3-2 พื้นที่ยอยในเขตกรุงเทพมหานคร 2-7
รูปที่ 2.4-1 การเปรียบเทียบขอมูลการคาดประมาณจํานวนประชากรที่จัดทําขึ้น 2-10
ในการศึกษาตางๆ
รูปที่ 2.5-1 แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนของกรุงเทพมหานคร 2-24
รูปที่ 2.5-2 แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนของกรุงเทพมหานคร (เพิ่มเติม) 2-25
รูปที่ 2.5-3 แผนพัฒนาระบบโครงขายทางดวนของการทางพิเศษแหงประเทศไทย 2-26
รูปที่ 2.5-4 แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-27
ของกรมทางหลวงชนบท
รูปที่ 2.5-5 แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-28
ของกรมทางหลวง
รูปที่ 2.5-6 แผนพัฒนาโครงการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2-29
รูปที่ 3.1-1 แบบจําลองการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง 3-2
รูปที่ 3.2-1 เสนปริมาณการเดินทาง (Desire Lines) ระหวางกลุมพื้นที่ปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) 3-4
ในพื้นที่ศึกษา
รูปที่ 3.3-1 แบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทาง 3-5
รูปที่ 3.5-1 แนว Screen Lines 3-10

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 5 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


บทที่ 1

บทนํา
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 1
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล บทนํา

บทที่ 1
บทนํา

1.1 ความเปนมา

ตามที่สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ไดวาจางกลุมบริษัทที่ปรึกษา ซึ่งประกอบดวย


บริษัท แพลนโปร จํากัด บริษัท อัลเมค คอรโปเรชั่น และ บริษัท เทสโก จํากัด เปนผูดําเนินการศึกษา
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (BMTA Route
Planning and Scheduling) ตามสัญญาเลขที่ 27/2545 ลงวันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2545 และที่ปรึกษาไดเริ่ม
ปฏิบัติงาน ตามหนังสือแจงใหเริ่มงานของ สนข. เลขที่ 0806/0387 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 แลว
ตั้งแตวันที่ 25 กุมภาพันธ พ.ศ. 2546 ที่ผานมา

รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรนี้เปนรายงานผลการดําเนินงานซึ่งเปนงานสวนหนึ่งของการศึกษา
ในครั้งนี้ ผลการศึกษาที่ไดรับในสวนนี้จะไดแบบจําลองสภาพการจราจรซึ่งใชเปนเครื่องมือในการประเมินผลการ
ปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทางตามที่ที่ปรึกษาจะไดทําการเสนอแนะตอไป

1.2 องคประกอบของรายงาน

รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรนี้ มีองคประกอบของรายงานแบงออกเปนบทตางๆ ดังนี้

บทที่ 1 บทนํา

บทที่ 2 แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

บทที่ 3 การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

บทที่ 4 การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคต

ภาคผนวก ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทางจําแนกตามพื้นที่ยอยปปจจุบัน

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 1-1 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


บทที่ 2

แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

บทที่ 2
แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ในการศึกษาคาดการณสภาพการจราจรในอนาคต ที่ปรึกษาจะทําการศึกษาโดยการประยุกตใชแบบจําลอง
สภาพการจราจรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่พัฒนาขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2544 เพื่อใชในโครงการศึกษา
แผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ตอเนื่อง (Mass Transit: Urban Rail
Transportation Master Plan-URMAP) ซึ่งเปนแบบจําลองที่พัฒนาตอเนื่องมาจากโครงการพัฒนารูปแบบจําลอง
และระบบฐานขอมูลจราจร (Urban Transport Database and Model Development Project-UTDM) ของ
สํ า นั ก งานคณะกรรมการจั ด ระบบการจราจรทางบกหรื อ สํ า นั ก งานนโยบายและแผนการขนส ง และจราจร
ในปจจุบัน แบบจําลองดังกลาวนี้ จัดเปนแบบจําลองระดับนโยบาย (Strategic Model) ซึ่งเปนแบบจําลองตอเนื่อง
4 ขั้นตอน (Sequential Models) ไดแก

แบบจําลองการเกิดการเดินทาง (Trip Generation Model)


แบบจําลองการกระจายการเดินทาง (Trip Distribution Model)
แบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทาง (Modal Split Model)
แบบจําลองการเลือกเสนทางการเดินทาง (Traffic Assignment Model)

โดย รูปที่ 2-1 แสดงถึงโครงสรางของแบบจําลองสภาพการจราจรที่พัฒนาขึ้นในโครงการดังกลาว และที่ปรึกษา


จะใชแบบจําลองดังกลาวเปนแบบจําลองพื้นฐานในการพัฒนาเพื่อใชในการศึกษาครั้งนี้

2.1 องคประกอบของแบบจําลอง

องคประกอบที่สําคัญของแบบจําลองสภาพการจราจร ประกอบดวย 2 สวน คือ สวนแรกจะเปนโครงขายระบบ


คมนาคมขนสงซึ่งจะถูกจําลองลงบนคอมพิวเตอรในรูปของ Node และ Link โดย Node จะแทนตําแหนงทางแยก
หรือจุดที่ถนนมีการเปลี่ยนแปลงสภาพทางกายภาพ และ Link จะแทนชวงถนน ขอมูลสําคัญที่ใชในการจําลอง
ระบบโครงขายถนนและทางดวน ไดแก ความยาวถนน ความเร็วอิสระ ความจุถนน อัตราคาผานทาง (กรณี
ที่เปนทางดวน) เปนตน ขณะที่การจําลองระบบขนสงสาธารณะประเภทตางๆ อาทิเชน รถโดยสารประจําทาง
รถไฟฟาขนสงมวลชน ฯลฯ จะจําลองในรูปของ Line โดยขอมูลที่ใชประกอบดวย เสนทาง ความถี่ในการใหบริการ
ความจุการขนสง อัตราคาโดยสาร หนวยงานที่ใหบริการ เปนตน

สวนที่สองจะเปนตารางการเดินทาง (Trip Matrix) ของประชาชนในพื้นที่ศึกษาโดยที่ปรึกษาจะทําการแบงพื้นที่ใน


เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลซึ่งเปนพื้นที่ศึกษาออกเปนพื้นที่ยอย (Zone) และจัดทําขอมูลดานเศรษฐกิจ-
สังคมในแตละพื้นที่ยอย เพื่อทําการคํานวณปริมาณการเกิดการเดินทางและปริมาณการดึงดูดการเดินทาง (Trip
Productions & Attractions) ที่ปศึกษาตางๆ แลวนํามากระจายออกเปนปริมาณการเดินทางระหวางพื้นที่ยอยถึง
พื้นที่ยอยซึ่งจะไดผลลัพธออกมาเปนตารางการเดินทางเพื่อใชในการแจกแจงลงบนระบบโครงขายคมนาคมขนสง
ตอไป

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-1 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


ก. แบบจําลองการเดินทางของคน

แบบจําลองการเกิดการเดินทาง
ขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคม
จําแนกตามระบบพื้นที่ยอย การเกิดการเดินทาง
(Zoning System)
การดึงดูดการเดินทาง

แบบจําลองโครงขายคมนาคมขนสง
แบบจําลองการกระจายการเดินทาง
แบบจําลองโครงขายระบบถน
นและทางดวน

แบบจําลองโครงขาย
ระบบขนสงสาธารณะ แบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทาง

ข. แบบจําลองการขนสงสินคา แบบจําลองการเลือกเสนทาง
การเดินทาง

ขอมูลการวางแผน โครงขายถนนและทางดวน
ความตองการในการขนสงสินคา
ดานการขนสงสินคา ระบบขนสงสาธารณะ

ค. การเดินทางภายนอกพื้นที่ศึกษา

แบบจําลองสภาพการจราจร ปริมาณการเดินทางและขนสง
ระดับประเทศ ภายนอกพื้นที่ศึกษา

รูปที่ 2-1 โครงสรางแบบจําลองสภาพการจราจร


\\cc\c:\project\bmta\model report\thai\fig2-1.vsd
2-2
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.2 ขั้นตอนการพัฒนาแบบจําลอง

รูปที่ 2.2-1 แสดงขั้นตอนในการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรเพื่อใชในการศึกษาครั้งนี้ การดําเนินงาน


เริ่มจากการปรับปรุงขอมูลนําเขาของแบบจําลอง URMAP ทั้งในสวนของระบบโครงขายคมนาคมขนสงและขอมูล
ดานเศรษฐกิจ-สังคมปปจจุบันใหถูกตองสอดคลองกับขอมูลลาสุดที่รวบรวมได จากนั้นนําปริมาณการเดินทาง
ที่จัดทําขึ้นไปแจกแจงลงบนโครงขายคมนาคมขนสงแลวพิจารณาเปรียบเทียบผลที่ไดจากแบบจําลองซึ่งเปน
ปริมาณจราจรบนโครงขายกับขอมูลปริมาณจราจรที่ไดจากการสํารวจและรวบรวมไว ผลที่ไดจากขั้นตอนนี้จะเปน
แบบจํ า ลองสภาพการจราจรป ป จ จุ บั น ที่ ส ามารถจํ า ลองสภาพการจราจรได ถู ก ต อ งใกล เ คี ย งหรื อ มี ค วาม
คลาดเคลื่อนอยูในระดับที่ยอมรับไดซึ่งแบบจําลองนี้จะใชเปนแบบจําลองฐานในการพัฒนาแบบจําลองสภาพ
การจราจรปอนาคตในขั้นตอนถัดไป

สําหรับการพัฒนาแบบจําลองปอนาคตจะเปนการปรับปรุงการคาดประมาณขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคมปอนาคต
รวมทั้ ง ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ แผนงานการพั ฒ นาระบบโครงข า ยคมนาคมขนส ง ในอนาคตล า สุ ด ซึ่ ง รวบรวมได จ าก
หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ ผลที่ไดจากแบบจําลองปอนาคตจะนําไปใชการประเมินผลประโยชนดานการจราจร
และขนสงอันเนื่องมาจากการมีโครงการและการออกแบบดานวิศวกรรมตอไป

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-3 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษาวางแผน
ดานคมนาคมขนสงใน กทม. และปริมณฑลที่ผานมา

ขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคม ขอมูลระบบโครงขาย
ปปจจุบัน การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร คมนาคมขนสงปปจจุบัน
ปปจจุบัน

ขอมูลดานการจราจรและขนสง
ที่ไดจากการสํารวจและรวบรวม
ทําการปรับแกแบบจําลอง

การปรับเทียบแบบจําลอง

ไมยอมรับ

ยอมรับ

แบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน
ที่ผานการปรับเทียบ

ขอมูลการคาดประมาณ
การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร ขอมูลระบบโครงขาย
ดานเศรษฐกิจ-สังคม
ปอนาคต คมนาคมขนสงปอนาคต
ปอนาคต

สภาพการจราจรและขนสงปอนาคตโดยเฉพาะ
ปริมาณจราจรที่คาดวาจะมาใชโครงการ

การประเมินผลประโยชนดานการจราจร
การออกแบบดานวิศวกรรม
และขนสงอันเนื่องมาจากการมีโครงการ

รูปที่ 2.2-1 แสดงขั้นตอนการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร


ar\report\BMTA\Model\fig2.2-1

2-4
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.3 การจัดแบงพื้นที่ยอย

พื้นที่ศึกษาที่ใชในการจัดทําแบบจําลองครอบคลุมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานคร และ 5 จังหวัดปริมณฑล ไดแก


จังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ นครปฐม และสมุทรสาคร โดยมีการจัดแบงออกเปนพื้นที่ยอย
(Zone) ตางๆ จํานวน 584 พื้นที่ยอย และพื้นที่ภายนอกอีก 15 พื้นที่ รวมเปนจํานวนทั้งสิ้น 599 พื้นที่ยอย
รายละเอียดการจัดแบงพื้นที่ยอยแสดงในรูปที่ 2.3-1 และ รูปที่ 2.3-2

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-5 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


448
472

447
473
476 436
437 446
439 445
422 435
438 434
427 444
475 471 426 428
478 433
468 442
477 470 425 432 443
467 431
421 441
397 424 429
466 414 415 423 430 440
469 418
474 465 417 394
395
420 396
464 416 413
419 393
392
412 391
408 411 385
450 452 409 390 389 384
462
461 381
410 406 383
388 387
407
463
2-6

399
404 403 386
451 405 402 401
398 ดูดูรรูปูปขยาย
ขยาย
460

449
453 458
459 457 รูรูปปทีที่่ 2.3-2
2.3-2
456
455
495
337
454 338
371 372
496 366 373
500 335 340 347 375
333 346
343 345 364
501 497 356 370
498 341 344 367
499 353 354 365 369
342 355 376
482 352
505 359 374 377
484 483
350 357 360
485
502 348 378
486 358 368 379
489 494 349 363
351
503 480 479
504 487 361
481 380
488 362
491
490
492
493

รูรูปปทีที่ ่ 2.3-1
2.3-1 พืพื้น้นทีที่ยอ่ยยในเขตจั
อยในเขตจั
งหวังดหวั
ปริดมปริ
ณฑล มณฑล
\\YC\D:\Report\BMTA\Model.doc
163 164
193
162
192 264 265
161 165 187

160 186 191 250


249
185
159 190
166 182 183 266
188 267
189
158
181 184
239 252
155 255
91 156 154 238 251
92 241 202 268
153 199
94 93 157 269
95 240 200
97 152 151 253
96 148 198 256
99 528 242 171
147 201
98 150 534228 197
27 26 526525 168
282 110 172 254 270
285 62 111 540 229 167
292 28 63 64 196
286 15 33 29 65 112 113 245 231
32 30 68 70 67 544 230 173 271
283 175 195
287 17 16 71 114 115 169
288 18 20 31 69 247 248 547232 170 174 194
293 21 3 72 122 116 233 179 259
2224 2 6 73 124 549 234 235 177
284 290 178 180 258
289 294 19 25 1 4 7 8 123 125 257
291 23 9 101103 105 107 554 556
236
237
176 221
57 5 10 132
557 214 217
304 305 59 58 43 34 11 104 106 108 133 220
310 311 315 558 139 140 141
60 44 35 3736 7477 571 109 565 142 222 262 263
61 80 561134 215
326
316
317 49
45 588 40 7681 564 559 138 143
218
260 261
328 306
307 312
314 50 584 41 589 126 127 131 144 145
51
274 55 52 42 128 129 136
137 216 219 223
2-7

327 53 84 130 118 146 205


308 313 272 275 56
329 54 85 87 90 204 593 206
277 86 89 119 207
331 309 273 318 203 594
278 88 120 224 225
330 276 279 121 208 597 209 226
298 320 598 210
332 319 211
280 281 321 212 227
297 213
295 323
301 302 322
296 325

300 324
299

303

2.3-2 พืพื้น้นทีที่ยอ่ยยในเขตกรุ
รูรูปปทีที่ ่ 2.3-2 อยในเขตกรุ งเทพมหานคร
งเทพมหานคร
\\YC\D:\Report\BMTA\Model.doc
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.4 การทบทวนขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคม

ในการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรสําหรับใชในการศึกษาครั้งนี้ ที่ปรึกษาไดทําการปรับปรุงขอมูลดาน
เศรษฐกิจ-สังคมใหมีความทันสมัย ถูกตองและสอดคลองกับขอมูลลาสุดที่รวบรวมไดสําหรับใชเปนขอมูลนําเขา
ในแบบจําลองสภาพการจราจร โดยขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคมที่ทําการปรับปรุงจะเปนตัวแปรหลักสําคัญที่มีผล
ตอปริมาณการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ศึกษา ไดแก

จํานวนประชากร
จํานวนครัวเรือน
รายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือน
จํานวนการจางงาน
จํานวนนักเรียน-นักศึกษา

การปรับปรุงขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคมจะจัดทําในระดับพื้นที่ยอย (Zone) เพื่อทําการคํานวณปริมาณการเกิด


การเดินทางและปริมาณการดึงดูดการเดินทาง (Trip Productions & Attractions) ที่ปศึกษา พ.ศ. 2546 (ปฐาน)
และทําการคาดประมาณไปที่ปศึกษาอนาคต ไดแก ป พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 และ พ.ศ. 2559 ตามลําดับ

รายละเอียดเกี่ยวกับการปรับปรุงขอมูลดานเศรษฐกิจ-สังคมตางๆ มีดังตอไปนี้

2.4.1 จํานวนประชากร

การปรับปรุงขอมูลจํานวนประชากรของกรุงเทพมหานครและจังหวัดปริมณฑล ใชขอมูลจากแหลงขอมูลหลัก 3
แหลง ประกอบดวย

สํามะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2543 กรุงเทพมหานคร และภาคกลาง จัดทําโดยสํานักงาน


สถิติแหงชาติ

การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2568 จัดทําโดยสํานักงานคณะกรรมการ


พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

โครงการการศึกษาแผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ตอเนื่อง
(URMAP)

ที่ปรึกษาไดทําการคาดประมาณจํานวนประชากรในป พ.ศ. 2546 2549 2554 และ 2559 โดยใชขอมูล


จํานวนประชากรที่ไดจากการทําสํามะโนประชากรและเคหะเมื่อป พ.ศ. 2543 เปนขอมูลฐาน และทําการคาด
ประมาณประชากรในปอนาคตโดยใชขอมูลอัตราการเพิ่มของจํานวนประชากรซึ่งเปนตัวเลขการคาดประมาณ
จํานวนประชากรจําแนกตามรายจังหวัด (พ.ศ. 2543-2568) ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ อยางไรก็ตาม เนื่องจากความละเอียดของขอมูลจํานวนประชากรที่ใชในการปรับปรุงอยูใน
ระดับจังหวัด ดังนั้นในการกระจายจํานวนประชากรลงในระดับพื้นที่ยอย ที่ปรึกษาไดทําการกระจายโดยใชสัดสวน
การกระจายตามขอมูลจากแบบจําลอง URMAP

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-8 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.4-1 แสดงอัตราการเติบโตของจํานวนประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่ไดจากการ


คาดประมาณของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และ ตารางที่ 2.4-2 แสดง
ตัวเลขการคาดประมาณจํานวนประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลโดยที่ปรึกษา

ตารางที่ 2.4-1
อัตราการเติบโตของจํานวนประชากรภายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ชวงป ชวงป ชวงป ชวงป


จังหวัด
พ.ศ. 2543-2546 พ.ศ. 2546-2549 พ.ศ. 2549-2554 พ.ศ. 2554-2559
กรุงเทพมหานคร 0.85% 1.00% 0.75% 0.59%
สมุทรปราการ 3.04% 3.30% 3.10% 2.62%
นนทบุรี 6.52% 5.72% 3.91% 3.59%
ปทุมธานี 0.99% 1.89% 3.20% 2.29%
นครปฐม 2.41% 2.33% 1.48% 1.53%
สมุทรสาคร 1.27% 1.75% 2.19% 1.72%
รวม 1.72% 1.91% 1.66% 1.46%
ที่มา : พัฒนาจากขอมูลการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย 2543-2568 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ

ตารางที่ 2.4-2
การคาดประมาณจํานวนประชากรภายในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

หนวย : คน
จังหวัด พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559
กรุงเทพมหานคร 6,355,144 6,519,704 6,718,547 6,975,182 7,182,841
สมุทรปราการ 1,028,401 1,126,673 1,244,025 1,452,698 1,656,224
นนทบุรี 816,614 993,169 1,178,969 1,433,530 1,715,210
ปทุมธานี 677,649 698,179 738,920 867,127 972,397
นครปฐม 815,122 876,338 939,875 1,012,204 1,092,531
สมุทรสาคร 466,281 484,387 510,523 569,633 620,853
รวม 10,159,211 10,698,451 11,330,859 12,310,374 13,240,057

จากการเปรียบเทียบขอมูลจํานวนประชากรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่คาดประมาณขึ้นในการศึกษา
ตางๆ ที่ผานมา จะเห็นไดวา ตัวเลขจํานวนประชากรที่คาดประมาณในการศึกษาครั้งนี้ จะมีคาต่ํากวาการศึกษา
อื่นๆ ที่ผานมา ดังแสดงในรูปที่ 2.4-1 ทั้งนี้เนื่องจากที่ปรึกษาไดทําการปรับลดตัวเลขใหนอยลงเนื่องจากตัวเลข
จํานวนประชากรที่ไดจากการทําสํามะโนประชากรและเคหะเมื่อป พ.ศ. 2543 ซึ่งเปนขอมูลปลาสุดที่รวบรวมไดมี
จํานวนนอยกวาที่การศึกษาอื่นๆ คาดประมาณไวพอสมควร

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-9 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

รูปที่ 2.4-1
การเปรียบเทียบขอมูลการคาดประมาณจํานวนประชากรที่จัดทําขึ้นในการศึกษาตางๆ

20.00

18.00

16.00
จํานวนประชากร (ลานคน)

14.00 UTDM
12.00
TDMC
URMAP
10.00
ITF
8.00
BRPS
6.00

4.00

2.00

-
2538 2541 2542 2543 2544 2546 2549 2554 2559 2564
ป

หมายเหตุ : UTDM = Urban Transport Database and Model Development Project


TDMC = โครงการศูนยขอมูลและแบบจําลองดานการจราจรและการขนสง
URMAP = โครงการการศึกษาแผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ตอเนื่อง
ITF = การศึกษาและออกแบบสิ่งอํานวยความสะดวกในการเชื่อมตอการเดินทาง และการพัฒนาพื้นที่บริเวณ
สถานีรถไฟฟาสายเฉลิมรัชมงคลและสวนตอขยาย
BRPS = โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

2.4.2 จํานวนครัวเรือน

ในการศึกษาครั้งนี้ ที่ปรึกษาไดใชขอมูลจํานวนครัวเรือนและขนาดครัวเรือนเฉลี่ยภายในเขตกรุงเทพมหานครและ
ปริมณฑลในป พ.ศ. 2543 เปนปฐานในการคาดประมาณ โดยขอมูลดังกลาวไดมาจากรายงานสํามะโนประชากร
และเคหะ พ.ศ. 2543 กรุงเทพมหานคร และภาคกลาง จัดทําโดยสํานักงานสถิติแหงชาติ

สําหรับแนวโนมการเปลี่ยนแปลงของขนาดครัวเรือนเฉลี่ยในปอนาคต ที่ปรึกษาใชสมมติฐานการเปลี่ยนแปลง
ตามขอมูลจากแบบจําลอง URMAP ดังแสดงในตารางที่ 2.4-3 ซึ่งจะเห็นไดวา ขนาดครัวเรือนเฉลี่ยในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีแนวโนมลดลง จากขอมูลดังกลาวทําใหสามารถคาดประมาณขนาดครัวเรือน
เฉลี่ยในปอนาคตได ดังแสดงในตารางที่ 2.4-4 ขณะที่จํานวนครัวเรือนในปอนาคตคํานวณไดจากการนํา
จํานวนประชากรที่จัดทําขึ้นในขอ 2.4.1 ที่ผานมา หารดวยขนาดครัวเรือนเฉลี่ย ดังแสดงในตารางที่ 2.4-5

สําหรับการกระจายจํานวนครัวเรือนลงในระดับพื้นที่ยอยนั้น ที่ปรึกษาไดทําการกระจายโดยใชสัดสวนจํานวน
ครัวเรือนในแตละพื้นที่ยอยตอจํานวนครัวเรือนทั้งหมดในแตละจังหวัดตามขอมูลจากแบบจําลอง URMAP

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-10 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.4-3
แนวโนมของขนาดครัวเรือนเฉลี่ยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ชวงป ชวงป ชวงป


จังหวัด
พ.ศ. 2543-2549 พ.ศ. 2549-2554 พ.ศ. 2554-2559
กรุงเทพมหานคร -1.10% -1.11% -1.12%
สมุทรปราการ -1.31% -1.06% -1.07%
นนทบุรี -1.34% -1.08% -1.10%
ปทุมธานี -1.38% -1.12% -1.13%
นครปฐม -1.35% -1.10% -0.83%
สมุทรสาคร -1.40% -1.13% -1.15%
ที่มา : โครงการการศึกษาแผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานครและพื้นที่ตอเนื่อง (URMAP) สํานักงาน
คณะกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (สจร.) ธันวาคม พ.ศ. 2544

ตารางที่ 2.4-4
การคาดประมาณขนาดครัวเรือนเฉลี่ยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จังหวัด พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559
กรุงเทพมหานคร 3.60 3.58 3.56 3.52 3.48
สมุทรปราการ 3.20 3.18 3.16 3.12 3.09
นนทบุรี 3.40 3.38 3.35 3.32 3.28
ปทุมธานี 3.40 3.38 3.35 3.32 3.28
นครปฐม 3.80 3.77 3.75 3.71 3.68
สมุทรสาคร 3.40 3.38 3.35 3.31 3.28

ตารางที่ 2.4-5
การคาดประมาณจํานวนครัวเรือนในปอนาคต

จังหวัด พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559
กรุงเทพมหานคร 1,740,024 1,821,035 1,886,999 1,981,091 2,063,253
สมุทรปราการ 318,731 354,405 393,914 464,922 535,804
นนทบุรี 234,365 294,074 351,454 432,023 522,640
ปทุมธานี 196,165 206,771 220,365 261,521 296,622
นครปฐม 209,317 232,184 250,724 273,010 297,145
สมุทรสาคร 136,205 143,469 152,281 171,860 189,485
รวม 2,834,807 3,051,937 3,255,736 3,584,427 3,904,949

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-11 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.4.3 รายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือน

จากการทบทวนขอมูลผลิตภัณฑมวลรวมระดับจังหวัด ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ในชวงป พ.ศ. 2544-2546 ที่ผานมา (รายละเอียดขอมูลแสดงในตารางที่ 2.4-6) พบวา อัตราการ
เติบโตเฉลี่ยผลิตภัณฑมวลรวมระดับภาคตอคนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลมีคาเทากับรอยละ 3.65
ตอป จากคาตัวเลขดังกลาวทําใหสามารถคาดประมาณรายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือนปอนาคตไดโดยใชขอมูล
รายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือน (ราคาป พ.ศ. 2543) ตามขอมูลจากแบบจําลอง URMAP เปนฐานในการ
คํานวณ ดังแสดงในตารางที่ 2.4-7

ตารางที่ 2.4-6
มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมระดับภาคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ณ ราคาประจําป พ.ศ. 2543

รายการ พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2545 พ.ศ. 2546


ผลิตภัณฑมวลรวมระดับภาค (ลานบาท) 2,472,726 2,622,279 2,753,393
จํานวนประชากร (คน) 10,541,558 10,725,072 10,924,931
ผลิตภัณฑมวลรวมระดับภาคตอคน 234,569 244,500 252,028 เฉลี่ย
อัตราการเติบโต (%) 2.80 4.23 3.08 3.65
ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

ตารางที่ 2.4-7
การคาดประมาณรายไดเฉลี่ยตอเดือนของครัวเรือนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

หนวย : บาทตอครัวเรือนตอเดือน (ราคาคงที่ป พ.ศ. 2546)


จังหวัด พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559
กรุงเทพมหานคร 21,514 23,451 28,680 34,097
สมุทรปราการ 15,584 17,035 20,821 24,704
นนทบุรี 27,804 30,517 37,291 44,237
ปทุมธานี 18,266 20,135 24,866 29,875
นครปฐม 15,611 17,298 21,536 26,164
สมุทรสาคร 13,422 14,842 18,291 21,908

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-12 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.4.4 จํานวนการจางงาน

ขอมูลจํานวนการจางงานสามารถแบงออกไดเปน 3 ภาคการผลิตหลัก คือ ภาคเกษตรกรรม (ภาคปฐมภูมิ)


นอกภาคเกษตรกรรม (ภาคทุติยภูมิ) และภาคบริการ (ภาคตติยภูมิ) ซึ่งแตละภาคการผลิตประกอบดวย
กลุมยอยตางๆ ดังนี้

ภาคเกษตรกรรม ประกอบดวย

เกษตรกรรม การลาสัตว และการปาไม


การประมง
การเหมืองแรและยอยหิน

นอกภาคเกษตรกรรม ประกอบดวย

การอุตสาหกรรม
การไฟฟา ประปา และแยกกาซ
การกอสราง

ภาคบริการ ประกอบดวย

การคาสง คาปลีก
โรงแรม และภัตตาคาร
การขนสง คมนาคม และคลังสินคา
การเงิน การธนาคาร การประกันภัย การคาอสังหาริมทรัพย และการบริการอื่นๆ
การบริหารราชการแผนดิน การบริการสุขภาพและสังคมสงเคราะห การบริการชุมชนสังคมและ
สวนบุคคล

เนื่องจากขอมูลจํานวนการจางงานในป พ.ศ. 2545 ซึ่งไดมาจากกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงานมีความ


ละเอียดในระดับจังหวัด ดังนั้นในการกระจายขอมูลจํานวนจางงานดังกลาวลงในระดับพื้นที่ยอย ที่ปรึกษาไดทํา
การกระจายโดยใชสัดสวนจํานวนการจางงานในแตละพื้นที่ยอยตามขอมูลจากแบบจําลอง URMAP อยางไรก็ตาม
ในการคาดประมาณจํานวนการจางงานในปอนาคตสามารถหาไดจากการนําขอมูลการคาดประมาณจํานวน
ประชากรที่ไดจัดทําขึ้นในขอ 2.4.1 ที่ผานมา คูณกับสัดสวนการจางงานตอจํานวนประชากร ซึ่งแสดงใน
ตารางที่ 2.4-8

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-13 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.4-8
สัดสวนจํานวนการจางงานตอจํานวนประชากร

จังหวัด พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2545 เฉลี่ย


กรุงเทพมหานคร 52% 52% 51% 52%
สมุทรปราการ 76% 70% 69% 72%
นนทบุรี 20% 20% 20% 20%
ปทุมธานี 40% 37% 41% 39%
นครปฐม 20% 19% 21% 20%
สมุทรสาคร 78% 80% 83% 80%
ที่มา : กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน

สําหรับ ตารางที่ 2.4-9 แสดงการคาดประมาณจํานวนการจางงานในปอนาคต โดยตารางที่ 2.4-10 ถึง


ตารางที่ 2.4-12 แสดงการคาดประมาณจําแนกตามภาคการผลิต

ตารางที่ 2.4-9
การคาดประมาณจํานวนการจางงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จังหวัด พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559


กรุงเทพมหานคร 3,297,178 3,463,403 3,595,698 3,702,746
สมุทรปราการ 776,304 892,753 1,042,504 1,188,561
นนทบุรี 195,794 231,322 281,268 336,536
ปทุมธานี 284,384 291,141 341,656 383,133
นครปฐม 185,022 187,476 201,903 217,926
สมุทรสาคร 404,172 410,820 458,386 499,603
รวม 5,142,854 5,476,915 5,921,415 6,328,505

ตารางที่ 2.4-10
การคาดประมาณจํานวนการจางงานภาคการเกษตรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จังหวัด พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559


กรุงเทพมหานคร 10,556 11,088 11,512 11,854
สมุทรปราการ 358 412 481 548
นนทบุรี 152 180 218 261
ปทุมธานี 809 828 972 1,090
นครปฐม 845 856 922 995
สมุทรสาคร 5,477 5,567 6,212 6,770
รวม 18,197 18,931 20,317 21,519

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-14 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.4-11
การคาดประมาณจํานวนการจางงานนอกภาคการเกษตรในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จังหวัด พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559


กรุงเทพมหานคร 1,340,781 1,408,375 1,462,173 1,505,703
สมุทรปราการ 677,475 779,099 909,785 1,037,248
นนทบุรี 104,641 123,629 150,322 179,860
ปทุมธานี 232,387 237,909 279,188 313,081
นครปฐม 141,067 142,938 153,938 166,154
สมุทรสาคร 359,131 365,038 407,303 443,927
รวม 2,855,482 3,056,988 3,362,709 3,645,974

ตารางที่ 2.4-12
การคาดประมาณจํานวนการจางงานภาคบริการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

จังหวัด พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559


กรุงเทพมหานคร 1,945,841 2,043,939 2,122,013 2,185,188
สมุทรปราการ 98,471 113,242 132,237 150,764
นนทบุรี 91,001 107,513 130,728 156,415
ปทุมธานี 51,188 52,404 61,497 68,963
นครปฐม 43,110 43,682 47,043 50,777
สมุทรสาคร 39,564 40,215 44,871 48,906
รวม 2,269,175 2,400,996 2,538,390 2,661,012

2.4.5 จํานวนนักเรียน-นักศึกษา

ในการคาดประมาณการจํานวนนักเรียน-นักศึกษา ที่ปรึกษาทําโดยใชสัดสวนจํานวนนักเรียน-นักศึกษา
ตอจํานวนประชากรในแตละจังหวัดในป พ.ศ. 2546 คูณกับจํานวนประชากร ที่ไดจัดทําขึ้นในหัวขอ 2.4.1 ที่
ผานมา และกระจายจํานวนนักเรียน-นักศึกษาลงบนพื้นที่ยอยตามสัดสวนที่ไดจัดทําไวในแบบจําลอง URMAP
ของประชากรตามลําดับ ผลการคาดประมาณจํานวนนักเรียน-นักศึกษาในระดับจังหวัดในเขตกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล แสดงในตารางที่ 2.4-13

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-15 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.4-13
การคาดประมาณจํานวนนักเรียน-นักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

สัดสวนจํานวน จํานวนนักเรียน-นักศึกษา
จังหวัด นักเรียนตอ
พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559
ประชากร (รอยละ)
กรุงเทพมหานคร 35.6 2,322,948 2,391,803 2,483,165 2,557,091
สมุทรปราการ 19.0 214,004 236,365 276,013 314,683
นนทบุรี 17.1 169,450 201,604 245,134 293,301
ปทุมธานี 28.1 195,918 207,637 243,663 273,244
นครปฐม 25.4 222,367 238,728 257,100 277,503
สมุทรสาคร 16.7 80,751 85,257 95,129 103,683
รวม 3,205,438 3,361,394 3,600,204 3,819,505

2.5 การรวบรวมขอมูลแผนงานโครงการดานการจราจรและขนสงในอนาคต

ที่ ป รึ ก ษาได ทํ า การรวบรวมข อ มู ล ล า สุ ด เกี่ ย วกั บ แผนงานโครงการด า นการจราจรและขนส ง ในอนาคตจาก


หนวยงานภาครัฐตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใชเปนขอมูลในการปรับปรุงโครงขายคมนาคมขนสงของแบบจําลองสภาพ
การจราจรปอนาคต หนวยงานที่ที่ปรึกษาไดทําการรวบรวมขอมูลไว ไดแก

กรุงเทพมหานคร
การทางพิเศษแหงประเทศไทย
กรมทางหลวงชนบท
กรมทางหลวง
การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย
การรถไฟแหงประเทศไทย

โดยรายละเอียดแผนงานโครงการดานการจราจรและขนสงของหนวยงานตางๆ แสดงไวใน ตารางที่ 2.5-1 ถึง


ตารางที่ 2.5-5 และ รูปที่ 2.5-1 ถึง รูปที่ 2.5-6 ตามลําดับ

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-16 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.5-1
แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนของกรุงเทพมหานคร

ลําดับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ภายหลังป


รายชื่อโครงการ
ที่ 2545 2549 2554 2559 2564 พ.ศ. 2564
โครงการที่ดําเนินการเสร็จสิ้น
1 โครงการปรับปรุงซอยนานา 9 9 9 9 9 9
2 โครงการกอสรางสะพานพระรามที่ 8 9 9 9 9 9 9
3 โครงการกอสรางถนนนราธิวาสราชนครินทร 9 9 9 9 9 9
4 โครงการถนนเหนือ-ใต 9 9 9 9 9 9
5 โครงการตัดถนนเชื่อมระหวางถนนอรุณอัมรินทร- 9 9 9 9 9 9
ถนนประชาธิปก
6 โครงการกอสรางปรับปรุงถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 9 9 9 9 9 9
(ตอเชื่อมถนนสุขมุ วิท 77-ถนนสุขุมวิท 103)
7 โครงการกอสรางถนนอุทยาน 9 9 9 9 9 9
8 โครงการกอสรางถนนเอกมัย-รามอินทรา 9 9 9 9 9 9
9 โครงการกอสรางถนนรามคําแหง-ถนนพัฒนาการ 9 9 9 9 9 9
10 โครงการกอสรางถนนรามคําแหง-ถนนศรีนครินทร 9 9 9 9 9 9
11 โครงการถนนพระรามที่ 2-สุขสวัสดิ์ 9 9 9 9 9 9
12 โครงการปรับปรุงถนนสุขุมวิท 77 9 9 9 9 9 9
13 โครงการปรับปรุงถนนพระรามที่ 3 9 9 9 9 9 9
14 โครงการปรับปรุงถนนบางแวก 9 9 9 9 9 9
15 โครงการปรับปรุงถนนสุขุมวิท 105 (ลาซาล) 9 9 9 9 9 9
16 โครงการปรับปรุงถนนสรงประภา 9 9 9 9 9 9
17 โครงการปรับปรุงขยายถนนรามคําแหง 9 9 9 9 9 9
(วงแหวนตะวันออก-สุวินทวงศ)
18 โครงการปรับปรุงถนนเลียบคลองทวีวัฒนา 9 9 9 9 9 9
19 โครงการขยายถนนนิมิตรใหม 9 9 9 9 9 9
20 โครงการกอสรางปรับปรุงถนนเจาคุณทหาร 9 9 9 9 9 9
21 โครงการกอสรางปรับปรุงถนนพุทธบูชา 9 9 9 9 9 9
22 โครงการปรับปรุงถนนกําแพงเพชร 2 9 9 9 9 9 9
23 โครงการกอสรางปรับปรุงถนนหลวงแพง 9 9 9 9 9 9
24 โครงการปรับปรุงถนนฉลองกรุง 9 9 9 9 9 9
โครงการตามแผนพัฒนา
25 โครงการปรับปรุงถนนประชารวมใจ 9 9 9 9 9
26 โครงการปรับปรุงถนนหทัยราษฎร 9 9 9 9 9
27 โครงการกอสรางขยายถนนเชื่อมถนนจันทรุเบกษา- 9 9 9 9 9
ถนนสายไหม
28 โครงการกอสรางเชื่อมถนนพหลโยธิน-ถนนลาดปลา 9 9 9 9 9
29 โครงการปรับปรุงถนนบางขุนเทียน 9 9 9 9 9
30 โครงการกอสรางถนนเลียบคลองบางเขน 9 9 9 9 9

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-17 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.5-1 (ตอ)


แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนของกรุงเทพมหานคร
ลําดับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ภายหลังป
รายชื่อโครงการ
ที่ 2545 2549 2554 2559 2564 พ.ศ. 2564
โครงการตามแผนพัฒนา
31 โครงการตัดเชื่อมซอยอาภาภิรมย-ซอยสตรีวิทยา 2 9 9 9 9 9
32 โครงการจตุรทิศตะวันออก 9 9 9 9 9
33 โครงการตัดเชื่อมถนนวิทยุ-ถนนรัชดาภิเษก 9 9 9 9 9
34 โครงการกอสรางถนนพระรามที่ 2 ตัดใหม 9 9 9 9 9
35 โครงการเชื่อมถนนสุขสวัสดิ์-ถนนราษฎรบูรณะ 9 9 9 9 9
36 โครงการเชื่อมถนนสุขสวัสดิ์ (บริเวณซอยสุขสวัสดิ์ 27- 9 9 9 9 9
ถนนพุทธบูชา)
37 โครงการถนนเลียบคลองเปรมประชากร 9 9 9 9 9
38 โครงการถนนรามคําแหง-เคหะรมเกลา 9 9 9 9 9
39 โครงการถนนรามอินทรา-ถนนรัตนโกสินทรเชื่อมถนน 9 9 9 9 9
ลาดปลาเคา
40 โครงการกอสรางถนนรามอินทรา-ถนนพัฒนาชนบท 9 9 9 9 9
41 โครงการตอเชื่อมถนนวิภาวดี-ถนนพหลโยธิน 9 9 9 9 9
42 โครงการปรับปรุงถนนเชื่อมสัมพันธจากถนนสุวินทวงศ- 9 9 9 9 9
ถนนเลียบวารี
43 โครงการปรับปรุงถนนพระยาสุเรนทร 9 9 9 9 9
44 โครงการปรับปรุงถนนคูบอน 9 9 9 9 9
45 โครงการปรับปรุงถนนบางบอน 3 9 9 9 9 9
46 โครงการปรับปรุงถนนบางบอน 5 9 9 9 9 9
47 โครงการกอสรางถนนอุดมสุข-ถนนวงแหวนรอบนอก 9 9 9 9 9
ดานตะวันออก
48 โครงการกอสรางถนนพุทธบูชา-ถนนวงแหวนรอบนอก 9 9 9 9 9
ดานใต
49 โครงการกอสรางถนนพรานนก-ถนนพุทธมณฑลสาย 4 9 9 9 9 9
50 โครงการตัดถนนเชื่อมระหวางถนนสาธุประดิษฐ- 9 9 9 9 9
ถนนพระรามที่ 3
51 โครงการปรับปรุงตอขยายถนนกรุงเทพกรีฑา 9 9 9 9 9
52 โครงการกอสรางปรับปรุงถนนพุทธมณฑลสาย 1 9 9 9 9
53 โครงการกอสรางปรับปรุงถนนพุทธมณฑลสาย 3 9 9 9 9
54 โครงการกอสรางถนนสุขุมวิท 103-ถนนพัฒนาการ 9 9 9 9 9
55 โครงการตัดถนนเชื่อมถนนพหลโยธิน-ถนนรัตนโกสินทร 9 9 9 9 9
-สมโภชน
56 โครงการตัดถนนเชื่อมระหวางถนนรัตนโกสินทร 9 9 9 9 9
สมโภชน-ถนนนิมิตรใหม
57 โครงการเชื่อมถนนเอกชัย-ถนนเพชรเกษมบริเวณโคงคอกมา 9 9 9 9 9
58 โครงการทางยกระดับลาดพราว 9 9 9 9

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-18 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.5-1 (ตอ)


แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนของกรุงเทพมหานคร
(เพิ่มเติมตามมติ คจร. วันที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2547)

ลําดับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ภายหลังป


รายชื่อโครงการ
ที่ 2545 2549 2554 2559 2564 พ.ศ. 2564
โครงการสะพานขามทางแยก 15 แหง
1 โครงการสะพานขามทางแยกถนนศรีอยุธยา-ถนนพญาไท 9 9 9 9 9
2 โครงการสะพานขามทางแยกถนนศรีอยุธยา- 9 9 9 9 9
ถนนพระรามที่ 6
3 โครงการสะพานขามทางแยกถนนพระรามที่ 3- 9 9 9 9 9
ถนนสาธุประดิษฐ
4 โครงการสะพานขามทางแยกถนนพระรามที่ 3- 9 9 9 9 9
ถนนรัชดาภิเษก (ใตสะพานพระราม 9)
5 โครงการสะพานขามทางแยกถนนพระรามที่ 3- 9 9 9 9 9
ถนนนราธิวาสราชนครินทร
6 โครงการสะพานขามทางแยกถนนพระรามที่ 3- 9 9 9 9 9
ถนนสาธุประดิษฐตัดใหม-ถนนวงแหวนอุตสาหกรรม
7 โครงการสะพานขามทางแยกถนนพระรามที่ 3- 9 9 9 9 9
ถนนเจริญราษฎร
8 โครงการสะพานขามทางแยกถนนบางขุนเทียน- 9 9 9 9 9
ถนนพระรามที่ 2
9 โครงการสะพานขามทางแยกถนนเอกชัย-ถนนบางบอน 1- 9 9 9 9 9
ถนนบางขุนเทียน
10 โครงการสะพานขามทางแยกถนนดินแดง- 9 9 9 9 9
ถนนประชาสงเคราะห (โบสถแมพระ)
11 โครงการสะพานขามทางแยกถนนสุขสวัสดิ์- 9 9 9 9 9
ถนนพระรามที่ 2
12 โครงการสะพานขามทางแยกถนนพระรามที่ 4-ซอย 9 9 9 9 9
สุขุมวิท 42 (กลวยน้ําไท)
13 โครงการสะพานขามทางแยกถนนพระรามที่ 4- 9 9 9 9 9
ถนนเกษมราษฎร-ซอยสุขุมวิท 26
14 โครงการสะพานขามทางแยกถนนฉลองกรุง-ถนนสุวินทวงศ 9 9 9 9 9
15 โครงการสะพานขามทางแยกถนนราชวิถี-ถนนพระรามที่ 6 9 9 9 9 9
16 โครงการสะพานขามแมน้ําเจาพระยาบริเวณแยก 9 9 9 9
17 โครงการสะพานขามแมน้ําเจาพระยาบริเวณทาดินแดง 9 9 9 9
18 โครงการสะพานขามแมน้ําเจาพระยาบริเวณสี่พระยา 9 9 9 9
19 โครงการสะพานขามแมน้ําเจาพระยาบริเวณถนนจันทน 9 9 9 9

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-19 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.5-2
แผนพัฒนาระบบโครงขายทางดวนของการทางพิเศษแหงประเทศไทย

ลําดับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ภายหลังป


รายชื่อโครงการ
ที่ 2545 2549 2554 2559 2564 พ.ศ. 2564
โครงการที่ดําเนินการเสร็จสิ้น
1 ทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ระบบทางดวนขั้นที่ 1) 9 9 9 9 9 9
2 ทางพิเศษศรีรัช (ระบบทางดวนขั้นที่ 2) 9 9 9 9 9 9
3 ทางพิเศษฉลองรัช (รามอินทรา-อาจณรงค) 9 9 9 9 9 9
4 ทางพิเศษบูรพาวิถี (บางนา-ชลบุรี) 9 9 9 9 9 9
5 ทางพิเศษอุดรรักยา (บางปะอิน-ปากเกร็ด) 9 9 9 9 9 9
โครงการตามแผนพัฒนา
6 โครงการระบบทางดวนขั้นที่ 3 สายเหนือ 9 9 9 9
7 โครงการระบบทางดวนขั้นที่ 3 สายใต (ตอน S1) 9 9 9 9 9
8 โครงการระบบทางดวนขั้นที่ 3 สายใต (ตอน S2) 9 9 9 9
9 โครงการทางดวนสายศรีนครินทร-บางนา- 9 9 9
สมุทรปราการ
10 โครงการระบบทางดวนขั้นที่ 4 9 9 9
(ถนนวงแหวนใต-พระราม 2)
11 โครงการระบบทางดวนขั้นที่ 5 9 9 9
(พระราม 2-เพชรเกษม-นนทบุรี)
12 โครงการทางดวนสายรามอินทรา-วงแหวนรอบนอก 9 9 9 9
13 โครงการทางพิเศษศรีรัช-วงแหวนรอบนอก 9 9 9 9
14 โครงการทางดวนสายทางพิเศษศรีรัช-ดาวคะนอง 9 9 9 9
15 โครงการถนนวงแหวนรอบนอกดานใต 9 9 9 9 9
(บางขุนเทียน-สุขสวัสดิ์)
16 โครงการถนนวงแหวนรอบนอกดานใต 9 9 9 9
(สุขสวัสดิ์-บางนา)

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-20 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.5-3
แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลของกรมทางหลวงชนบท

ลําดับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ภายหลังป


รายชื่อโครงการ
ที่ 2545 2549 2554 2559 2564 พ.ศ. 2564
โครงการที่ดําเนินการเสร็จสิ้น
1 โครงการกอสรางถนนสายแยกตากสิน-เพชรเกษม 9 9 9 9 9 9
2 โครงการกอสรางสะพานขามแมน้ําเจาพระยาบริเวณ 9 9 9 9 9 9
สะพานกรุงเทพ (สะพานพระรามที่ 3)
3 โครงการถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี 9 9 9 9 9 9
4 โครงการถนนเลี่ยงเมืองนนทบุรี-ถนนสนามบินน้ํา 9 9 9 9 9 9
โครงการตามแผนพัฒนา
5 โครงการกอสรางสะพานขามแมน้ําเจาพระยาบริเวณ 9 9 9 9 9
วัดนครอินทร และถนนตอเชื่อมสายติวานนท-
เพชรเกษม-รัตนาธิเบศร
6 โครงการกอสรางสะพานขามแมน้ําเจาพระยาบริเวณ 9 9 9 9 9
หาแยกปากเกร็ดและถนนตอเชื่อม
7 โครงการถนนเลี่ยงเมืองปากเกร็ด 9 9 9 9 9
8 โครงการกอสรางถนนแบริ่ง-ถนนศรีนครินทร 9 9 9 9 9
9 โครงการกอสรางถนนสายตากสิน-เพชรเกษม 9 9 9 9 9
ไปถนนวงแหวนรอบนอก
10 โครงการกอสรางถนนพระรามที่ 2-ถนนนครเขื่อนขันธ 9 9 9 9
11 โครงการกอสรางถนนวงแหวนอุตสาหกรรม 9 9 9 9 9
12 โครงการปรับปรุงถนนทางรถไฟสายเกา 9 9 9 9 9

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-21 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.5-4
แผนพัฒนาระบบโครงขายถนนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลของกรมทางหลวง

ลําดับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ภายหลังป


รายชื่อโครงการ
ที่ 2545 2549 2554 2559 2564 พ.ศ. 2564
โครงการที่ดําเนินการเสร็จสิ้น
1 โครงการเชื่อมตอทางดวนดอนเมืองโทลเวยไป 9 9 9 9 9 9
สนามบินดอนเมือง และการกอสรางเสนทางเพิ่มเติม
จากดอนเมืองไปรังสิต
2 โครงการถนนมอเตอรเวยกรุงเทพ-ชลบุรี 9 9 9 9 9 9
3 โครงการถนนวงแหวนรอบนอกดานตะวันตก 9 9 9 9 9 9
4 โครงการถนนวงแหวนรอบนอกดานตะวันออก 9 9 9 9 9 9
5 โครงการขยายถนนสุขุมวิทชวงสําโรง-สมุทรปราการ 9 9 9 9 9 9
6 โครงการปรับปรุงถนนงามวงศวาน 9 9 9 9 9 9
(ชวงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร)
7 โครงการขยายถนนแจงวัฒนะ (ชวงหลักสี่-ปากเกร็ด) 9 9 9 9 9 9
8 โครงการขยายถนนติวานนท 9 9 9 9 9 9
(ชวงนนทบุรี-แคราย-ปากเกร็ด)
9 โครงการปรับปรุงขยายถนนปูเจาสมิงพราย 9 9 9 9 9 9
10 โครงการขยายถนนกิ่งแกว (บางพลี-ลาดกระบัง) 9 9 9 9 9 9
11 โครงการขยายถนนเทพารักษ (ศรีนครินทร-บางพลี) 9 9 9 9 9 9
12 โครงการปรับปรุงขยายถนนลําลูกกา 9 9 9 9 9 9
13 โครงการขยายถนนพระรามที่ 2 9 9 9 9 9 9
(ชวงดาวคะนอง-วงแหวนรอบนอก)
14 โครงการขยายถนนปนเกลา-นครไชยศรี 9 9 9 9 9 9
15 โครงการกอสรางถนนสายเกษตรศาสตร-สุขาภิบาล 1 9 9 9 9 9 9
16 โครงการถนนสายวังนอย-ธัญบุรี-ลําลูกกา 9 9 9 9 9 9
17 โครงการกอสรางถนน Local Road 9 9 9 9 9 9
18 โครงการปรับปรุงขยายถนนพุทธมณฑลสาย 4 9 9 9 9 9 9
19 โครงการดอนเมืองโทลเวย 9 9 9 9 9 9
โครงการตามแผนพัฒนา
20 โครงการมอเตอรเวยสายบางใหญ-บานโปง 9 9 9 9
โครงการปรับปรุงขยายถนนรมเกลา
21
(ลาดกระบัง-มีนบุรี) 9 9 9 9 9
22 โครงการขยายถนนเทพารักษ (บางพลี-บางบอ) 9 9 9 9
23 โครงการถนนครอมคลองประปา 9 9 9 9
24 โครงการทางยกระดับถนนรัตนาธิเบศร-ถนนวิภาวดี- 9 9 9 9 9
ถนนวงแหวนรอบนอกฝงตะวันออก

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-22 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.5-5
แผนพัฒนาโครงการขนสงมวลชนระบบรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล
ลําดับ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ภายหลังป
รายชื่อโครงการ
ที่ 2545 2549 2554 2559 2564 พ.ศ. 2564
โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนสายสีเขียว
โครงการที่ดําเนินการเสร็จสิ้น
1 ชวงหมอชิต-ออนนุช 9 9 9 9 9 9
2 ชวงพระราม 1-สะพานตากสิน 9 9 9 9 9 9
โครงการตามแผนพัฒนา
3 ชวงออนนุช-สําโรง 9 9 9 9 9
4 ชวงสําโรง-สมุทรปราการ 9 9 9 9
5 ชวงสะพานตากสิน-ถนนตากสิน 9 9 9 9 9
6 ชวงถนนตากสิน-ถนนเพชรเกษม 9 9 9 9 9
7 ชวงหมอชิต-ดอนเมือง 9 9 9 9
8 ชวงดอนเมือง-ลําลูกกา 9 9 9
9 ชวงพระราม 1-ปนเกลา 9 9 9 9
โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนสายสีน้ําเงิน
10 ชวงบางซื่อ-หัวลําโพง 9 9 9 9 9
11 ชวงหัวลําโพง-ทาพระ 9 9 9 9
12 ชวงบางหวา-บางแค 9 9 9 9
13 ชวงบางซื่อ-ทาพระ 9 9 9 9
14 ชวงทาพระ-คลองเตย 9 9
15 ชวงบางซื่อ-พระนั่งเกลา 9 9 9 9
16 ชวงพระนั่งเกลา-บางบัวทอง 9 9 9 9
โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนสายสีสม
17 ชวงบางซื่อ-สามเสน 9 9 9 9
18 ชวงสามเสน-ราษฎรบูรณะ 9 9 9 9
19 ชวงบางกะป-มีนบุรี 9 9 9
20 ชวงบางกะป-สามเสน 9 9 9 9
21 ชวงสามเสน-บางบําหรุ 9 9 9 9
22 ชวงบางบําหรุ-สําโรง 9
โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนสายสีแดง
23 ชวงพญาไท-มักกะสัน-สนามบินสุวรรณภูมิ 9 9 9 9
24 ชวงบางซื่อ-พญาไท-หัวลําโพง 9 9 9 9
25 ชวงบางซื่อ-รังสิต 9 9 9 9
26 ชวงหัวลําโพง-ศูนยตากสิน 9 9 9 9
27 ชวงศูนยตากสิน-มหาชัย 9 9 9 9
28 ชวงบางซื่อ-ตลิ่งชัน 9 9 9 9
29 ชวงมักกะสัน-แมน้ํา 9 9 9 9
โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนสายสีเหลือง
30 ชวงลาดพราว-บางกะป 9 9
31 ชวงสําโรง-บางกะป 9

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-23 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

รูปที่ 2.5-1

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-24 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

รูปที่ 2.5-2

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-25 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

รูปที่ 2.5-3

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-26 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

รูปที่ 2.5-4

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-27 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

รูปที่ 2.5-5

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-28 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

รูปที่ 2.5-6

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-29 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.6 การพัฒนาโครงขายการจราจรและขนสงในแบบจําลอง

จากการรวบรวมแผนงานโครงการตางๆ ดานการจราจรและขนสง ที่ปรึกษาไดนําไปปรับปรุงโครงขายใน


แบบจําลอง ซึ่งประกอบดวยโครงขายระบบขนสง 2 ประเภท คือ

โครงขายระบบขนสงทางถนน (Highway Network)


โครงขายระบบขนสงสาธารณะ (Public Transport Network)

ในสวนของโครงขายระบบขนสงทางถนนไดทําการปรับคาผานทางใหเปนปจจุบัน ตามที่แสดงในตารางที่ 2.6-1


โดยทางพิเศษฉลองรัชมีการลดคาผานทางเปน 20 บาทในดานพระราม 9 และดานลาดพราว (สภาพปจจุบัน)

ตารางที่ 2.6-1
สมมติฐานอัตราคาผานทางสําหรับระบบทางดวน

ทางพิเศษ อัตราคาผานทาง (บาท)


1. ทางพิเศษเฉลิมมหานคร 40
2. ทางพิเศษศรีรัช สวน A และ B 40
สวน D 25
นอกเมือง 15
3. ทางพิเศษฉลองรัช 30
4. ทางพิเศษบูรพาวิถี 20 บาท + 1 บาท/กม.
5. ทางดวนขั้นที่ 3 สายเหนือ N1 N2 และ N3* 40
6. ทางดวนขั้นที่ 3 สายใต S1* 0
S2 20
7. ทางดวนศรีรัช-วงแหวนรอบนอก* 40
8. ทางดวนฉลองรัช-วงแหวนรอบนอก* 30
9. ทางดวนศรีนครินทร-บางนา-สมุทรปราการ* 40
10. ทางดวนขั้นที่ 4, 5* 40
11. ถนนวงแหวนรอบนอกดานตะวันออก 30
12. ถนนวงแหวนรอบนอกดานใต* 30
หมายเหตุ : * ใชสําหรับแบบจําลองปอนาคต

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-30 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

สําหรับโครงขายระบบขนสงสาธารณะใชโครงขายระบบขนสงมวลชนเดิมจากโครงการ URMAP และทําการปรับแผน


ดังแสดงในหัวขอ 2.5 ซึ่งทําใหโครงขายระบบขนสงสาธารณะที่ไดพัฒนาในแบบจําลองครอบคลุม

„ ระบบขนสงมวลชนระบบราง
„ เสนทางรถโดยสารองคการขนสงมวลชนกรุงเทพ
„ เสนทางรถโดยสารรวมบริการมินิบัสและไมโครบัส
„ เสนทางรถตูมวลชนในสัมปทานขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ
„ เสนทางรถสัมปทานจังหวัดนนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร และนครปฐม
„ เสนทางรถโดยสารภายในซอย
„ เสนทางเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยา
„ เสนทางเรือดวนเจาพระยา
„ เสนทางเรือดวนคลองแสนแสบ

2.7 การปรับปรุงมูลคาเวลาในการเดินทาง

มูลคาเวลาในการเดินทาง (ราคา ณ ป พ.ศ. 2543) จากโครงการแผนแมบทการขนสงมวลชนระบบรางในเขต


กรุงเทพมหานครและพื้นที่ตอเนื่องไดถูกปรับเปนราคา ณ ป พ.ศ. 2546 โดยประยุกตใชอัตราการขยายตัวเฉลี่ย
ตอปของผลิตภัณฑมวลรวมตอหัว (GPP per capital) ซึ่งมีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 3.37 ตอป

ตารางที่ 2.7-1 แสดงมูลคาเวลา ณ ราคาป พ.ศ. 2546 สําหรับปปจจุบันและปอนาคต

ตารางที่ 2.7-1
มูลคาเวลาในการเดินทาง

หนวย : บาท/คน/ชั่วโมง (ราคาป พ.ศ. 2546)


พ.ศ. 2546 พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2564
ตามลักษณะการครอบครองยานพาหนะ
ไมมียานพาหนะ 30.7 33.2 41.1 49.9 58.8
มีรถจักรยานยนต 1 คัน 32.0 34.8 42.9 52.2 61.5
มีรถยนต 1 คัน 66.1 71.7 88.6 107.7 126.9
มีรถยนตมากกวา 1 คัน 90.5 98.2 121.1 145.0 168.9
ตามคุณลักษณะการใหบริการขนสงสาธารณะ
มาตรฐานสูง 72.7 78.9 97.2 118.3 139.4
มาตรฐานต่ํา 32.7 35.5 43.9 53.3 62.8
ตามประเภทของยานพาหนะ
รถยนต 66.1 71.7 88.6 107.7 126.9
รถจักรยานยนต 32.0 34.8 42.9 52.2 61.5
แท็กซี่ 66.1 71.7 88.6 107.7 126.9
หมายเหตุ : อัตราการขยายตัวเฉลี่ยของผลิตภัณฑมวลรวมตอหัวในเขตกรุงเทพมหานคร ระหวางป พ.ศ. 2543-2546 เทากับรอยละ 3.37
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-31 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.8 การปรับปรุงคาใชจายในการใชรถ (Vehicle Operating Costs)

2.8.1 เครื่องมือที่ใชในการวิเคราะห

ธนาคารโลกไดพ ยายามจัดทําแบบจําลองที่ใชใ นการประเมินโครงการทางด า นถนนมาตั้งแต ป พ.ศ. 2511


(ค.ศ. 1868) แบบจําลองแรกถูกจัดทําขึ้นโดยธนาคารโลกรวมกับหนวยวิจัยแหงสหราชอาณาจักร (Transport
Research Laboratory: TRRL) และ Laboratoire Central des Ponts et Chausses (LCPC) เพื่อศึกษาการ
ออกแบบถนน หลังจากนั้นธนาคารโลกไดวาจางสถาบันเทคโนโลยีแหงแม็ตซาชูเซ็ต (Massachusetts Institute
of Technology: MIT) ทําการทบทวนการศึกษาตางๆ และจัดทําแบบจําลองตามขอมูลที่มีอยูขึ้น ผลที่ไดคือ
แบบจําลองตนทุนทางถนนหรือ Highway Cost Model: HCM (Moavenzadeh, 1971 และ 1972) ซึ่งถือวามี
ความล้ําหนากวาแบบจํา ลองอื่นๆ ในการศึกษาวิเคราะหความสัม พันธระหวางคาใชจายในการกอสรา งและ
บํารุงรักษาถนน (Road Work Costs) และคาใชจายในการใชรถ (Vehicle Operating Costs)

อยางไรก็ตาม แบบจําลองตนทุนทางถนน (HCM) ตองการการวิจัยเพิ่มเติม เพื่อที่จะทําใหแบบจําลองดังกลาว


มีความเหมาะสมมากขึ้นกับสภาพแวดลอมของประเทศกําลังพัฒนา TRRL จึงไดรวมกับธนาคารโลกทําการศึกษา
ในภาคสนามครั้งใหญในประเทศเคนยา เพื่อที่จะวิเคราะหหาการเสื่อมสภาพของถนนที่ราดผิวทางและไมราด
ผิวทาง รวมทั้งปจจัยที่มีผลกระทบตอคาใชจายในการใชรถในประเทศกําลังพัฒนา โดย TRRL ไดใชผลจาก
การศึกษาจัดทําตนแบบราง (Prototype) ของแบบจําลองวิเคราะหการขนสงทางถนน (Road Transport
Investment Model: RTIM) สําหรับประเทศกําลังพัฒนา (Abaynayaka, 1977) และในป พ.ศ. 2518 (ค.ศ. 1976)
ธนาคารโลกไดใหเงินสนับสนุนในการพัฒนาแบบจําลองตอจาก HCM ซึ่งจัดทําโดย MIT ทําใหไดแบบจําลอง
มาตรฐานการออกแบบและบํารุงรักษาถนน (The Highway Design and Maintenance Standards Model: HDM)
รุน (Version) แรก (Harral, 1979)

สําหรับโครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (BMTA
Route Planning and Scheduling Project) นั้น ที่ปรึกษาพิจารณาเห็นวาวิธีการวิเคราะหคาใชจายในการใชรถตาม
แนวทางของ HDM มีความเหมาะสมหลายประการ เนื่องจากผานการวิจัยและพัฒนามาอยางตอเนื่องโดยเฉพาะ
อยางยิ่ง มีการวิจัยเพื่อปรับเทียบแบบจําลองคาใชจายในการใชรถในประเทศไทยโดยตรง (กรมทางหลวง) มี
ความละเอียดครอบคลุมเนื้อหาที่พิจารณาทุกประเด็น มีความนาเชื่อถือและเปนที่ยอมรับทั่วโลก

สําหรับการศึกษาโครงการนี้ ที่ปรึกษาไดเลือกใชโปรแกรม HDM-4 (Highway Development & Management-4)


ซึ่งเปนรุนลาสุดที่นําเขามาในไทยโดยกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม มาใชในการวิเคราะหปรับปรุงมูลคา
ใชจายในการใชรถ

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-32 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.8.2 ขอมูลนําเขา

ขอมูลนําเขาที่ตองการในการปรับปรุงมูลคาใชจายในการใชรถ สามารถจําแนกอยางกวางๆ ไดดังตอไปนี้

คุณลักษณะของโครงขาย

กําหนดขอมูลลักษณะทางกายภาพของถนนหรือโครงขาย จําแนกตามแตละชวงถนนที่มีลักษณะ
คลายคลึงกัน

คุณลักษณะของกลุมยานพาหนะตัวแทน

กําหนดคุณลักษณะของกลุมยานพาหนะตัวแทนที่ตองการวิเคราะหในพื้นที่ศึกษา รวมทั้งตนทุน
ที่เ กี่ย วของ เช น ราคายานพาหนะ ราคาน้ํา มั น เชื้อ เพลิง ราคาน้ํา มัน หล อลื่น ค า จ า งพนั กงาน
ประจํารถ เปนตน

ผลจากการวิเคราะหโดยโปรแกรม HDM-4 ในการศึกษาครั้งนี้ จะมุงเนนผลลัพธดังตอไปนี้

ผลกระทบตอผูใชรถใชถนน (Road User Effects: RUE)

กําหนดตนทุนคาใชจายในการใชรถและมูลคาอุบัติเหตุ

ผลกระทบตอสังคมและสิ่งแวดลอม (Social and Environmental Effect: SEE)

กําหนดผลกระทบของระดับมลพิษจากยานพาหนะและการใชพลังงาน

2.8.2.1 คุณลักษณะของโครงขายถนน

ตารางที่ 2.8-1 แสดงสรุปคุณลักษณะของโครงขายถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล จําแนกตาม


หนาที่และลําดับชั้นของถนน โดยคุณลักษณะของโครงขายถนนดังกลาวเปนการสรุปจากขอมูลลักษณะโครงขาย
จากโปรแกรมศึกษาวิเคราะหแบบจําลองดานการจราจร (TRIPS) ที่พัฒนาเพิ่มเติมจากการศึกษาครั้งนี้

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-33 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-1
สรุปคุณลักษณะของโครงขายถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา)

ความยาว ความเร็วเฉลี่ย ปริมาณจราจรเฉลี่ย


รายการ
(กม.) (กม./ชม.) (PCU) (ADT)
ในเมือง เดินรถ 2 ชองทาง ไปกลับ-2 ชองจราจร 812 7.9 342 5,269
นอกเมือง เดินรถ 2 ชองทาง ไปกลับ-2 ชองจราจร 3,215 27.6 262 4,029
ในเมือง เดินรถ 2 ชองทาง ไปกลับ-มากกวา 2 ชองจราจร 1,929 14.4 1,209 18,605
นอกเมือง เดินรถ 2 ชองทาง ไปกลับ-มากกวา 2 ชอง 1,685 42.1 1,088 16,743
ในเมือง เดินรถทางเดียว 303 10.0 954 14,674
ทางพิเศษในเมือง 660 43.7 2,105 32,388
2 ชองทาง ไปกลับ พรอมถนนคูขนาน 116 50.0 3,202 49,259
ซอยหลัก 39 15.5 323 4,970
ซอยยอย 305 12.3 90 1,382
ที่มา : สรุปจากโปรแกรม TRIPS

2.8.2.2 คุณลักษณะของกลุมยานพาหนะตัวแทน

ในการศึกษานี้ ไดจําแนกกลุมยานพาหนะตัวแทนที่วิเคราะหออกเปน 11 ประเภท ประกอบดวย รถจักรยานยนต


รถยนตนั่งขนาดเล็ก รถยนตนั่งขนาดกลาง รถยนตนั่งขนาดใหญ รถบรรทุกขนาดเล็ก/ปคอัพ รถบรรทุก
ขนาดกลาง รถบรรทุกขนาดใหญ/สิบลอ รถบรรทุกพวง รถโดยสารขนาดเล็ก/มินิบัส รถโดยสารแบบธรรมดา
ขนาดใหญ รถโดยสารปรับอากาศ (ยูโรทู)

ตารางที่ 2.8-2 แสดงขอกําหนดคุณสมบัติทางดานเทคนิคของยานพาหนะตัวแทน

ตารางที่ 2.8-3 แสดงราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของยานพาหนะตัวแทนแตละประเภท

ตารางที่ 2.8-4 แสดงราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของน้ํามันเชื้อเพลิง

ตารางที่ 2.8-5 แสดงราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของน้ํามันหลอลื่น

ตารางที่ 2.8-6 แสดงราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของยางรถยนต

ตารางที่ 2.8-7 แสดงราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของพนักงานประจํารถและการเดินรถ

ตารางที่ 2.8-8 แสดงสรุปพารามิเตอรและตัวแปรทั้งหมดที่ใชสําหรับนําเขาในโปรแกรม HDM-4

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-34 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-2
ขอกําหนดคุณสมบัติทางดานเทคนิคของยานพาหนะตัวแทน
รถจักรยานยนต รถยนตนั่งขนาดเล็ก รถยนตนั่งขนาดกลาง รถยนตนั่งขนาดใหญ รถบรรทุกเล็ก/ปคอัพ รถบรรทุกขนาดกลาง รถบรรทุกขนาดใหญ/สิบลอ รถบรรทุกพวง รถโดยสารขนาดเล็ก/มินิบัส รถโดยสารธรรมดาขนาดใหญ รถโดยสารปรับอากาศ (ยูโร 2)
รายละเอียด
Honda Wave NF 110 T Toyota Soluna Vios 1.5E Toyota Altis 1.6J A/T Toyota Camry 2.4Q Isuzu DMAX Spacecab 3.0 SLX Isuzu NPR71 PY 52A Hino FL1 JNPA Isuzu GXZ 23KZ Isuzu NQR70 RY 52A Isuzu MT111QB M-B OHL 1829/4X2/6300
ขนาดและน้ําหนัก
ความยาวทั้งหมด (มม.) 1,870 4,285 4,530 4,825 5,020 6,610 8,525 6,550 7,320 11,910 11,775
ความกวางทั้งหมด (มม.) 715 1,695 1,705 1,810 1,720 1,995 2,450 2,400 1,995 2,470 2,500
ความสูงทั้งหมด (มม.) 1,050 1,435 1,480 1,500 1,640 2,220 2,795 3,015 2,300 3,060 3,009
ระยะฐานลอ (มม.) 1,208 2,500 2,600 2,720 3,050 3,815 4,780 3,950 4,175 6,000 6,300
ความกวางชวงลอหนา/หลัง (มม.) - 1,455/1,430 1,480/1,460 1,550/1,535 1,460/1,460 1,680/1,525 1,920/1,855 1,970/1,855 1,680/1,650 1,960/1,855 n/a
ระดับต่ําสุดจากพื้น (มม.) 150 143 160 160 195 190 255 240 210 240 240
พื้นที่ตานทานลม (ม.2) 0.80 2.19 2.25 2.43 2.49 4.05 6.22 6.66 4.17 6.97 6.92
น้ําหนักรถเปลาไมรวมตัวถัง (กก.) 93.5 970 1,160 1,460 1,545 2,400 6,160 6,630 2,640 8,500 8,150
น้ําหนักบรรทุกรวม (กก.) 194 1,520 1,710 2,010 2,650 8,400 21,000 38,000 9,500 13,500 17,600
เครื่องยนต
รุน - 1NZ-FE 3ZZ-FE 2AZ-FE 4JH1-TMAX 4HG 1-T J08C-TS 6SD1-T 4HE1-T Isuzu 6 BD 1 M-B OM 441 LA (Euro II)
แบบ 1 ลูกสูบ 4 จังหวะ เพราราวลิ้น 4 สูบเรียง เพราราวลิ้นคู 4 สูบเรียง เพราราวลิ้นคู 4 สูบเรียง เพราราวลิ้นคู 4 สูบเรียง เพราราวลิ้น เทอรโบ 4 สูบเรียง เพราราวลิ้น เทอรโบ 6 สูบเรียง เพราราวลิ้น เทอรโบ 6 สูบเรียง เพราราวลิ้น เทอรโบ 4 สูบเรียง เพราราวลิ้น วี 6 เทอรโบ วี 6 เทอรโบ+อินเตอร
(OHC) 16V VVT-i 16V VVT-i 16V VVT-i เทอรโบ+อินเตอร
ปริมาตรกระบอกสูบ (ซีซี) 109 1,496 1,598 2,362 2,999 4,570 7,961 9,839 4,751 5,785 10,964
ความกวางกระบอกสูบ X ชวงชัก (มม.) 50.0 x 55.5 75.0 x 84.7 79.0 x 81.5 88.5 x 96.0 95.4 x 104.9 115 x 110 114 x 130 120 x 145 110 x 125 102 x 118 128 x 142
แรงมาสูงสุด EEC Net 80 (109)/6,000 81 (110)/6,000 112 (152)/5600 88/3,800 89/3,200 156 (212)/2,500 199 (270)/2,200 98/2,800 110 (160)/3,000 213 (290)/2,100
[กิโลวัตต (PS)/รอบตอนาที]
แรงบิดสูงสุด EEC Net 142 (14.5)/4,200 150/3,800 218/3800-4200 245/2,000 322/1,800 661/1,500 1,000/1,500 355/1,200-2,100 1,250/2,000 1,250/1,100
(นิวตัน-เมตร/รอบตอนาที)
ระบบจายเชื้อเพลิง CDI หัวฉีดอิเล็คโทรนิคส (EFI) หัวฉีดอิเล็คโทรนิคส (EFI) หัวฉีดอิเล็คโทรนิคส (EFI) ไดเร็คอินเจคชั่น ไดเร็คอินเจคชั่น ไดเร็คอินเจคชั่น ไดเร็คอินเจคชั่น ไดเร็คอินเจคชั่น ไดเร็คอินเจคชั่น ไดเร็คอินเจคชั่น
ความจุถังน้ํามัน (ลิตร) 4 45 50 70 76 100 200 200 100 140 200
เชื้อเพลิงที่ใช เบนซินไรสารตะกั่ว RON 91 ขึ้นไป เบนซินไรสารตะกั่ว RON 95 ขึ้นไป เบนซินไรสารตะกั่ว RON 95 ขึ้นไป เบนซินไรสารตะกั่ว RON 95 ขึ้นไป ดีเซล ดีเซล ดีเซล ดีเซล ดีเซล ดีเซล ดีเซล
ระบบสงกําลัง
คลัตช โรตารี่ (เกียรวน) 4 ระดับ อัตโนมัติ 4 สปด Super ECT อัตโนมัติ 4 สปด Super ECT อัตโนมัติ 4 สปด Super ECT แบบแหงแผนเดียว/สปริงไฮโดรลิค แบบแหงแผนเดียว/สปริงไฮโดรลิค แบบแหงแผนเดียว/สปริงไฮโดรลิค แบบแหงแผนเดียว/สปริงไฮโดรลิค แบบแหงแผนเดียว/สปริงไฮโดรลิค แบบแหงแผนเดียว/สปริง ไฮโดรลิค/ทอรกคอนเวอรทเตอร
อัตราทดเกียร 1 1 2.847 1 4.005 1 3.943 1 4.008 1 5.251 1 8.189 1 6.570 1 4.987 1 7.849 1 3.430
2 2 1.552 2 2.208 2 2.197 2 2.301 2 3.021 2 5.340 2 4.780 2 2.870 2 4.504 2 2.010
3 3 1.000 3 1.425 3 1.413 3 1.427 3 1.684 3 3.706 3 3.530 3 1.684 3 2.486 3 1.420
4 4 0.700 4 0.981 4 1.020 4 1.000 4 1.000 4 1.936 .. .. 4 1.000 4 1.454 4 1.000
5 - 5 - 5 - 5 0.828 5 0.728 5 1.341 8 0.740 5 0.728 5 1.000
6 1.000
ถอยหลัง 2.343 ถอยหลัง 3.272 ถอยหลัง 3.145 ถอยหลัง 3.651 ถอยหลัง 4.774 ถอยหลัง 7.142 ถอยหลัง 9.440 ถอยหลัง 4.774 ถอยหลัง 8.066 ถอยหลัง 4.840
อัตราทดเฟองทาย 3.85 2.821 2.740 3.909 5.125 4.875 5.125 6.143 5.571 3.910
ระบบพวงมาลัย - แบบยุบตัวได แร็คแอนดพิเนียน พรอมเพาเวอร ลูกปนหมุนวน มีระบบไฮโดรลิคชวยผอนแรง
รัศมีวงเลี้ยวแคบสุด (ม.) - 4.9 5.2 5.3 5.9 6.9 8.4 n/a 8.3 10.15 11.0
ระบบกันสะเทือน
หนา ชอคแอบซอรบเบอรและสตรัท อิสระแม็คเฟอรสันสตรัท อิสระแม็คเฟอรสันสตรัท อิสระแม็คเฟอรสันสตรัท และ อิสระปกนก 2 ชั้น คอยลสปริง เพลารีเวอรสเอลเลียตไอ-บีม เพลาแบบคานเหล็กรูปตัวไอโคง เพลารีเวอรสเอลเลียตไอ-บีม แหนบแผนรูปโคงวงรี โชคอัพ ถุงลม ชอคแอบซอรบเบอร
และเหล็กกันโคลง และเหล็กกันโคลง เหล็กกันโคลง โช็คอัพแก็ส และเหล็กกันโคลง แหนบแผนรูปโคงวงรี โชคอัพ แหนบ โชคอัพ และเหล็กกันโคลง
หลัง ชอคแอบซอรบเบอรและสตรัท ETA Beam และเหล็กกันโคลง ETA Beam และเหล็กกันโคลง อิสระสตรัทแขนคูและเหล็กกันโคลง แหนบแผนรูปครึ่งวงรี โช็คอัพแก็ส เพลาแบบแบนโจ เฟองไฮปอยด เพลาแบบแทนเด็มขับเคลื่อนสอง เพลาแบบแบนโจ เฟองไฮปอยด แหนบแผนรูปโคงวงรี โชคอัพ ถุงลม ชอคแอบซอรบเบอร
แหนบแผนรูปโคงวงรี โชคอัพ เพลาคู ดิฟล็อก แหนบ โชคอัพ และเหล็กกันโคลง
ระบบเบรก
หนา ดิสกพรอมลูกสูบคู ดิสกแบบมีครีบระบายความรอน ดิสกแบบมีครีบระบายวามรอน ดิสกแบบมีครีบระบายความรอน ดิสกแบบมีครีบระบายความรอน ดรัมเบรกแบบทูลีดดิ้ง ดรัมเบรก ดรัมเบรกแบบลีดดิ้ง/เทรลลิ่ง ดรัมเบรกแบบทูลีดดิ้ง ดรัม ดรัม
หลัง ดรัม ดิสก ดรัม ดิสก ดรัมเบรกแบบลีดดิ้ง/เทรลลิ่ง ดรัมเบรกแบบดูอัลทูลีดดิ้ง ดรัมเบรก ดรัมเบรกแบบลีดดิ้ง/เทรลลิ่ง ดรัมเบรกแบบดูอัลทูลีดดิ้ง ดรัม ดรัม
ลอและยาง
ขนาดลอ อลูมินั่มอัลลอยด 5.5 JJ x 14 อลูมินั่มอัลลอยด 6 JJ x 14 อลูมินั่มอัลลอยด 6 JJ x 16 อลูมินั่มอัลลอยด 6.5 JJ x 15 เหล็กหลอ 6.0 GS x 16 เหล็กหลอ 20 เหล็กหลอ 7.0 T x 20 เหล็กหลอ 6.0 GS x 16 เหล็กหลอ 7.0 x 20 เหล็กหลอ 7.0 x 20
ขนาดยาง 2.25-17-4PR 175/65 R14 185/70 R14 88v 205/60 R16 215/70 R15 7.50-16-14PR 10.00-20-14PR 10.00-20-16PR 8.25-16-14PR 10.00-20-14PR 11.00-20-14PR
จํานวนลอ 2 4 4 4 4 6 10 18 4 6 6

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-35 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-3
ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของยานพาหนะตัวแทน

รถบรรทุกขนาดเล็ก/
รถยนตนั่ง รถยนตนั่ง รถบรรทุก รถบรรทุก รถโดยสารขนาดเล็ก/ รถโดยสารธรรมดา รถโดยสารปรับอากาศ
รถจักรยานยนต รถยนตนั่งขนาดเล็ก ปคอัพ รถพวง
ลําดับที่ รายการ สมมติฐาน ขนาดกลาง ขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดใหญ มินิบัส ขนาดใหญ (Euro II) M-B OHL หมายเหตุ
Honda Wave NF 110 T Toyota Soluna Vios 1.5E Isuzu DMAX Spacecab Isuzu GXZ 23KZ
Toyota Altis 1.6J A/T Toyota Camry 2.4Q Isuzu NPR71 PY 52A Hino FL1 JNPA Isuzu NQR70 RY 52A Isuzu MT111QB 1829/4X2/6300
3.0 SLX
ยานพาหนะ
1 ราคาขายปลีก 31,000 595,000 770,000 1,482,000 607,500 890,000 1,870,000 2,025,000 925,000 1,673,595 5,000,000 จากผูแทนจําหนาย
2 คาการตลาดผูแทนจําหนาย 15% 4,043 77,609 100,435 193,304 79,239 116,087 243,913 264,130 120,652 218,295 652,174 = (1) - (1) / (1+15%)
3 ภาษีมูลคาเพิ่ม 7% 283 5,433 7,030 13,531 5,547 8,126 17,074 18,489 8,446 15,281 45,652 = (2) x 7%
4 ภาษีนิติบุคคลจากคาการตลาด 30% 1,213 23,283 30,130 57,991 23,772 34,826 73,174 79,239 36,196 65,489 195,652 = (3) x 30%
5 ราคาขายสงจากผูแทนจําหนายแตเพียงผูเดียว 26,673 511,959 662,535 1,275,164 522,714 765,787 1,609,013 1,742,380 795,902 1,440,019 4,302,174 = (1) - (2) - (3)
6 อากรนําเขา+ภาษีสรรพสามิต+ภาษีมหาดไทย+ 7,756 148,867 192,652 370,792 134,656 215,257 452,282 191,530 223,722 478,725 1,430,229 = (5) - (5) / ภาระภาษีทั้งหมด*
ภาษีมูลคาเพิ่ม
7 ราคาหนาโรงงานผูผลิต 18,917 363,091 469,883 904,372 388,058 550,530 1,156,731 1,550,850 572,180 961,295 2,871,945 = (5) - (6)
8 คาประกอบและคาการตลาดสําหรับโรงงาน 15% 2,467 47,360 61,289 117,962 50,616 71,808 150,878 202,285 74,632 125,386 374,602 = (7) - (7) / (1+15%)
ผูผลิต
9 ภาษีนิติบุคคลจากการประกอบและการตลาด 30% 740 14,208 18,387 35,388 15,185 21,542 45,263 60,685 22,390 37,616 112,380 = (8) x 30%
10 รวมภาระภาษีทั้งหมด 9,992 191,791 248,200 477,704 179,159 279,752 587,793 349,944 290,753 597,110 1,783,914 = (3) + (4) + (6) + (8)
11 ราคาทางเศรษฐศาสตร 21,008 403,209 521,800 1,004,296 428,341 610,248 1,282,207 1,675,056 634,247 1,076,485 3,216,086 = (1) - (10)
ตัวถัง
12 ราคาทางการเงิน 190,000 300,000 550,000 400,000 - - จากผูแทนจําหนาย
13 คาประกอบ + คาการตลาด 20% 31,667 50,000 91,667 66,667 - - = (12) - (12) / (1+20%)
14 ภาษีมูลคาเพิ่ม 7% 2,217 3,500 6,417 4,667 - - = (13) * 7%
15 ภาษีนิติบุคคลจากคาประกอบและการตลาด 30% 9,500 15,000 27,500 20,000 - - = (13) * 30%
16 รวมภาระภาษีทั้งหมด 11,717 18,500 33,917 24,667 - - = (14) + (15)
17 ราคาทางเศรษฐศาสตรของตัวถัง 178,283 281,500 516,083 375,333 - - = (12) - (16)
17A รวมราคาทางการเงิน (ตัวรถ+ตัวถัง) 31,000 595,000 770,000 1,482,000 607,500 1,080,000 2,170,000 2,575,000 1,325,000 1,673,595 5,000,000
18 รวมราคาทางเศรษฐศาสตร (ตัวรถ+ตัวถัง) 21,008 403,209 521,800 1,004,296 428,341 788,532 1,563,707 2,191,140 1,009,580 1,076,485 3,216,086 = (11) + (17)
ยาง
19 จํานวนลอ 2 4 4 4 4 6 10 18 4 6 6 จากขอกําหนดคุณสมบัติ
20 ราคาทางเศรษฐศาสตรของยาง 302 1,533 1,658 2,069 1,962 2,486 4,350 4,617 2,570 4,972 5,150 จากราคาทางเศรษฐศาสตรของยาง
21 รวมราคาทางเศรษฐศาสตรของยานพาหนะ 20,404 397,079 515,168 996,022 420,492 773,616 1,520,202 2,108,037 999,299 1,046,653 3,185,189 = (18) - [(20) * (19)]
(หักมูลคายาง)

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-36 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-4
ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของน้ํามันเชื้อเพลิง

หนวย : บาทตอลิตร
น้ํามันเบนซิน ดีเซล
ลําดับที่ รายการ หมายเหตุ
ULG 95 ULG 91 HSD
1 ราคาขายปลีกเฉลี่ยในเขต กทม. 15.77 14.77 13.58
2 คาขนสงไปยังพื้นที่ศึกษา - - -
3 ภาษีจากผูประกอบการขนสง - - - = (2) * 5%
ราคาขายปลีกเฉลี่ยบริเวณพื้นที่
4 15.77 14.77 13.58 = (1) + (2)
ศึกษา
5 ราคาขายสงหนาโรงกลั่นเฉลี่ย 14.06 13.21 12.24
6 ภาษีมูลคาเพิ่ม 0.9840 0.9246 0.8567 = (5) * 7%
7 ราคาขายสงเฉลี่ยบวกภาษีมูลคาเพิ่ม 15.0413 14.1331 13.0957 = (5) + (6)
8 คาการตลาดของผูแทนจําหนาย 0.6783 0.5926 0.4561 = [(1) - (7)] / (1 + 7%)
9 ภาษีมูลคาเพิ่มจากคาการตลาด 0.0475 0.0415 0.0319 = (8) * 7%
10 กองทุนอนุรักษพลังงาน 0.0400 0.0400 0.0400
11 กองทุนน้ํามันเชื้อเพลิง 0.5000 0.3000 0.5000
12 ภาษีเทศบาล 0.3685 0.3685 0.2305
13 ภาษีสรรพสามิต 3.6850 3.6850 2.3050
14 คาการกลั่น 0.8060 0.7514 0.8117
15 ภาษีกําไรจากการกลั่น 0.2418 0.2254 0.2435 = (14) * 30%
16 รวมภาระภาษีและเงินเขากองทุน 5.8668 5.5850 4.2077 = (3)+(6)+(9)+(10)+(11)+(12)+(13)+(15)
17 ราคาทางเศรษฐศาสตร 9.9003 9.1821 9.3761 = (4) - (16)
ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนพลังงาน และที่ปรึกษา

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-37 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-5
ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของน้ํามันหลอลื่น

หนวย : บาท/ลิตร
(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8)
= (2)-(2)/(1+7%) = (2)-(3) = (4)-(4)/(1+20%) = (5)x30% = (3)+(6) = (2)-(7)
ประเภทน้ํามันเครื่อง ราคาเฉลี่ยทางการเงิน ภาษีมลู คาเพิ่ม (VAT) 7% ราคาขายปลีก คาการตลาดผูผลิต ภาษีจากกําไร 30% รวมภาระภาษี ราคาทาง
ไมรวม VAT และผูแทนจําหนาย 20% เศรษฐศาสตร
สําหรับรถยนตสวนบุคคล 117.08 7.66 109.42 18.24 5.47 13.13 103.95
สําหรับรถบรรทุก/รถโดยสาร 102.74 6.72 96.02 16.00 4.80 11.52 91.22
สําหรับรถจักรยานยนต 75.00 4.91 70.09 11.68 3.50 8.41 66.59

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-38 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-6
ราคาทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของยางรถยนต

หนวย : บาท/เสน
(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9)
= (3)-(3)/(1+7%) = (3)-(4) = (5)-(5)/(1+20%) = (6)x30% = (4)+(7) = (3)-(8)
ประเภทยานพาหนะ ขนาดลอและยาง ราคาทางการเงิน* ภาษีมูลคาเพิ่ม (VAT) 7% ราคาขายปลีก คาการตลาดผูผลิต ภาษีนิติบุคคลจาก รวมภาระ ราคาทางเศรษฐศาสตร
ไมรวม VAT และผูแทนจําหนาย 20% คาการตลาด 30% ภาษีทั้งหมด
รถจักรยานยนต 2.25-17-4PR 340 22.24 317.76 52.96 15.89 38.13 301.87
รถยนตนั่งขนาดเล็ก 175/65 R14 1,726 112.94 1,613.40 268.90 80.67 193.61 1,532.73
รถยนตนั่งขนาดกลาง 185/70 R14 88v 1,868 122.17 1,745.33 290.89 87.27 209.44 1,658.06
รถยนตนั่งขนาดใหญ 205/60 R16 2,330 152.43 2,177.57 362.93 108.88 261.31 2,068.69
รถบรรทุกขนาดเล็ก/ปคอัพ 215/70 R15 2,210 144.58 2,065.42 344.24 103.27 247.85 1,962.15
รถบรรทุกขนาดกลาง 7.50-16-14PR 2,800 183.18 2,616.82 436.14 130.84 314.02 2,485.98
รถบรรทุกขนาดใหญ/สิบลอ 10.00-20-14PR 4,900 320.56 4,579.44 763.24 228.97 549.53 4,350.47
รถบรรทุกพวง 10.00-20-16PR 5,200 340.19 4,859.81 809.97 242.99 583.18 4,616.82
รถโดยสารขนาดเล็ก/มินิบัส 8.25-16-14PR 2,895 189.39 2,705.61 450.93 135.28 324.67 2,570.33
รถโดยสารธรรมดาขนาดใหญ 10.00-20-14PR 5,600 366.36 5,233.64 872.27 261.68 628.04 4,971.96
รถโดยสารปรับอากาศ Euro II 11.00-20-14PR 5,800 379.44 5,420.56 903.43 271.03 650.47 5,149.53
หมายเหตุ : * จากการสํารวจผูแทนจําหนาย

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-39 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-7
ตนทุนทางการเงินและทางเศรษฐศาสตรของพนักงานประจํารถและการเดินรถ

รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร


ลําดับที่ รายการ หนวย รถบรรทุกพวง
ขนาดเล็ก/ปคอัพ ขนาดกลาง ขนาดใหญ/สิบลอ ขนาดเล็ก/มินิบัส ธรรมดาขนาดใหญ ปรับอากาศ Euro II

1 เงินเดือนคนขับ บาท/เดือน/คัน 9,946 12,514 15,083 16,500 5,144 12,225 12,239


2 เงินเดือนพนักงานเก็บคาโดยสาร บาท/เดือน/คัน - - - - 3,833 9,596 9,684
3 เงินเดือนผูประจํารถ บาท/เดือน/คัน - 3,500 3,500 3,500 - - -
4 เงินเดือนนายทา บาท/เดือน/คัน - - - - 723 - -
5 เงินเดือนนายตรวจ บาท/เดือน/คัน - - - - 770 - -
6 คาขึ้นของ/ลงของ บาท/เดือน/คัน 1,040 625 640 675 - - -
7 รวม บาท/เดือน/คัน 10,986 16,639 19,223 20,675 10,470 21,821 21,922
8 จํานวนชั่วโมงทํางาน/เดือน 1 ชั่วโมง/เดือน 198.76 198.76 198.76 198.76 220.00 209.00 209.00
9 ตนทุนเฉลี่ยทางดานการเงิน บาท/ชั่วโมง/คัน 55.27 83.72 96.72 104.02 47.59 104.40 104.89
10 ภาษีรายไดบุคคลธรรมดา (รอยละ 5) บาท/ชั่วโมง/คัน 2.76 4.19 4.84 5.20 2.38 5.22 5.24
11 สัดสวนในการใชงานบรรทุกจริง 2 รอยละ 35 100 100 100 100 100 100
12 ตนทุนเฉลี่ยทางดานเศรษฐศาสตร บาท/ชั่วโมง/คัน 18.38 79.53 91.88 98.82 45.21 99.18 99.65
ที่มา : ที่ปรึกษา
หมายเหตุ : 1) จํานวนชั่วโมงการทํางานของรถโดยสารขนาดเล็ก/มินิบัส รถโดยสารธรรมดาขนาดใหญ และรถโดยสารปรับอากาศ ไดจาก ขสมก.
2) รายงานผลการวิเคราะหดัชนีผลิตภาพแรงงาน 2543 กองวิชาการและแผนงาน กรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน 2543 หนา 47
3) เนือ่ งจากรถปคอัพ/รถบรรทุกสี่ลอมีการนําไปใชงานเปนรถยนตสว นบุคคล จึงมีสมมติฐานใหประมาณรอยละ 35 มีการใชงานเปนรถบรรทุก

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-40 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

ตารางที่ 2.8-8
สรุปขอมูลตัวแปรและพารามิเตอร
รถบรรทุก รถโดยสาร รถโดยสาร รถโดยสาร
รถยนตนั่ง รถยนตนั่ง รถยนตนั่ง รถบรรทุก รถบรรทุก รถบรรทุก
พารามิเตอร หนวย รถจักรยานยนต ขนาดเล็ก/ ขนาดเล็ก/ ธรรมดา ปรับอากาศ
ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ ขนาดกลาง ขนาดใหญ พวง
ปคอัพ มินิบัส ขนาดใหญ Euro II
1. ลักษณะทางกายภาพยานพาหนะ
น้ําหนักรถเปลา (Tare weight) กก. 94 970 1,160 1,460 1,545 3,500 7,760 14,630 3,740 8,500 8,150
น้ําหนักบรรทุก (Load carried) กก. 92 150 150 150 315 2,108 7,089 13,378 1,250 2,330 2,405
Operating Weight kg. 186 1,120 1,310 1,610 1,860 5,608 14,849 28,008 4,990 10,830 10,555
กําลังขับเคลื่อนสูงสุด (Used Engine Power) แรงมาเมตริก (mhp) - 53.28 53.75 67.43 83.75 84.70 148.47 189.40 93.27 104.69 202.72
กําลังการหยุดสูงสุด (Braking Power) แรงมาเมตริก (mhp) 2.71 21.28 23.94 28.14 37.10 117.60 294.00 532.00 133.00 189.00 246.40
Surface type-specific desired speed กม./ชม. 80.0 87.4 87.4 87.4 82.6 70.1 70.1 70.1 82.6 78.8 78.8
คาสัมประสิทธิต์ านลม (Cd) - 0.20 0.30 0.35 0.29 0.40 0.70 0.70 0.80 0.40 0.70 0.70
พื้นที่หนารถตานลม ตร.ม. 0.80 2.19 2.25 2.43 2.49 4.05 6.22 6.66 4.17 6.97 6.92
รอบเครื่องยนตปรับเทียบ รอบตอนาที
คาปรับประสิทธิภาพเครื่องยนต -
คาปรับประสิทธิภาพการใชเชื้อเพลิง 15% 1.15 1.15 1.15 1.15 1.15 1.15 1.15 1.15 1.15 1.15 1.15
2. ยางรถยนตและการสึกหรอ
จํานวนยางรถยนต เสน 2 4 4 4 4 6 10 18 4 6 6
ปริมาตรการสึกหรอตอเสน เดซิเมตร3 - - - - - 7.6 7.6 7.6 - 7.6 7.6
ตนทุนการหลอดอกยางตอราคายางใหม อัตราสวน - - - - - 0.15 0.15 0.15 - 0.15 0.15
จํานวนครั้งการปะยางสูงสุด จํานวนครั้ง - - - - - 1.31 1.31 1.31 - 1.31 1.31
คาคงที่การสึกหรอของยาง เดซิเมตร3/ม. 0.0169 0.0169 0.0169 0.0169 0.0169 0.1008 0.0849 0.0849 0.0169 0.0720 0.0720
สัมประสิทธิ์การสึกหรอของยาง เดซิเมตร3/1,000 - - - - - 7.853 6.613 6.613 - 5.610 5.610
3. ขอมูลการใชรถ
ระยะทางการใชงานเฉลี่ยตอป กิโลเมตร 15,000 23,000 23,000 23,000 30,000 40,000 86,000 86,000 86,000 100,000 100,000
จํานวนชั่วโมงการใชงานเฉลี่ยตอป ชั่วโมง 600 750 750 750 1,200 1,300 2,050 2,050 2,050 2,750 2,750
อัตราสวนชั่วโมงการใชงาน อัตราสวน 0.10 0.10 0.10 0.10 0.17 0.21 0.36 0.40 0.15 0.23 0.23
(Elasticity of Vehicle Utilization)
อายุการใชงานของยานพาหนะ ป 10 10 10 10 10 12 12 12 10 10 10
Use constant service life? 1-Yes, 0-No 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
ระยะทางตลอดอายุการใชงานยานพาหนะ กิโลเมตร 150,000 230,000 230,000 230,000 300,000 480,000 1,032,000 1,032,000 860,000 1,000,000 1,000,000
จํานวนคนในรถ จํานวน 1.38 1.73 1.73 1.73 2.15 1.98 1.67 1.66 16.00 30.00 31.00
4. คาใชจา ยทางการเงิน
ราคายานพาหนะ (รวมตัวถังและยางรถ) บาท 31,000 595,000 770,000 1,482,000 607,500 1,080,000 2,170,000 2,575,000 1,325,000 1,673,595 5,000,000
ราคาเชื้อเพลิง บาท/ลิตร 14.77 15.17 15.17 15.17 13.58 13.58 13.58 13.58 13.58 13.58 13.58
ราคาน้ํามันหลอลื่น บาท/ลิตร 35.12 117.08 117.08 117.08 102.74 102.74 102.74 102.74 102.74 102.74 102.74
ราคายางรถยนตใหม บาท/เสน 340 1,726 1,868 2,330 2,210 2,800 4,900 5,200 2,895 5,600 5,800
คาแรงงานในการบํารุงรักษา บาท/ชั่วโมง 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 61.00 67.60 83.15
ตนทุนพนักงานประจํารถและการเดินรถ บาท/ชั่วโมง - - - - 55.27 83.72 96.72 104.02 47.59 104.40 104.89
อัตราดอกเบี้ย รอยละ 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12
5. คาใชจา ยทางเศรษฐศาสตร
ราคายานพาหนะ (รวมตัวถังและยางรถ) บาท 21,008 403,209 521,800 1,004,296 428,341 788,532 1,563,707 2,191,140 1,009,580 1,076,485 3,216,086
ราคาเชื้อเพลิง บาท/ลิตร 9.18 9.47 9.47 9.47 9.38 9.38 9.38 9.38 9.38 9.38 9.38
ราคาน้ํามันหลอลื่น บาท/ลิตร 31.18 103.95 103.95 103.95 91.22 91.22 91.22 91.22 91.22 91.22 91.22
ราคายางรถยนตใหม บาท/เสน 301.87 1,532.73 1,658.06 2,068.69 1,962.15 2,485.98 4,350.47 4,616.82 2,570.33 4,971.96 5,149.53
คาแรงงานในการบํารุงรักษา บาท/ชั่วโมง 57.95 57.95 57.95 57.95 57.95 57.95 57.95 57.95 57.95 64.22 79.00
ตนทุนพนักงานประจํารถและการอํานวยการ บาท/ชั่วโมง - - - - 18.38 79.53 91.88 98.82 45.21 99.18 99.65
อัตราดอกเบี้ย รอยละ 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12 12
6. พารามิเตอรอนื่ ๆ
Kp (คาอะไหลในการบํารุงรักษา) - 0.308 0.308 0.308 0.308 0.308 0.371 0.371 0.371 0.308 0.483 0.483
CPo (คาอะไหลในการบํารุงรักษา) - 19.25 19.25 19.25 19.25 16.84 1.05 1.75 13.94 15.08 0.49 0.49
CPq (คาอะไหลในการบํารุงรักษา) - 13.70 13.70 13.70 13.70 13.70 251.71 35.31 15.65 13.70 3.56 3.56
Qip (คาอะไหลในการบํารุงรักษา) - 120.00 120.00 120.00 120.00 120.00 - - - 120.00 0.49 0.49
CLo (คาแรงงานในการบํารุงรักษา) - 274.36 274.36 274.36 274.36 165.47 276.17 440.71 652.51 151.13 786.00 786.00
CLp (คาแรงงานในการบํารุงรักษา) - 0.547 0.547 0.547 0.547 0.547 0.519 0.519 0.519 0.547 0.517 0.517
CLq (คาแรงงานในการบํารุงรักษา) - - - - - - - - - - 0.0055 0.0055
COo (น้ํามันหลอลื่น) - 0.05 0.05 0.05 0.05 0.25 0.95 1.55 1.55 0.95 1.55 1.55
FRATIO0p - 0.268 0.268 0.268 0.268 0.268 0.253 0.292 0.292 0.268 0.233 0.233
FRATIO1p - - - - - - 0.0128 0.0940 0.0230 - - -
ARVMAX - 259.7 259.7 259.7 259.7 239.7 194.0 177.7 130.9 239.7 212.8 212.8
BW - 0.74 0.74 0.74 0.74 0.74 0.73 0.73 0.73 0.74 0.73 0.73
BETA - 0.274 0.274 0.274 0.274 0.274 0.304 0.310 0.310 0.274 0.273 0.273
E0 - 1.003 1.003 1.003 1.003 1.003 1.008 1.013 1.013 1.003 1.012 1.012
A0 - 23,453 23,453 23,453 23,453 -41,803 -22,955 -22,955 -30,559 -41,803 -7,276 -7,276
A1 - 40.6 40.6 40.6 40.6 71.6 95.0 95.0 156.1 71.6 63.5 63.5
A2 - 0.01214 0.01214 0.01214 0.01214 - - - - - - -
A3 - 7,775 7,775 7,775 7,775 5,129 3,758 3,758 4,002 5,129 4,323 4,323
A4 - - - - - - - - - - - -
A5 - - - - - - 19.12 19.12 4.41 - 8.64 8.64
A6 - 6,552 6,552 6,552 6,552 2,653 2,394 2,394 4,435 2,653 2,479 2,479
A7 - - - - - - 13.76 13.76 26.08 - 11.50 11.50
NH0 - -12 -12 -12 -12 -30 -85 -85 -85 -30 -50 -50
Alpha (Lea Fuel Parameter) - 0.400 0.400 0.400 0.400 0.500 0.601 0.970 0.970 0.500 0.800 0.800
Beta (Lea Fuel Parameter) - 0.1035 0.1035 0.1035 0.1035 0.0799 0.0799 0.0817 0.0817 0.0799 0.0817 0.0817
edt (Lea Fuel Parameter) - 0.90 0.90 0.90 0.90 0.86 0.86 0.86 0.86 0.86 0.86 0.86

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-41 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 2
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แบบจําลองสภาพการจราจรที่ใชในการศึกษา

2.8.3 ผลการปรับปรุงมูลคาใชจายในการใชรถ

พารามิเตอรและตัวแปรตางๆ ในหัวขอที่ 2.8.2.1 (คุณลักษณะของโครงขาย) และหัวขอที่ 2.8.2.2 (คุณลักษณะ


ของกลุมยานพาหนะตัวแทน) จะถูกนําเขาในโปรแกรม HDM-4 เพื่อวิเคราะหและปรับปรุงมูลคาใชจายในการ
ใชรถใหมีมูลคา ณ ราคาปจจุบัน (ป พ.ศ. 2546)

ตารางที่ 2.8-9 แสดงมูลคาทางเศรษฐศาสตรของคาใชจายในการใชรถ ณ ราคาป พ.ศ. 2546

ตารางที่ 2.8-9
ผลการปรับปรุงมูลคาใชจายในการใชรถ (ราคาทางเศรษฐศาสตร)

หนวย : บาทตอยานพาหนะ-กิโลเมตร (ราคา ณ ป พ.ศ. 2546)


มูลคาใชจายในการใชรถ
ประเภทของยานพาหนะ น้ํามัน น้ํามัน ยาง การบํารุง ตนทุน
อะไหล พนักงาน รวม
เชื้อเพลิง หลอลื่น รถยนต รักษา ยานพาหนะ
รถจักรยานยนต 0.387 0.014 0.025 0.028 0.120 0.056 - 0.630
รถยนตนั่งขนาดเล็ก 0.850 0.068 0.092 1.021 0.170 1.807 - 4.008
รถยนตนั่งขนาดกลาง 0.961 0.071 0.103 1.321 0.170 2.335 - 4.961
รถยนตนั่งขนาดใหญ 1.098 0.075 0.126 2.543 0.170 4.509 - 8.520
รถบรรทุกขนาดเล็ก/ 1.235 0.168 0.190 0.822 0.546 0.574 0.206 3.740
รถปคอัพ
รถบรรทุกขนาดกลาง 1.928 0.182 0.177 2.136 0.652 0.845 0.853 6.774
รถบรรทุกขนาดใหญ/สิบลอ 4.166 0.368 0.506 5.628 0.942 1.067 0.995 13.672
รถบรรทุกพวง 5.457 0.394 0.877 8.463 0.977 1.572 1.132 18.873
รถโดยสารขนาดเล็ก/มินิบัส 1.423 0.100 0.109 3.828 0.212 0.782 0.497 6.949
รถโดยสารธรรมดา 2.850 0.286 0.463 2.061 0.741 0.558 1.106 8.066
ขนาดใหญ
รถโดยสารปรับอากาศ 2.702 0.283 0.335 5.639 0.871 1.873 1.105 12.807
ขนาดใหญ (ยูโรทู)
ที่มา : ที่ปรึกษา

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 2-42 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


บทที่ 3

การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

บทที่ 3
การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

ในการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร ขั้นตอนแรกที่ตองดําเนินการซึ่งนับวามีความสําคัญก็คือ การพัฒนา


แบบจําลองสภาพการจราจรในปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) ซึ่งแบบจําลองนี้จะเปนแบบจําลองฐานในการพัฒนา
แบบจําลองปอนาคตตอไป โดยผลลัพธที่ไดจากแบบจําลองปปจจุบันจะตองปรับเทียบกับขอมูลดานการจราจรและ
ขนสงที่ไดจากการสํารวจ เพื่อใหไดแบบจําลองที่สามารถจําลองสภาพการจราจรไดอยางถูกตองใกลเคียงหรือ
คลาดเคลื่อนในระดับที่ยอมรับได

3.1 แบบจําลองการเกิดการเดินทาง (Trip Generation Model)

ปริมาณความตองการเดินทางจะมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในแตละพื้นที่ยอย โดย
แบบจําลองในขั้นตอนนี้จะแบงยอยออกเปนแบบจําลองการสรางการเดินทาง (Trip Production Model) และการ
ดึงดูดการเดินทาง (Trip Attraction Model) แบบจําลองการเกิดการเดินทางจะเปนการวิเคราะหโดยใชวิธี
“ Category Analysis ” โดยแบงจํานวนครัวเรือนในแตละพื้นที่ยอยตามขนาดของครัวเรือนเปน 6 ระดับ และแบง
ตามลักษณะการครอบครองยานพาหนะเปน 4 ระดับ (ครัวเรือนที่ไมมียานพาหนะในครอบครอง ครัวเรือนที่มี
รถจักรยานยนตในครอบครอง ครัวเรือนที่มีรถยนตในครอบครอง 1 คัน และครัวเรือนที่มีรถยนตในครอบครอง
2 คันขึ้นไป) การกระจายตัวของขนาดครัวเรือนและการครอบครองยานพาหนะจะอาศัย “ Distribution Curve ”
ที่พัฒนาขึ้นในโครงการ UTDM มากระจายเปนรอยละของครัวเรือนในลักษณะตางๆ ของแตละพื้นที่ยอย พรอมทั้ง
ใชอัตราการเดินทาง (Trip Rate) ของครัวเรือนในแตละลักษณะมาใชในการคํานวณปริมาณการสรางการเดินทาง
ในแตละพื้นที่ยอย ขณะที่แบบจําลองการดึงดูดการเดินทางจะเปนความสัมพันธระหวางปริมาณการเดินทางกับ
จํานวนการจางงานและจํานวนนักเรียน-นักศึกษาในแตละพื้นที่ยอย

รายละเอียดโครงสรางของแบบจําลองแสดงในรูปที่ 3.1-1 ผลที่ไดจากแบบจําลองในขั้นตอนนี้จะเปนปริมาณ


การสรางและการดึงดูดการเดินทาง 16 แบบ ซึ่งจําแนกตามการครอบครองยานพาหนะ 4 ระดับ และแบงตาม
วัตถุประสงคของการเดินทาง 4 วัตถุประสงค ไดแก การเดินทางไปทํางาน (Home Based Work: HBW)
การเดินทางไปเรียน (Home Based Education: HBE) การเดินทางไปยังที่อื่นๆ (Home Based Other: HBO)
และการเดินทางที่มิไดเริ่มจากบาน (Non Home Based: NHB) โดยปริมาณการเดินทางของประชาชนในพื้นที่
ศึกษาที่ปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) จําแนกตามวัตถุประสงคการเดินทางและการครอบครองยานพาหนะแสดงใน
ตารางที่ 3.1-1

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-1 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


แบบจําลองการสรางการเดินทาง (Trip Production Model)

อัตราการเดินทาง
(Trip Rates)
Distribution Curve ครัวเรือน 1 คน

ครัวเรือน 2 คน
จํานวนประชากร
ครัวเรือน 3 คน
ขนาดครัวเรือนเฉลี่ย
ครัวเรือน 4 คน
จํานวนครัวเรือน ปริมาณการสราง
ครัวเรือน 5 คน การเดินทางจําแนก
ตามการครอบครอง
ครัวเรือน 6 คนขึ้นไป ยานพาหนะและ
วัตถุประสงค
การเดินทาง
(รวม 16 แบบ)
ครัวเรือนไมมียานพาหนะ

ครัวเรือนมีรถมอเตอรไซด 1 คัน
รายไดเฉลี่ยครัวเรือน
ครัวเรือนมีรถยนต 1 คัน

Distribution Curve ครัวเรือนมีรถยนต 2 คันขึ้นไป

แบบจําลองการดึงดูดการเดินทาง
(Trip Attraction Model)

การจางงานภาคเกษตรกรรม ปริมาณการดึงดูด
การเดินทางจําแนกต
การจางงานภาคอุตสาหกรรม ามการครอบครองยา
นพาหนะและ
การจางงานภาคบริการ วัตถุประสงค
การเดินทาง
จํานวนนักเรียน-นักศึกษา
(รวม 16 แบบ)

รูปที่ 3.1-1 แบบจําลองการสรางและการดึงดูดการเดินทาง


\\cc\c:\project\bmta\model report\thai\fig3.1-1.vsd
3-2
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

ตารางที่ 3.1-1
ปริมาณการเดินทางของประชาชนในพื้นที่ศึกษาปปจจุบนั (พ.ศ. 2546)

หนวย : ลานเที่ยวตอวัน
วัตถุประสงคการเดินทาง
การครอบครองยานพาหนะ รวม
HBW HBE HBO NHB
ไมมียานพาหนะ 3.15 1.23 0.86 0.26 5.50
มีรถจักรยานยนต 1.71 0.57 0.83 0.52 3.63
มีรถยนต 1 คัน 1.90 0.67 0.95 0.60 4.12
มีรถยนต 2 คันขึ้นไป 1.18 0.72 0.84 0.70 3.44
รวม 7.94 3.19 3.48 2.08 16.69

จะเห็นไดวา ปริมาณการเดินทางที่เกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลในปจจุบัน (พ.ศ. 2546) มี


จํานวนทั้งสิ้น 16.69 ลานเที่ยวตอวัน โดยรายละเอียดปริมาณการเดินทางของแตละพื้นที่ยอยแสดงใน
ภาคผนวก

3.2 แบบจําลองการกระจายการเดินทาง (Trip Distribution Model)

แบบจําลองการกระจายการเดินทางเปนการวิเคราะหถึงปริมาณการเดินทางระหวางพื้นที่ยอยตางๆ โดยวิธี
Gravity Model ซึ่งการกระจายปริมาณการเดินทางจะขึ้นกับคาใชจายในการเดินทางระหวางคูพื้นที่ยอย ตาราง
การเดินทางที่ไดจะแบงเปน 16 ตาราง จําแนกตามการครอบครองยานพาหนะและวัตถุประสงคของการเดินทาง
โดย รูปที่ 3.2-1 แสดงเสนปริมาณการเดินทาง (Desire Lines) ระหวางกลุมพื้นที่ปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) ใน
พื้นที่ศึกษา

3.3 แบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทาง (Modal Split Model)

แบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทางเปนขั้นตอนตอเนื่องมาจากแบบจําลองการกระจายการเดินทาง ซึ่งแบง
ตารางการเดินทางเปน 16 แบบ แตละแบบจะแบงแยกออกเปนการเดินทางโดยใชยานพาหนะสวนบุคคลและการ
เดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ สําหรับการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะยังแบงยอยเปนระบบที่มีคุณภาพ
การใหบริการในระดับมาตรฐานทั่วไป (Standard) และระบบที่มีการใหบริการในระดับมาตรฐานสูง (Upmarket)
รายละเอียดโครงสรางแบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทางแสดงในรูปที่ 3.3-1

สําหรับ ตารางที่ 3.3-1 แสดงสัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางระหวางการเดินทางโดยใชยานพาหนะ


สวนบุคคล และการเดินทางโดยใชระบบขนสงสาธารณะจําแนกตามวัตถุประสงคการเดินทางและการครอบครอง
ยานพาหนะ จะเห็นไดวา ปริมาณการเดินทางปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) มีสัดสวนการเดินทางโดยยานพาหนะ
สวนบุคคลมากกวาระบบขนสงสาธารณะประมาณรอยละ 54 ตอรอยละ 46

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-3 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

รูปที่ 3.2-1
เสนปริมาณการเดินทาง (Desire Lines) ระหวางกลุมพื้นที่ปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) ในพื้นที่ศึกษา

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-4 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


ตารางการเดินทาง
จําแนกตามการครอบครอง
ยานพาหนะและวัตถุประสงค
การเดินทาง (16 แบบ)

แบบจําลองการเลือก
คุณลักษณะของการเดินทาง คุณลักษณะของการเดินทาง
รูปแบบการเดินทาง
โดยระบบขนสงสาธารณะ โดยยานพาหนะสวนบุคคล
(Mode Split Model)

ตารางการเดินทางโดย ตารางการเดินทางโดย
ระบบขนสงสาธารณะ ยานพาหนะสวนบุคคล

ตารางการเดินทาง ตารางการเดินทาง
ตารางการเดินทางโดย ตารางการเดินทาง
โดยรถโดยสารของ โดยยานพาหนะ
ระบบขนสงสาธารณะอื่นๆ โดยรถแท็กซี่
หนวยงาน สวนบุคคลประเภทอื่นๆ

แบบจําลองยอยการเลือก
รูปแบบการเดินทาง
(Sub-Mode Split Model)

ตารางการเดินทาง ตารางการเดินทาง
โดยระบบขนสง โดยระบบขนสง ตารางการเดินทาง
ตารางการเดินทาง
สาธารณะที่คุณภาพ สาธารณะที่คุณภาพ โดยรถยนต
โดยรถจักรยานยนต
การใหบริการอยูใน การใหบริการอยูใน สวนบุคคล
ระดับมาตรฐานสูง ระดับมาตรฐานทั่วไป
(Upmarket) (Standard)

ที่มา : โครงการ UTDM

รูปที่ 3.3-1 แบบจําลองการเลือกรูปแบบการเดินทาง


\\cc\c:\project\bmta\model report\thai\fig3.3-1.vsd
3-5
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

ตารางที่ 3.3-1
สัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

วัตถุประสงคการเดินทาง
การครอบครองยานพาหนะ รวม
HBW HBE HBO NHB
ไมมียานพาหนะ 15:85 14:86 51:49 65:35 23:77
มีรถจักรยานยนต 67:33 28:72 77:23 85:15 66:34
มีรถยนต 1 คัน 70:30 24:76 84:16 83:17 68:32
มีรถยนต 2 คันขึ้นไป 79:21 40:60 88:12 87:13 75:25
รวม 49:51 24:76 75:25 83:18 54:46
หมายเหตุ : xx:yy โดย xx = รอยละของการเดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคล
yy = รอยละของการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ

3.4 แบบจําลองการเลือกเสนทางการเดินทาง (Traffic Assignment Model)

แบบจําลองการเลือกเสนทางการเดินทางนี้เปนขั้นตอนสุดทายของแบบจําลองตอเนื่อง 4 ขั้นตอน โดยขั้นตอนนี้


จะเปนการนําปริมาณการเดินทางที่ไดมาแจกแจงลงบนโครงขายคมนาคมขนสง ในการศึกษาครั้งนี้จะดําเนินการ
ใน 3 ชวงเวลา ดังนี้

1) ชวงเวลาชั่วโมงเรงดวนตอนเชา (AM Peak Hour)


2) ชวงเวลาชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น (PM Peak Hour)
3) ชวงเวลานอกชั่วโมงเรงดวน (Off Peak Hour)

รายละเอียดปริมาณความตองการเดินทางปปจจุบันแยกตามชวงเวลา แสดงในตารางที่ 3.4-1

สําหรับการแจกแจงปริมาณการเดินทางแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

1) การแจกแจงลงบนระบบโครงขายถนน (Highway Assignment) โดยใชตารางการเดินทาง


โดยยานพาหนะสวนบุคคล

2) การแจกแจงลงบนระบบขนสงสาธารณะ (Public Transport Assignment) โดยใชตารางการ


เดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ

โดยผลที่ไดจากแบบจําลองการเลือกเสนทางการเดินทางจะเปนปริมาณจราจร/ปริมาณผูโดยสารบนโครงขาย
คมนาคมขนส ง ซึ่ ง จะต อ งนํ า ไปตรวจสอบกั บ ข อ มู ล ด า นการจราจรและขนส ง ที่ ไ ด จ ากการสํ า รวจเพื่ อ ทํ า การ
ปรับเทียบแบบจําลองซึ่งจะไดนําเสนอในหัวขอถัดไป

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-6 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

ตารางที่ 3.4-1
ปริมาณความตองการเดินทางปปจจุบันแยกตามชวงเวลา

ปริมาณความตองการการเดินทางปปจจุบัน
ชวงเวลา
ยานพาหนะสวนบุคคล ระบบขนสงสาธารณะ
ปริมาณการเดินทางรวม (คน-เที่ยวตอวัน) 9,004,279 7,688,837
ยานพาหนะสวนบุคคล (PCU) ระบบขนสงสาธารณะ (คน-เที่ยว)
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา (ตอชั่วโมง) 471,166 413,167
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น (ตอชั่วโมง) 470,347 438,522
ชวงนอกชั่วโมงเรงดวน (ตอชั่วโมง) 426,672 348,592

3.5 การปรับเทียบแบบจําลอง
3.5.1 ปริมาณจราจรผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา
ปริ ม าณจราจรที่ เ ดิน ทางผ า นสะพานข า มแม น้ํ า เจ า พระยาจากแบบจํ า ลองมี ป ริ ม าณขาเขา เมื อ งเป น จํ า นวน
35,256 คัน 26,507 คัน และ 31,544 คัน ในชั่วโมงเรงดวนเชา ชั่วโมงเรงดวนเย็น และชวงนอกเวลา
เรงดวน ตามลําดับ ซึ่งต่ํากวาปริมาณจราจรจากการสํารวจรอยละ 7 12 และ 2 สวนขาออกเมืองมีปริมาณ
จากแบบจําลองในชวงเวลาเรงดวนเชา ชวงเวลาเรงดวนเย็น และชวงนอกเวลาเรงดวน จํานวน 21,096 คัน
34,968 คัน และ 31,609 คัน ซึ่งต่ํากวาปริมาณจราจรจากการสํารวจรอยละ 3 7 และ 0 ตามลําดับ
ผลการเปรียบเทียบแสดงในตารางที่ 3.5-1
ตารางที่ 3.5-1
ผลการเปรียบเทียบปริมาณจราจรผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงนอกชั่วโมงเรงดวน ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น
ความ ความ ความ
จากการ แบบ จากการ แบบ จากการ แบบ
แตกตาง แตกตาง แตกตาง
สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
บริเวณจังหวัด เขาเมือง 9,257 8,083 -13 8,551 8,576 0 8,464 8,068 -5
ปริมณฑล
ตอนเหนือ ออกเมือง 7,504 6,945 -7 8,345 8,355 0 9,244 8,530 -8
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 7,337 6,398 -13 6,525 6,042 -7 7,576 5,649 -25
ตอนเหนือ ออกเมือง 3,864 3,816 -1 5,475 5,910 8 6,763 6,835 1
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 7,544 7,581 0 6,793 5,714 -16 5,943 5,411 -9
ตอนกลาง ออกเมือง 4,498 4,551 1 7,621 7,063 -7 9,124 8,744 -4
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 13,823 13,194 -5 10,222 11,212 10 8,227 7,379 -10
ตอนใต ออกเมือง 5,836 5,785 -1 10,088 10,281 2 12,323 10,858 -12
เขาเมือง 37,961 35,256 -7 32,091 31,544 -2 30,210 26,507 -12
รวม
ออกเมือง 21,702 21,096 -3 31,529 31,609 0 37,454 34,968 -7
หมายเหตุ : บริเวณจังหวัดปริมณฑลตอนเหนือ รวมสะพานวงแหวนรอบนอก สะพานปทุมธานี สะพานนนทบุรี สะพานพระนั่งเกลา และสะพานพระราม 5
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนเหนือ รวมสะพานพระราม 7 สะพานกรุงธนบุรี และสะพานระราม 8
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนกลาง รวมสะพานพระปนเกลา สะพานพุทธยอดฟา และสะพานพระปกเกลา
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนใต รวมสะพานตากสิน สะพานพระราม 3 สะพานกรุงเทพ และสะพานพระรามเกา

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-7 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

3.5.2 ปริมาณจราจรที่ใชทางดวน

จากการรวบรวมปริมาณจราจรที่ใชทางดวนของการทางพิเศษแหงประเทศไทย ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2546


มีปริมาณรถที่ใชทางพิเศษเฉลิมมหานคร (ทางดวนขั้นที่ 1) จํานวน 394,635 คันตอวัน และปริมาณรถที่ใชทาง
พิเศษศรีรัช (ทางดวนขั้นที่ 2) สวน A B และ C จํานวน 308,924 คันตอวัน ซึ่งเปรียบเทียบผลจากแบบจําลอง
ในทางพิเศษเฉลิมมหานครมีปริมาณจราจร 394,738 คันตอวัน และทางพิเศษศรีรัชมีปริมาณจราจร 290,646
คันตอวัน จะเห็นไดวามีปริมาณจราจรใกลเคียงเปนที่ยอมรับ โดยมีความแตกตางรอยละ 0 และ –5.9 ตามลําดับ
ผลการเปรียบเทียบแสดงในตารางที่ 3.5-2

ตารางที่ 3.5-2
ผลการเปรียบเทียบปริมาณจราจรที่ใชทางดวน

ปริมาณจราจร (คันตอวัน) ความแตกตาง


ขอมูลรวบรวมจาก กทพ. แบบจําลอง (รอยละ)
ทางพิเศษเฉลิมมหานคร
ชวงดินแดง-ตางระดับทาเรือ 116,566 103,308 -11.4
ชวงบางนา-ตางระดับทาเรือ 154,137 150,892 -2.1
ชวงดาวคะนอง-ตางระดับทาเรือ 123,932 140,538 13.4
รวม 394,635 394,738 0.0
ทางพิเศษศรีรัช
สวน A 88,472 76,138 -13.9
สวน B 94,639 80,338 -15.1
สวน C 125,812 134,169 6.6
รวม 308,924 290,646 -5.9

3.5.3 ปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา

จากขอมูลปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางที่ไดจากการสํารวจนํามาเปรียบเทียบกับปริมาณผูโดยสารที่ได
จากแบบจําลองซึ่งเปนตัวเลขรวมของกลุมรถโดยสารทั่วไป (Standard) และกลุมมาตรฐานสูง/รถโดยสาร
ปรับอากาศ (Upmarket) แสดงในตารางที่ 3.5-3 จะเห็นไดวา ปริมาณผูโดยสารจากแบบจําลองที่ผานสะพาน
ขามแมน้ําเจาพระยาในขาเขาเมืองมีทั้งสิ้น 33,067 คน 19,143 คน และ 19,204 คน ซึ่งตางจากการสํารวจ
รอยละ 2 -3 และ -4 ในชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น และชวงนอกชั่วโมงเรงดวน
ตามลําดับ สําหรับขาออกเมืองมีปริมาณผูโดยสารที่ผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยาในแบบจําลองจํานวน
11,792 คน 28,098 คน และ 19,643 คน ซึ่งตางจากสํารวจรอยละ -3 -5 และ -4 ในชวงชั่วโมงเรงดวน
ตอนเชา ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น และชวงนอกชั่วโมงเรงดวน ตามลําดับ

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-8 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

ตารางที่ 3.5-3
ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา

ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงนอกชั่วโมงเรงดวน ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น


ความ ความ ความ
จากการ แบบ จากการ แบบ จากการ แบบ
แตกตาง แตกตาง แตกตาง
สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
บริเวณจังหวัด เขาเมือง 1,420 1,603 13 564 454 -19 795 939 18
ปริมณฑล
ตอนเหนือ ออกเมือง 651 788 21 1,012 912 -10 1,807 1,928 7
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 5,462 4,740 -13 3,519 2,949 -16 4,410 4,031 -9
ตอนเหนือ ออกเมือง 2,817 2,550 -9 3,221 3,364 4 5,183 4,973 -4
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 15,440 16,352 6 10,251 9,388 -8 8,443 7,586 -10
ตอนกลาง ออกเมือง 5,150 5,021 -3 11,508 9,583 -17 14,455 12,753 -12
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 10,018 10,372 4 5,731 6,412 12 5,991 6,587 10
ตอนใต ออกเมือง 3,490 3,433 -2 4,668 5,784 24 8,066 8,444 5
เขาเมือง 32,340 33,067 2 20,065 19,204 -4 19,639 19,143 -3
รวม
ออกเมือง 12,108 11,792 -3 20,409 19,643 -4 29,511 28,098 -5
หมายเหตุ : บริเวณจังหวัดปริมณฑลตอนเหนือ รวมสะพานวงแหวนรอบนอก สะพานปทุมธานี สะพานนนทบุรี สะพานพระนั่งเกลา และสะพานพระราม 5
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนเหนือ รวมสะพานพระราม 7 สะพานกรุงธนบุรี และสะพานระราม 8
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนกลาง รวมสะพานพระปนเกลา สะพานพุทธยอดฟา และสะพานพระปกเกลา
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนใต รวมสะพานตากสิน สะพานพระราม 3 สะพานกรุงเทพ และสะพานพระรามเกา

3.5.4 ปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานแนวที่กําหนด

ที่ปรึกษาไดทําการสํารวจปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางบนชวงถนน ณ จุดตางๆ ซึ่งสามารถจัดทําเปน


แนว Screenline ไดจํานวน 6 แนว ดังแสดงในรูปที่ 3.5-1 และไดผลเปรียบเทียบปริมาณผูโดยสารจากการ
สํารวจและแบบจําลองทั้งชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น และชวงนอกชั่วโมงเรงดวน
ดังแสดงในตารางที่ 3.5-4

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-9 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

รูปที่ 3.5-1
แนว Screen Lines

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-10 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

ตารางที่ 3.5-4
ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานแนวที่กําหนด
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงนอกชั่วโมงเรงดวน ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น
Screenline ความ ความ ความ
จากการ แบบ จากการ แบบ จากการ แบบ
แตกตาง แตกตาง แตกตาง
สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
Screenline มุงตะวันออก 11,037 13,119 19 13,574 14,607 8 17,013 20,317 19
S1 มุงตะวันตก 18,118 16,617 -8 14,087 11,933 -15 15,268 14,259 -7
Screenline มุงตะวันออก 22,908 25,340 11 22,746 22,108 -3 27,948 31,044 11
S2 มุงตะวันตก 37,571 29,568 -6 23,170 23,254 0 24,199 26,512 10
Screenline มุงตะวันออก 9,499 9,375 -1 6,155 6,120 -1 8,129 7,425 -9
S3 มุงตะวันตก 4,390 5,140 17 6,446 6,215 -4 10,192 9,620 -6
Screenline มุงตะวันออก 25,798 29,985 16 17,708 18,896 7 16,917 17,634 4
S4 มุงตะวันตก 11,902 10,277 -14 16,921 14,317 -15 21,309 18,629 -13
Screenline มุงเหนือ 8,660 9,632 11 9,227 9,471 3 11,789 13,578 15
S5 มุงใต 12,642 14,371 14 9,049 9,192 2 10,731 12,011 12
Screenline มุงเหนือ 9,411 7,823 -17 4,071 4,317 6 5,368 5,409 1
S6 มุงใต 5,885 4,777 -19 4,472 4,320 -3 6,330 6,700 6

3.5.5 ปริมาณผูใชบริการเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยา

จากขอมูลปริมาณผูใชบริการเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยาที่รวบรวมไดสามารถนํามาเปรียบเทียบกับผลที่ไดจาก
แบบจําลอง ดังแสดงในตารางที่ 3.5-5

ตารางที่ 3.5-5
ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการเรือขามฟากแมน้ําเจาพระยา
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงนอกชั่วโมงเรงดวน ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น
ความ ความ ความ
จากการ แบบ จากการ แบบ จากการ แบบ
แตกตาง แตกตาง แตกตาง
สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง สํารวจ จําลอง
(รอยละ) (รอยละ) (รอยละ)
บริเวณจังหวัด เขาเมือง 2,508 2,831 13 1,021 939 -8 2,159 1,923 -11
ปริมณฑล
ออกเมือง 1,951 1,602 -18 1,069 1,029 -4 2,554 2,523 -1
ตอนเหนือ
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 534 602 13 218 220 1 460 570 24
ตอนเหนือ ออกเมือง 416 494 19 227 268 18 543 632 16
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 3,415 3,724 9 1,392 1,283 -8 2,941 2,325 -21
ตอนกลาง ออกเมือง 2,657 2,350 -12 1,454 1,317 -9 3,481 3,165 -9
บริเวณกรุงเทพฯ เขาเมือง 5,640 5,540 -2 2,297 1,975 -14 4,856 3,918 -19
ตอนใต ออกเมือง 4,386 3,593 -18 2,402 2,038 -15 5,745 4,997 -13
หมายเหตุ : บริเวณจังหวัดปริมณฑลตอนเหนือ นับตั้งแตชวงสะพานพระราม 7 ขึ้นไป
บริเวณกรงเทพฯ ตอนเหนือ เริ่มจากชวงสะพานพระราม 7 ถึงบริเวณสะพานพระปนเกลา
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนกลาง เริ่มจากชวงสะพานพระปนเกลาถึงบริเวณสะพานพุทธ
บริเวณกรุงเทพฯ ตอนใต ตั้งแตสะพานพุทธลงไปจนถึงสมุทรปราการ

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-11 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

3.5.6 ปริมาณผูใชบริการเรือโดยสาร

จากข อมูลปริมาณผูใช บริก ารเรือโดยสารในแมน้ํา เจาพระยาและคลองแสนแสบที่ ร วบรวมได ส ามารถนํ า มา


เปรียบเทียบกับผลที่ไดจากแบบจําลอง ดังแสดงในตารางที่ 3.5-6

ตารางที่ 3.5-6
ผลการเปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการเรือโดยสาร

ปริมาณผูโดยสารตอวัน ความแตกตาง
ประเภทบริการ
จากการรวบรวม แบบจําลอง (รอยละ)
เรือดวนเจาพระยา 50,799 46,656 -8.2
เรือโดยสารในคลองแสนแสบ 39,777 36,984 -7.0
หมายเหตุ : ปริมาณผูโดยสารที่รวบรวมไดเปนปริมาณผูโดยสารเฉลี่ยตอวัน

3.5.7 ปริมาณผูใชบริการรถไฟฟาบีทีเอส

จากขอมูลปริมาณผูใชบริการรถไฟฟาบีทีเอสที่รวบรวมไดสามารถนํามาเปรียบเทียบกับผลที่ไดจากแบบจําลอง
ดังแสดงในตารางที่ 3.5-7

ตารางที่ 3.5-7
เปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถไฟฟาบีทีเอส

ปริมาณผูโดยสาร
ชวงเวลา
จากการรวบรวม จากแบบจําลอง ความแตกตาง (รอยละ)
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา (ตอชั่วโมง) 22,330 20,469 -8
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น (ตอชั่วโมง) 32,638 28,598 -12
ชวงนอกชั่วโมงเรงดวน (ตอชั่วโมง) 12,807 11,533 -10
ปริมาณผูโดยสารตอวัน 366,513 324,796 -11

3.5.8 ปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ

จากขอมูลปริมาณผูโดยสารจากจํานวนตั๋วที่จําหนายตอวันขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพซึ่งแยกเปนจํานวน
ผูใชบริการรถโดยสารธรรมดาและรถโดยสารปรับอากาศแยกตามเขตการเดินรถตางๆ สามารถนํามา
เปรียบเทียบกับผลที่ไดจากแบบจําลอง ดังแสดงในตารางที่ 3.5-8

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-12 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 3
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน

ตารางที่ 3.5-8
เปรียบเทียบปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ

ปริมาณผูโดยสารตอวัน
ความแตกตาง (รอยละ)
ขอมูล ขสมก. แบบจําลอง
เขตการเดินรถ
รถ รถ รถ
รถธรรมดา รถธรรมดา รถธรรมดา
ปรับอากาศ ปรับอากาศ ปรับอากาศ
เขตการเดินรถที่ 1 100,357 154,750 92,883 146,959 -7.4 -5.0
เขตการเดินรถที่ 2 125,036 137,571 141,230 153,131 13.0 11.3
เขตการเดินรถที่ 3 110,000 122,214 112,579 129,284 2.3 5.8
เขตการเดินรถที่ 4 54,250 219,179 64,046 230,207 18.1 5.0
เขตการเดินรถที่ 5 83,429 78,429 72,158 82,074 -13.5 4.6
เขตการเดินรถที่ 6 62,429 165,714 72,760 140,357 16.5 -15.3
เขตการเดินรถที่ 7 106,393 193,000 107,331 213,628 0.9 10.7
เขตการเดินรถที่ 8 65,643 154,964 72,120 179,625 9.9 15.9
รวม 707,537 1,225,821 735,107 1,275,265 3.9 4.0

3.5.9 สรุปผลการปรับเทียบแบบจําลอง

เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาเกี่ยวกับการใหบริการรถโดยสารประจําทาง ซึ่งเปนบริการระบบขนสง
สาธารณะประเภทหนึ่งที่มีความสําคัญในการรองรับความตองการเดินทางของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
และปริมณฑล ดังนั้นในการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน ที่ปรึกษาจึงไดเนนที่จะทําการ
ปรับเทียบในสวนของระบบขนสงสาธารณะที่ใหบริการอยูในปจจุบัน เพื่อที่จะใหไดแบบจําลองที่สามารถจําลอง
สภาพการจราจรและขนสงโดยเฉพาะอยางยิ่งระบบขนสงสาธารณะใหไดใกลเคียงกับสภาพจริง ขอมูลที่ทําการ
ตรวจสอบประกอบดวย ปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานสะพานขามแมน้ําเจาพระยา ปริมาณ
ผูใชบริการรถโดยสารประจําทางผานแนวที่กําหนด (Screenline) ปริมาณผูโดยสารที่ใชบริการเรือขามฟากแมน้ํา
เจาพระยา ปริมาณผูใชบริการเรือโดยสารในแมน้ําเจาพระยาและคลองแสนแสบ ปริมาณผูโดยสารที่ใชบริการ
รถไฟฟาบีทีเอส และโดยเฉพาะอยางยิ่งปริมาณผูใชบริการรถโดยสารประจําทางขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพ
จากผลการปรับเทียบพบวา แบบจําลองที่พัฒนาขึ้นสามารถจําลองสภาพการจราจรและขนสงในปจจุบันได
ใกลเคียงกับสภาพจริง โดยมีคาความแตกตางอยูในระดับที่ยอมรับไดซึ่งที่ปรึกษาจะใชแบบจําลองสภาพ
การจราจรปปจจุบันที่พัฒนาขึ้นนี้เปนแบบจําลองฐานในการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคตตอไป

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 3-13 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


บทที่ 4

การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคต
โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคต

บทที่ 4
การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคต

ในการศึกษาครั้งนี้ ที่ปรึกษาจะไดทําการศึกษาคาดการณสภาพการจราจรและขนสงที่ปอนาคต ไดแก

พ.ศ. 2549
พ.ศ. 2554 และ
พ.ศ. 2559

โดยใชแบบจําลองสภาพการจราจรปปจจุบัน (พ.ศ. 2546) ซึ่งผานการปรับเทียบแลวเปนแบบจําลองฐานในการ


พัฒนา การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคตนี้ทําโดยการปรับปรุงโครงขายคมนาคมขนสงตาม
แผนการพัฒนาระบบการจราจรและขนสงในอนาคตของหนวยงานรัฐที่เกี่ยวของ รวมทั้งทําการวิเคราะหปริมาณ
การเดินทางที่จะเกิดขึ้นในอนาคตดวย

4.1 ปริมาณความตองการเดินทางปอนาคต

จากผลการศึกษาทบทวนและคาดประมาณขอมูลดานเศรษฐกิจและสังคมซึ่งเปนตัวแปรที่มีผลตอปริมาณการ
เดินทางในอนาคต ไดแก จํานวนประชากร จํานวนการจางงาน ฯลฯ ดังกลาวมาแลวในหัวขอ 2.4 ที่ปรึกษาไดนํา
ขอมูลดังกลาวมาทําการวิเคราะหหาปริมาณความตองการเดินทางที่ปอนาคต โดยใชแบบจําลองการเกิดการเดินทาง
ผลการวิเคราะหแสดงในตารางที่ 4.1-1 จะเห็นไดวา ปริมาณความตองการเดินทางจะเพิ่มจาก 16.7 ลานเที่ยว
ตอวัน ในป พ.ศ. 2546 เปนจํานวน 17.5 20.0 และ 22.1 ลานเที่ยวตอวัน ในป พ.ศ. 2549 พ.ศ. 2554
และ พ.ศ. 2559 ตามลําดับ โดยที่ในป พ.ศ. 2559 จะมีปริมาณความตองการเดินทางเพิ่มขึ้นรอยละ 32 เมื่อ
เทียบกับปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

ตารางที่ 4.1-1
ปริมาณความตองการเดินทางปอนาคต

หนวย : ลานเที่ยวตอวัน
ป พ.ศ. ปริมาณความตองการเดินทาง
2546 16.7
2549 17.5
2554 20.0
2559 22.1

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 4-1 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคต

4.2 สัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางปอนาคต

สัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางโดยใชยานพาหนะสวนบุคคลกับการเดินทางโดยใชระบบขนสงสาธารณะ
ขึ้นอยูกับปจจัยดานเศรษฐกิจและสังคม ความสะดวกรวดเร็ว รวมทั้งคาใชจายในการเดินทางที่เกิดขึ้นของทั้ง
ระบบโครงขายถนนและระบบขนสงสาธารณะ ผลการวิเคราะหสัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางที่ปอนาคต
แสดงในตารางที่ 4.2-1

ตารางที่ 4.2-1
สัดสวนการเลือกรูปแบบการเดินทางปอนาคต

ปริมาณความตองการเดินทาง (ลานเที่ยวตอวัน) สัดสวน (รอยละ)


ป พ.ศ. ยานพาหนะ ยานพาหนะ
ขนสงสาธารณะ รวม ขนสงสาธารณะ
สวนบุคคล สวนบุคคล
2549 9.6 7.9 17.5 55 45
2554 11.0 9.0 20.0 55 45
2559 12.0 10.1 22.1 54 46

จะเห็นไดวา สัดสวนปริมาณความตองการเดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคลมีคาสูงกวาปริมาณความตองการ
เดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ รายละเอียดปริมาณความตองการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะที่ปอนาคต
แยกตามชวงเวลา แสดงในตารางที่ 4.2-2

ตารางที่ 4.2-2
ปริมาณความตองการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะปอนาคต

หนวย : คน-เที่ยวตอชั่วโมง
ป พ.ศ. ปริมาณการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงเวลานอกชั่วโมงเรงดวน ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น
2549 421,974 352,157 443,080
2554 473,503 400,848 501,033
2559 523,931 447,047 555,237

ขณะที่ปริมาณความตองการเดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคลแยกตามชวงเวลา แสดงในตารางที่ 4.2-3

ตารางที่ 4.2-3
ปริมาณความตองการเดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคลปอนาคต
หนวย : PCUตอชั่วโมง
ปริมาณการเดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคล
ป พ.ศ.
ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเชา ชวงเวลานอกชั่วโมงเรงดวน ชวงชั่วโมงเรงดวนตอนเย็น
2549 520,703 461,247 514,195
2554 609,280 537,140 599,635
2559 668,677 581,161 655,419

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 4-2 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


โครงการศึกษาปรับปรุงเสนทางรถโดยสารประจําทาง บทที่ 4
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล การพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคต

4.3 การพัฒนาแบบจําลองสภาพจราจรเพื่อการคาดการณ

แบบจําลองสภาพการจราจรปอนาคตจะใชเปนแบบจําลองพื้นฐานเพื่อประเมินคาดการณกรณีศึกษาการพัฒนา
เสนทางรถโดยสารประจําทาง โดยจัดทําเปนกรณีศึกษาจํานวน 4 กรณี คือ

1) กรณีศึกษาเสนทางเดิม เปนโครงขายเสนทางรถโดยสารที่ใชอยูในปจจุบัน
2) กรณีศึกษาเสนทางใหม ทําการเปลี่ยนแปลงเสนทางรถโดยสารใหมที่เสนอแนะ
3) กรณี Bus Priority ทําการเปลี่ยนแปลงเสนทางรถโดยสารใหมที่เสนอแนะ และมี
การจัด Bus Priority ในเสนทางหลัก
4) กรณี BRT ทําการเปลี่ยนแปลงโครงขายใหมีเสนทาง BRT ที่นําเสนอ จํานวน
9 เสนทาง และมีเสนทาง Feeder มารองรับ

กรณีศึกษา 1 และ 2 เสนทางรถโดยสารประจําทางจะวิ่งในกระแสจราจรปกติ สวนกรณีศึกษาที่ 3 และ 4


ตั้งสมมติฐานใหชองทางรถโดยสารประจําทางใชพื้นที่จราจร 1 ชองทาง ซึ่งมีผลใหเกิดการลดความจุ (Capacity)
ของเสนทางถนนสายหลักในแนวที่ไดรับการออกแบบ โดยรายละเอียดการจัดทํากรณีศึกษาการพัฒนาแบบจําลอง
และการคาดการณจะไดนําเสนอในรายงาน Bus Route Improvement and Development Plan ตอไป

แพลนโปร / อัลเมค / เทสโก 4-3 รายงานการพัฒนาแบบจําลองสภาพการจราจร (ฉบับแกไข)


ภาคผนวก ก

ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง
จําแนกตามพื้นที่ยอยปปจจุบัน
ตารางที่ ก-1
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
1 17,370 72,896
2 39,908 67,347
3 44,229 71,444
4 35,541 114,927
5 47,865 103,195
6 18,952 27,964
7 19,646 40,640
8 31,285 45,913
9 25,936 60,106
10 24,430 41,531
11 36,842 54,130
12 10,068 26,021
13 6,363 14,270
14 14,764 17,102
15 10,511 9,661
16 9,313 19,916
17 20,858 21,799
18 28,572 11,991
19 40,528 17,421
20 7,370 13,630
21 7,157 14,672
22 14,489 12,828
23 48,350 39,068
24 10,923 13,711
25 4,265 10,133
26 24,580 31,591
27 29,970 21,039
28 52,501 26,956
29 16,706 19,470
30 26,518 28,695
31 36,641 58,088
32 23,305 17,739
33 21,811 24,974
34 14,423 9,902
35 21,381 21,286
36 22,601 17,257
37 18,162 19,743
38 7,664 6,367
39 6,581 11,021
40 2,690 9,132

ก-1
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
41 21,180 19,914
42 7,534 17,821
43 21,302 30,040
44 24,886 28,326
45 10,268 12,632
46 7,000 5,944
47 7,402 9,204
48 7,007 7,267
49 25,981 27,645
50 14,421 11,165
51 24,865 20,438
52 19,324 13,764
53 14,643 23,607
54 20,515 16,177
55 12,307 22,448
56 13,843 16,047
57 85,975 28,986
58 23,588 21,866
59 17,143 22,627
60 28,849 37,055
61 22,960 26,796
62 3,024 19,438
63 3,436 22,124
64 3,860 13,150
65 6,703 34,435
66 2,877 26,082
67 3,933 12,041
68 8,819 39,973
69 97,181 92,218
70 19,587 15,591
71 12,585 13,043
72 27,281 25,474
73 42,296 22,869
74 4,184 7,768
75 8,219 18,920
76 13,783 38,472
77 20,940 46,764
78 8,908 14,339
79 28,266 87,307
80 15,271 39,820

ก-2
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
81 22,660 89,698
82 39,976 167,151
83 6,827 9,976
84 61,005 46,186
85 32,599 20,454
86 17,765 15,081
87 33,144 44,818
88 5,271 13,349
89 13,332 29,116
90 31,202 17,803
91 13,531 10,725
92 15,565 14,788
93 13,728 14,730
94 23,977 27,839
95 16,053 33,075
96 51,849 39,498
97 47,355 30,732
98 36,059 26,597
99 15,682 17,921
100 13,729 59,793
101 13,743 19,358
102 15,130 8,833
103 8,883 21,619
104 13,982 30,121
105 5,319 21,133
106 7,566 66,759
107 6,870 31,982
108 11,512 53,221
109 16,463 45,294
110 22,743 22,612
111 19,434 15,378
112 19,260 42,048
113 18,974 24,930
114 27,968 35,028
115 9,310 27,764
116 20,554 17,786
117 19,870 18,976
118 24,670 35,859
119 58,394 89,303
120 44,633 65,868

ก-3
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
121 60,300 51,451
122 81,371 194,706
123 39,574 61,643
124 64,081 165,019
125 33,814 127,113
126 36,701 56,970
127 32,422 26,301
128 23,772 22,246
129 28,305 26,900
130 21,906 35,220
131 24,980 88,744
132 14,687 32,669
133 9,852 29,942
134 18,144 11,338
135 20,296 29,452
136 27,954 44,186
137 19,041 57,613
138 58,979 100,325
139 27,468 68,479
140 20,291 29,603
141 21,985 40,196
142 15,079 27,496
143 41,094 53,445
144 25,973 87,548
145 8,653 24,780
146 22,343 21,163
147 2,935 6,799
148 3,505 8,981
149 2,648 4,201
150 23,342 27,814
151 22,690 30,692
152 13,349 25,496
153 24,125 43,340
154 32,886 66,308
155 11,731 62,184
156 27,432 44,021
157 27,429 45,221
158 68,535 55,593
159 29,956 82,048
160 73,868 37,327

ก-4
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
161 26,569 10,432
162 94,775 38,832
163 15,742 10,573
164 36,875 36,836
165 27,312 44,417
166 137,046 51,251
167 43,825 59,097
168 96,666 31,130
169 34,219 60,494
170 18,051 17,495
171 1,934 3,806
172 8,966 9,614
173 79,526 39,837
174 25,003 36,309
175 44,955 51,373
176 62,550 116,508
177 2,441 64,295
178 33,375 85,204
179 27,456 31,371
180 8,171 12,535
181 6,581 19,197
182 10,129 18,217
183 72,672 34,075
184 18,253 24,309
185 175,415 51,843
186 22,108 17,362
187 51,690 16,664
188 66,005 14,709
189 3,520 5,568
190 6,626 5,639
191 6,798 6,148
192 50,593 19,692
193 41,809 8,961
194 28,863 16,422
195 22,349 20,300
196 52,718 29,959
197 31,103 22,975
198 23,450 29,001
199 106,636 29,951
200 19,521 12,511

ก-5
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
201 61,735 34,264
202 7,004 24,470
203 4,355 12,924
204 30,941 25,917
205 80,178 34,608
206 41,018 22,211
207 42,484 13,931
208 49,950 25,613
209 79,662 47,348
210 12,058 39,773
211 4,453 5,483
212 16,376 60,939
213 6,136 15,073
214 12,467 20,772
215 30,972 34,320
216 28,942 27,486
217 13,959 19,656
218 8,723 18,377
219 22,903 29,060
220 17,859 33,198
221 52,281 29,278
222 111,015 39,568
223 69,825 32,032
224 35,832 49,552
225 31,914 16,013
226 7,253 17,854
227 15,197 9,633
228 5,401 12,836
229 11,421 29,321
230 6,861 19,490
231 15,763 10,874
232 11,999 26,513
233 4,508 9,189
234 7,365 31,590
235 4,120 9,611
236 17,517 33,584
237 9,048 44,518
238 68,542 17,260
239 91,588 25,764
240 81,914 33,651

ก-6
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
241 23,168 7,390
242 104,639 33,645
243 5,873 4,607
244 17,267 9,711
245 13,249 29,039
246 19,156 13,893
247 50,016 108,020
248 28,997 48,686
249 44,120 16,697
250 26,312 16,803
251 73,426 24,731
252 14,251 9,627
253 73,349 73,490
254 21,050 17,809
255 5,284 13,504
256 47,382 40,304
257 81,614 17,524
258 15,039 22,764
259 19,622 81,439
260 18,507 39,996
261 1,417 3,778
262 17,306 21,966
263 9,027 5,346
264 4,497 8,863
265 19,243 5,846
266 12,117 10,400
267 9,438 7,690
268 56,274 20,339
269 25,674 14,881
270 7,601 19,443
271 14,294 6,061
272 15,400 15,309
273 23,458 33,830
274 29,799 12,600
275 28,812 16,791
276 2,748 5,754
277 6,823 17,159
278 35,585 34,173
279 9,443 11,191
280 22,726 14,142

ก-7
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
281 51,175 16,899
282 16,680 12,587
283 18,243 7,978
284 9,915 12,390
285 18,261 8,590
286 37,609 24,651
287 13,710 8,328
288 23,955 11,595
289 32,862 10,911
290 8,583 4,111
291 8,546 7,853
292 43,498 36,282
293 13,859 9,968
294 9,524 7,187
295 4,716 17,228
296 3,714 5,849
297 5,252 29,841
298 123,076 76,817
299 17,336 20,970
300 25,065 12,652
301 103,028 82,739
302 20,882 14,256
303 18,345 13,205
304 26,012 19,173
305 17,373 14,123
306 82,681 56,558
307 32,966 50,886
308 49,646 53,382
309 14,018 13,566
310 31,098 9,142
311 48,483 26,009
312 23,644 27,523
313 30,656 27,140
314 41,567 33,262
315 16,916 12,193
316 5,754 27,777
317 87,447 40,251
318 50,697 35,630
319 82,336 44,506
320 17,996 36,423

ก-8
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
321 36,705 37,051
322 71,295 12,532
323 53,286 12,886
324 29,986 12,746
325 34,826 11,529
326 28,879 64,231
327 27,863 72,303
328 42,287 41,483
329 96,188 21,838
330 34,175 11,189
331 53,904 34,978
332 13,368 15,840
333 49,233 25,266
334 18,254 15,120
335 12,347 5,368
336 9,280 9,118
337 6,705 3,860
338 10,756 5,381
339 5,295 3,739
340 3,961 3,631
341 40,402 79,435
342 33,230 64,556
343 32,350 28,664
344 13,600 6,418
345 38,192 122,912
346 36,790 17,243
347 24,359 6,664
348 8,167 4,925
349 15,048 6,395
350 33,561 37,204
351 23,942 13,765
352 23,996 35,365
353 15,164 12,602
354 18,158 8,882
355 104,827 15,938
356 130,495 174,409
357 172,940 54,491
358 92,581 105,131
359 76,346 23,534
360 13,837 96,911

ก-9
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
361 38,604 71,877
362 8,012 17,482
363 85,281 47,999
364 48,533 45,459
365 57,600 73,464
366 34,699 76,691
367 25,110 63,845
368 22,478 22,120
369 53,298 89,179
370 11,768 22,319
371 11,561 16,952
372 8,671 5,000
373 7,115 4,745
374 19,090 18,133
375 4,587 3,695
376 5,068 3,761
377 12,955 12,585
378 10,345 7,692
379 9,496 7,988
380 26,667 9,554
381 120,387 99,990
382 72,276 87,187
383 130,794 44,771
384 121,622 52,754
385 164,400 50,502
386 12,037 5,446
387 20,998 8,285
388 19,459 5,473
389 12,709 8,172
390 11,418 4,622
391 85,572 34,434
392 15,255 9,818
393 76,711 66,583
394 23,723 21,894
395 59,033 20,025
396 25,328 8,675
397 18,338 4,969
398 74,554 69,622
399 11,456 5,710
400 27,259 7,698

ก-10
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
401 16,240 6,022
402 11,160 5,682
403 8,205 7,819
404 11,271 5,494
405 12,745 5,766
406 18,043 8,329
407 16,998 8,405
408 11,327 6,766
409 12,169 7,149
410 12,691 8,207
411 14,025 4,413
412 80,251 19,863
413 7,817 3,975
414 13,241 7,602
415 6,454 3,919
416 39,880 50,844
417 7,827 3,969
418 19,670 8,330
419 8,808 4,016
420 15,777 6,665
421 9,032 5,016
422 28,864 13,731
423 10,370 16,868
424 15,460 33,820
425 10,538 5,992
426 6,840 3,992
427 7,424 8,136
428 34,830 40,221
429 16,124 12,092
430 14,976 8,325
431 12,430 32,525
432 18,040 8,097
433 12,996 28,187
434 17,068 6,449
435 8,389 5,876
436 19,935 10,152
437 12,771 6,181
438 18,366 8,619
439 28,667 24,691
440 126,513 92,055

ก-11
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
441 27,392 19,348
442 30,341 19,369
443 109,573 70,821
444 38,723 23,865
445 15,625 7,445
446 164,389 301,422
447 43,237 12,956
448 43,634 13,630
449 70,687 12,982
450 67,055 37,590
451 85,070 106,205
452 106,432 20,077
453 129,108 51,970
454 25,782 7,173
455 64,163 52,349
456 105,975 137,111
457 46,230 33,380
458 24,793 7,366
459 43,869 20,333
460 18,377 34,616
461 43,976 15,791
462 31,140 8,978
463 37,966 11,180
464 27,896 8,207
465 10,987 5,904
466 16,165 5,910
467 14,427 15,295
468 4,768 8,088
469 27,946 9,746
470 28,228 11,210
471 31,250 20,923
472 25,222 7,187
473 36,265 12,571
474 51,657 35,298
475 12,814 23,646
476 58,467 13,905
477 37,113 9,643
478 27,178 7,640
479 13,733 6,530
480 23,706 29,288

ก-12
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
481 38,626 12,462
482 16,581 20,839
483 11,616 14,470
484 28,321 53,386
485 22,234 19,057
486 54,448 90,679
487 22,427 12,012
488 13,125 22,960
489 5,513 7,016
490 11,281 6,350
491 13,389 20,416
492 8,648 6,890
493 8,386 4,833
494 111,524 82,684
495 116,370 255,539
496 51,476 63,240
497 23,780 27,377
498 9,190 4,672
499 10,158 7,283
500 42,192 17,605
501 32,410 11,735
502 15,950 8,007
503 13,254 18,248
504 13,016 7,379
505 33,008 18,328
521 51,423 26,925
522 3,539 8,991
523 21,190 8,325
524 18,453 7,895
525 3,209 7,209
526 3,508 6,528
527 3,657 7,497
528 22,521 8,278
529 22,304 6,492
530 13,616 5,978
531 13,532 5,474
532 22,977 8,401
533 22,550 8,543
534 22,414 8,199
535 6,151 6,174

ก-13
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
536 6,389 11,943
537 9,315 6,686
538 10,079 9,666
539 9,442 8,351
540 9,901 8,694
541 19,071 12,331
542 16,105 9,456
543 19,757 17,502
544 7,802 7,882
545 10,564 22,025
546 32,557 62,143
547 11,259 26,390
548 5,086 20,151
549 29,028 39,520
550 5,714 23,158
551 18,053 6,764
552 18,616 37,387
553 17,491 21,164
554 21,550 54,109
555 12,809 20,233
556 26,459 102,248
557 36,907 120,035
558 9,544 18,603
559 18,901 17,471
560 19,492 19,839
561 18,427 13,631
562 20,239 24,310
563 14,218 18,339
564 17,470 19,124
565 16,209 29,024
566 16,888 15,651
567 7,851 14,502
568 14,018 16,232
569 10,872 33,217
570 4,503 15,908
571 23,947 81,573
572 5,167 24,226
573 12,847 34,922
574 13,093 15,180
575 8,334 10,135

ก-14
ตารางที่ ก-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยปปจจุบัน (พ.ศ. 2546)

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
576 9,117 18,556
577 16,655 16,790
578 6,139 17,189
579 9,881 14,453
580 13,504 22,058
581 23,963 30,684
582 7,378 7,100
583 23,725 8,271
584 34,071 14,736
585 20,131 8,263
586 8,046 9,658
587 8,066 11,482
588 7,206 13,398
589 13,960 10,638
590 3,369 11,534
591 2,783 9,039
592 10,773 24,017
593 23,355 10,444
594 13,349 8,591
595 13,947 8,896
596 20,087 13,042
597 40,917 22,167
598 14,121 12,402
599 27,216 14,330
รวม 16,693,116 16,693,116

ก-15
ภาคผนวก ข

ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง
จําแนกตามพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
ตารางที่ ข-1
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
1 19,258 74,748
2 41,507 72,037
3 45,636 76,466
4 39,801 125,509
5 50,511 109,592
6 19,526 30,217
7 20,113 41,131
8 31,764 49,638
9 27,716 63,854
10 24,676 42,506
11 39,042 58,459
12 10,900 28,343
13 6,636 14,912
14 15,040 17,861
15 10,881 9,855
16 9,707 19,139
17 21,152 22,184
18 27,458 12,342
19 38,830 17,191
20 7,874 14,222
21 7,570 14,601
22 14,125 13,423
23 45,985 37,304
24 10,916 13,842
25 4,339 9,871
26 24,796 32,250
27 30,071 21,569
28 51,026 26,912
29 16,976 20,228
30 25,815 28,433
31 37,178 61,427
32 22,775 18,422
33 21,777 26,642
34 13,964 10,221
35 20,871 21,558
36 21,908 17,585
37 17,868 20,289
38 7,543 6,357
39 6,515 10,719
40 2,888 9,311
ข-1
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
41 20,769 19,929
42 7,700 17,791
43 20,763 30,201
44 23,378 26,868
45 10,153 13,078
46 6,802 6,078
47 7,236 9,102
48 6,914 7,450
49 25,649 27,926
50 13,958 11,090
51 24,226 20,512
52 18,636 13,805
53 14,619 24,215
54 20,945 16,396
55 12,661 24,079
56 13,721 16,302
57 81,135 28,234
58 23,077 21,273
59 16,999 22,509
60 28,414 35,957
61 22,676 26,693
62 3,248 19,081
63 3,751 22,876
64 4,160 13,532
65 7,384 35,315
66 3,212 24,371
67 4,345 12,939
68 9,400 38,967
69 99,091 96,128
70 22,481 15,812
71 12,027 13,175
72 26,916 25,594
73 42,363 24,614
74 4,159 8,103
75 7,832 17,954
76 14,815 41,164
77 22,303 50,496
78 9,121 14,869
79 31,209 95,528
80 16,496 43,560
ข-2
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
81 25,835 94,737
82 47,332 184,770
83 7,217 10,347
84 60,569 49,091
85 31,336 21,019
86 17,212 15,577
87 32,832 44,235
88 5,554 13,759
89 13,422 28,611
90 30,305 17,700
91 13,515 10,957
92 15,660 14,260
93 13,821 14,854
94 24,352 28,968
95 16,444 34,062
96 52,166 40,272
97 47,431 31,063
98 35,953 27,158
99 15,741 18,401
100 16,420 66,673
101 13,945 19,820
102 14,864 8,689
103 9,544 23,326
104 14,309 29,819
105 5,917 22,050
106 8,502 64,139
107 8,162 34,853
108 13,521 57,312
109 17,839 47,117
110 23,334 22,713
111 19,888 15,955
112 20,733 43,778
113 19,630 26,001
114 28,519 35,968
115 10,028 29,364
116 20,485 18,295
117 19,625 19,935
118 25,524 36,607
119 60,034 89,956
120 47,209 68,689
ข-3
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
121 61,543 51,639
122 88,541 210,302
123 40,953 65,049
124 69,581 172,306
125 38,616 138,445
126 36,932 59,199
127 31,859 25,212
128 24,064 22,670
129 28,445 27,494
130 22,184 34,295
131 27,334 91,805
132 14,947 35,300
133 10,386 31,040
134 17,049 11,485
135 20,010 30,384
136 28,042 47,588
137 20,794 62,735
138 62,193 106,611
139 30,359 74,336
140 21,432 30,603
141 25,205 40,959
142 17,148 28,995
143 43,250 55,139
144 27,283 88,029
145 8,959 24,936
146 22,152 21,625
147 3,236 7,129
148 3,833 9,622
149 3,156 4,389
150 24,494 26,486
151 24,121 32,723
152 14,268 25,441
153 25,862 44,596
154 34,870 65,712
155 12,980 61,877
156 29,136 44,895
157 29,123 47,169
158 69,892 54,434
159 32,716 87,462
160 74,783 38,704
ข-4
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
161 28,032 10,551
162 99,280 35,995
163 19,154 10,827
164 39,621 39,437
165 25,341 25,608
166 146,207 53,774
167 45,928 62,670
168 102,625 32,290
169 36,067 62,611
170 18,834 17,810
171 2,104 3,975
172 9,572 9,597
173 88,033 41,825
174 26,024 38,672
175 48,385 53,965
176 65,614 119,763
177 2,603 56,645
178 35,067 90,640
179 28,149 32,806
180 8,477 13,012
181 6,582 18,004
182 10,114 16,453
183 74,667 30,700
184 18,208 22,483
185 174,511 46,836
186 22,540 17,043
187 54,631 15,116
188 68,154 14,780
189 3,837 5,860
190 7,236 6,198
191 5,674 6,940
192 60,733 21,227
193 44,326 8,531
194 31,223 17,263
195 24,166 21,456
196 55,606 30,175
197 32,263 23,915
198 24,550 29,675
199 112,098 31,201
200 20,255 13,382
ข-5
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
201 63,477 36,760
202 7,415 27,067
203 4,639 13,344
204 31,711 26,209
205 81,954 35,579
206 42,213 23,288
207 44,723 14,161
208 51,902 26,308
209 82,120 47,166
210 14,178 42,113
211 4,681 5,621
212 17,401 65,735
213 7,218 15,874
214 13,041 22,107
215 32,004 35,383
216 29,225 28,325
217 14,455 19,998
218 9,210 18,950
219 23,717 30,743
220 18,591 35,461
221 57,553 31,341
222 113,850 42,138
223 78,429 33,798
224 37,896 52,741
225 33,652 16,479
226 8,706 17,595
227 18,293 9,280
228 5,621 12,743
229 12,045 30,384
230 7,054 18,957
231 15,773 10,873
232 13,551 27,929
233 4,670 9,908
234 8,723 34,853
235 4,429 9,628
236 18,781 35,419
237 10,670 47,448
238 72,911 16,702
239 101,279 25,227
240 84,495 36,053
ข-6
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
241 23,515 7,571
242 109,004 33,591
243 5,733 4,682
244 16,908 9,876
245 13,253 29,055
246 18,583 14,534
247 49,444 105,586
248 28,786 50,598
249 52,425 20,722
250 28,631 18,630
251 76,059 24,345
252 14,790 10,473
253 77,199 72,096
254 22,710 18,830
255 5,432 14,258
256 49,659 43,466
257 88,093 18,321
258 16,070 25,481
259 20,273 90,215
260 18,211 39,554
261 1,514 3,936
262 17,260 22,309
263 9,196 5,265
264 4,462 8,220
265 19,798 5,740
266 12,954 10,510
267 9,211 7,955
268 60,889 20,781
269 27,038 14,874
270 8,685 18,800
271 15,013 5,924
272 15,107 15,234
273 22,916 35,275
274 28,766 12,440
275 28,123 16,994
276 2,837 5,937
277 6,961 16,860
278 37,516 35,439
279 9,538 11,249
280 24,914 13,887
ข-7
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
281 52,914 17,876
282 18,156 13,702
283 23,150 8,546
284 10,777 14,102
285 19,969 9,078
286 39,149 25,472
287 15,003 8,772
288 25,536 11,770
289 33,849 11,007
290 9,501 4,384
291 9,485 7,431
292 44,423 37,901
293 14,286 10,262
294 9,773 7,038
295 5,088 18,604
296 4,058 6,273
297 5,766 33,000
298 137,437 83,098
299 19,054 22,719
300 27,914 13,594
301 115,358 89,385
302 22,925 14,642
303 19,642 13,579
304 26,004 18,584
305 17,301 14,181
306 85,516 59,762
307 34,293 54,808
308 51,382 56,806
309 14,565 13,977
310 31,139 8,894
311 47,308 25,237
312 23,137 28,496
313 29,817 27,376
314 40,862 32,282
315 16,711 11,405
316 5,696 24,855
317 84,506 39,597
318 53,273 36,307
319 85,270 47,582
320 18,363 36,057
ข-8
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
321 37,470 35,908
322 76,174 11,507
323 54,326 13,302
324 33,549 12,427
325 39,005 10,690
326 30,997 67,975
327 29,957 76,169
328 44,231 45,502
329 102,694 23,101
330 36,218 11,203
331 56,125 35,253
332 14,391 15,985
333 50,847 28,864
334 18,947 19,723
335 12,654 5,526
336 9,813 9,816
337 7,022 3,985
338 11,098 5,979
339 5,547 3,863
340 4,669 3,762
341 41,916 91,081
342 34,852 74,362
343 36,125 32,481
344 16,407 7,768
345 48,163 140,440
346 38,691 19,399
347 25,187 7,538
348 9,396 5,670
349 15,365 7,287
350 35,299 41,208
351 24,879 14,501
352 24,825 38,325
353 18,666 14,451
354 24,018 12,468
355 121,669 18,857
356 139,921 204,805
357 185,643 65,480
358 100,421 122,924
359 88,702 26,209
360 15,846 104,791
ข-9
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
361 43,357 79,899
362 8,228 20,006
363 93,723 52,796
364 54,328 56,744
365 63,308 81,167
366 45,539 107,887
367 27,288 68,717
368 23,476 24,456
369 59,451 97,475
370 13,053 24,662
371 15,867 33,191
372 9,100 5,540
373 7,452 5,229
374 19,798 20,170
375 4,814 3,825
376 5,250 3,895
377 13,258 13,907
378 10,755 8,526
379 9,951 8,802
380 27,575 10,494
381 144,935 117,785
382 82,251 74,046
383 151,432 49,569
384 145,848 56,984
385 187,514 52,257
386 14,184 5,515
387 23,263 8,381
388 25,872 6,154
389 20,353 8,941
390 18,046 5,091
391 110,958 39,248
392 17,585 11,548
393 87,965 64,017
394 27,655 24,066
395 70,002 20,628
396 28,561 8,052
397 21,945 5,302
398 95,169 80,960
399 13,317 5,855
400 33,647 7,824
ข-10
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
401 19,363 5,867
402 13,242 6,163
403 8,705 6,798
404 16,431 5,547
405 19,358 6,319
406 19,715 8,167
407 18,568 8,059
408 16,239 7,196
409 13,698 6,660
410 13,745 7,613
411 20,031 4,823
412 104,231 20,954
413 9,299 4,186
414 15,706 7,647
415 7,682 4,122
416 47,641 41,430
417 9,233 4,179
418 23,271 9,019
419 10,505 4,229
420 18,201 6,408
421 10,299 5,329
422 33,317 13,552
423 10,804 16,191
424 16,175 32,227
425 10,718 5,776
426 7,095 4,114
427 7,739 8,083
428 35,279 33,286
429 16,644 12,456
430 16,789 8,567
431 12,988 32,977
432 19,739 8,477
433 13,529 23,329
434 17,692 6,743
435 8,349 5,908
436 19,625 9,395
437 12,628 5,982
438 18,739 8,057
439 29,212 21,984
440 143,678 93,092
ข-11
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
441 30,319 17,634
442 30,641 16,101
443 120,207 68,381
444 42,420 20,320
445 16,875 6,998
446 164,188 288,040
447 43,311 11,620
448 43,172 12,004
449 54,765 12,946
450 51,742 27,226
451 87,713 83,935
452 82,142 17,984
453 102,067 45,377
454 19,602 6,357
455 49,256 48,206
456 81,148 134,293
457 41,015 32,222
458 19,181 6,586
459 33,185 18,535
460 16,669 25,564
461 34,066 14,214
462 23,961 7,992
463 36,717 10,734
464 21,239 7,310
465 8,565 5,605
466 12,496 5,457
467 11,077 12,067
468 3,919 6,893
469 19,750 7,944
470 21,383 9,514
471 23,594 17,621
472 18,871 6,400
473 29,160 11,014
474 38,326 25,789
475 9,818 16,620
476 43,255 11,743
477 27,476 8,349
478 20,473 6,721
479 10,574 6,292
480 19,258 28,705
ข-12
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
481 30,095 11,799
482 15,537 21,314
483 11,949 14,883
484 23,267 53,955
485 17,209 18,506
486 49,037 92,515
487 17,977 12,007
488 9,907 21,949
489 4,448 6,991
490 8,667 6,147
491 10,097 19,507
492 6,628 6,878
493 6,567 4,942
494 113,877 76,588
495 107,752 256,966
496 39,458 60,266
497 18,349 25,996
498 7,272 4,763
499 7,957 7,260
500 31,477 16,618
501 23,701 10,923
502 11,882 7,976
503 9,713 15,164
504 9,897 6,826
505 23,713 15,907
521 51,745 27,818
522 3,922 9,444
523 21,595 8,689
524 18,813 8,461
525 3,521 7,386
526 4,197 6,841
527 4,007 7,864
528 23,584 8,432
529 23,322 6,628
530 14,492 6,302
531 14,387 5,759
532 24,194 8,884
533 23,619 8,696
534 23,455 8,231
535 6,072 6,365
ข-13
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
536 6,691 12,638
537 9,274 7,195
538 10,410 10,341
539 9,427 8,793
540 10,195 9,287
541 18,579 13,037
542 16,233 10,212
543 19,409 18,319
544 8,013 8,478
545 11,331 24,225
546 33,476 66,036
547 12,172 28,780
548 5,938 22,156
549 29,197 42,202
550 6,698 25,493
551 17,422 7,256
552 19,805 41,052
553 18,406 22,583
554 23,371 58,975
555 13,774 21,583
556 29,221 109,613
557 41,638 129,153
558 9,749 19,990
559 17,969 17,787
560 19,039 21,081
561 17,395 13,844
562 19,944 25,850
563 14,840 19,743
564 17,806 20,394
565 17,254 31,333
566 17,100 16,677
567 8,459 15,531
568 14,597 17,713
569 12,122 35,345
570 5,030 17,020
571 26,376 87,261
572 5,833 24,940
573 13,899 37,411
574 13,238 16,044
575 7,971 10,702
ข-14
ตารางที่ ข-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2549
การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง
พื้นที่ยอย
(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
576 8,931 18,842
577 16,705 17,362
578 6,530 18,573
579 10,376 15,810
580 14,223 23,988
581 24,114 32,716
582 7,261 7,557
583 22,840 8,631
584 32,518 15,047
585 19,493 8,474
586 8,007 9,738
587 8,058 11,344
588 7,272 13,710
589 13,568 10,883
590 3,656 12,009
591 2,947 9,172
592 11,677 25,099
593 24,095 10,715
594 13,871 8,838
595 14,427 9,316
596 21,001 13,527
597 42,484 23,437
598 14,822 13,021
599 28,166 15,126
รวม 17,469,024 17,469,024

ข-15
ภาคผนวก ค

ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง
จําแนกตามพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554
ตารางที่ ค-1
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
1 20,842 89,011
2 44,585 83,313
3 49,211 88,689
4 44,208 147,308
5 54,629 127,057
6 21,331 35,136
7 20,948 43,721
8 32,917 57,346
9 30,054 74,412
10 26,139 48,597
11 38,392 67,327
12 11,652 33,183
13 6,928 17,391
14 15,949 20,875
15 11,406 11,517
16 10,080 22,162
17 22,372 25,113
18 28,376 13,934
19 40,131 20,155
20 8,363 16,127
21 8,028 16,891
22 14,488 15,466
23 45,978 44,414
24 11,483 15,584
25 4,359 11,295
26 25,891 36,949
27 31,419 25,006
28 51,632 30,650
29 17,798 23,177
30 25,262 33,543
31 38,046 69,527
32 25,167 21,210
33 24,132 30,095
34 14,492 11,474
35 22,357 24,447
36 22,324 20,174
37 18,747 22,516
38 7,736 6,994
39 6,485 11,880
40 3,076 10,267
ค-1
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
41 21,547 21,209
42 8,071 18,433
43 20,108 35,373
44 22,253 31,407
45 10,296 14,964
46 6,904 6,906
47 7,371 10,527
48 7,072 8,578
49 26,683 31,329
50 14,117 12,574
51 24,813 22,749
52 19,195 15,482
53 15,296 26,187
54 22,941 18,364
55 12,265 27,483
56 14,417 17,992
57 82,746 32,909
58 23,672 25,193
59 17,559 25,115
60 29,097 37,817
61 23,354 29,154
62 3,426 22,205
63 3,951 26,224
64 4,380 15,153
65 7,757 39,949
66 3,485 29,330
67 4,742 15,070
68 9,885 46,500
69 114,687 114,445
70 31,655 18,614
71 12,290 15,353
72 27,752 30,418
73 43,204 28,601
74 4,228 9,318
75 7,798 21,148
76 15,818 47,282
77 24,133 57,935
78 9,693 17,067
79 34,664 110,385
80 18,199 50,471
ค-2
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
81 28,528 106,855
82 53,113 216,622
83 7,649 11,726
84 62,977 56,730
85 31,462 23,585
86 17,341 17,112
87 32,785 45,050
88 5,815 15,596
89 13,713 28,537
90 29,248 19,697
91 13,966 12,314
92 17,338 16,522
93 14,673 16,844
94 25,883 32,143
95 17,650 39,384
96 56,602 44,922
97 52,352 34,068
98 37,877 31,554
99 16,716 20,962
100 18,500 78,328
101 14,626 23,110
102 15,383 10,139
103 9,540 27,079
104 14,783 35,374
105 6,501 24,568
106 9,486 75,124
107 9,092 40,300
108 14,904 66,217
109 18,077 55,074
110 25,331 25,878
111 21,175 17,873
112 22,680 50,593
113 21,114 29,878
114 29,349 40,456
115 10,602 32,749
116 21,184 21,247
117 20,176 23,103
118 27,066 40,445
119 63,019 96,705
120 46,721 76,589
ค-3
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
121 65,682 54,172
122 97,342 246,447
123 43,280 75,171
124 75,020 201,664
125 42,343 160,351
126 37,354 67,876
127 32,944 29,905
128 25,676 25,448
129 30,229 29,205
130 23,546 37,177
131 29,413 103,619
132 16,482 39,907
133 11,325 35,424
134 17,813 12,418
135 21,795 34,848
136 30,002 55,820
137 22,771 73,194
138 61,257 119,274
139 33,032 86,175
140 22,730 34,869
141 26,536 46,620
142 20,034 32,643
143 52,418 63,767
144 28,186 100,658
145 9,129 28,323
146 22,802 24,465
147 3,619 7,865
148 4,217 10,743
149 3,536 4,879
150 27,384 31,128
151 26,537 36,977
152 16,023 29,451
153 28,992 50,837
154 38,700 76,033
155 14,142 71,423
156 33,060 51,332
157 31,513 52,897
158 77,001 63,645
159 35,696 96,111
160 79,759 43,806
ค-4
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
161 33,386 12,024
162 117,590 42,426
163 22,703 12,243
164 46,513 44,285
165 28,688 27,292
166 175,999 60,439
167 50,742 71,241
168 115,383 36,673
169 38,576 70,393
170 20,379 20,262
171 2,327 4,428
172 10,892 11,015
173 99,435 47,377
174 27,745 43,563
175 54,021 59,816
176 67,320 133,411
177 2,735 69,401
178 36,602 102,682
179 29,012 37,472
180 8,730 14,830
181 6,288 17,042
182 10,204 17,468
183 85,337 30,266
184 18,324 21,804
185 186,314 49,020
186 23,183 17,847
187 65,089 16,460
188 75,186 15,822
189 4,655 6,470
190 10,470 7,315
191 8,144 8,362
192 84,386 24,763
193 51,732 8,637
194 37,313 19,423
195 29,052 24,913
196 63,929 34,562
197 35,577 27,151
198 27,365 33,661
199 130,225 35,312
200 23,320 15,202
ค-5
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
201 72,196 42,079
202 8,199 30,942
203 4,981 15,301
204 32,609 30,161
205 90,756 38,525
206 46,700 26,930
207 49,296 16,255
208 57,251 30,194
209 90,828 54,158
210 15,059 48,495
211 5,076 6,337
212 18,718 75,018
213 7,798 17,986
214 14,993 24,950
215 37,235 40,377
216 30,516 32,373
217 16,013 22,736
218 10,092 21,519
219 26,224 34,822
220 19,636 41,209
221 74,186 36,894
222 130,720 47,746
223 99,802 39,718
224 43,036 59,621
225 39,122 18,657
226 12,052 19,915
227 25,655 9,665
228 5,908 14,511
229 12,770 34,229
230 7,423 22,024
231 16,751 12,363
232 13,798 30,814
233 4,932 11,136
234 9,770 40,481
235 4,773 10,782
236 20,503 39,645
237 11,942 54,001
238 84,301 17,740
239 120,206 25,935
240 94,687 40,530
ค-6
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
241 26,246 8,677
242 131,295 38,644
243 5,862 5,341
244 18,130 11,153
245 13,541 33,207
246 18,906 16,281
247 49,872 121,093
248 29,408 57,076
249 87,594 26,982
250 36,971 22,578
251 85,661 26,464
252 17,416 12,372
253 88,826 76,544
254 30,491 21,523
255 5,916 16,911
256 52,133 50,670
257 108,356 21,223
258 18,540 29,531
259 21,041 103,798
260 16,408 43,349
261 1,574 4,382
262 18,274 24,896
263 10,266 5,732
264 4,472 9,322
265 22,317 6,236
266 14,833 12,128
267 9,517 8,956
268 71,642 23,638
269 30,801 15,884
270 11,273 20,654
271 17,978 6,346
272 15,536 17,632
273 23,490 40,589
274 29,715 14,571
275 27,911 18,962
276 2,968 6,735
277 7,184 17,574
278 41,777 38,355
279 10,068 12,877
280 30,386 14,544
ค-7
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
281 60,176 20,324
282 26,396 15,784
283 30,022 9,988
284 13,051 17,296
285 25,728 10,224
286 43,325 29,672
287 19,309 10,063
288 31,162 13,641
289 39,356 12,265
290 12,386 5,050
291 11,654 8,375
292 48,683 43,262
293 16,230 11,689
294 11,060 7,831
295 5,884 22,261
296 4,937 7,178
297 6,949 38,181
298 164,494 94,914
299 21,932 26,314
300 39,282 15,439
301 144,281 102,718
302 26,557 15,550
303 24,119 15,395
304 28,899 20,559
305 18,348 15,635
306 96,125 67,863
307 37,001 62,482
308 54,538 64,319
309 16,621 14,945
310 34,695 9,627
311 47,735 26,809
312 21,643 32,706
313 28,861 31,551
314 42,761 33,571
315 17,499 12,645
316 5,927 29,111
317 87,789 42,600
318 63,003 41,607
319 93,092 53,882
320 19,116 38,249
ค-8
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
321 41,468 38,996
322 86,296 12,858
323 58,472 15,270
324 43,664 14,227
325 58,904 11,473
326 35,768 77,047
327 32,946 85,985
328 51,904 51,992
329 122,460 26,229
330 42,108 12,139
331 75,299 37,919
332 17,535 16,660
333 57,659 36,683
334 21,997 26,362
335 14,336 6,166
336 11,088 11,252
337 7,944 4,450
338 12,575 7,117
339 6,207 4,318
340 5,239 4,204
341 46,615 110,766
342 39,405 91,776
343 44,590 40,041
344 24,190 9,731
345 59,933 173,388
346 39,141 23,586
347 32,962 9,436
348 12,343 6,869
349 17,473 8,852
350 47,025 47,290
351 28,331 16,091
352 24,693 43,168
353 27,486 17,135
354 35,912 16,275
355 155,365 24,367
356 169,369 257,798
357 230,820 88,132
358 121,698 153,542
359 121,041 31,572
360 20,790 116,560
ค-9
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
361 55,006 92,242
362 9,086 23,819
363 109,942 62,247
364 68,865 73,089
365 78,334 92,960
366 60,224 120,770
367 33,200 76,519
368 25,424 28,180
369 70,232 110,237
370 16,860 28,231
371 17,723 38,504
372 9,840 6,575
373 8,437 6,166
374 22,668 23,616
375 5,389 4,273
376 5,910 4,354
377 15,052 16,085
378 12,118 10,000
379 11,294 10,232
380 31,167 12,387
381 189,636 162,000
382 104,033 103,632
383 203,662 65,357
384 197,610 75,724
385 235,832 69,700
386 19,018 6,752
387 27,942 10,631
388 32,735 7,561
389 35,201 11,343
390 29,537 6,120
391 136,170 52,149
392 23,103 14,835
393 108,919 77,783
394 36,413 31,072
395 101,818 24,262
396 35,295 9,640
397 27,673 6,012
398 131,161 101,215
399 16,008 7,162
400 45,698 9,985
ค-10
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
401 24,760 6,966
402 17,504 7,110
403 11,409 8,403
404 23,445 6,709
405 44,366 8,599
406 23,286 9,596
407 22,119 9,574
408 23,443 9,069
409 17,068 8,147
410 15,929 9,166
411 34,965 5,731
412 145,386 28,290
413 11,641 4,710
414 20,035 8,982
415 9,541 4,634
416 59,677 55,976
417 11,557 4,700
418 28,656 10,213
419 13,120 4,766
420 23,565 7,646
421 13,258 6,005
422 43,690 16,120
423 12,889 18,008
424 22,258 35,507
425 12,858 6,703
426 8,494 4,608
427 9,221 8,940
428 42,383 42,811
429 20,106 14,731
430 26,498 10,669
431 15,413 39,567
432 29,289 10,186
433 15,943 30,718
434 20,958 7,988
435 9,358 6,547
436 22,095 10,993
437 14,278 7,305
438 22,428 9,505
439 34,995 26,271
440 202,243 119,515
ค-11
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
441 41,797 22,602
442 36,261 20,575
443 160,027 86,822
444 51,959 26,131
445 21,458 8,355
446 189,747 355,554
447 51,910 14,098
448 48,386 14,698
449 62,553 13,868
450 60,096 33,356
451 97,890 107,729
452 93,923 19,974
453 120,147 50,880
454 20,438 7,282
455 51,859 51,535
456 101,847 154,702
457 55,455 35,807
458 21,331 7,527
459 36,884 20,111
460 18,105 30,800
461 37,845 15,763
462 26,443 9,073
463 58,930 14,087
464 22,654 8,324
465 9,079 6,262
466 13,397 6,202
467 11,841 14,172
468 4,251 7,958
469 19,118 9,304
470 22,344 10,880
471 25,390 19,847
472 20,664 7,339
473 34,205 12,551
474 41,386 31,123
475 10,589 20,474
476 46,749 13,453
477 29,688 9,557
478 21,959 7,730
479 11,893 7,143
480 22,767 30,955
ค-12
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
481 36,641 13,896
482 23,551 24,916
483 22,193 17,113
484 28,471 62,186
485 19,525 19,583
486 54,822 106,093
487 25,363 13,218
488 11,134 23,383
489 4,933 7,560
490 9,577 6,924
491 11,346 20,831
492 7,429 7,453
493 7,287 5,495
494 131,738 96,117
495 123,748 296,127
496 44,853 63,428
497 20,407 27,816
498 8,218 5,249
499 8,907 7,853
500 34,599 18,408
501 24,832 12,597
502 12,580 8,660
503 9,730 18,467
504 10,609 7,999
505 24,968 18,980
521 57,427 29,991
522 4,397 10,388
523 23,585 9,942
524 20,139 9,592
525 3,948 8,285
526 4,729 7,556
527 4,495 8,666
528 26,486 9,546
529 26,190 7,493
530 16,545 7,023
531 16,429 6,419
532 26,970 9,880
533 26,530 9,853
534 26,341 9,385
535 6,246 7,336
ค-13
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
536 7,082 13,992
537 10,002 8,227
538 11,248 11,652
539 10,177 10,155
540 11,004 10,462
541 19,056 14,735
542 17,360 11,663
543 19,998 20,810
544 8,557 9,661
545 11,933 28,077
546 35,329 74,222
547 12,890 33,451
548 6,608 25,688
549 30,475 47,328
550 7,470 29,580
551 17,682 8,259
552 20,771 47,359
553 20,042 25,151
554 24,810 68,223
555 14,954 24,044
556 32,678 124,483
557 45,732 146,509
558 10,575 22,503
559 18,855 19,006
560 20,695 23,883
561 18,202 14,881
562 21,721 29,293
563 14,343 22,803
564 18,429 22,713
565 17,083 36,269
566 17,622 18,583
567 9,062 17,450
568 14,067 20,379
569 13,215 39,866
570 5,543 19,082
571 28,352 96,350
572 6,454 28,395
573 15,118 42,742
574 13,571 18,693
575 7,960 12,132
ค-14
ตารางที่ ค-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2554

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
576 9,032 21,707
577 17,466 20,217
578 6,922 21,446
579 11,281 18,260
580 14,992 27,809
581 25,508 36,845
582 7,426 8,500
583 23,248 9,427
584 32,900 16,709
585 20,097 9,025
586 8,266 10,327
587 8,305 12,240
588 7,343 14,442
589 14,081 11,501
590 3,926 13,005
591 3,120 9,595
592 12,829 28,331
593 26,033 11,541
594 15,073 9,859
595 16,240 10,640
596 22,544 14,953
597 47,240 26,901
598 16,300 14,257
599 32,003 17,325
รวม 19,962,580 19,962,580

ค-15
ภาคผนวก ง

ขอมูลปริมาณการเกิดและการดึงดูดการเดินทาง
จําแนกตามพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559
ตารางที่ ง-1
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
1 22,809 97,712
2 44,024 90,904
3 47,420 96,871
4 46,991 162,723
5 57,571 138,658
6 21,912 38,667
7 22,041 44,857
8 33,209 62,818
9 31,782 81,472
10 26,927 52,229
11 40,240 73,473
12 12,078 36,700
13 6,859 19,025
14 15,543 22,858
15 11,930 12,631
16 10,466 23,497
17 21,962 26,551
18 28,069 14,857
19 40,147 21,861
20 8,934 17,440
21 8,538 18,239
22 14,517 16,888
23 45,742 47,972
24 11,632 16,448
25 4,734 12,038
26 26,673 39,780
27 31,355 27,175
28 51,249 32,330
29 16,750 24,968
30 25,114 36,440
31 38,264 74,848
32 23,970 23,040
33 23,532 32,524
34 14,599 12,348
35 22,125 26,115
36 22,310 21,770
37 18,441 23,882
38 7,656 7,433
39 6,183 12,485
40 3,288 10,906

ง-1
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
41 21,129 21,759
42 9,102 18,598
43 21,828 38,454
44 24,346 33,663
45 10,609 16,247
46 6,913 7,525
47 7,414 11,408
48 7,077 9,378
49 26,614 35,519
50 14,229 14,727
51 24,501 23,967
52 18,891 16,469
53 15,521 27,320
54 24,468 19,551
55 13,953 29,945
56 14,197 18,996
57 80,768 35,310
58 23,702 27,304
59 17,844 26,467
60 29,171 38,010
61 23,485 30,324
62 3,571 23,719
63 4,133 28,120
64 4,545 16,005
65 8,096 42,145
66 3,832 31,675
67 5,126 16,660
68 10,250 50,408
69 122,700 125,867
70 36,247 20,348
71 11,128 16,689
72 25,774 33,225
73 40,920 31,454
74 4,343 10,219
75 7,835 22,754
76 16,867 51,536
77 25,174 63,214
78 9,774 18,551
79 38,110 121,160
80 19,790 55,562

ง-2
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
81 35,257 114,740
82 62,374 239,994
83 10,457 12,699
84 61,992 61,900
85 31,609 25,195
86 17,556 18,114
87 33,329 44,557
88 6,110 16,817
89 12,561 27,812
90 29,907 20,792
91 14,347 13,072
92 14,390 17,551
93 14,873 17,826
94 26,284 33,585
95 16,979 42,317
96 56,619 47,503
97 51,318 35,606
98 39,085 34,231
99 16,916 22,345
100 21,121 87,146
101 14,993 25,193
102 15,232 11,025
103 10,159 29,803
104 14,939 38,506
105 7,256 26,235
106 10,732 80,381
107 10,361 44,304
108 16,885 72,443
109 19,490 60,153
110 25,635 27,355
111 21,970 18,908
112 23,262 54,705
113 22,587 32,427
114 31,747 42,584
115 11,155 34,542
116 22,337 23,162
117 20,708 26,763
118 28,241 42,608
119 75,503 137,291
120 55,026 100,714

ง-3
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
121 69,878 89,863
122 106,322 271,463
123 43,488 81,775
124 79,119 220,250
125 55,178 210,518
126 37,916 73,294
127 33,265 32,281
128 25,896 27,094
129 30,776 30,083
130 24,075 38,180
131 31,044 110,678
132 16,877 43,243
133 11,721 38,190
134 16,718 12,993
135 20,785 37,582
136 30,034 61,615
137 24,479 80,710
138 65,387 127,645
139 36,057 94,585
140 26,719 37,552
141 27,294 49,367
142 20,717 34,680
143 52,922 68,867
144 30,901 107,490
145 8,986 29,888
146 21,711 26,195
147 11,903 43,764
148 4,137 11,544
149 3,395 5,324
150 25,779 33,130
151 24,764 39,203
152 14,795 31,315
153 26,812 53,842
154 37,169 80,497
155 13,970 75,374
156 31,016 54,402
157 31,031 55,710
158 80,150 67,644
159 42,315 124,395
160 85,116 46,448

ง-4
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
161 36,437 12,831
162 131,317 44,891
163 24,773 13,060
164 48,264 46,885
165 32,443 28,141
166 178,667 63,723
167 52,480 76,119
168 124,862 39,051
169 40,905 74,047
170 21,405 21,548
171 2,552 4,844
172 11,715 11,803
173 99,271 50,403
174 30,791 46,395
175 56,380 62,244
176 70,544 138,840
177 2,886 73,842
178 37,319 109,419
179 29,492 40,098
180 9,041 15,754
181 6,012 15,626
182 10,040 17,350
183 90,159 28,295
184 17,884 20,252
185 184,305 47,483
186 23,895 17,647
187 69,321 16,634
188 74,923 15,899
189 5,233 6,924
190 13,077 8,176
191 10,526 9,610
192 101,477 26,547
193 59,191 8,495
194 41,874 20,623
195 32,530 26,705
196 63,486 36,467
197 38,171 28,957
198 29,082 35,598
199 139,714 37,442
200 24,948 16,421

ง-5
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
201 78,213 45,215
202 9,130 33,660
203 5,049 16,443
204 28,970 32,029
205 90,293 40,156
206 45,942 28,886
207 47,931 17,362
208 55,197 32,181
209 91,763 57,108
210 15,791 52,418
211 5,123 6,840
212 18,926 80,742
213 7,156 19,260
214 14,766 26,671
215 36,198 42,927
216 33,818 34,627
217 16,395 24,078
218 10,041 22,853
219 25,598 37,069
220 20,063 43,742
221 87,604 39,318
222 137,871 50,808
223 111,898 42,144
224 45,776 63,575
225 40,791 19,853
226 15,739 20,785
227 39,039 9,704
228 7,014 15,554
229 13,152 36,134
230 7,673 23,499
231 17,202 13,165
232 13,881 32,203
233 5,155 12,035
234 11,114 44,738
235 5,155 11,501
236 24,134 42,458
237 13,576 58,486
238 93,754 17,708
239 129,446 25,393
240 101,131 43,160

ง-6
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
241 28,575 9,302
242 135,882 40,909
243 5,829 5,857
244 16,708 11,861
245 13,545 35,150
246 18,535 17,293
247 51,662 131,680
248 29,254 60,273
249 111,144 32,487
250 41,392 24,576
251 96,769 26,882
252 17,995 13,472
253 113,807 77,127
254 31,675 22,880
255 6,736 18,195
256 82,998 85,623
257 126,652 22,559
258 21,429 31,804
259 21,770 112,710
260 16,936 44,546
261 1,691 4,787
262 19,472 25,777
263 10,392 6,038
264 4,855 9,839
265 26,463 6,567
266 17,770 12,895
267 11,706 17,448
268 91,348 32,480
269 36,282 16,068
270 14,494 21,235
271 22,073 6,594
272 15,761 18,932
273 24,188 43,761
274 29,998 15,773
275 30,710 25,053
276 3,098 7,263
277 7,714 17,739
278 42,188 40,079
279 10,872 13,822
280 36,695 14,591

ง-7
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
281 68,171 21,884
282 30,919 16,940
283 33,851 10,879
284 14,767 19,521
285 28,943 10,923
286 43,150 31,463
287 21,733 10,791
288 33,015 14,445
289 39,730 12,773
290 14,149 5,697
291 14,771 8,855
292 47,259 45,971
293 15,920 12,559
294 10,837 8,253
295 7,135 23,846
296 6,779 14,102
297 7,845 41,665
298 196,724 102,387
299 31,823 53,181
300 45,728 16,664
301 192,101 110,768
302 28,704 15,789
303 26,582 16,178
304 31,141 21,074
305 20,998 16,145
306 104,053 72,415
307 41,239 67,249
308 62,415 68,591
309 18,577 15,280
310 39,483 9,938
311 50,716 26,926
312 27,409 35,176
313 27,415 33,811
314 44,068 33,539
315 18,225 13,077
316 6,386 30,596
317 86,594 49,378
318 65,685 44,225
319 105,776 57,659
320 19,728 38,934

ง-8
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
321 42,881 39,961
322 108,488 13,279
323 55,613 16,198
324 48,811 14,898
325 71,421 11,594
326 36,683 81,918
327 40,054 91,165
328 53,027 56,399
329 128,145 28,041
330 47,960 12,512
331 85,022 38,444
332 21,227 16,709
333 63,853 44,099
334 25,042 31,017
335 16,441 6,649
336 12,575 12,209
337 9,149 4,864
338 14,381 7,941
339 8,013 4,726
340 6,028 4,608
341 55,220 128,532
342 46,952 111,115
343 56,379 50,670
344 42,485 12,629
345 74,816 208,739
346 44,610 27,522
347 36,042 11,148
348 16,178 7,816
349 20,083 9,937
350 54,646 60,170
351 32,694 17,113
352 27,031 46,083
353 42,979 20,815
354 55,868 18,999
355 172,014 29,292
356 197,938 304,760
357 261,643 108,669
358 151,278 180,738
359 141,270 35,336
360 25,257 124,168

ง-9
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
361 68,339 100,601
362 10,683 26,278
363 122,354 67,605
364 82,955 86,035
365 113,773 100,561
366 80,937 133,711
367 40,868 81,504
368 28,904 30,530
369 88,608 118,530
370 22,115 30,718
371 20,343 43,931
372 11,188 7,341
373 9,720 6,876
374 25,761 25,766
375 6,211 4,683
376 6,760 4,767
377 17,242 17,537
378 14,017 11,022
379 12,971 11,231
380 36,096 13,604
381 217,822 205,006
382 112,391 128,672
383 228,117 79,952
384 228,853 92,831
385 274,365 85,404
386 21,637 7,891
387 32,273 12,680
388 36,617 8,944
389 55,543 28,467
390 45,594 17,602
391 159,525 64,408
392 25,906 18,069
393 123,898 86,837
394 46,048 37,504
395 95,964 26,652
396 37,726 10,788
397 35,993 6,569
398 159,157 119,380
399 16,913 8,367
400 52,631 11,943

ง-10
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
401 31,648 7,831
402 25,867 7,909
403 13,455 9,654
404 27,995 7,706
405 75,685 11,409
406 26,875 10,627
407 25,310 10,680
408 32,466 10,818
409 20,452 9,318
410 18,231 10,340
411 64,479 16,450
412 185,986 35,009
413 14,781 5,169
414 21,993 9,996
415 10,621 5,079
416 66,647 66,720
417 12,938 5,156
418 32,162 11,053
419 14,601 5,227
420 26,066 8,601
421 14,698 6,535
422 47,815 17,904
423 14,192 18,917
424 24,455 36,855
425 14,158 7,363
426 9,319 5,045
427 10,085 9,487
428 46,552 48,142
429 25,068 16,636
430 32,988 12,542
431 17,306 44,791
432 35,099 11,737
433 17,643 35,283
434 23,168 9,135
435 10,743 7,015
436 25,586 11,968
437 16,531 8,402
438 25,053 10,442
439 38,743 28,587
440 264,133 141,465

ง-11
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
441 54,552 25,854
442 39,810 23,185
443 197,419 100,696
444 53,495 29,409
445 22,582 9,263
446 202,824 409,276
447 57,532 15,590
448 55,637 16,326
449 66,405 14,614
450 63,518 36,768
451 108,469 127,545
452 98,900 21,289
453 123,893 54,269
454 22,582 7,954
455 59,466 53,685
456 121,209 174,921
457 78,090 39,260
458 22,871 8,212
459 39,472 21,154
460 19,380 33,753
461 40,183 16,803
462 28,283 9,836
463 102,585 17,650
464 24,622 9,050
465 9,923 6,788
466 14,607 6,782
467 13,012 15,464
468 4,611 8,690
469 21,827 10,199
470 24,571 11,790
471 27,616 21,218
472 22,368 8,026
473 35,294 13,580
474 45,143 34,122
475 11,645 22,658
476 51,094 14,555
477 32,403 10,392
478 24,094 8,447
479 12,909 7,768
480 26,155 32,317

ง-12
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
481 42,047 15,328
482 35,467 28,058
483 40,622 19,137
484 34,445 69,167
485 20,934 20,122
486 60,192 117,946
487 30,197 14,151
488 12,227 24,057
489 5,367 7,990
490 10,523 7,494
491 12,465 21,469
492 8,166 7,894
493 7,979 5,975
494 150,092 111,314
495 134,648 328,972
496 48,422 64,432
497 22,054 28,642
498 8,845 5,675
499 9,670 8,301
500 38,168 19,419
501 28,392 13,710
502 14,202 9,164
503 11,258 20,305
504 12,041 8,804
505 28,796 20,754
521 55,102 31,269
522 7,854 25,671
523 23,873 10,858
524 20,975 10,508
525 3,869 8,923
526 4,212 8,134
527 4,447 9,305
528 24,894 10,301
529 24,553 8,115
530 14,912 7,624
531 14,779 6,983
532 24,560 10,666
533 24,943 10,628
534 24,728 10,132
535 6,274 8,062

ง-13
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
536 7,728 15,003
537 9,463 9,083
538 11,647 12,686
539 9,663 11,163
540 11,368 11,399
541 18,872 15,975
542 18,003 12,813
543 19,955 22,502
544 9,031 10,615
545 13,523 31,026
546 36,693 79,695
547 14,621 36,915
548 7,470 28,392
549 31,121 50,878
550 8,458 32,694
551 17,494 9,093
552 22,064 52,070
553 21,374 27,002
554 26,706 74,912
555 16,153 25,817
556 36,925 134,642
557 50,623 158,482
558 10,655 24,360
559 17,916 19,678
560 19,526 25,853
561 17,166 15,494
562 20,703 31,685
563 15,058 25,050
564 17,977 24,398
565 18,202 39,815
566 17,045 19,982
567 12,083 18,890
568 14,750 22,425
569 16,852 42,983
570 6,180 20,607
571 30,296 101,059
572 7,226 30,559
573 16,010 46,490
574 13,553 20,568
575 8,024 13,208

ง-14
ตารางที่ ง-1 (ตอ)
ปริมาณการสรางและการดึงดูดการเดินทางจําแนกพื้นที่ยอยป พ.ศ. 2559

พื้นที่ยอย การสรางการเดินทาง การดึงดูดการเดินทาง


(เที่ยวตอวัน) (เที่ยวตอวัน)
576 9,267 23,478
577 17,633 22,096
578 7,439 23,584
579 11,421 20,169
580 15,048 30,627
581 26,210 39,736
582 7,513 9,266
583 22,715 10,040
584 32,427 17,746
585 19,474 9,426
586 8,263 10,678
587 8,314 12,688
588 7,834 14,881
589 13,910 11,908
590 4,044 13,716
591 3,307 9,871
592 13,253 30,398
593 25,542 12,069
594 14,799 10,556
595 16,306 11,612
596 22,558 15,898
597 48,212 29,261
598 16,331 15,157
599 32,391 18,864
รวม 22,092,275 22,092,275

ง-15

You might also like